Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การช่วยฟื้นคืนชีพ

การช่วยฟื้นคืนชีพ

Published by sasikran, 2018-07-05 03:40:17

Description: sasikran

Search

Read the Text Version

การปฐมพยาบาล การชว่ ยฟ้ืนคนื ชพี( CPR : Cardiopulmonary resuscitation ) อ. ศศิกานต์ พิลาภรณ์ ภาควชิ าทนั ตสาธารณสุข วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสริ นิ ธร สุพรรณบุรี

ความหมาย.  การช่วยฟื้ นคนื ชีพ ( CPR : Cardiopulmonary resuscitation ) หรอื การกูช้ วี ิต หรอื การกูช้ พี หมายถงึ การปฏบิ ตั กิ ารเพอื่ ช่วยฟ้ื นการทางานของระบบ ไหลเวียนเลอื ด ท่ีหยุดทางานอยา่ งกระทนั หนั เพอื่ ใหห้ วั ใจ กลบั มาเตน้ เองไดต้ ามปกติ โดยไม่เกดิ ความพกิ ารของสมอง

วตั ถุประสงคข์ องการช่วยฟ้ื นคนื ชพี 1. เพม่ิ ออกซเิ จนใหก้ บั ร่างกายและเน้อื เยอ่ื เพม่ิ ออกซเิ จนใหก้ บั ร่างกายและเน้ือเยอื่ 2. ป้ องกนั สมองตายโดยการทาใหโ้ ลหิตไปเล้ยี งสมองไดเ้ พยี งพอ ป้ องกนั สมองตาย โดยการทาใหโ้ ลหิตไปเล้ยี งสมองไดเ้ พยี งพอ 3. คงไวซ้ ง่ึ การไหลเวียนของโลหิตในขณะหวั ใจหยุดเตน้ เพอ่ื นาออกซเิ จนไปส่สู มอง หวั ใจและเน้ือเยอื่ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย คงไวซ้ งึ่ การไหลเวียนของโลหิตในขณะ หวั ใจหยุดเตน้ เพอื่ นาออกซเิ จนไปส่สู มอง หวั ใจและเน้อื เยอื่ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 4. ดแู ลผูป้ ่ วยใหก้ ลบั ส่สู ภาวะปกติ หลงั จากที่หวั ใจกลบั เตน้ ใหม่แลว้

การทา CPR ขน้ั พ้นื ฐาน ( BCLS )  เม่ือพบผูป้ ่ วยหมดสตหิ รอื ไม่เคลอื่ นไหวตอ้ งสารวจขน้ั พ้นื ฐานโดย 1. ตรวจดวู ่าผูป้ ่ วยหมดสติจรงิ หรอื ไม่ โดยการเขย่าตวั เบา ๆ ซงึ่ อาจพดู ว่า “คุณ ๆ ตืน่ ๆ เป็ นอะไรหรอื เปล่า” 2. เรยี กขอความช่วยเหลอื จากผูอ้ น่ื ๆ เพราะในการช่วยเหลอื ผูท้ ่ีหยุดการหายใจ หรอื หวั ใจหยุดเตน้ ในระยะอนั สน้ั ควรมีคนมาช่วยมากกว่า 1 คน เพอื่ จะไดช้ ่วยติดต่อ เจา้ หนา้ ที่ผูเ้ กยี่ วขอ้ งมาช่วยเหลอื ต่อไป เช่น พดู ว่า “ช่วยดว้ ย ๆ มีคนหมดสติ” 3. จดั ท่าผูป้ ่ วย จดั ท่าผูป้ ่ วยใหน้ อนหงายราบบนพ้นื แขง็ เพอื่ ความสะดวกในการกด หนา้ อกหรอื นวด หวั ใจ การทา CPR จะตอ้ งใหผ้ ูป้ ่ วยนอนหงายหลงั ตรง ศรี ษะจะตอ้ ง ไม่สงู กว่าระดบั หวั ใจจงึ จะทาCPR ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ในการสารวจและจดั ท่าผูป้ ่ วย น้จี ะตอ้ งใชเ้ วลาไม่เกนิ 10 วินาที

 4. A : Airway การดแู ลทางเดนิ หายใจ มวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อทาใหท้ างเดนิ หายใจโลง่ ดงั น้ี 4.1 Clear airway ตรวจปากและชอ่ งคอวา่ มสี งิ่ แปลกปลอม เชน่ เศษอาหาร เลอื ด เสมหะ ฟัน ปลอมอยหู่ รอื ไม่ เมอ่ื พบตอ้ งเอาออกโดยใชผ้ า้ พนั น้ิวกวาดเชด็ ออกมาหรอื ใชเ้ ครอื่ งดูดออก ในกรณที างเดนิ หายใจอุดกน้ั โดยสง่ิ แปลกปลอม สงั เกตจากผูป้ ่ วยหายใจมหี นา้ อกบุม๋ เสยี งครดื คราดหรอื มีเสยี ง wheese ใหท้ าการชว่ ยเหลือ โดยใชว้ ธิ กี ดหนา้ ทอ้ ง ( Abdominal thrusts / Heimlichmaneuver ) หรอื กดหนา้ อก ( Chest thrusts ) สาหรบั ในเดก็ อายุนอ้ ยกวา่ 1 ปี ใหใ้ ชก้ ารตบหลงั ( Backblows ) และกดหนา้ อก รว่ มกนั เพ่ือชว่ ยใหส้ งิ อดุ กน้ั ทางเดนิ หายใจหลุดออกมา 4.2 Open airway ตอ้ งทาอยา่ งรวดเร็ว เพราะเนื่องจากผูป้ ่ วยทห่ี มดสตกิ ลา้ มเน้ือทวั่ รา่ งกายจะหยอ่ น โคนล้นิ และ กลอ่ งเสียง ( epiglottis ) ตกไปทางดา้ นหลงั ในทา่ ทผ่ี ูป้ ่ วยนอนหงาย อุดทางเดนิ หายใจสว่ นบน ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งเปิดทางเดนิ หายใจ โดยเร็วดงั วธิ ี Head tilt chin lift คอื การดงึ ขากรรไกรข้ึนแลว้ กดหนา้ ผากใหแ้ หงนหนา้ Jaw thrust maneuver คอื การดงึ ขากรรไกรทงั้ 2 ขา้ งไปขา้ งบน โดยผชู้ ว่ ยเหลือยนื เหนือศรี ษะใน ขณะทผ่ี ปู้ ่ วยนอนราบ โดยไมต่ อ้ งเเหงนคอผปู้ ่ วย วธิ นี ้ีเป็นวธิ ีเดยี วทแ่ี นะนาใหท้ าในกรณีผปู้ ่ วยหมดสติ และมปี ัญหาของการได้ รบั บาดเจบ็ บรเิ วณคอ หรอื ไขสนั หลงั

 5. B : Breathing คอื การชว่ ยหายใจดว้ ยการ เป่ าปากผปู้ ่ วย ( Mouth to mouth ) โดยการเป่ าปากครง้ั ละประมาณ 5 วนิ าที หรือ12 ครงั้ /นาที แต่ ถา้ กรณีผปู้ ่ วยหวั ใจไม่เตน้ ตอ้ งเป่ าปากพรอ้ มกบั นวดหวั ใจ กรณีผปู้ ่ วยหมดหยดุ หายใจในโรงพยาบาลใหเ้ รม่ิ ชว่ ยการหายใจทนั ที โดย Self – Inflating lung bag พรอ้ ม mask โดยเปิดออกซเิ จน 10 ลิตร ตอ่ นาที โดยบบี bag ใหไ้ ดป้ ริมาตร 600 มล. 12 ครง้ั ตอ่ นาที ในกรณีมี การกดหนา้ อกรว่ มดว้ ยใหส้ มั พนั ธก์ นั ในอตั ราสว่ นการกดหนา้ อก 15 ครงั้ ตอ่ การชว่ ยหายใจ 2 ครง้ั

ภาวะแทรกซ้อน - กระเพาะอาหารโป่ งและการอาเจยี นเน่ืองจากการ บีบ bag แรงไป หรือจากการจดั ท่าศีรษะไม่ดพี อทาให้ลมเข้า กระเพาะมาก - อากาศรั่วถ้าหน้ากากครอบไม่แนบสนทิ - อนั ตรายต่อกระจกตา ( Cornea ) จากหน้ากากกดนัยน์ตา - ภาวะอากาศในโพรงเยอ่ื หุ้มปอด โดยเฉพาะในเดก็ ถ้าบีบ แรงเกนิ ไป

 6. C : Circulation การกดหนา้ อกหรอื การนวดหวั ใจ ใหม้ ีการฉดี เลอื ดออกจากหวั ใจ เพอื่ ดารงไวซ้ ง่ึ การ ไหลเวียนเลอื ดไปสอู่ วยั วะสาคญั เช่น ปอด สมอง หลอดเลอื ดไปเล้ยี งหวั ใจ ไตและอวยั วะอนื่ ๆ โดยมี ขนั้ ตอนในการดาเนนิ การ ดงั น้ี 6.1 จดั ทา่ ผปู้ ่ วยในทา่ นอนหงายบนพ้ืนราบและแข็ง หรอื สอดไมก้ ระดานหนาและแข็งรองผูป้ ่ วยไว้ ไมใ่ ช้ หมอนหนุนศรี ษะ 6.2 ตาเเหน่งทวี่ างมอื เพ่ือนวดหวั ใจผูป้ ่ วย คอื ตอนลา่ งของกระดกู sternum เหนือรอยตอ่ ของกระดกู sternum และ xiphoid 6.3 การกดใชแ้ ตส่ นั มือกดโดยไมใ่ หน้ ้ิวมือสมั ผสั กบั ผปู้ ่ วยเลย ใชม้ ือขา้ หน่ึงวางซอ้ นบนมอื อกี ขา้ งหน่ึงสาหรบั ผูใ้ หญ่ สาหรบั เด็กอายุตา่ กวา่ 1 ขวบ ใชน้ ้ิวนางและน้ิวกลางกด สาหรบั เด็กอายุ1 – 8 ขวบ ใชส้ นั มอื ขา้ งใดขา้ งหนึ่งเพียงขา้ งเดยี ว ( Heel of hand ) 6.4 ถา้ ผปู้ ่ วยนอนอยบู่ นพ้ืนผกู้ ดนวดหวั ใจตอ้ งคกุ เขา่ แตถ่ า้ อยูบ่ นเตยี งผูก้ ดนวดตอ้ งยนื แขนทงั้ สองขา้ งเหยียดตรงและขนานกนั ไหลอ่ ยใู่ นแนวเหนือกระดูก sternum ของผปู้ ่ วยพอดี

6.5 วิธีกดนวดหวั ใจ กดหนา้ อกท่ีบรเิ วณดงั กล่าวอย่างเรว็ และแรงใหก้ ระดูก sternum ยุบลงไปประมาณ 1.5 –2 น้วิ ( 3.5 ซ.ม. )ในผูใ้ หญ่ , 0.5 – 1 น้วิ ในเดก็ อายุตา่ กว่า 1 ขวบ และ 1 – 1.5 น้วิในเดก็ อายุ 1 – 8 ขวบ การกดหนา้ อกในผูใ้ หญ่ ใช้ hip joints ของผูก้ ดนวดเป็ นจุดหมุน ควรกดนวดอย่างสมา่ เสมอและนุ่มนวล ไม่ชะงกั หรอื กระตุก ในอตั รา 80 – 100 ครงั้ / นาที สาหรบั ผูใ้ หญ่และ 100ครง้ั / นาที สาหรบั เดก็ ในขณะท่ีกดแต่ละครง้ั ใหน้ บั ดงั ๆ หนงึ่ และสอง…และสาม…นบั ไปจนกระทง่ั ถงึ 15 แลว้ ค่อยสลบั การช่วยหายใจ 2 ครงั้ ( CPR 2005 ) ถา้ ตอ้ งการหยุดเพอื่ สบั เปลยี่ นคนกด ใหห้ ยุดไดไ้ ม่เกนิ 10 วินาที ขณะทาการกดสนั มือจะตอ้ งแตะกบั ทรวงอกของผูป้ ่ วยตลอดเวลาแต่ไม่ท้ิงนา้ หนกั ไวบ้ นอกของ ผูป้ ่ วย เพราะจะทาใหห้ อ้ งหวั ใจขยายตวั เพอ่ื รบั ปรมิ าณเลอื ดที่ไหลกลบัไดไ้ ม่เตม็ ท่ี ใหท้ าติดต่อกนั จนกว่าหวั ใจจะสามารถทางานไดเ้ อง

 การนวดหัวใจและการช่วยการหายใจต้องทาร่วมกนั และสัมพนั ธ์กนั โดยการนวด หัวใจ 15คร้ังต่อการช่วยหายใจ 2 คร้ัง ท้งั กรณที ก่ี ระทา CPR เพยี งคนเดยี ว และ กรณี การทา CPR 2 คน ( CPR 2005 ) เมอื่ สิ้นสุดนาทแี รกของการ CPR หรือครบ 4 รอบ ตรวจสอบการเต้นของหัวใจและการเต้นของชีพจรบริเวณ Carotid Pulse ในผู้ใหญ่ และ Brachial Pulse ในเดก็ ใช้เวลาในการตรวจสอบไม่เกนิ 5 – 10 วนิ าที ถ้ายงั ไม่มี ชีพจรให้ทาการ CPR ต่อไป รวมท้งั การสังเกตการเปลยี่ นแปลงอน่ื ๆ ของ ผ้ปู ่ วยท่ี เกดิ ขึน้ ระหว่าง CPR เช่น รูม่านตาเลก็ ลง ผวิ หนังซีดเขยี วน้อยลง แสดงว่ามกี าร ไหลเวยี นเลอื ดดขี นึ้



ชมวดี โี อขอบคณุ คะ่


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook