Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 9.ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ม.ค.-เม.ย. 55

9.ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ม.ค.-เม.ย. 55

Published by c4htwgoter, 2017-10-12 21:24:57

Description: 9.ปีที่ 4 ฉบับที่ 9 ม.ค.-เม.ย. 55

Search

Read the Text Version

tssN 1906-5906t'J' i7 r i' :17'I' l l-J'j:i;i.C:.tJ-?rcrJournal of Curiculum and InstructionSakon Nakhon Rajabhat Universityflii a qu-ufi 9 flr1a -rrtsl?ru 2555Vol.4 No.9 Jonuory-April 2012 d1?r ,la g1 14 dn an: ua cn 1 ?dou (U tN ra r? rn e r a-er trzrig a n a u n Curriculum and Instruction Sakon Nakhon Rajabhat University

วารสารราย 4 เดือนวารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร Journal of Curriculum and InstructionSakon Nakhon Rajabhat University ปท ี่ 4 ฉบับท่ี 9 มกราคม-เมษายน 2555 Volume 4 No.9 January-April 2012 ISSN 1906-5906

วารสารวชิ าการหลกั สูตรและการสอน Journal of Curriculum and Instruction มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร Sakon Nakhon Rajabhat Universityวัตถุประสงค 1. เพอ่ื เผยแพรบ ทความทางวิชาการ งานวิจัย และบทความวิทยานพิ นธของนกั ศึกษาและอาจารย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร และสถาบนั อุดมศึกษาอน่ื ๆ 2. เพ่ือเปน เวทีทางวชิ าการใหน กั วชิ าการ ผทู รงคณุ วุฒิ และผสู นใจไดเผยแพรค วามรูทางวชิ าการ งานวิจัยและผลงานสรางสรรคอ ืน่ ๆ อนั จะเปนประโยชนตอ การสรรคส รางองคค วามรู ทางดา นหลักสตู รและการสอนสูสงั คมเจาของ สาํ นักงานสาขาวิชาหลักสตู รและการสอน บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร อาคาร 5 ชนั้ 3 ตําบลธาตุเชิงชุม อําเภอเมือง จงั หวัดสกลนคร 47000 โทร./Fax. 0-4297-0033 http://curriculum.grad.snru.ac.thท่ีปรึกษา นายปญ ญา มหาชยั อธกิ ารบดี ผูชวยศาสตราจารย ดร.วัฒนา สุวรรณไตรย รองอธกิ ารบดฝี ายบณั ฑิตศกึ ษาและวเิ ทศสัมพนั ธบรรณาธิการ ผชู วยศาสตราจารย ดร.ประยูร บญุ ใชกองบรรณาธิการ ผูชว ยศาสตราจารย ดร.สําราญ กําจดั ภยั ผูช ว ยศาสตราจารย ดร.ภูมพิ งศ จอมหงษพิพฒั น ผชู วยศาสตราจารย ดร.วจิ ติ รา วงศอ นสุ ิทธ์ิ ดร.พจมาน ชาํ นาญกจิ ดร.อุษา ปราบหงษผปู ระเมินอสิ ระ (Peer Review) ตรวจสอบทางวชิ าการประจําฉบับ ดร.อไุ ร จักษต รมี งคล ดร.ไอลดา คลายสํารดิ ดร.วฒุ ิชัย จงคํานงึ ศีล ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.สมยศ ชิดมงคล ดร.วัลลภา จนั ทรเพญ็ ดร.ฤทัยทรัพย ดอกคาํ ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.วราภรณ ตระกูลสฤษดิ์ ดร.ยอดอนงค จอมหงษพพิ ฒั นตนฉบบั ศิวาภรณ เกงสวุ รรณ / บังอร อินทรลีฝา ยศิลปกรรม ศิวาภรณ เกง สวุ รรณกาํ หนดการเผยแพร ปละ 3 ฉบบั (ราย 4 เดือน)พมิ พท ี่ โรงพมิ พส กลนครการพมิ พ อําเภอเมือง จงั หวดั สกลนคร

บทบรรณาธิการ วารสารวิชาการหลกั สตู รและการสอน เปน วารสารวิชาการทีจ่ ดั ทาํ ขึ้นโดยมีวตั ถุประสงคเพือ่ เผยแพรบทความทางวิชาการ งานวิจัย และบทความวิทยานิพนธของนักศึกษาและอาจารยมหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนครและเพื่อเปน เวทีทางวิชาการใหนกั วิชาการ ผูทรงคุณวุฒิ และผูสนใจไดเผยแพรความรูทางวิชาการ งานวิจยั และผลงานสรางสรรคอื่นๆ อันจะเปนประโยชนตอการสรรคสรางองคความรูทางดานหลกั สูตรและการสอนสูสังคมตอไป สาระในฉบับที่ 9 นี้ประกอบดวยบทความวิทยานิพนธของนกั ศึกษาในระดับปริญญามหาบณั ฑิตสาขาวิชาหลักสตู รและการสอน จํานวน 21 เรื่อง หวังเปนอยางยิ่งวาวารสารฉบับนี้จะเปนประโยชนตอการเสริมสรางองคความรูทางวิชาการดานหลกั สูตรและการสอนตอผูอานทกุ ทาน บรรณาธิการ

แบบฟอรม สมคั รสมาชกิ วารสารวชิ าการหลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนครอัตราคาบํารุง ∗ สมาชกิ บคุ คลทัว่ ไป 200 บาท/ป ∗ สมาชกิ นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร 100 บาท/ปเงอ่ื นไขการเปนสมาชิก ∗ สมาชกิ จะไดร บั วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน จาํ นวน 3 เลม/ปชอ่ื -สกุล (ผูสมคั ร) ...............................................................................................................................................ทอ่ี ยู ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................เบอรโทรศพั ท .........................................................ประเภทสมาชกิ Ο บุคลท่วั ไป Ο นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนครการตอบรบั แจงความจาํ นงไดที่ ลงช่ือ ...............................................................ผสู มัคร สํานักงานสาขาวิชาหลักสูตรและการสอน (.........................................................) มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร อําเภอเมือง จังหวดั สกลนคร 47000 ............/.................../.............. โทร./โทรสาร 0-4297-0033สว นของเจา หนาท่ี ผูสมัครจะไดรับวารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนครจาํ นวน 3 เลม ระยะเวลา 1 ป ตง้ั แต ปท ี่ ......... ฉบับท่ี ......... เดอื น .................................ถงึ ปท่ี .......... ฉบบั ท่ี .......... เดอื น ...................................... ลงช่ือ ....................................................ผสู มัคร (...................................................) ........../............./............ ∗ หลักฐานการรับเงินคา สมัครเปนสมาชิกวารสารวิชาการหลกั สตู รและการสอน ∗ไดร ับเงนิ จาก นาย/นาง/นางสาว ................................................................................................คา สมัครเปนสมาชิกวารสารวชิ าการหลกั สูตรและการสอน จาํ นวน .......... บาท (.............................................) ลงชือ่ ....................................................ผสู มคั รต้ังแต ปท ่ี ....... ฉบับที่ ....... เดือน ........................ (..................................................) .........../................/.............ถงึ ปท่ี ........ ฉบบั ที่ ....... เดอื น ..............................

สารบญับทความวิจยั หนาการพฒั นาชุดกิจกรรมการเรียนรแู บบรว มมือท่สี อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วชิ าประวัตศิ าสตรชน้ั มัธยมศกึ ษาปที่ 1 คาลม แสงแกว ............................................................................................................. 1การพฒั นากจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบโครงงาน เรอ่ื งการถนอมอาหาร กลมุ สาระการเรียนรูการงานอาชพี และเทคโนโลยี ช้นั ประถมศกึ ษาปท ี่ 6 พชั รนิ ทร วญิ ญาสุข ....................................................................................................... 11การพฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอรชว ยสอนมัลตมิ เี ดีย หนว ย การอานคําที่มีตวั สะกดตรงตามมาตรากลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปท ี่ 3 สงบ เดิมทาํ รมั ย ........................................................................................................... 19การพฒั นากจิ กรรมสง เสรมิ นิสัยรักการอา น สําหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 5 โรงเรียนบานโคกภูอําเภอภพู าน สงั กัดสํานกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 วารีย บญุ สิทธ์ิ ..............................................................................................................27การพฒั นาชุดกจิ กรรมการเรยี นรู เรอื่ งนํา้ และอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสรมิ สรา งการคดิวิเคราะห กลมุ สาระการเรียนรูวทิ ยาศาสตร ช้นั ประถมศึกษาปที่ 3 พงษพ ิศ พงษอ ินทรธ รรม ................................................................................................35การพฒั นาชดุ กจิ กรรมสง เสริมทักษะการอา นและการเขยี นคําควบกลา้ํ เนน การเรียนรแู บบรวมมอืชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 2 อรพรรณ ธุนาบาล ....................................................................................................... 45การพัฒนาชุดเกมคอมพวิ เตอร เพือ่ สงเสริมความสามารถในการเขียนสะกดคาํ ยากกลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 อรทยั พรหมอุตม ..........................................................................................................53การพัฒนากจิ กรรมการอา นจบั ใจความ โดยใชว ิธีสอนแบบ SQ4R กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทยชัน้ ประถมศึกษาปที่ 4 บําเพ็ญ มาตรราช ........................................................................................................ 61การพัฒนาหนวยการเรียนรูแบบบรู ณาการ สาระดนตรีและนาฏศิลป ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6 อญั ชลี บงบุตร ............................................................................................................ 69การพฒั นาชุดกิจกรรมฝก ทักษะการอานภาษาไทยเชงิ วเิ คราะห สาํ หรับนกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 5 มาลีรตั น โกษาแสง .......................................................................................................77การวิจยั ปฏิบัติการเพือ่ แกปญหาการอา นหนังสอื ไมออก ของนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 6โรงเรยี นบา นคางฮงุ เจริญศลิ ป สํานกั งานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 2 ลอื ชยั สวุ รรณไตร ......................................................................................................... 85การพฒั นาแผนการจัดการเรยี นรูทเี่ นนการคดิ อยางมีวิจารณญาณ โดยใชวธิ สี อนแบบซนิ ดิเคทเรอื่ ง หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา กลมุ สาระการเรียนรสู งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 5 หทัยรตั น สมดี ..............................................................................................................93การพฒั นาหลักสตู รสถานศึกษา สาระการเรียนรเู พิ่มเตมิ เรอื่ ง การราํ โสท งั่ บ้งั สาระนาฏศิลปชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 โรงเรยี นอนุบาลกุสมุ าลย สํานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 นวลผกา ชณุ หวิจติ รา ....................................................................................................103การพฒั นาหนว ยการเรียนรูภ าษาองั กฤษแบบบูรณาการ เร่ือง Local Environment ช้ันประถมศึกษาปท ่ี 5สํานักงานเขตพืน้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 เบญจวรรณ บญุ แสง ...................................................................................................111การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาสาระการเรียนรูทอ งถิน่ เรื่อง การทอผาลายมกุ ชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 2โรงเรียนบา นนาตงสหราษฎรอุทศิ สํานกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 1 อภริ ดี ศรบี ุญเรอื ง .......................................................................................................121

สารบญับทความวิจัย หนาการพฒั นาชดุ กิจกรรมการเรียนรภู าษาไทยตามทฤษฎีพหุปญ ญา หนวยการเรยี นรู เรื่อง เศรษฐกิจพอเพยี งชนั้ ประถมศึกษาปที่ 6 อรทยั หอยตะคุ ..........................................................................................................131การพัฒนากจิ กรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื เสริมสรา งความสามารถในการอานภาษาองั กฤษเพ่อื ความเขาใจโดยใชก จิ กรรมเสียงหัวเราะรว มกบั การจัดการเรียนรแู บบ KWL-Plus สาํ หรบั นักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปท ่ี 5 สาวติ รี เถาวโท ............................................................................................................141การพัฒนาหนังสอื อานเพ่ิมเตมิ ชุด ศรีสงครามบา นฉนั กลมุ สาระการเรียนรูสังคมศกึ ษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปที่ 5 อรวรรณ วงศณ ะรัตน ..................................................................................................151การพฒั นาชุดกิจกรรมการเรียนรภู าษาไทย เร่ืองหลักการใชภาษาไทย โดยใชการเรยี นรูแบบรว มมอืแบบผสมผสานการอานและการเขยี น (CIRC) ช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 3 นวลสวาท อนิ ทรติยา ..................................................................................................159การพฒั นากจิ กรรมการเรียนการสอนแบบรว มมอื โดยใชร ูปแบบ STAD และ TGTเรอื่ งโจทยป ญหาคณิตศาสตร ชั้นประถมศกึ ษาปท ี่ 1 วจิ ิตร ไชยจนั ทร .........................................................................................................167การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนคณติ ศาสตรต ามรปู แบบ 4MAT เร่อื ง การการบวก การลบจาํ นวนซงึ่ มผี ลลัพธแ ละตวั ตงั้ ไมเกิน 100,000 ชนั้ ประถมศกึ ษาปท่ี 3 วไิ ลวรรณ บางศิริ .......................................................................................................175

วารสารวชิ าการหลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 การพฒั นาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรแู บบรว มมอื ที่สอดแทรก การคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณ วชิ าประวตั ศิ าสตร ชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 1 Development of Learning Activity Packages based on Cooperative Learning Infused with Critical Thinking on History for Mattayom Suksa 1 ผวู จิ ยะ นายคาลม แสงแกว อาจารยท ปี่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ (1) ดร.อษุ า ปราบหงษ (2) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ปรัยรู บญุ ใช Researcher : Mr. Khalom Saengkaew; Thesis Advisors : (1) Dr. Usa Prabhong (2) Asst. Prof. Dr. Prayoon Boonchai บทคัดยอ การวิจัยคร้ังนี้ มีความมุงหมายของการวิจัย 1) เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ที่ 1 ให'มีประสิทธิภาพ80/80 2) เพอ่ื เปรียบเทียบผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนจากการใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือทีส่ อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณของนกั เรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนจากการใช'ชุดกิจกรรมการเรียนรู'แบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ และ 4) เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนที่มีตอการจัดกิจกรรมการเรียนร'ูโดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือทีส่ อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ กลุมตัวอยางที่ใช'ในการวิจัยคร้ังนี้ เป=นนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2 ป0การศึกษา 2553โรงเรียนอากาศอาํ นวยศึกษา สาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 จํานวน 40 คน ได'มาโดยวิธีการสุมแบบกลุม เครอื่ งมือท่ใี ช'ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด'วย ชดุ กิจกรรมการเรียนรู'แบบรวมมือท่สี อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบทดสอบประจําชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ และแบบวัดเจตคตินกั เรียนท่ีมีตอการจดั กิจกรรมการเรียนรู'โดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ู สถิติที่ใช'ในการวิเคราะห-ข'อมูล ได'แก คาร'อยละคาเฉลี่ย คาเบีย่ งเบนมาตรฐาน และการทดสอบคาที (t-test) ชนิด Dependent Samples ผลการวิจัย พบวา 1. ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร-ชั้นมัธยมศึกษาป0ที่ 1 มีคาประสิทธิภาพ 83.75/82.94 ซ่ึงผานเกณฑ- 80/80 ทก่ี ําหนดไว' 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด'วยชุดกิจกรรมการเรียนรู'ที่ผ'ูวิจัยพัฒนาขึ้น สูงกวากอนเรียนอยางมีนยั สําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 3. ความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณของนักเรียนที่เรียนด'วยชุดกิจกรรมการเรียนรู'ท่ีผู'วิจัยพัฒนาขึ้น สงู กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติทร่ี ะดับ .01 4. นักเรียนมีเจตคติตอการเรียนการสอนด'วยชดุ กิจกรรมการเรียนร'ูท่ีผ'ูวิจัยพัฒนาข้ึน อยใู นระดับมากทสี่ ุด

วารสารวิชาการหลกั สตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร ปที่ 4 ฉบบั ท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 ABSTRACT The purposes of this research were: 1) to develop and study the efficiency of learning activitypackages based on Cooperative Learning infused with critical thinking on history for Mattayom Suksa 1on the 80/80 standard criterion, 2) to compare the students’ learning achievement before and afterlearning through the learning activity packages based on Cooperative Learning infused with criticalthinking, 3) to compare the ability of critical thinking of students before and after learning through thelearning activity packages based on Cooperative Learning infused with critical thinking and 4) to studythe students’ attitude towards the instructional activities based on Cooperative Learning infused withcritical thinking on history for Mattayom Suksa 1. The subjects were 40 Mattayom Suksa 1 students of Akatamnuaysuksa School under theSecondary Educational Service Area Office 23 in the second semester of academic year 2010, obtainedthrough Cluster random Sampling. The instruments used were : learning activity packages based onCooperative Learning infused with critical thinking, a learning achievement test, a test of each learningactivity package based on Cooperative Learning infused with critical thinking a critical thinking test andstudents’ attitude towards the instructional activities based on Cooperative learning infused with criticalthinking test, The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation and dependent samplest–test. The results of this study were as follows: 1. The efficiency of the learning activity packages based on cooperative learning infused withcritical thinking on history for Mattayom Suksa 1 was 83.75/82.94 which was higher than the setcriterion of 80/80. 2. The students’ learning achievement after learning through the learning activity packagesbased on cooperative learning infused with critical thinking on history for Mattayom Suksa 1 was higherbefore the intervention at the .01 level of significance. 3. The ability of critical thinking of students after learning through learning activity packagesbased on cooperative learning infused with critical thinking on history for Mattayom Suksa 1 was higherbefore the intervention at the .01 level of significance. 4. The students’ attitude towards the instructional activities based on cooperative learning infusedwith critical thinking on history for Mattayom Suksa 1 was at the highest level. 

วารสารวิชาการหลกั สตู รและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555ภูมิหลัง การเรียนภายในห'องเรียนน'อยโดยเป=นผ'ูรับความร'ูอยาง เดียว นักเรียนจึงขาดโอกาสที่จะรวมเรียนร'ูและมีปฏิสัมพันธ- สมเด็จพระนางเจ'าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ ทรงมี ซ่ึงกันและกัน สงผลให'นักเรียนขาดทักษะทางสังคมท่ีดีพระราชเสาวนีย- แกคณะบุคคลตางๆ ที่เข'าเฝrาถวายพระ ฉะนั้นการจัดการเรียนการสอนจึงจําเป=นจะต'องพัฒนาพรชยั มงคลในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิ ระบบ การเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอน จึงเป=นดาลัย พระตําหนักจิตรลดารโหฐานพระราชวังดุสิต วันท่ี หน'าที่โดยตรงของผ'ูสอนที่จะต'องวางแผนจัดกิจกรรม11 สิงหาคม 2551 ความวา การเรียนการสอนที่เน'นนักเรียนเป=นศูนย-กลางเพ่ือพัฒนา ทักษะการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ-และการ “...ที่ประเทศไทยบรรพบุรุษของเราสละชีวิตมาเพ่ือ ประ ยุ ก ต- ค ว า ม รู' ม า ใ ช' เ พื่ อ ปr อ ง กั น แ ล ะ แ ก' ไ ข ปu ญ ห าปกปrองผืนแผนดิน มาด'วยเลือดเนื้อ ด'วยชีวิตแตเสียดาย (พระมหาสุพล สอนสมนึก, 2547, หน'า 145)ตอนนี้ทานนายกรฐั มนตรี เขาไมได'เรียนประวัติศาสตร-แล'วนะ ฉนั ก็ไมเข'าใจเพราะตอนที่ฉันเรียนอยูท่ีสวิตเซอร-แลนด- การคิดอยางมีวิจารณญาณเป=นทักษะหนึ่งท่ีมีไมมีประวตั ิศาสตร-อะไรเทาไร แตเราก็ต'องเรียนประวัติศาสตร- ค ว า ม สํ า คั ญ แ ล ะ เ ป= น คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ข อ ง นั ก เ รี ย น ต า มสวิตเซอร-แลนด- แตเมืองไทยนี่บรรพบุรุษเลือดทาแผนดิน พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542กวาจะมาถึงที่ให'พวกเราอยูนั่งอยูกันสบาย มีประเทศชาติ (แก'ไขเพมิ่ เติม ฉบับท่ี 2 พุทธศักราช 2545) เป=นกระบวนการเรากลับไมให'เรียนประวัติศาสตร- ไมรู'วาใครมาจากที่ไหน ท่ีทําให'ผ'ูเรียนสามารถตัดสินใจได'ดีขึ้นอยางสมเหตุสมผลอยางที่อเมริกาถามไป เขาก็เรียนประวัติศาสตร-บ'านเมือง ที่มีประสิทธิภาพ นอกจากน้ียงั สงผลให'ผู'เรียนมีความสามารถเขา ที่ประเทศไหนเขาก็สอน แตประเทศไทยไมมี ไมทราบ ในการคิด การแกไ' ขปญu หาสถานการณ-ท่ีปรากฏ ข'อโต'แย'งวาแผนดินนี้ รอดไปอยูจนบัดนี้เพราะใครหรือวายังไง อันนี้ หรือข'อมลู คลุมเครือ โดยใช'ความรู'ความคิดและประสบการณ-นาตกใจ ชาวตางชาติยังไมทราบวานักเรียนไทยไมมีการ ของตนเองในการตัดสินใจ เพื่อสรุปการยุติที่สมเหตุสมผลสอนประวัติศาสตร-เลย...” เกิดความรักในการเรียนรู'และมีทักษะในการแสวงหา ความรู'ได'เองอยางไมส้ินสุด (ทิศนา แขมมณี, 2544, หน'า 58) จากพระราชเสาวนีย- ดังกลาวสมเด็จพระนางเจ'า เพราะตลอดชีวิตของมนุษย-ต้ังแตเกิดจนกระทั่งตายต'องสิริกิติพ์ ระบรมราชินีนาถ ทรงให'ความสําคัญกับประวัติศาสตร- พบเรื่องราวตางๆ มากมายทั้งท่ีเปน= ปญu หา และไมเปน= ปuญหาโดยเฉพาะประวัติศาสตร-ท่ีเกี่ยวข'องกับประเทศชาติซึ่ ง ต อ ม า ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร ป ร ะ ก า ศ ใ ห' แ ย ก วิ ช า นอกจากน้ีแนวทางในการพัฒนาการจัดกิจกรรมประวัติศาสตร-ออกมาเป=นวิชาเฉพาะ ระดับมัธยมศึกษา การเรียนการสอน การเรียนรู'แบบรวมมือเป=นรูปแบบการสอนกาํ หนดเป=นวิชาบังคับท่ีนักเรียนทกุ คนต'องเรียน รปู แบบหน่ึงทีส่ อดคล'องกับแนวคิดการจัดการเรียนรู'ที่เน'น ผ'ูเรียนเป=นสําคัญ สามารถนํามาใช'ในการจัดกิจกรรม การจัดกระบวนการเรียนการสอนวิชาประวัติศาสตร- การเรียนการสอนได'อยางมีประสิทธิภาพ เพราะเป=นท่ีผานมามีปuญหาและอุปสรรคที่เก่ียวข'อง คือ ด'านครู กระบวนการเรียนรู'ท่ีจัดให'ผ'ูเรียนได'รวมมือกันและผู'สอนพบวา ครูสวนมากมักจะไมนําเทคนิคในการนําเสนอ ชวยเหลือกันในการเรียนร'ู โดยแบงผู'เรียนที่มีความสามารถรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ให'นักเรียนมีสวนรวม ตางกันเป=นกลุมเล็กๆ มีการทํางานรวมกัน มีการแลกเปลี่ยนแตยึดตนเองเป=นศูนย-กลางมากกวา และใช'วิธีสอนแบบ ความคิดเห็น มีการชวยเหลือพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกันบรรยาย ซึ่งสงผลให'นักเรียนขาดทักษะการทํางานกลุม มีความรบั ผิดชอบรวมกันท้ังในสวนตนและสวนรวม เพ่ือให'รวมกัน ครูมักจะเรงสอนให'จบเน้ือหาโดยไมคํานึงถึงความ ตนเองและสมาชิกทุกคนในกลุมประสบความสําเร็จ และท่ีแตกตางระหวางบุคคล ด'านนักเรียน พบวานักเรียนได'ให' สําคัญคือ นักเรียนจะต'องมีการพึ่งพา อาศัยกันในทางบวกความสําคัญตอวิชาประวัติศาสตร-น'อยลง ขาดความ มีปฏิสัมพันธ-เก้ือหนุน (Promotive interaction) มีภาระรับผิดชอบเช่ือมั่นและไมกล'าแสดงออก ขาดความรับผิดชอบ ของปuจเจกบุคคล (lndividual accountability) มีทักษะระหวางขาดทักษะในการทํางานกลุม มีสวนรวมในกิจกรรม

วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555บุคคลและกลุมยอย (interpersonal and small-group skills) ความมุงหมายของการวิจยัและมีกระบวนการกลุม (Group processing) ซึ่งเป=นองค-ประกอบท่ีนําไปสูการเรียนร'ูของนักเรียนได'อยางมีประสิทธิภาพ ในการวิจัยคร้ังน้ีผู'วิจัยได'กําหนดความมุงหมายของ(กระทรวงศึกษาธิการ, 2545, หน'า 13) การวิจยั ไว'ดงั น้ี ชุดกิจกรรมการเรียนรู'เป=นนวัตกรรมทางการศึกษา 1. เพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมรูปแบบหนึ่งของการพัฒนาการเรียนการสอน เปyดโอกาส ก า ร เ รี ย น รู' แ บ บ ร ว ม มื อ ที่ ส อ ด แ ท ร ก ก า ร คิ ด อ ย า ง มีให'ผู'เรียนได'ใช'ความสามารถ ตามอัตภาพการเรียนรู'ของ วิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ช้ันมัธยมศึกษาป0ท่ี 1ตนเอง ฝzกการตัดสินใจการแสวงหาความรู'ด'วยตนเอง ให'มีประสิทธิภาพตามเกณฑ- 80/80ฝzกความรับผิดชอบตอตนเองและสังคม การเรียนร'ูเป=นอิสระสร'างความพร'อมและความม่ันใจให'กับผู'เรียน 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเร'าความสนใจของผ'ูเรียนไมทําให'เกิดความเบ่ือหนายใน ระหวางกอนเรียนและหลังเรียนจากการใช'ชุดกิจกรรมการการเรียน สงเสริมให'ผ'ูเรียนเกิดความคิดสร'างสรรค-เพื่อให' เรียนร'ูแบบรวมมือทีส่ อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณเกิดการพัฒนาในทุกๆ ด'าน (สุมาลี โชติชุม, 2544, หน'า29–30) 3. เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอยางมี วิจารณญาณของนักเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียน จากเหตุผลและความสําคัญดังกลาว ผ'ูวิจัยในฐานะ จากการใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือที่สอดแทรกครูผ'ูสอนในกลุมสาระการเรียนรู'สังคมศึกษา ศาสนา และ การคิดอยางมีวิจารณญาณวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาป0ที่ 1 สนใจพัฒนาระบบการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอน จึงได'พัฒนาชุด 4. เพื่อศึกษาเจตคติของนักเรียนท่ีมีตอการจัดกิจกรรมการเรียนรู'แบบรวมมือที่สอดแทรกการคิดอยางมี กิจกรรมการเรียนร'ู โดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบวิจารณญาณ วิชาประวตั ิศาสตร- ช้ันมัธยมศึกษาป0ที่ 1 เพื่อ รวมมื อที่ สอดแทรกการคิ ดอย างมี วิ จารณญาณแก'ปuญหาอุปสรรคในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี วิชาประวตั ิศาสตร- ช้ันมธั ยมศึกษาป0ที่ 1กลาวมาและเป=นแนวทางในการพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนให'มีประสิทธิภาพ เป=นการตอบสนองหลักการจุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐานพุทธศักราช 2551

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555กรอบแนวคิดในการวิจยั แนวทางในการพฒั นาชดุ กิจกรรมการเรียนรู'แบบรวมมือที่สอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร-ช้ันมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 ผ'ูวิจัยได'แนวคิดวิธีการเรียนรู'แบบรวมมือและการคิดอยางมีวิจารณญาณมาเป=นกรอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู'เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู'แบบรวมมือที่สอดแทรกทักษะการคิดอยางมีวิจารณญาณดังภาพประกอบ ตวั แปรตน' การจัดกิจกรรมการเรียนรโู' ดยใชช' ดุ กิจกรรมการเรียนรูแ' บบรวมมือ ท่ีสอดแทรกการคดิ อยางมวี ิจารณญาณการเรียนรแ'ู บบรวมมือ การคิดอยางมีวิจารณญาณ1. แบบการตอภาพ 1. การนิยามปญu หา2. แบบแบงปนu ความสําเร็จ 2. การพิจารณารวบรวมข'อมูล3. แบบการจดั ทมี แขงขนั 3. การระบุสมมตฐิ าน4. แบบชวยกนั คิดชวยการเรียน 4. การสรุปประเมินผล5. แบบการเรียนรวมกัน ตวั แปรตาม1. ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาประวตั ิศาสตร-3. ความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ4. เจตคติของนักเรียนท่ีมีตอการจัดกิจกรรมการเรียนร'ู โดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนรู'แบบรวมมือ ที่สอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ ภาพประกอบ กรอบแนวคิดในการวิจัยวิธีดาํ เนินการวิจัย 3. ขั้นตอนการสร'างและพฒั นาเครื่องมือ 3.1 การสร'างและการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู' 1. ประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาป0ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ป0การศึกษา 2553 โรงเรียนอากาศอํานวยศึกษา แบบรวมมือทีส่ อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณสํานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 จํานวน 3.2 การสร'างและหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผล380 คน สมั ฤทธิ์ทางการเรียน 2. กลุมตัวอยาง นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 3.3 การสร'างและหาคุณภาพแบบวัดความสามารถภาคเรียนที่ 2 ป0การศึกษา 2553 โรงเรียนอากาศอํานวยศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 การคิดอยางมีวิจารณญาณ 3.4 การสร'างแบบวัดเจตคติจํานวน 40 คน ได'มาโดยวิธีการสุมแบบกลุม (ClusterRandom Sampling)

วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท่ี 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555การเกบ็ รวบรวมขอ' มูล (Rating Scale) ตามแบบลิเคอร-ท (Likert) เป=น 5 ระดับ พร'อมให' คาํ แนะนํา ผู'วิจัยได'นําชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือที่สอดแทรกการคิดอยางมีจารณญาณ ไปทดลองใช'กับ 2. การตรวจสอบคุณภาพขอแบบทดสอบวัดนักเรียน ช้ันมัธยมศึกษาป0ที่ 1 ป0การศึกษา 2553 โรงเรียน ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน โดยอากาศอํานวยศึกษา สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 23 ที่เป=นกลุมตัวอยางตามขั้นตอน ดงั น้ี 2.1 ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา (Validity) โดยพิจารณาจากคาดัชนีความสอดคล'องระหวางข'อสอบ 1. ทดสอบกอนเรียน (Pretest) โดยใช'แบบทดสอบ แตละข'อ กบั ตวั ชี้วดั (IOC)วดั ผลสมั ฤทธท์ิ ่ผี 'ูวิจยั สร'างข้ึน จาํ นวน 40 ข'อ 2.2 วิเคราะห-หาคาระดับความยาก (p) และหา 2. ทดสอบวัดความสามารถการคิดอยางมีวิจารณญาณ อํานาจการจําแนก (r) โดยใช'เทคนิค 27% สูงต่ําของกอนเรียน โดยใช'แบบทดสอบวัดความสามารถการคิดอยาง จุงเตฟานมีวิจารณญาณ จํานวน 30 ข'อ 2.3 วิเคราะห-หาคาความเชื่อมั่นแบบทดสอบ 3. ดําเนินการสอนโดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ู ทั้งฉบับโดยใช'สูตร KR20 ของคูเดอร-ริชาร-ดสัน (Kuderแบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ Richardson)วิชาประวัติศาสตร- ช้ันมธั ยมศึกษาป0ท่ี 1 ท้ัง 6 ชดุ 3. การตรวจสอบคุณภาพแบบทดสอบวัด 4. เม่ือส้ินสุดการจัดการเรียนร'ูโดยใช'ชุดกิจกรรม ความสามารถการคิดอยางมีวิจารณญาณ โดยผ'ูเช่ียวชาญก า ร เ รี ย น รู' แ บ บ ร ว ม มื อ ที่ ส อ ด แ ท ร ก ก า ร คิ ด อ ย า ง มี ตรวจสอบความตรงเชิงพฤติกรรม โดยพิจารณาคาดัชนีวิจารณญาณท้ัง 6 ชดุ ทดสอบหลงั เรียน โดยใช'แบบทดสอบ ความสอดข'อความถามกบั ทกั ษะที่ต'องการวัดวัดผลสัมฤทธิ์ท่ีผ'ูวิจัยสร'างข้ึนชุดเดียวกันกับแบบทดสอบกอนเรียน จํานวน 40 ข'อ 3.1 ตรวจสอบความตรงเชิงพฤติกรรม โดย พิจารณาจากคาดชั นีความสอดคล'องระหวางข'อความถาม 5. ทดสอบวัดความสามารถการคิดอยางมี กับทกั ษะทตี่ 'องการวดั (IOC)วิจารณญาณหลังเรียน โดยใช'แบบทดสอบการคิดอยางมีวิจารณญาณ จาํ นวน 30 ข'อ ชุดเดียวกนั กบั กอนเรียน 3.2 วิเคราะห-หาคาระดับความยาก (p) และหา อํานาจการจําแนก (r) โดยใช'เทคนิค 27% สูงต่ําของ 6. นักเรียนตอบแบบวัดเจตคติท่ีมีตอกิจกรรม จุงเตฟานการเรียนการสอนโดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือทีส่ อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- 3.3 วิเคราะห-หาคาความเช่ือม่ันแบบทดสอบชั้นมัธยมศึกษาป0ที่ 1 จํานวน 20 ข'อ ท้ังฉบับโดยใช'สูตร KR20 ของคูเดอร-ริชาร-ดสัน (Kuder Richardson)การวิเคราะห1ข'อมูล 4. การตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดเจตคติ การวิเคราะห-ข'อมูลในการพัฒนาชุดกิจกรรมการ โดยผู'เชี่ยวชาญตรวจสอบความความเหมาะสมข'อคําถามเรียนร'ูแบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ โดยเลือกข'อคําถามท่มี ีคาเฉล่ีย 3.51 ข้ึนไปครั้งน้ีผ'ูวิจยั ได'ดําเนินการวิเคราะห-ข'อมูล ดังน้ี 5. การวิเคราะห-ข'อมูลเพ่ือทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห-ข'อมูลเชิงปริมาณ การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือท่ีสอดแทรก 1. การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือกอนนํามาใช' การคิดอยางมีวิจารณญาณกับกลุมตัวอยาง โดยให'ผู'เชี่ยวชาญ จํานวน 5 ทาน ประเมิน 5.1 วิเคราะห-หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือที่สอดแทรกการคิด การเรียนร'ูแบบรวมมือ ที่สอดแทรกการคิดอยางมีอยางมีวิจารณญาณ เป=นแบบมาตราสวนประมาณคา วิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 ตามเกณฑ- 80/80 โดยใช' E1/E2 และคาสถิติพื้นฐาน เชน คาเฉลี่ย คาร'อยละ คาเบยี่ งเบนมาตรฐาน

วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 5.2 วิเคราะห-เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการ 3. สถิติทใี่ ช'ในการตรวจสอบสมมติฐานเรียนของนักเรียนกอนเรียนและหลังเรียน โดยใช'ชุด 3.1 หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมตามเกณฑ-กิจกรรมการเรียนแบบรวมมือที่สอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ช้ันมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 80/80 (E1/E2)โดยใช' t-test (Dependent Samples) และคาสถิติพ้ืนฐาน เชน 3.2 การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใช'คาเฉล่ีย คาเบ่ยี งเบนมาตรฐาน t–test (Dependent Samples) 5.3 วิเคราะห-เปรียบเทียบความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ กอนเรียนและหลังเรียน โดยใช'ชุด สรปุ ผลการวิจยักิจกรรมการเรียนแบบรวมมือสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 โดยใช' จากการดําเนินการวิจัย เร่ืองการพัฒนาชุดกิจกรรมt-test (Dependent Samples) และคาสถิติพื้นฐาน เชน คาเฉล่ีย ก า ร เ รี ย น รู' แ บ บ ร ว ม มื อ ท่ี ส อ ด แ ท ร ก ก า ร คิ ด อ ย า ง มีคาเบ่ยี งเบนมาตรฐาน วิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ช้ันมัธยมศึกษาป0ที่ 1 สรปุ ผลการวิจยั ได'ดงั น้ี 5.4 วิเคราะห-ผลเจตคติของนักเรียนที่มีตอก า ร เ รี ย น ด' ว ย ชุ ด กิ จ ก ร ร ม ก า รเ รี ย น ร'ู แ บบ ร ว ม มื อ ที่ 1. ผลการวิเคราะห-หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ก า ร เ รี ย น ร'ู แ บ บ ร ว ม มื อ ที่ ส อ ด แ ท ร ก ก า ร คิ ด อ ย า ง มีช้ันมธั ยมศึกษาป0ท่ี 1 โดยหาคาเฉลีย่ วิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ที่ 1 ที่ผ'ูวิจัยได'สร'างขึ้นมีคาประสิทธิภาพ 83.75/82.94 ตาม 6. การวิเคราะห-ของมูลเชิงคณุ ภาพ เกณฑ- 80/80 6.1 ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะ 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนดาํ เนินกิจกรรมการเรียนร'ู แล'วบนั ทึกข'อมลู ในการสังเกต กอนเรียนและหลังเรียน โดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบ 6.2 สัมภาษณ-นกั เรียนอยางไมเป=นทางการ รวมมือที่สอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชา 6.3 นําข'อมูลมาวิเคราะห-และสรุปเป=นข'อมูล ประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 พบวา นักเรียนกลุม ตัวอยางมีคะแนนเฉล่ียกอนเรียนหลังเรียนเทากับ 13.00เชิงบรรยาย และ 33.18 ตามลําดับ จากคะแนนเต็ม 40 คะแนน และยัง พบอีกวา คาเฉล่ียของคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังสถิติทีใ่ ช'ในการวิเคราะห1ข'อมลู ได'รับการจัดการเรียนรู'สูงกวากอนได'รับการจัดกิจกรรม การเรียนร'ูแบบรวมมือ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ 1. สถิติพื้นฐาน .01 1.1 ร'อยละ (Percentage) 1.2 คาเฉลีย่ (Mean) 3. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิด 1.3 สวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) อยางมีวิจารณญาณกอนเรียนและหลังเรียน พบวา นกั เรียนกลุมตัวอยางท่ีเรียนร'ูโดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ู 2. สถิติท่ใี ช'หาประสิทธิภาพของแบบทดสอบ แบบรวมมือที่สอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชา 2.1 การหาคาความเที่ยงตรง (Validity) โดยใช'สูตร ประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 มีคะแนนเฉล่ียกอน เรียนหลังเรียนเทากับ 10.90 และ 24.32 ตามลําดับ จากดัชนีความสอดคล'อง IOC คะแนนเต็ม 30 คะแนน และยังพบอีกวา คาเฉล่ียของ 2.2 วิเคราะห-หาคาระดับความยาก (p) คะแนนความสามารถในการคิดอยางมีวิจารณญาณ 2.3 การหาคาอํานาจจาํ แนก (r) หลังได'รับการจัดการเรียนร'ูสูงกวากอนได'รับการจัด 2.4 วิเคราะห-หาคาความเชื่อมั่นแบบทดสอบทั้ง กิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ท่รี ะดับ .01ฉบับ โดยใช'สูตร KR20 ของคูเดอร- ริชาร-ดสัน (KuderRichardson)

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 4. ผลการศึกษาเจตคติของนักเรียนท่ีมีตอการจัด อีกท้ังทํางานไมเป=นระบบครูผู'สอนจึงควรให'ความสําคัญกิจกรรมการเรียนรู' โดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนรู'แบบ และแก'ปuญหานักเรียนในด'านพฤติกรรมดังกลาว โดยใช'รวมมื อที่ สอดแทรกการคิ ดอย างมี วิ จารณญาณ ทฤษฎีการเสริมแรงทางบวก และการวางเง่ือนไขแบบการวิชาประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 พบวา นักเรียนมี กระทําหรือครูควรดูแลเอาใจใสนักเรียนอยางใกล'ชิดเจตคติตอการเรียนรู'แบบรวมมือสอดแทรกการคิดอยางมี เพ่ือให'ผ'ูเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค- และสามารถวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ช้ันมัธยมศึกษาป0ที่ 1 นาํ ไปใช'ในชีวิตประจําวนั ตอไปอยใู นระดบั มากทสี่ ดุ 1.5 ในการจัดกิจกรรมกลุม ครูผู'สอนต'องคอยข'อเสนอแนะ กระต'ุนและเสริมแรงนักเรียนอยางทั่วถึง เพ่ือให'นักเรียน เกิดความม่ันใจ กล'าแสดงออก แสดงความคิดเห็นและเกิด ในการวิจยั คร้ังน้ีผ'ูวิจยั มีข'อเสนอแนะ ดงั นี้ การแลกเปลีย่ นเรียนร'ูภายในกลุม 1. ข'อเสนอแนะในการนําไปใช' 1.1 ชุดกิจกรรมการเรียนรู'แบบรวมมือที่ 1.6 การกําหนดเวลาของชุดกิจกรรมเป=นส่ิงท่ี สําคัญมาก เน่ืองจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู'โดยใช'ชุดสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- กิจกรรมการเรียนร'ูนี้ จะต'องดําเนินการแบบตอเนื่องชั้นมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 สามารถทําให'ผู'เรียนมีผลสัมฤทธิ์ เพราะฉะนั้นจะต'องกําหนดเวลาที่เหมาะสมกับแตละทางการเรียนสงู ข้ึนและมีเจตคติท่ีดีตอการเรียนรู' ผ'ูบริหาร กิจกรรมและผ'ูท่ีเกี่ยวข'องจึงควรสนับสนุนให'ครูผู'สอนกลุมสาระการเรียนรู'สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันมัธยม 2. ข'อเสนอแนะในการทําการวิจัยครั้งตอไปศึกษาป0ที่ 1 นําชุดกิจกรรมการเรียนรู'นี้ไปใช'ในกิจกรรม 2.1 ควรมีการเปรียบเทียบผลการเรียนรู' โดยใช'การเรียนการสอนให'เกิดผลตอผู'เรียนตอไป ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิด 1.2 กอนดําเนินการจัดกิจกรรมการเรียนร'ู อยางมีวิจารณญาณ วิชาประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาครูผู'สอนควรศึกษา คูมือครู แผนการจัดการเรียนร'ู และ ป0ที่ 1 โดยใช'กลุมทดลองในโรงเรียนอ่ืนๆ เพิ่มขึ้น เพ่ือที่จะชดุ กิจกรรมการเรียนรูใ' นแตละชุดอยางละเอียด เพ่ือให'เกิด ได'ทราบผลการใช'ในระดับทกี่ ว'างข้ึนความเข'าใจในขั้นตอนการดําเนินกิจกรรมการเรียนร'ู เข'าใจกิจกรรมทีป่ ฏิบัติ 2.2 ควรศึกษาผลการใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ู แบบรวมมือท่ีสอดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณ วิชา 1.3 ชดุ กิจกรรมการเรียนรู' เป=นเพียงสวนหนึ่งของ ประวัติศาสตร- ชั้นมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 ที่มีตอตัวแปรตามการจัดกิจกรรมการเรียนรู' ซ่ึงไมอาจสอนแทนครูได' ด'านอ่นื ๆ เชน พฤติกรรมการทํางานกลุม การคิดแก'ปuญหาทั้งหมด ดังนั้นครูควรดูแลเอาใจใสนักเรียนอยางใกล'ชิด คิดวิเคราะห- ความสามารถในการตัดสินใจ ความคิดคอยอํานวยความสะดวก ชวยเหลือ ให'คําแนะนําแก สร'างสรรค- ความคงทนในการเรียนร'ู เปน= ต'นนักเรียน เสริมแรง เพื่อให'นักเรียนสามารถเรียนรู'ได'อยางเตม็ ศักยภาพ 1.4 ในการจัดกิจกรรมโดยใช'ชุดกิจกรรมการเรียนร'ูแบบรวมมือทีส่ อดแทรกการคิดอยางมีวิจารณญาณวิชาประวัติศาสตร- ช้ันมัธยมศึกษาป0ท่ี 1 เนื่องจากเน'นการเรียนร'ูโดยใช'กระบวนการกลุม และเรียนรู'โดยการปฏิบัติกิจกรรม การสร'างสรรค-ผลงานกลุมทําให'พบปuญหานักเรียนบางคนไมให'ความรวมมือในการปฏิบัติงานกลุมขาดความรับผิดชอบในงานท่ีกลุมมอบหมายให'ปฏิบัติ

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555เอกสารอ'างอิงกระทรวงศึกษาธิการ. (2542). การวิจยั เพื่อพฒั นาการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ-องค-การรบั สงสินค'า และพสั ดุภณั ฑ-.ทิศนา แขมมณี และคณะ. (2544). ทฤษฎีการเรียนรูเพือ่ พัฒนากระบวนการคิด : ตนแบบการเรียนรูทางทฤษฎี และแนวปฏิบตั .ิ กรุงเทพฯ: สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ.บุญชม ศรีสะอาด. (2551). การวิจยั เบื้องตน พิมพ-คร้ังท่ี 7. กรุงเทพฯ: สรุ ีวิยาสาสน-.พระมหาสุพล สอนสมนึก. (2547). สภาพและปญ, หาการเรียนการสอนสาระการเรียนรูสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม. การศึกษาค'นคว'าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลยั มหาสารคาม.สมุ าลี โชติชุม. (2544). การศึกษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนวิชาวิทยาศาสตร4และเชาวน4อารมณ4ของนักเรียน ช้ันมธั ยมศึกษาป6ที่ 2 ดวยการสอนโดยชดุ การเรียนวิทยาศาสตร4ที่ส:งเสริมเชาวน4อารมณ4กับการสอน ตามค:ูมือครู. ปริญญานิพนธ- กศ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ.



วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 การพฒั นากจิ กรรมการเรยี นการสอนแบบโครงงาน เรอ่ื งการถนอมอาหาร กลมุ สาระการเรยี นรกู ารงานอาชีพและเทคโนโลยี ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 6 Development of a Learning Activity Based on Project ModelEntitled “Food Preserving” on Career and Technology Learning Substance Group for Prathom Suksa 6 ผวู จิ ยะ นางพชะ รนิ ทร วญิ ญาสขุ อาจารยท ป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ (1) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ภมู พิ งศ จอมหงษพ พิ ฒะ น (2) ดร.พจมาน ชาํ นาญกจิ Researcher : Mrs. Patcharin Winyasook;Thesis Advisors : (1) Asst. Prof. Dr. Bhumbhong Jomhongbhibhat (2) Dr. Potchaman Chumnankit บทคดั ยอ การวิจัยครั้งนี้มีความมุงหมายเพ่ือ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหารกลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ที่ 6 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ1 80/802) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนกั เรียนทีเ่ รียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ที่ 6 กอนและหลังการเรียน3) ศึกษาทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียนที่เรียนโดยใช#กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาป*ท่ี 6 4) ศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีตอการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ที่ 6 กลุมตัวอยางทใี่ ช#ในการวิจัยเป?นนักเรียนชั้นประถมศึกษาป*ที่ 6 โรงเรียนบ#านป@าผาง ภาคเรียนท่ี 2 ป*การศึกษา 2553 จํานวน 32 คนซึ่งได#มาโดยการสุมแบบเป?นกลุม (Cluster RandomSampling) ในการวิจัยคร้ังนี้ใช#แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest-Posttest Design สถิติท่ีใช#วิเคราะห1ข#อมูลได#แก คาร#อยละ คาเฉลยี่ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test Dependent Samples ผลการวิจยั พบวา 1. กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนรู#การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ท่ี 6 ทีพ่ ัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.77/82.34 ซึง่ สูงกวาเกณฑ1ทกี่ ําหนดไว# คือ 80/80 2. นักเรียนท่ีเรียนโดยใช#การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสงู กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคญั ทางสถิติที่ระดับ .01 3. ทักษะการปฏิบตั ิงานด#านการถนอมอาหารและด#านการทาํ โครงงานของนักเรียน อยใู นระดับดีมาก 4. ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร อยูในระดับมากทีส่ ุด

วารสารวชิ าการหลกั สตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท ี่ 4 ฉบบั ที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555ABSTRACT The purposes of this research were : 1) to develop the learning activity based on project modelentitled “Food Preserving” on Career and Technology learning substance group for Pratom suksa 6 on theefficiency criteria of 80/80, 2) to compare the students’ learning achievement learning through projectmodel entitled “Food Preserving” on Career and technology learning substance group for Pratom Suksa 6,3) to study the practical skill learning through project model entitled “Food Preserving” on Career andTechnology learning substance group for Pratom suksa 6, and 4) to study the satisfaction of students tothe learning activity based on project model entitled “Food Preserving” on Career and Technology learningsubstance group for Pratom suksa 6. The subjects were 32 Pratom Suksa 6 students of BanpapangSchool in the second semester of academic year 2010. They were selected by Cluster RandomSampling. The design of this study was One Group Pretest-Posttest Design. The data were analyzed byusing percentage, mean, standard deviation and t-test (Dependent Samples). The results of the research were as follows: 1. The efficiency criteria of the developed learning activity based on project model was81.77/82.34 which was higher than the standard criteria (80/80). 2. The students’ learning achievement was higher than before learning through the developedlearning activity based on project model at the .01 level of significance. 3. The practical skill on Food Preserving and project practices of students were at the very goodlevel. 4. The satisfaction of students to the learning activity based on project model entitled FoodPreserving was at the highest level.ภูมิหลงั เป?น ทําเป?น แก#ปvญหาได#และเกิดการเรียนรู#อยางตอเน่ือง พร#อมทั้งสามารถประยุกต1ความร#ูมาใช#ประกอบอาชีพและ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช การดํารงชีวิตอยางมีความปกติสุข ฉะนั้นครูผ#ูสอนจะต#อง2542 แก#ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พุทธศักราช 2545 หมวด 4 เปล่ียนแปลงบทบาทจากการเป?น ผู#ช้ีนํา ผู#ถายทอดความร#ูเร่ือง แนวทางการจัดการศึกษากลาวถึงการจัดการศึกษา มาเป?นผู#สนับสนุนสงเสริมให#ผ#ูเรียนร#ูจักการแสวงหามีสาระสาํ คญั ตอนหน่งึ สรุปได#วาการจัดกระบวนการเรียนรู# ความรู#จากส่ือและแหลงเรียนรู#ท่ีมีอยูอยางหลากหลายเพ่ือให#จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให#สอดคล#องกับความสนใจ นําข#อมลู เหลาน้ันไปใช#สร#างสรรค1 คิดอยางมีวิจารณญาณและความถนัดของผ#ูเรียน โดยคํานึงถึงความแตกตาง มีการพัฒนาความสามารถทางอารมณ1 โดยปลูกฝvงให#ระหวางบคุ คล โดยยึดหลกั วาผู#เรียนทุกคนมีความสามารถ ผู#เรียนเห็นคุณคาของตนเอง เข#าใจตนเองเห็นอกเห็นใจในการเรียนรู#และพัฒนาตนเองได#และถือวาผ#ูเรียนมี ผ#ูอื่น (กระทรวงศึกษาธิการ, 2544, หน#า 21) ในการจัดความสําคัญท่ีสุดครูต#องสงเสริมให#ผ#ูเรียนสามารถพัฒนา การศึกษาระดับประถมศึกษา จึงมุงพัฒนาผู#เรียนให#ตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพเน#นการฝuกทักษะ สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตให#พร#อมท่ีจะทําประโยชน1กระบวนการคิด การจดั การ การเผชิญสถานการณ1 เพื่อให# กับสังคมและตนเองตามบทบาทหน#าที่ของตนในฐานะผู#เรียนได#เรียนรู#จากการปฏิบัติจริง ฝuกการปฏิบัติให#คิด

วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555พลเมืองท่ีดี ตามการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี คําตอบ มีทักษะการพูด อาน เขียน ตลอดจนร#ูจักคิดและพระมหากษัตริย1เป?นประมุข การพัฒนากระบวน การเรียนร#ู ตัดสินใจในการสร#างทางเลือกอยางมีเหตุผล การจัดจึงต#องพัฒนาให#สอดคล#อง เกื้อกูลตอสภาพการดํารงชีวิต กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงานสามารถชวยจริงตามสภาพเศรษฐกิจและสังคมในท#องถ่ินน้ันๆ สงเสริม สงเสริมให#นกั เรียนเกิดการเรียนรู# ร#ูจักกระบวน การทํางานความเป?นเลิศทางวิชาการและงานอาชีพมุงพัฒนาผ#ูเรียน และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน (ปริยากร ฝางแก#ว,ให#เป?นบุคคลท่ีสมบูรณ1 มีความรู#สําหรับพัฒนาตนเอง 2546, หน#า 89-94) และพบวาวิธีการเรียนรู#แบบโครงงานพัฒนางานอาชีพได#อยางเต็มศักยภาพโดยยึดหลักผู#เรียน เป?นการเปzดโอกาสให#กับนักเรียนทุกคน ได#ก#าวไปสูวิธีการสําคัญทสี่ ุด (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542, หน#า 22) เรียนอยางแท#จริง ทําให#ผลการเรียนร#ูของนักเรียนเกิดผล กระทบในด#านบวกจริง (Niesz, 2004, p.95-A) จากการสังเกต ในปvจจุบันการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรู# และศึกษาสภาพปvญหา การจัดกิจกรรมการเรียนรู#การงานอาชีพและเทคโนโลยี ยังไมพัฒนาเทาท่ีควร ก ลุ ม ส า ระ ก า ร เรี ย น ร#ู ก า ร ง า น อ า ชี พ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยีเน่ืองจากโรงเรียนยงั ไมได#มีการพัฒนาหลักสูตรและจัดการ ช้ันประถมศึกษาป*ที่ 6 โรงเรียนบ#านป@าผาง พบวา ธรรมชาติเรียนการสอนได#ครบถ#วนตามหลักสูตร ท้ังนี้อาจเนื่องจาก ของวิชาเป?นการเรียนร#ูทฤษฎีพร#อมกับการเรียนรู#จากครูผ#ูสอนขาดความร#ูความสามารถในงานกลุมสาระการ การปฏิบตั ิ ซึ่งสภาพการเรียนการสอนสวนใหญนักเรียนได#งานอาชีพและเทคโนโลยี ครูไมเข#าใจในหลักการสอน ครู เรียนร#ูจากหนังสือเรียนและการทําแบบฝuกหัดจึงทําให#ไมมักสอนเนื้อหามากกวาการปฏิบัติจริงและเน#นการวัดและ ดึงดูดความสนใจของนักเรียนเทาท่ีควร ตลอดจนนักเรียนประเมินผลด#านเน้ือหาความร#ู (ทิศนา แขมมณี, 2543, ไมมีทกั ษะพื้นฐานในการปฏิบตั ิงานไมสามารถนําความร#ูไปหน#า 11) สอดคล#องกับกระทรวงศึกษาธิการ ที่เสนอไว#วา ใช#ในชีวิตประจําวันได# อีกทั้งในชุมชนมีการปลูกพืชและในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของครูในโรงเรียน เลี้ยงสัตว1เป?นจํานวนมากในฤดูกาลท่ีมีผลผลิตมากประถมศึกษาครูสวนใหญสอนเน#นเนื้อหาตามที่กําหนดไว# ผลผลิตบางชนิดยังไมมีการนํามาแปรรูปเมื่อผลผลิตมีมากในหลักสูตร โดยใช#วิธีสอนแบบตรงหรือสอนโดยวิธีบอก บางคร้ังก็ปลอยให#เนาเสีย คนในชุมชน ไมสามารถนําผลผลิตความรู# อธิบายเนื้อหาใช#ส่ือประกอบบ#างเล็กน#อย การวัด ท่ีได#มาแปรรูปให#เกิดประโยชน1อยางคุ#มคาและหลากหลายและประเมินผลใช#การทดสอบความรู#โดยใช#ข#อสอบที่เน#น วิธี รวมทั้งมีกรรมวิธีการถนอมอาหารท่ีไมถูกต#องจากการความร#ูความเข#าใจเทาน้ัน สภาพการเรียนของนักเรียน สอบถามนักเรียน พบวามีความต#องการที่จะให#มีการจัดนักเรียนเรียนรู#เร่ืองตางๆ จากการรับฟvงคําอธิบาย กิจกรรมการเรียนการสอน เร่ืองการถนอมอาหารในโรงเรียนการบอกเลาของครูผ#ูสอนท่ีเน#นความร#ูความเข#าใจด#าน ด#วยเหตุผลท่ีวา หากนักเรียนมีความรู#ก็สามารถนําไปเน้ือหา การเรียนรู#ยังอยูในลักษณะที่ครูเป?นศูนย1กลางถึง ถายทอดให#กับผ#ูปกครองหรือคนในชุมชนได#รับความร#ูด#วยจะมีการปฏิบัติกิจกรรมบ#างก็เป?นเพียงปฏิบัติกิจกรรม รวมทั้งเป?นการสงเสริมให#นักเรียนได#นําความรู#ไปประยุกต1ใช#ตามที่ครูสั่ง ความร#ูที่ได#รับจึงเกิดจากการทองจําและทํา ในชีวิตประจําวัน เป?นการประหยัดคาใช#จายเกิดทักษะในความเข#าใจเนื้อหามากกวาการศึกษาค#นคว#าหรือการ การทํางานและการประกอบอาชีพ และจากรายงานการปฏิบัติจริง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551, หน#า 11) ซึ่งวิธีการ ประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ระดับการศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนร#ูท่ีสงเสริมให#ผู#เรียนได#ฝuกปฏิบัติจริง ขั้นพ้ืนฐานโรงเรียนบ#านป@าผาง พบวา จุดท่ีควรพัฒนาและคิดวางแผนและดําเนินการตามแผนที่วางไว#มีหลายวิธี มีผลการประเมินในระดับพอใช# ได#แก มาตรฐานท่ี 25วิธีการจัดกิจกรรมการสอนแบบโครงงานเป?นวิธีหน่ึงท่ีจะ กลาวคือสถานศึกษาควรได#รับการพัฒนาด#านการบริหารชวยฝuกทกั ษะพื้นฐานการเรียนรู#ให#แกผู#เรียนในด#านการคิด เชิงกลยุทธ1 มีระบบและกลไกในการสงเสริมความสัมพันธ1อยางมีระบบ ร#ูจักการแสวงหาความร#ูจากแหลงเรียนร#ู ความรวมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา การจัดอยางมีระบบ รู#จักแสวงหาความร#ูจากแหลงเรียนร#ูที่ กิจกรรมอยางหลากหลายเหมาะสมกับธรรมชาติของหลากหลาย มีทักษะการต้ังคําถามและรู#จักแสวงหา

วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร ปท่ี 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555ผ#ูเรียน สนองความต#องการของผู#เรียนและท#องถ่ิน การจัด ความมงุ หมายของการวิจัยกิจกรรมให#ผ#ูเรียนร#ูจกั ศึกษาหาความรู#แสวงหาคําตอบและสร#างองค1ความร#ูด#วยตนเอง การจัดกิจกรรมที่กระต#ุน ในการวิจัยคร้ังนี้ผู#วิจัยได#กําหนดความมุงหมายของให#ผ#ูเรียนรู#จักคิดวิเคราะห1 คิดสังเคราะห1 คิดสร#างสรรค1 การวิจัยไว#ดงั นี้คิดแก#ปvญหาและตัดสินใจ การประเมินพัฒนาการผ#ูเรียนอยางหลากหลายและตอเน่ือง มีส่ือการสอนที่เหมาะสม 1. เพ่ือพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงานและเอ้ือตอการเรียนรู# (สํานักงานรับรองมาตรฐานและ เรื่องการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพประเมินคุณภาพการศึกษา, 2547, หน#า 9) และเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ท่ี 6 ท่ีมีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ1 80/80 ผ#ูวิจัยจึงมีความสนใจในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เรื่องการถนอมอาหาร 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของก ลุ ม ส า ร ะ ก า ร เรี ย น รู# ก า ร ง า น อ า ชี พ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี นักเรียนท่ีเรียนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนชั้นประถมศึกษาป*ท่ี 6 เพ่ือเปzดโอกาสให#ผ#ูเรียนได#เรียนรู# แบบโครงงาน เรื่องการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนรู#ตามความสนใจ ได#วางแผนการทํางานศึกษาค#นคว#าวิธี การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ที่ 6ถนอมอาหารรวมกันอยางเป?นระบบด#วยการแสวงหา ระหวางกอนและหลังการเรียนความรู#จากแหลงเรียนร#ูตางๆ แล#วนํามาปฏิบัติจริงด#วยตนเอง สามารถสรุปองค1ความร#ูเกี่ยวกับส่ิงท่ีค#นพบโดยมี 3. เพ่ือศึกษาทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียนที่ครูเป?นผู#คอยกระต#ุนแนะนําและให#คําปรึกษาอยางใกล#ชิด เรียนโดยใช#กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองจนส้ินสดุ กระบวนการ การทําโครงงานจะสงผลให#ผู#เรียนมี การถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนรู#การงานอาชีพและความรู#ที่ย่ังยืน และเพื่อเป?นแนวทางในการพัฒนากิจกรรม เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาป*ท่ี 6การเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหารก ลุ ม ส า ร ะ ก า ร เรี ย น ร#ู ก า ร ง า น อ า ชี พ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี 4. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีตอการชั้นประถมศึกษาป*ที่ 6 ให#มีความเหมาะสมและมี จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการประสิทธิภาพตอไป ถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ท่ี 6

วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555กรอบแนวคิดในการวิจยั ตัวแปรอิสระ ตวั แปรตามการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน มี 2 ระยะ 1. ประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนการสอนดงั น้ี แบบโครงงาน 1. ระยะกอนทาํ โครงงาน 2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน 1.1 ให#ความรู#เกยี่ วกบั การทาํ โครงงาน 1.2 ให#ความร#ูเกยี่ วกับการถนอมอาหาร 3. ทกั ษะการปฏิบัติงาน 2. ระยะดาํ เนินการทําโครงงาน 2.1 การเลือกหวั ข#อเร่ืองท่ีต#องการศึกษา 4. ความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีตอการจดั 2.2 การวางแผนในการทําโครงงาน กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน 2.2.1 กําหนดจดุ ประสงค1 2.2.2 กาํ หนดขอบเขตของการศกึ ษา 2.2.3 กาํ หนดวิธกี ารศึกษา 2.3 การลงมือปฏิบัติโครงงาน 2.4 การเขียนรายงานโครงงาน 2.5 การนาํ เสนอผลงานและการแสดงผลงาน ภาพประกอบ กรอบแนวคิดในการวิจยัวิธีดําเนินการวิจัย 2. เครื่องมือที่ใช#ในการวิจยั การวิจยั คร้ังนี้ ไดใ# ช#เครื่องมือ 5 ประเภท คือ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2.1 กิจกรรมการเรียนการสอนและแผนการจัด 1.1 ประชากร ที่ใช#ในการวิจัยคร้ังนี้ ได#แก นักเรียน กิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมช้ันประถมศึกษาป*ท่ี 6 ศูนย1อํานวยการเครือขายโพน อาหาร กลุมสาระการเรียนรู#การงานอาชีพและเทคโนโลยีสามัคคี จํานวน 2 โรงเรียน ได#แก โรงเรียนบ#านนาตง ชั้นประถมศึกษาป*ท่ี 6 จํานวน 7 แผนสหราษฎร1อุทิศ และโรงเรียนบ#านป@าผาง สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 จํานวน 2 2.2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนห#องเรียน รวมจาํ นวนนักเรียนท้ังหมด 67 คน ซึง่ เป?นแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จาํ นวน 1 ฉบบั 20 ข#อ 1.2 กลุมตัวอยาง ที่ใช#ในการวิจัยคร้ังน้ี ได#แก 2.3 แบบวดั ทักษะการปฏิบัติงาน จาํ นวน 2 ชดุนกั เรียนช้ันประถมศึกษาป*ท่ี 6 โรงเรียนบ#านป@าผาง อําเภอ 2.4 แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีโพนนาแก#ว จังหวัดสกลนคร ท่ีเรียนในภาคเรียนท่ี 2 ตอการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เรื่องป*การศึกษา 2553 จํานวน 32 คน ได#มาโดยการสุมแบบ การถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนรู#การงานอาชีพและเป?นกลุม (Cluster Random Sampling) เนื่องจากนักเรียนใน เทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ท่ี 6 เป?นแบบมาตราสวนห# องเรี ยนดั งกล าวมี ลั กษณะเป? นชั้ นเรี ยนที่ คละ ประมาณคา (Rating Scale) 5 ระดบั จํานวน 15 ข#อความสามารถ ประกอบด#วยนักเรียนท่ีมีผลการเรียนใน 2.5 แบบประเมินโครงงาน จาํ นวน 1 ชดุระดบั ดี ปานกลางและออน ลักษณะกลุมประชากรมีสภาพท่ีคล#ายคลึงกันกับห#องเรียนอ่ืนๆ ดังน้ันจึงเป?นตัวแทนของประชากรได#

วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปที่ 4 ฉบับท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555การเก็บรวบรวมข*อมลู การวิเคราะห+ขอ* มูล 1. ผู#วิจัยได#เตรียมนักเรียนกอนการเก็บรวบรวม 1. หาประสิทธิภาพของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนข#อมูลและทําการทดสอบกอนเรียน ในวันท่ี 1 พฤศจิกายน การสอนแบบโครงงาน เรื่องการถนอมอาหาร กลุมสาระ2553 โดยช้ีแจงให#คําแนะนําเกี่ยวกับบทบาทหน#าท่ีของ การเรียนรู#การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษานักเรียน นดั หมายเวลาเรียน ป*ที่ 6 โดยใช#สตู รการหาประสิทธิภาพ E1/E2 2. จัดกิจกรรมการเรียนร#ูโดยใช#แผนการจัดกิจกรรม 2. เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนกอนการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร และหลังเรียน โดยใช# t-test แบบ Dependent Samplesกลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาป*ท่ี 6 จํานวน 9 ช่ัวโมง สอนสัปดาห1ละ 2 วัน 3. ประเมินทักษะการปฏิบัติงาน โดยนําข#อมูลที่ได#รวมสอนทั้งหมด 5 สัปดาห1 ทดลองสอนภาคเรียนที่ 2 จากแบบประเมินทักษะการทําโครงงานและแบบประเมินป*การศึกษา 2553 ระหวางวันท่ี 5 พฤศจิกายน 2553 ทักษะการปฏิบัติงานถนอมอาหารมาวิเคราะห1โดยใช#ถึงวันที่ 3 ธันวาคม 2553 และดําเนินการประเมินด#าน คาเฉล่ีย (Mean)ความรู# พฤติกรรมการปฏิบัติงาน กระบวนการทํางานกระบวนการกลุม จิตพิสัยและผลการปฏิบัติงานตามแบบ 4. วิเคราะห1ความพึงพอใจของนักเรียน ท่ีมีตอการประเมินในทุกแผนการเรียนรู#ไมรวมเวลาในการทดสอบ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เรื่องการกอนและหลังเรียน บันทึกคะแนนจากการรวมกิจกรรมใน ถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและชั้นเรียนบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาป*ที่ 6 โดยนําข#อมูลท่ีได#จากทําการทดสอบระหวางเรียน แบบสอบถามมาวิเคราะห1หาคาเฉลี่ย ( x ) และสวนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) แล#วนําไปเทียบกับเกณฑ1 3. ทําการทดสอบหลังเรียนใช#แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน จํานวน 20 ข#อ เพื่อหาคาร#อยละของ 5. การประเมินโครงงาน โดยนําข#อมูลที่ได#จากคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนทุกคนท่ีทําแบบทดสอบวัดผล แบบประเมินโครงงานมาวิเคราะหโ1 ดยใช#คาเฉล่ีย (Mean)สัมฤทธทิ์ างการเรียนหลังเรียน และหาคะแนนความก#าวหน#าของนักเรียนท่ีเรียนรู#ตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียน สถิติท่ใี ช*ในการวิเคราะห+ขอ* มูลการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษา 1. สถิติทใ่ี ช#หาคุณภาพของเครื่องมือ ได#แกป*ที่ 6 1.1 การหาคาความยาก (Difficult) ของแบบทดสอบ 4. ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน ที่มีตอการจัด วดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอม 1.2 หาคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบวัดผลอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ูการงานอาชีพและเทคโนโลยีช้ันประถมศึกษาป*ท่ี 6 ตามแบบสอบถามความพึงพอใจที่ สัมฤทธ์ทิ างการเรียนผู#วิจยั สร#างข้ึน 1.3 วิเคราะห1หาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ 1.4 หาคาความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาโดยให# ผ#ูเชี่ยวชาญพิจารณาตัดสินเป?นรายข#อ 2. สถิติพื้นฐาน 2.1 คาเฉลยี่ (Mean) 2.2 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) 3. หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนการสอน แบบโครงงาน 4. วิเคราะห1เปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนกอนและหลังการเรียน

วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบบั ท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555สรปุ ผลการวิจยั 1.2 ในการสอนแตละครั้งควรมีการยืดหยุนด#าน เวลาหรือมอบหมายงานให#นักเรียนได#ศึกษาเพ่ิมเติม 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบ นอกเหนือเวลาเรียน ซึ่งครูต#องเป?นผ#ูให#คําปรึกษาและโครงงาน เรื่องการถนอมอาหาร กลุมสาระการเรียนร#ู ข#อเสนอแนะสาํ หรับนกั เรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี ช้ันประถมศึกษาป*ที่ 6ทพ่ี ัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 81.77/82.34 ซ่ึงมีประสิทธิภาพ 1.3 การนําเสนอโครงงานสามารถทําได#หลายเป?นไปตามเกณฑ1ที่กาํ หนดไว# คือ 80/80 รูปแบบตามความเหมาะสม เชน การจัดนิทรรศการ การนําเสนอหน#าช้ันเรียน การติดป•ายนิเทศแสดงผลงาน 2. นักเรียนที่เรียนโดยใช#การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงาน เร่ืองการถนอมอาหาร มีผลสัมฤทธิ์ 1.4 ครูผ#ูสอนอาจใช#เคร่ืองมือในการวัดและทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญ ประเมินผลอยางหลากหลาย นอกเหนือจากท่ีระบุไว#ในทางสถิติท่ีระดบั .01 แผนการจัดการเรียนการสอน เพื่อเป?นข#อสนเทศในการ ปรบั ปรุงการเรียนการสอน 3. ทักษะการปฏิบัติงานด#านการถนอมอาหารของนักเรียนอยใู นระดับดีมาก ( x = 2.76) 1.5 ควรมีการศึกษาพฤติกรรมในขณะจัดกิจกรรม การเรียนรู#ให#ครอบคลุมทุกด#าน เชน พฤติกรรมด#านความ 4. ทักษะการปฏิบัติงานด#านการทําโครงงานของ รับผิดชอบ พฤติกรรมด#านความมีระเบียบวินัย พฤติกรรมนกั เรียนอยใู นระดับดีมาก ( x = 2.79) การมีสวนรวมระหวางเรียน ทักษะการทํางานรวมกับผ#ูอื่น หรือความคิดสร#างสรรค1ของนักเรียนข*อเสนอแนะ 2. ข#อเสนอแนะในการวิจัยคร้ังตอไป 1. ข#อเสนอแนะในการนําแผนการจัดการเรียน 2.1 ควรมีการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบโครงงานไปใช# การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาวิชาอื่นหรือในระดับช้ันอ่ืน 1.1 ผลจากการวิจัยครั้งนี้ แสดงวาแผนการจัดการ ตามความเหมาะสมเรียนการสอนแบบโครงงานที่พัฒนาขึ้น ครูผู#สอนสามารถนํามาใช#เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการ 2.2 ควรมีการศึกษารูปแบบการจัดกิจกรรมถนอมอาหาร ได#อยางมีประสิทธิภาพ และควรศึกษา การเรียนการสอนแบบโครงงานที่มีผลตอคุณลักษณะแผนการจัดการเรียนร#ูประกอบ และสามารถปรับเปลี่ยน อันพึงประสงค1ของนกั เรียนวิธีสอนได#ตามความเหมาะสมมีการเตรียมส่ือให#พร#อมสามารถใช#ส่ือของจริงชนิดอื่นแทนหรือสื่อการเรียนร#ู 2.3 ควรมีการศึกษาเปรียบเทียบวิธีการสอนแบบใกล#ตัว โครงงานกับวิธีการสอนแบบอื่นตามความเหมาะสม

วารสารวชิ าการหลกั สูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555เอกสารอา* งอิงกระทรวงศึกษาธิการ. (2544). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแหงชาติ พุทธศกั ราช 2542. กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ1องค1การรับสง สินค#าและพสั ดุภัณฑ1. . (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟzค.ทิศนา แขมมณี. (2543). การจดั การเรียนการสอนโดยยึดผู#เรียนเป?นศูนย1กลาง : โมเดลซิปปา, วารสารครศุ าสตร. 5(12), 11.ปริยากร ฝางแก#ว. (2546). การพัฒนาแผนการเรียนร%ูแบบโครงงาน เรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑจากต%นกล%วย ช้ันมัธยมศึกษาป2ที่ 3. รายงานการศึกษาค#นคว#าอิสระ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.สํานกั งานรับรองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศึกษา. (2547). รายงานการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โรงเรียนบ%านป8าผาง สํานักงานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาสกลนคร เขต 1. สกลนคร: สาํ นกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาสกลนคร เขต 12.Niesz, Tallia Mari.e. (2004). How The Project Approach Provides Opportunities for Authentic Learning. Dissertation Abstracts International, 42(2), 95–A. 

วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 การพฒั นาบทเรียนคอมพวิ เตอรช ว ยสอนมลั ติมเี ดยี หนว ย การอา นคาํ ท่ีมตี วั สะกดตรงตามมาตรา กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 Development of Multimedia Computer-Assisted Instruction entitled “Pronunciation with Regular Thai Final Consonants” unit of Thai Learning Substance Group for Prathom Suksa 3 ผวู จิ ยะ นายสงบ เดมิ ทาํ รมะ ย อาจารยท ปี่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ (1) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.สาํ ราญ กาํ จดะ ภยะ Researcher : Mr. Sangob Dermtumrum; Thesis Advisor : (1) Asst. Prof. Dr. Sumran Gumjudpai บทคัดยอ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถปุ ระสงคเพ่ือ 1) พัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียตามเกณฑ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรียนก(อนเรียนและหลงั เรียน โดยใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนในการเรียนด5วยบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียหน(วย การอ(านคําทีม่ ีตัวสะกดตรงตามมาตรา ช้ันประถมศึกษาป;ท่ี 3 กล(ุมตัวอย(างที่ใช5ในการวิจัยคร้ังน้ีเป<นนักเรียนชั้นประถมศึกษาป;ที่ 3 โรงเรียนบ5านซ(อมกอก สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 3 ภาคเรียนที่ 2ป;การศึกษา 2553 จํานวน 20 คน ซง่ึ ได5มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช5ในการวิจัย ประกอบด5วย บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย หน(วยการอ(านคําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา ชั้นประถมศึกษาป;ที่ 3 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจทีม่ ีต(อการเรียนด5วยบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมลั ติมีเดีย สถิติทีใ่ ช5ในการวิเคราะหข5อมลู คือ ค(าเฉลย่ี ค(าร5อยละ ส(วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ชนิด DependentSamples ผลการวิจยั พบว(า 1. ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย ที่ผู5วิจัยพัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพเท(ากับ86.09/84.17 ซง่ึ สูงกว(าเกณฑที่ตั้งไว5 คือ 80/80 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนทีเ่ รียนโดยใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย หลังเรียนสูงกว(าก(อนเรียนอย(างมีนยั สําคญั ทางสถิติท่ีระดบั .01 3. ความพึงพอใจของนักเรียนท่มี ีต(อการเรียนโดยใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย โดยรวมอย(ูในระดบั มาก

วารสารวิชาการหลกั สูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 ABSTRACT The purposes of this research were to: 1) develop Multimedia Computer-Assisted Instruction tomeet the standard efficiency of 80/80, 2) compare students’ learning achievement before and after theintervention, and 3) explore the students’ satisfaction towards learning through the MultimediaComputer-Assisted Instruction entitled “Pronunciation with Regular Thai Final Consonants” unit of ThaiLearning Substance Group for Prathom Suksa 3. The samples, obtained through purposive sampling techniques, consisted of 20 Prathom Suksa 3students who enrolled in the second semester of academic year 2010 at Ban Somkok School underNongkhai Primary Educational Service Area Office 3. The research instruments were Multimedia Computer-Assisted Instruction entitled “Pronunciationwith Regular Thai Final Consonants” unit of Thai Learning Substance Group for Prathom Suksa 3,a learning achievement test, and a satisfaction questionnaire towards learning through the developedMultimedia Computer-Assisted Instruction. The statistical analyses used in this study were mean, percentage, standard deviation, and t–test(Dependent Samples). The findings of the research were: 1. The efficiency of the developed Multimedia Computer-Assisted Instruction was 86.09/85.50,which was higher than the set criterion of 80/80. 2. The students’ learning achievement after the intervention was significantly different at the.01 level. 3. The students’ satisfaction towards learning through the developed Multimedia Computer-Assisted Instruction was at a high level.ภูมิหลัง อาชีพให5มีความม่ันคงทางเศรษฐกิจ นอกจากน้ียังเป<นสื่อ แสดงภูมิปzญญาของบรรพบุรุษ ด5านวัฒนธรรม ประเพณี ภาษาไทยเป<นเอกลักษณของชาติ เป<นสมบัติทาง สุนทรียภาพ เป<นสมบัติลํ้าค(าควรแก(การเรียนรู5 อนุรักษวัฒนธรรมอันก(อให5เกิดความเป<นเอกภาพและเสริมสร5าง และสืบสานให5คงอย(ูค(ูชาติไทยตลอดไป (กระทรวงบุคลิกภาพของคนในชาติให5มีความเป<นไทย เป<นเครื่องมือ ศึกษาธิการ, 2551, หน5า 1)ในการติดต(อสื่อสารเพ่ือสร5างความสัมพันธท่ีดีต(อกันทําให5สามารถประกอบธุรกิจ การงาน และดํารงชีวิต ด5วยความสําคญั ของภาษาไทยดังกล(าว กรมวิชาการร(วมกันในสังคมประชาธิปไตยได5อย(างสันติสุข และเป<น กระทรวงศึกษาธิการจึงได5กําหนดให5ภาษาไทยอย(ูในกลุ(มเครื่องมือในการแสวงหาความร5ู ประสบการณจาก ทักษะท่ีเป<นเครื่องมือการเรียนรู5ของหลักสูตรแกนกลางแหล(งข5อมูลสารสนเทศต(างๆ เพ่ือพั ฒนาความรู5 ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงการจัดกิจกรรมการเรียนกระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสร5างสรรคให5ทันต(อ การสอนภาษาไทยม(ุงให5ผู5เรียนมีพัฒนาการทางภาษาทั้งในการเปลี่ยนแปลงของสังคม และความก5าวหน5าทาง ด5านการฟzง การพูด การอ(าน และการเขียนตามควรแก(วัยวิทยาศาสตร เทคโนโลยี ตลอดจนนําไปใช5ในการพัฒนา เหน็ คณุ ค(าของภาษาไทย สามารถใช5ภาษาเป<นเคร่ืองมือส่ือ

วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555ความคิด ความเข5าใจ รักการอ(าน แสวงหาความร5ูและมี เรียนร5ูได5แตกต(างกัน นักเรียนบางคนใช5เวลามากในการเหตุผล (กรมวิชาการ, 2545, หน5า 2-7) นอกจากนี้ เรียนรู5แต(บางคนก็ใช5เวลาน5อย โดยธรรมชาติของผ5ูเรียนสาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได5กําหนดให5 นักเรียนจะเรียนรู5จากรูปธรรมไปหานามธรรมให5มาก“การอ(านคล(องเขียนคล(อง” เป<นนโยบายเร(งรัดคุณภาพ เม่ือเด็กสามารถเรียนรู5ได5ด5วยตนเองก็จะมีผลทําให5ผู5เรียนการเรียน การสอนภาษาไทย นักเรียนจะสามารถอ(าน มีความคงทนในการเรียนร5ูหรือจดจําสิ่งที่เรียนไปแล5วได5คล(องเขียนคล(องได5 จําเป<นจะต5องรู5หลักเกณฑทางภาษา นาน สอดคล5องกับแนวคิดของสกินเนอร (1972, หน5า 19)และมีทักษะในการอ(าน การเขียนเบื้องต5นอย(างแม(นยํา ที่ว(าการศึกษาจะดําเนินไปอย(างมีประสิทธิภาพไม(ได5เพ่ือสามารถนําไปใช5เป<นเครื่องมือในการสื่อสารใน ถ5าเราไม(สามารถแยกแยะในเรื่องความแตกต(างระหว(างชีวิตประจําวัน และการเรียนรู5อย(างมีประสิทธิภาพ บคุ คลของผู5เรียนได5 ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนต5องไม(ยึดสุวรรณ จันทรสม (2544, หน5าคาํ นาํ ) ครูเป<นศูนยกลางแต(การจัดการเรียนการสอนต5องยึด ผู5เรียนเป<นสําคัญ โดยครูเป<นผ5ูเตรียมส่ือการเรียนต(างๆ การส(งเสริมให5นักเรียนมีความเข5าใจและทักษะใน เพ่ือให5บทเรียนเป<นรูปธรรมง(ายต(อการเรียนรู5 และช(วยให5การใช5ภาษาไทยเป<นอย(างดีน้ัน เป<นหน5าที่โดยตรงของครู ผ5ูเรียนได5เรียนร5ูด5วยตนเองจะทําให5ผู5เรียนเรียนรู5ไดอย(างมีภาษาไทยที่จะต5องพยายามคิดค5นหาวิธีการต(างๆ มาใช5 ประสิทธิภาพยิ่งขึ้นเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนให5สัมฤทธ์ิผลตามวัตถุประสงคของหลักสูตรและการปรับปรุงการสอน รายงานผลการประเมินผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนภาษาไทยให5ได5ผลดีต5องประกอบด5วย ความพร5อมของครู ระดับชั้นประถมศึกษาป;ท่ี 3 ป;การศึกษา 2552 สํานักงานนักเรียน กลวิธีการสอน และอุปกรณการเรียนการสอน เขตพ้ืนที่การศึกษาหนองคาย เขต 3 นักเรียนมีผลสัมฤทธ์ิการสอนวิชาภาษาไทยเกิดจากครูและนักเรียนมีทัศนคติ ทางการเรียน วิชาภาษาไทย 30 คะแนน ระดับเขตพื้นท่ีไม(ดีต(อวิชาภาษาไทย สุจริต เพียรชอบ และสายใจ การศึกษา คิดเป<นร5อยละ 30.12 และเม่ือพิจารณาจากผลอินทรัมพรรย (2545, หน5า 145) ได5สรุปผลการวิจัย การเรียนร5ูระดับกล(ุมโรงเรียนซางหนองท(ุม คิดเป<นร5อยละเก่ียวกับการสอนหลักภาษาปรากฏว(าทั้งครูและนักเรียน 31.41 และระดับโรงเรียนบ5านซ(อมกอก คิดเป<นร5อยละต(างก็ไม(เห็นประโยชนและความสําคัญของวิชานี้ โดยครู 30.10 ซ่ึงต่ํากว(าเป€าหมายที่โรงเรียนต้ังไว5ร5อยละ 50คิดว(าวิชาน้ีสอนยากจึงไม(อยากสอน นักเรียนก็ไม(ชอบเรียน โดยเฉพาะสาระท่ี 1 การอ(าน ตามมาตรฐาน ท 1:1 (รายงานเพราะเนื้อหายากไม(สนุกไม(น(าสนใจ โดยเฉพาะอย(างยิ่งการ สรุปผลการประเมินคุณภาพวิชาภาษาไทย กล(ุมนิเทศอ(านคําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกดและไม(ตรง ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สํานักงานเขตตามมาตราตัวสะกดที่ไม(ได5ดําเนินไปตามหลักเกณฑทาง พื้นทก่ี ารศึกษาหนองคาย เขต 3, 2552)ภาษาเพราะไม(เห็นความสําคัญ ในเรื่องนี้ไม(มีการจัดกิจกรรมและแบบฝ•กหัดมาเสริมเพิ่มเติม ครูควรเป<นผ5ู จากผลการประเมินดังกล(าว นักเรียนโรงเรียนบ5านส(งเสริมให5นักเรียนมีโอกาสพัฒนาทักษะทางภาษาให5มาก ซ(อมกอก สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหนองคาย เขต 3ยิ่งขึ้นเพราะการฝ•กทักษะทางภาษาจะอาศัยเฉพาะ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาภาษาไทยไม(ถึงเกณฑแบบเรียนและแบบฝ•กหัดในแบบเรียนน5อยเกินไป เพราะ ท่ีทางโรงเรียนตั้งไว5 อาจเกิดจากปzญหา 2 ด5าน คือปzจจุบันคนไทยส(วนใหญ(ยังไม(มีนิสัยรักการอ(าน และไม( ด5านผ5ูเรียน และด5านผู5สอน ดังนี้ ด5านผ5ูเรียน พบว(ารู5จกั ใช5การอ(านเพอื่ พัฒนาจิตใจของตนเอง นักเรียนส(วนหน่ึงขาดความสนใจ มีปzญหาในด5านการอ(าน หนังสือที่มีตัวสะกดไม(ได5 เพราะขาดการฝ•กฝนที่เพียงพอ จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนของผ5ูวิจัย ไ ม( มี นิ สั น รั ก ก า ร อ( า น เ พ ร า ะ คิ ด ว( า ไ ม( รู5 จ ะ นํ า ไ ป ใ ช5 ใ นพบว(า นักเรียนส(วนมากมีทักษะในการอ(านคําท่ีมีตัวสะกด ชีวิตประจําวันได5อย(างไร ด5านผู5สอน พบว(า ครูผู5สอนขาดไม(ถูกต5อง มีความรู5ไม(เหมาะกับชั้นเรียน ดังน้ัน ครูต5อง ความร5ูความเข5าใจในเน้ือหาวิชาและเทคนิคการสอนคํานึงถึงความแตกต(างระหว(างบุคคล ซ่ึงจะทําให5นักเรียน รวมถึงการเตรียมการสอน ที่ขาดการวางแผนที่ดี ครูสอน

วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555ด5วยวิธีการอธิบายให5นักเรียนฟzงอย(างเดียว การให5โจทยท่ี มะลิทอง, 2540, หน5า 229) ทั้งยังเร5าใจของผ5ูเรียนให5อยากยากเกินไปหรือไม(อดทนที่จะตั้งคําถามให5นักเรียนตอบ เรียนตลอดเวลา ช(วยสนองต(อการเรียนรายบุคคลเป<นจนกว(านักเรียนจะเข5าใจ (วิจิตร อุปการนิติเกษตร, 2540, อย(างดี เพราะเป•ดโอกาสให5ผ5ูเรียนได5เรียนร5ูตามหน5า 125) ซ่ึงในการเรียนการสอนควรนําสื่อนวัตกรรม ความสามารถของตนเอง โดยไม(ต5องรอและเร(งตามเพ่ือนใหม(ๆ เข5ามาเป<นสื่อสอดแทรกประกอบการเรียนการสอน (สมศักด์ิ ชีวัฒนา, 2542, หน5า 42) การนําคอมพิวเตอรให5เป<นรูปธรรมยิ่งข้ึน โดยกรมวิชาการให5ข5อสังเกตว(าท่ี ช(วยสอนในรูปแบบสื่อผสม หรือมัลติมีเดีย (Multimedia)ผ(านมา ครูขาดความร5ู ความเข5าใจในข้ันตอนวิธีสอน มาเป<นส่อื ในการจัดการเรียนการสอนในปzจจุบันเป<นที่นิยมมุ(งเน5นความร5ูให5ท(องหลักเกณฑต(างๆ โดยไม(คํานึงถึง อย(างแพร(หลาย เพราะเป<นส่ือที่มีคุณภาพ เน5นความความแตกต(างและใช5วิธีการสอนนักเรียนเหมือนกันทุกคน สมจริงด5านการจัดแสดงภาพ แสง สี เสียง อย(างเป<นอีกท้ังครูไม(สนใจจุดหมายของหลักสูตรทําให5การจัดการ ธรรมชาติ และบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียยังเรียนการสอนไม(สอดคล5องกับหลักสูตร (กรมวิชาการ, เป<นท่ีนิยมของครูผ5ูสอนอย(างรวดเร็วในยุคการศึกษา2544, หน5า 102) ไร5พรมแดน (ประวิทย สิมมาทนั , 2547, หน5า 8) การนําสื่อการเรียนการสอนใหม(ๆ มาใช5จะช(วยให5 ด5วยคุณลักษณะของบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนนักเรียนได5เรียนรู5ตามสภาพจริงของแต(ละคนและเนื้อหา มลั ติมีเดียดงั กล(าว จึงทําให5ผู5วิจัยสนใจท่ีจะแก5ปzญหาเร่ืองง(ายต(อการเข5าใจและรวบรวมเก็บไว5เป<นความทรงจําได5 การอ(านหนังสือไม(คล(องของนักเรียนด5วยการออกแบบยาวนานข้ึน และครูต5องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ี สร5างบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย เร่ืองสามารถฝ•กให5นกั เรียนได5คิดวิเคราะหเป<นข้ันตอนเป<นระบบ การอ(านคําท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรา เพ่ือใช5ในการสอนสนองต(อความแตกต(างระหว(างบุคคล ซ่ึงอาจทําได5โดย นักเรียนท่ีเรียนช5าให5สามารถอ(านหนังสือได5 ซ่ึงสอดคล5องการแบ(งเนื้อหาบทเรียนให5เล็กลง โดยแบ(งออกเป<นหน(วย กับแนวทางพัฒนาการเรียนการสอนแก5ปzญหาการอ(านการย(อยๆ เรียงจากยากไปหาง(าย โดยเป•ดโอกาสให5นักเรียนได5 เขียนของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเรียนเนื้อหาน้ันเพิ่มขึ้นและมีส(วนร(วมในการรับทราบ (กษมา วรวรรณ ณ อยุธยา, 2551, 18-19) กล(าวว(าความก5าวหน5าของตนเองเป<นระยะๆ กระบวนการเหล(าน้ี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานได5กําหนดเป<นปzจจัยสําคัญในการพัฒนาให5นักเรียนสามารถเรียนจน แนวทางพัฒนาผู5เรียนในด5านการอ(านการเขียนภาษาไทยเกิดการคิดวิเคราะหอย(างกว5างขวางและลึกซึ้ง สามารถ เพ่ือนําความร5ูท่ีได5จากการพัฒนานําไปจัดการเรียนรู5ให5บ ร ร ลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น นักเรียนสามารถอ(านหนังสือได5จริงตามความมุ(งหมายของหลักสูตรและจะทําให5ผลสัมฤทธ์ิวิชาภาษาไทยเพ่ิมสูงขึ้น ความมงุ หมายของการวิจัย ปzจจุบันได5มีผ5ูคิดค5นรูปแบบและวิธีการพัฒนาการ 1. เพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของบทเรียนเ รี ย น ก า ร ส อ น ไ ว5 ห ล า ย รู ป แ บ บ แ ต ก ต( า ง กั น ไ ป ต า ม คอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย หน(วย การอ(านคําที่มีวตั ถปุ ระสงคและเนื้อหาวิชา และในการนําคอมพิวเตอรมา ตัวสะกดตรงตามมาตรา กลุ(มสาระการเรียนรู5ภาษาไทยเป<นเครื่องมือช(วยในการเรียนการสอน โดยเน้ือหาวิชา ชั้นประถมศึกษาป;ท่ี 3 ตามเกณฑประสิทธิภาพ 80/80แบบฝ•กหัดและการทดสอบถูกพัฒนาข้ึนในรูปแบบของโปรแกรมคอมพิวเตอร ผู5เรียนจะเรียนบทเรียนจาก 2. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนคอมพิวเตอร โดยคอมพิวเตอรจะสามารถเสนอเน้ือหาวิชา ระหว(างก(อนเรียนและหลังเรียน ด5วยบทเรียนคอมพิวเตอรซ่ึงอาจเป<นทั้งรูป ตัวหนังสือและกราฟฟ•กส ภาพนิ่ง ช(วยสอนมัลติมีเดีย เร่ือง การอ(านคําท่ีมีตัวสะกดตรงตามภาพเคล่ือนไหว รวมท้ังเสียงประกอบด5วย ซึ่งทําให5เสมือน มาตรา กลุ(มสาระการเรียนร5ูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาป;ท่ี 3จริงทําให5ผ5ูเรียนสนุกสนานไปกับการเรียน (กิดานันท

วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร ปที่ 4 ฉบบั ท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 3. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต(อการจัดการเรียนร5ูโดยใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียเรื่อง การอ(านคําทม่ี ีตวั สะกดตรงตามมาตรา กลุ(มสาระการเรียนรู5ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาป;ท่ี 3กรอบแนวคิดในการวิจยั ตวั แปรตาม การวิจัยครั้งนี้ ผู5วิจัยใช5กรอบแนวคิดในการวิจัย ดังภาพประกอบ ตัวแปรอิสระการจดั การเรียนรู5โดยใช5บทเรียน ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย มลั ติมีเดีย หน(วย การอ(านคําทมี่ ีตวั สะกดตรงหน(วย การอ(านคาํ ทมี่ ีตัวสะกด ตามมาตรา ตรงตามมาตรา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน หน(วย การอ(านคําทีม่ ี ตวั สะกดตรงตามมาตรา ความพึงพอใจต(อการจัดการเรียนรโู5 ดยใช5 บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย หน(วย การอ(านคาํ ท่มี ีตัวสะกดตรงตามมาตรา ภาพประกอบ กรอบแนวคิดในการวิจยัวิธีดาํ เนินการวิจัย การเกบ็ รวบรวมข&อมูล ประชากร ในการวิจัยคร้ังน้ี ผ5ูวิจัยจะดําเนินการทดลอง ประชากรที่ใช5ในการทดลองบทเรียนคอมพิวเตอร ภาคสนามและเก็บรวบรวมข5อมูลด5วยตนเอง โดยทดลอง กับกล(ุมตัวอย(าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาป;ที่ 3ช(วยสอนมัลติมีเดีย เป<นนักเรียนช้ันประถมศึกษาป;ที่ 3 ท่ีกําลังศึกษาในภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2553 จํานวนกล(ุมโรงเรียนซางหนองทุ(ม อําเภอเซกา สํานักงานเขตพื้นที่ 20 คน โดยดําเนินการตามขั้นตอน ดงั น้ีการศึกษาหนองคาย เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ป;การศึกษา2553 ซึ่งอย(ูในเขตตําบลซาง ท้ังหมด 4 โรงเรียน 5 1. ดําเนินการทดลอง โดยใช5แผนการวิจัยแบบ Oneห5องเรียน จํานวน 126 คน Group Pre-test Post-test Design ตามลําดับข้ันตอน ดงั น้ี กลุ(มตวั อย(าง 1.1 เตรียมความพร5อมของนักเรียน ก(อนการ กล(ุมตัวอย(างที่ใช5ในการวิจัยคร้ังน้ี เป<นนักเรียน ทดลองใช5 1 วัน โดยให5นักเรียนเข5าห5องปฏิบัติการ คอมพิวเตอร ทดลองใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนช้ันประถมศึกษาป;ท่ี 3 โรงเรียนบ5านซ(อมกอก สํานักงาน มัลติมีเดีย ท่ีมีลักษณะใกล5เคียงกับบทเรียนคอมพิวเตอรเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 3 ช(วยสอนมัลติมีเดียท่ีผ5ูวิจัยสร5างขึ้น เพ่ือให5ทราบถึงความภาคเรียนท่ี 2 ป;การศึกษา 2553 จํานวน 20 คน วิธีการ ม่ันใจของนักเรียนท่ีมีต(อบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนกําหนดขนาดกลุ(มตัวอย(าง ได5มาจากการเลือกแบบเจาะจง มลั ติมีเดีย(Purposive Sampling)

วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปที่ 4 ฉบบั ท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 1.2 ทดสอบก(อนเรียน (Pre-test) โดยนําแบบทดสอบ 2. วิเคราะหหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ผ5ูวิจัยสร5างข้ึน ให5นักเรียนทํา ช(วยสอนมลั ติมีเดียด5วยวิธีทางสถิติ ดังน้ีแล5วบันทึกคะแนนเก็บไว5เปรียบเทียบกับคะแนนทดสอบหลังเรียน (Post-test) 2.1 หาค(าสถิติพื้นฐาน ได5แก( ร5อยละ (Percentage) และค(าเฉล่ียของคะแนนที่ได5จากการทําแบบทดสอบ 1.3 ทดลองใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอน ระหว(างเรียนในแต(ละหน(วย และคะแนนผลสัมฤทธ์ิมัลติมีเดีย เร่ือง การอ(านคําท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรา หลังเรียนโดยผู5วิจัยจะทดลองสอนด5วยตวั เองใช5เวลาสอน จํานวน 29ช่ัวโมง ไม(นับรวมทดสอบก(อนเรียนและหลังเรียน โดย 2.2 หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอรดําเนินการ ดังนี้ ช(วยสอนมลั ติมีเดีย โดยการหาร5อยละของค(าเฉล่ียของการ ทําแบบทดสอบระหว(างเรียน (E1) และร5อยละของค(าเฉลี่ย 1.3.1 ครูชี้แจงและอธิบายวิธีการเรียน โดยใช5 ของการทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย ให5นกั เรียนเข5าใจ หลังเรียน (E2) 1.3.2 ครูสอนตามแผนการจดั การเรียนรู5 3. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก(อนเรียน 1.3.3 ให5นักเรียนศึกษา และปฏิบัติกิจกรรม กับหลังเรียน โดยการทดสอบค(า t–test ชนิด Dependentตามบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียตามลําดับ Samplesเมอื่ จบแต(ละหน(วยให5นักเรียนทําแบบทดสอบท5ายหน(วยจนครบทกุ หน(วย 4. นําค(าเฉล่ยี ความพึงพอใจมาเทียบกบั เกณฑ 1.3.4 ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะปฏิบตั ิกิจกรรมระหว(างเรียนและจดบันทึกจากการสังเกต สถิติทใ่ี ชใ& นการวิเคราะห+ขอ& มูล 2. ทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยใช5แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับเดิมท่ีใช5ในการทดสอบ 1. สถิติพื้นฐานก(อนเรียน 1.1 ค(าร5อยละ (Percentage) 3. ให5นักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจต(อ 1.2 ค(าเฉลี่ย (Mean)การเรียนด5วยบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย 1.3 ส(วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation : S.D.)จาํ นวน 20 ข5อ 4. นําคะแนนท่ีได5มาวิเคราะหโดยวิธีการทางสถิติ 2. การวิเคราะหหาคุณภาพของเคร่ืองมือ ผ5ูวิจัยได5ใช5เพ่อื ตรวจสอบสมมตฐิ าน สถิติ ดงั นี้การวิเคราะห+ข&อมูล 2.1 การหาค(าเท่ียงตรง (validity) ของแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยสูตรค(าดัชนีความสอดคล5อง การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย IOCหน(วย การอ(านคําท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรา กล(ุมสาระการเรียนรู5ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาป;ที่ 3 ผ5ูวิจัยทําการ 2.2 การหาค(าความยาก (Difficulty : P) ของแบบทดสอบวิเคราะหข5อมูล ดังน้ี วัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 1. วิเคราะหความคิดเห็นของผู5เชี่ยวชาญต(อบทเรียน 2.3 การหาค(าอํานาจจําแนก (Discrimination : r) ของคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย โดยใช5วิธีการทางสถิติ แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนดังน้ี 2.4 การหาความเช่ือมั่น (Reliability) ของแบบทดสอบ 1.1 ค(าเฉลย่ี ( x ) วัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช5สูตร KR-20 ของ 1.2 ส(วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) Kuder–Richardson 3. การหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร ช(วยสอนมลั ติมีเดีย หน(วย การอ(านคําท่ีมีตัวสะกดตรงตาม มาตรา กล(ุมสาระการเรียนรู5ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษา ป;ที่ 3 ตามเกณฑร5อยละ 80/80 โดยใช5สตู ร E1/E2

วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 4. สถิติท่ีใช5ทดสอบสมมุติฐานของคะแนนเฉลี่ยก(อน 1.2 เนื้อหาที่สร5างควรเหมาะสมกับนักเรียน และเรียนและหลงั เรียน ใช5สตู ร Dependent Samples t-test เลือกเนื้อหาที่นกั เรียนให5ความสนใจสรุปผลการวิจัย 1.3 การใช5แบบอักษร รูปภาพ ควรเลือกให5 เหมาะสมกับวยั ของนกั เรียน จากการวิจัยบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียเรื่อง การอ(านคําท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตรา กลุ(มสาระ 1.4 ไม(ควรใช5สีตัวอักษรท่ีตัดกันอย(างรุนแรง แต(การเรียนร5ูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาป;ที่ 3 สามารถสรุป ควรเปน< สีท่ดี แู ล5วอ(านง(ายได5ดงั น้ี 1.5 ควรเลือกใช5ภาพประกอบ ภาพน่ิง ภาพเคล่ือนไหว 1. บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย และเสียง เพอื่ เพิม่ ความสนใจท่ีผ5ูวิจัยพัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท(ากับ 86.09/84.17ซ่งึ สูงกว(าเกณฑทตี่ ้ังไว5ที่ 80/80 1.6 ควรหลีกเล่ียงการนําเสนอที่ทําให5นักเรียน มีความร5ูสึกว(า กําลังอ(านหนังสือ 2. ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนช้ันประถมศึกษาป;ท่ี 3 ป;การศึกษา 2553 ท่ีเรียนด5วยบทเรียน 1.7 ควรแบ(งเนื้อหาออกเป<นหน(วยย(อย เพื่อให5คอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย หลังเรียนสูงกว(าก(อน นักเรียนสามารถเรียนร5ูได5อย(างเป<นข้ันตอน ลําดับความร5ูเรียนอย(างมีนัยสาํ คญั ทางสถิติท่ีระดับ .01 อย(างเปน< ระเบียบ 3. ความพึงพอใจของนักเรียนในการเรียนด5วย 1.8 ก(อนนําบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย มีระดับความ มัลติมีเดียไปทดลองหาประสิทธิภาพ ต5องผ(านกระบวนการพึงพอใจ โดยรวมอย(ูในระดับมากโดยมีค(าเฉล่ียเท(ากับ สร5างอย(างเปน< ระบบ มีการปรบั ปรุงแกไ5 ขข5อบกพร(อง4.24 2. ข5อเสนอแนะในการนําบทเรียนคอมพิวเตอรขอ& เสนอแนะ ช(วยสอนมัลติมีเดียไปใช5 จากผลการวิจัยในครั้งน้ีเป<นการวิจัยเพื่อการพัฒนา เพ่ือให5การใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย หน(วย การอ(าน มัลติมีเดีย บรรลุจุดม(ุงหมายที่กําหนดไว5 ผู5วิจัยจึงขอคําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตรา กล(ุมสาระการเรียนร5ู เสนอแนะการใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียภาษาไทยชั้นประถมศึกษาป;ที่ 3 ผลการวิจัยครั้งนี้มี ดังน้ีข5อเสนอแนะดังต(อไปนี้ 2.1 ครูควรศึกษาค(ูมือการใช5บทเรียนคอมพิวเตอร 1. ข5อเสนอแนะในการสร5างบทเรียนคอมพิวเตอร ช(วยสอนมลั ติมีเดีย ให5เข5าใจก(อนใช5บทเรียนช(วยสอนมัลติมีเดีย ให5มีประสิทธิภาพตามเกณฑที่กําหนดไว5และช(วยให5นักเรียนเกิดความรู5 บรรลุจุดมุ(งหมาย 2.2 ครูควรเตรียมอุปกรณ เครื่องใช5คอมพิวเตอรที่กําหนดไว5 ผู5วิจัยจึงขอเสนอแนะการสร5างบทเรียน ให5พร5อมก(อนใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย ดังนี้ 2.3 ครูควรดูแลและให5คําแนะนําขณะท่ี 1.1 ควรแนะนําเบื้องต5นในการใช5คอมพิวเตอร นักเรียนศึกษาบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียเป<นการปูพื้นฐานให5นักเรียนมีความร5ูความเข5าใจเบื้องต5น และทาํ แบบฝ•กหัดตลอดเวลาให5ตรงกัน เพ่ือให5การเรียนการสอนมีประสิทธิภาพเพิม่ ขึ้น 2.4 ควรมีหูฟzงเพื่อป€องกันการรบกวนการ บรรยาย เพราะนักเรียนอาจเรียนเน้ือหาต(างกัน

วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 3. ข5อเสนอแนะในการวิจัยคร้ังต(อไป 3.2 ควรศึกษาเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการ เพื่อให5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย เรียนท่ีเรียนด5วยบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดียนี้ กับวิธีการอื่น เช(น บทเรียนคอมพิวเตอรออนไลน บทเรียนบรรลุจุดมุ(งหมายท่ีกําหนดไว5 ผู5วิจัยจึงขอเสนอแนะในการ บนเครือข(ายอินเทอรเน็ต บทเรียนบนเว็บ เปน< ต5นทําวิจยั คร้ังต(อไป ดงั น้ี 3.1 ควรมีการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย ในรายวิชาอื่นโดยเฉพาะในรายวิชาที่มีเนื้อหาและทําความเข5าใจยาก นักเรียนให5ความสนใจน5อยจึงควรใช5บทเรียนคอมพิวเตอรช(วยสอนมัลติมีเดีย ไปเร5าความสนใจของผ5ูเรียนได5 อีกทั้งสนับสนุนการเรียนร5ูแบบรายบุคคลและเน5นนักเรียนเป<นสําคญั ได5อย(างดีเอกสารอา& งอิงกระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแห(งประเทศไทย จํากดั .เผชิญ กิจระการ. (2544). การวิเคราะหส่ือและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา (E1/E2). การวดั ผลการศึกษา, 7(4), 46-51.นิสิตรา สุทธิอาจ. (2549). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร)ชว* ยสอนมัลติมีเดีย สาระการเรียนร,ูภาษาไทย เรื่อง การอ*านออกเสียงคาํ ควบกล้าํ สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป3ที่ 3. วิทยานิพนธ ค.ม. สกลนคร: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.บญุ ชม ศรีสะอาด. (2545). การการวิจัยเบ้ืองต,น. กรงุ เทพฯ: สุวีริยาสาสน.

วารสารวิชาการหลกั สตู รและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปที่ 4 ฉบบั ที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 การพฒั นากจิ กรรมสง เสรมิ นสิ ัยรกั การอา น สาํ หรบั นกั เรยี น ช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 5 โรงเรยี นบา นโคกภู อาํ เภอภูพาน สงั กดั สาํ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาสกลนคร เขต 1 Development of Activities to Enhance Reading Habits for Prathom Suksa 5 Students of Kokphu School under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area 1 ผวู จิ ยะ นางวารยี  บญุ สทิ ธ์ิ อาจารยท ป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ (1) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.สาํ ราญ กําจดะ ภยะ (2) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ภมู พิ งศ จอมหงษพ พิ ฒะ น Researcher : Mrs. Waree Boonsit; Thesis Advisors : (1) Asst. Prof. Dr. Sumran Gumjudpai (2) Asst. Prof. Dr. Bhumbhong Jomhongbhibhat บทคดั ยอ การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อ 1) พฒั นากิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ให*มีประสิทธิภาพตามเกณฑ4 80/80 2) เปรียบเทียบนิสัยรักการอานของนักเรียนระหวางกอนและหลังใช*กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สาํ หรับนกั เรียนชั้นประถมศึกษาป&ที่ 5 โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภพู าน สังกดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนตอกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาป&ท่ี 5 โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 กลุมตัวอยางท่ีใช*ในการวิจัย เป;นนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5 ภาคเรียนที่ 2 ป&การศึกษา 2553 โรงเรียนบ*านโคกภู อาํ เภอภูพาน สงั กัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 จํานวน 30 คน ได*มาโดยการเลือกแบบเจาะจง แบบแผนการวิจยั ใช*แบบ One Group Pretest Posttest Design เครอื่ งมือที่ใชใ* นการวิจัยประกอบด*วย กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน จํานวน 5 กิจกรรม แบบประเมินนิสัยรักการอาน แบบบันทึกการอาน แบบบันทึกการใช*ห*องสมุด และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอกิจกรรมสงเสริมนิสยั รกั การอาน สําหรบั นกั เรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 สถิติทใ่ี ช*ในการวิเคราะห4ข*อมูล คือ คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาร*อยละ และการทดสอบคาที (t-test)แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบวา 1. กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพานสงั กดั สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 มีประสิทธิภาพเทากับ 81.51/82.52 สูงกวาเกณฑ480/80 ท่ีต้ังไว*

วารสารวชิ าการหลกั สตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 2. นิสัยรักการอานของนักเรียน หลังใช*กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาป&ท่ี 5โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 สูงกวากอนเรียนอยางมีนยั สาํ คัญทางสถิติทรี่ ะดบั .01 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่ใช*กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 อยูในระดับมากท่สี ุด ABSTRACT The purposes of this study were: 1) to develop the activities to enhance reading habits for PrathomSuksa 5 students of Kokphu School under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area 1to contain the efficiency criteria of 80/80, 2) to compare Khokphu School students’ reading habitspossessed before and after they had learnt through the constructed activities, 3) to investigate thestudents’ satisfaction of learning through the constructed activities to enhance reading habits forPrathom Suksa 5 Students of Kokphu School under the Office of Sakon Nakhon Primary EducationalService Area 1. The subjects were 30 Prathom Suksa 5 Students of Kokphu School under the Office of SakonNakhon Primary Educational Service Area 1. They were purposively selected. One Group PretestPosttest Design was adopted for the study. The instruments used in the study were 5 activities constructed to enhance reading habits, themeasurement form to evaluate reading habits, reading records, forms to record the library serviceusage, and the questionnaire to explore the Prathom Suksa 5 students’ satisfaction of learning throughthe activities constructed to enhance reading habits. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation, percentage and t-test(Dependent Samples). The study revealed the following results: 1. The activities to enhance reading habits for Prathom Suksa 5 students of Kokphu School underthe Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area 1 had their efficiency of 81.51/82.52which was higher than the set criteria of 80/80. 2. After the students had learnt through the activities to enhance reading habits for PrathomSuksa 5 students of Kokphu School under the Office of Sakon Nakhon Primary Educational Service Area 1,their reading habits were significantly higher than those of before at .01 level of significance. 3. The students had the highest satisfaction of learning through the activities to enhance readinghabits for Prathom Suksa 5 students of Kokphu School under the Office of Sakon Nakhon PrimaryEducational Service Area 1. 

วารสารวชิ าการหลกั สูตรและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบับท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555ภมู ิหลงั ทํางานน้ี แม*จะมีบุคลากรที่มีคุณสมบัติพอที่จะทําได* แตก็ ยังขาดความรวมมือจากหนวยงานท่ีเก่ียวข*อง และรูปแบบ การอานเป;นนิสัยอยางหนึ่งท่ีสร*างสรรค4และสงเสริม การจัดกิจกรรมท่ีดีที่หลากหลาย จึงเป;นไปได*คอนข*างยากได* จําเป;นต*องฝkกเป;นอันดับแรกเพราะการอานเป;น ที่จะหวังให*คนไทยมีนิสัยรักการอาน ซ่ึงจากการสํารวจกระบวนการสําคัญในการแสวงหาความรู*ของมนุษย4 ทําให* พฤติกรรมการอานหนังสือของประชากร พบวา ในป& 2548มนุษย4สามารถพัฒนาทักษะด*านอื่นๆ ดีขึ้น นักเรียนท่ีมี ผ*ูไมอานหนังสือมีแนวโน*มลดลงเหลือ ร*อยละ 30.9พ้ืนฐานทักษะการอานดี ยอมสามารถนําไปใช*เป;น ซึ่งสาเหตุหลักของการไมอานหนังสือของคนไทยในทุกวัยเคร่ืองมือในการศึกษาหาความรู*ด*านตางๆ และใช*ในทุก คือ การชอบฟsงวิทยุ ดูทีวี มากกวาการอาน (สุจริตระดับการศึกษา ย่งิ การศึกษาระดับ สูงเทาใด การอานก็ยิ่ง เพียรชอบ, 2549, หน*า 5) ดังที่ศรีรัตน4 เจิงกล่ินจันทร4มีความสําคัญเป;นทวีคูณ (วิฑูรย4 รองศรีแย*ม, 2534, หน*า (2542, หน*า 40) กลาววา สาเหตุท่ีคนไทยขาดนิสัยรักการ2) ซึ่งสอดคล*องกับมีเดีย จุฬา (2549, หน*า 14) ท่ีกลาววา อานน้ันมีสาเหตุประการหนึ่ง มาจากอิทธิพลจากสื่ออื่นๆการอานเป;นทักษะสําคัญท่ีจะสงผลตอการเรียนร*ูในทุก เชน วิทยุ โทรทศั น4 แถบบนั ทึกเสียง และวีดีทศั น4 เป;นต*นกลุมสาระการเรียนรู* หากเด็กรักการอาน สามารถอานได*อยางแตกฉาน จะเป;นพื้นฐานในการเรียนรู*ในชั้นเรียนและ โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตสร*างนิสัยถาวรให*เกิดการเรียนรู*อยางตอเน่ืองตลอดชีวิต พ้ืนท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ดําเนินการจัดนอกจากน้ี ศิริพร ทองชูดํา (2540, หน*า 2) กลาววา กิ จ ก รร ม ส ง เ ส ริ ม นิ สั ย รั ก ก า ร อ า น ต า ม น โ ย บ า ย ข อ งพฤติกรรมรักการอานสวนหน่ึงเกิดข้ึนจากความสนใจ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 1 เพ่ือให*การอานหนังสืออยางสมํ่าเสมอและการมีเจตคติการอาน สอดคล*องกับกลยุทธ4ท่ี 3 การพัฒนาคุณภาพและท่ีดีตอการเรียนร*ูเป;นการวางรากฐานของการเกิดนิสัย มาตรฐานการศึกษาทุกระดับของสํานักงานคณะกรรมการรักการอาน การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยให*จัดกิจกรรมสงเสริมรักการ อาน การใช*ห*องสมุด และการศึกษาค*นคว*าจากแหลง นิ สั ยรั กการอ านมิ ได* เกิ ดเองโดยธรรมชาติ เรียนรู*ตางๆ เพ่ือให*เกิดการใฝvเรียนรู*อยางตอเน่ือง จากจําเป;นต*องอาศัยการปลูกฝsง กระต*ุนและสงเสริมอยาง การสัมภาษณ4ครูประจําชั้นพบวา การสงเสริมนิสัยรักการตอเนือ่ ง และการปลูกฝsงนิสัยรักการอานน้ันจําเป;นต*องทํา อานของนักเรียนยังคงไมประสบผลสําเร็จเทาที่ควรต้ังแตอายุยังน*อยๆ (ศรีรัตน4 เจิงกลิ่นจันทร4, 2542, หน*า เน่ืองจากนักเรียนสวนใหญ ให*ความสนใจและใช*เวลาหมด38) ทั้งจากพอแม ผ*ูปกครอง และสมาชิกในครอบครัว เมื่อ ไปกับการว่งิ เลน มากกวาที่จะอานหนังสือ เพราะเด็กระดับเด็กก*าวเข*าสูระบบการศึกษา เป;นหน*าท่ีโดยตรงของ ประถมศึกษา เป;นวัยท่ีกําลังซุกซน ชอบว่ิงเลนสนุกสนานสถาบันการศึกษาในการพัฒนาการอานของผ*ูเรียน เพ่ือให* ไมอยูน่ิง มีชวงความสนใจระยะสั้น ประกอบกับอานเป;นสังคมแหงการอาน ด*วยการจัดกิจกรรมอยาง หนังสือไมคลอง สะกดคํายังไมถูกต*อง ทําให*เด็กๆ ไมชอบหลากหลายรูปแบบ ซึ่งกระทรวง ศึกษาธิการได*ตระหนัก เข*าห*องสมุดเพื่ออานหนังสือ การจัดกิจกรรมด*านสงเสริมถึงความสําคัญของการอาน จึงได*ประกาศให*ป& 2546 เป;น การอานยังไมตอเนื่องและในขณะเดียวกันห*องสมุดมีกฎป&แหงการสงเสริมการอานและการเรียนร*ู เพื่อปลูกฝsงให* กติกาให*ต*องปฏิบัติจํานวนมาก เด็กที่ไมมีนิสัยรักการอานเด็กไทยรักการอานหนังสือและสรรค4สร*างสังคมแหงการ จึงไมอยากเข*าห*องสมุด และจากการไปสัมภาษณ4ครูเรียนรู* โดยการจัดกิจกรรมท้ังในระดับโรงเรียน ระดับเขต ท่ีปฏิบัติหน*าที่บรรณารักษ4 พบวา นักเรียนโรงเรียนบ*านพ้ืนที่การศึกษา และระดับชาติ แตกิจกรรมเพื่อสงเสริม โคกภู เข*าใช*บริการในห*องสมุดน*อยมากเมื่อเทียบกับและปลูกฝsงนิสัยรักการอานยังไมได*กระทํากันอยางเต็มท่ี จํานวนนักเรียนท้ังหมด เฉลี่ยวันละ 22 คน นอกจากน้ีจากและเหมาะสม เนื่องจากขาดบุคลากรท่ีมีความรู* รายงานการประเมินตนเอง (SAR) มาตรฐานที่ 28 ผ*ูเรียนมีความสามารถ มีความเข*าใจเด็กและมีความตั้งใจจริงที่จะ ทักษะในการแสวงหาความร*ูด*วยตนเองจัดการเรียนรู*และ

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555พัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง ซึ่งตัวบงชี้ที่ 2 รักการอาน อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสามารถใช*ห*องสมุด แหลงความรู*และสื่อตางๆ ผลการ ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 โดยหวังวาการจัดกิจกรรมประเมินพบวา ในการศึกษาค*นคว*าจากห*องสมุดและส่ือ สงเสริมนิสัยรักการอานจะชวยปลูกฝsงนิสัยรักการอานอ่ืนๆ น*อยเกินไป สวนใหญจะใช*เวลาวางในการเลนเสีย ให*แกนักเรียน ชวยให*นักเรียนสนใจในการอานและใฝvร*ูมากกวา จากสภาพการณ4ดังกลาวนี้ จึงจําเป;นอยางย่ิงท่ี ใฝvเรียนมากยิ่งข้ึน สามารถพัฒนาผ*ูเรียนให*เติบโตเป;นจะต*องปลูกฝงs ให*เด็กมีนิสยั รักการอาน ทรัพยากรมนุษย4ท่ีเข*มแข็งและมีคุณภาพ โดยมีเนื้อหา ความรู*ที่ได*จากการอานเป;นพื้นฐานในการพัฒนาตนเอง ดังน้ันการจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน จึงมี ซ่ึงจะเพ่ิมพูนมากขึ้นตามศักยภาพและความสนใจของความสําคัญตอการพัฒนาผ*ูเรียน เป;นกิจกรรมที่ฝkกฝน แตละคน สมดังเปน; เยาวชนไทยในสงั คมแหงการเรียนรู*นักเรียนให*ประพฤติปฏิบัติหน*าท่ีของตนให*สอดคล*องกับธรรมชาติและได*รับการพัฒนาตาม ความแตกตางระหวาง ความมงุ หมายของการวิจัยบุคคล อีกท้ังยังทําให*ผู*เรียนได*รับประสบการณ4ท่ีหลากหลาย ผู*เรียนได*รับการพัฒนาองค4รวมของความเป;น การวิจัยครั้งน้ี ผู*วิจัยได*กําหนดจุดมุงหมายของการมนุษย4 ท้ังในด*านรางกาย อารมณ4 สังคมและสติปsญญา วิจัย ดงั น้ีพัฒนาความสามารถของตนเองตามศักยภาพ อีกท้ังสามารถอยูรวมกับผู*อ่ืนได*อยางมีความสุข ผ*ูเรียนสามารถ 1. เพ่ือพัฒนาและหาประสิทธิภาพของกิจกรรมเลือกกิจกรรมได*ตามความสามารถ ความสนใจ และความ สงเสริมนิสยั รกั การอานสาํ หรับนักเรียนโรงเรียนบ*านโคกภูถนดั ของตนเองอยางแท*จริง โดยผ*ูเรียนชวยกันคิด ชวยกัน อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทาํ และชวยกนั แก*ปsญหาเปน; กิจกรรมที่ผ*ูเรียนเป;นผู*ปฏิบัติ ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ตามเกณฑ4ประสิทธิภาพด*วยตนเองอยางครบวงจร ต้ังแตศึกษา วิเคราะห4 วางแผน 80/80ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทํางาน โดยเน*นการทาํ งานเปน; กลุม อันเป;นการปลูกฝsงลักษณะนิสัยที่ดีใน 2. เพ่ือเปรียบเทียบนิสัยรักการอานของนักเรียนการอยูรวมกนั ในสงั คม (อชิตา หาดอ*าน, 2545, หน*า 44) ระหวางกอนและหลังใช*กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 โรงเรียนบ*านโคกภู ผู*วิจัยในฐานะท่ีเป;นหัวหน*าวิชาการโรงเรียนบ*าน อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ได*ตระหนักถึงความสําคัญและความเป;นมาของปsญหาดังกลาว จึงสนใจท่ีจะ 3. เพ่ือศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนตอศึกษาวิจัย การพัฒนากิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 โรงเรียนบ*านโคกภู ช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1

วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบบั ท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555กรอบแนวคิดในการวิจยั ตวั แปรตน& ตวั แปรตามกิจกรรมสงเสริมนสิ ยั รักการอาน สาํ หรับ ประสิทธิภาพของกิจกรรมนกั เรียนชั้นประถมศึกษาป&ที่ 5 โรงเรียน สงเสริมนิสัยรักการอานบ*านโคกภู อาํ เภอภูพาน สังกดั สาํ นกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 นิสัยรักการอาน กจิ กรรมท่ี 1 นกั ขาวน*อย ความพึงพอใจตอกจิ กรรม กจิ กรรมที่ 2 ฉลาดซ้ือฉลาดใช* สงเสริมนิสัยรกั การอาน กจิ กรรมที่ 3 ปริศนาจากสารานุกรม กจิ กรรมท่ี 4 ทองเทย่ี วทัว่ ไทยไปกับห*องสมุด กจิ กรรมท่ี 5 ยอดนกั อาน นกั ฟงs นักเลา นักเขียน ภาพประกอบ กรอบแนวคิดในการวิจยัวิธีดาํ เนินการวิจัย การเกบ็ รวบรวมขอ& มูล 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง การวิจัยในครั้งน้ี ผู*วิจัยได*ดําเนินการเก็บรวบรวม 1.1 ประชากร ท่ีใช*ในการทดลองกิจกรรมท่ีสร*าง ข*อมลู ด*วยตวั เอง โดยทดลองกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียน ช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5 ท่ีกําลังศึกษาในภาคเรียนท่ี 2และพัฒนาข้ึน ได*แก นักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 ป&การศึกษา 2553 โรงเรียนบ*านโคกภู จํานวน 30 คนโรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพื้นท่ี ได*ดําเนินการตามข้ันตอน ดงั นี้การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 3.1 ประสานงานกับผู*บริหารโรงเรียน ครูบรรณารักษ4 1.2 กลุมตัวอยาง ได*แก นักเรียนชั้นประถมศึกษา ครปู ระจําช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5 และครูวิชาการของโรงเรียนป&ท่ี 5 โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงาน บ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ที่กําลัง ประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ท่ีเป;นกลุมตัวอยางเพ่ือกําหนดศึกษาอยูในภาคเรียนที่ 2 ป&การศึกษา 2553 จํานวน 30 วัน เวลา ในการทดลองคน ได*มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)สาเหตุที่เลือกโดยวิธีน้ี เนื่องจากโรงเรียนมีนักเรียนชั้น 3.2 ทดสอบกอนเรียน (Pretest) โดยใช*แบบประเมินประถมศึกษาป&ที่ 5 จํานวน 1 ห*องเรียน และนักเรียนที่ นิสัยรักการอานสําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5เลื อ ก ม า เ ป; น ก ลุ ม ตั ว อ ย า ง ส า ม า รถ เ ป; น ตั ว แ ท น ข อ ง โดยนักเรียน เพ่ือนของนักเรียน ผู*ปกครอง ครูประจําชั้นประชากรได* เพราะจัดห*องเรียนแบบคละความสามารถ และผ*ูวิจัย กอนที่จะดาํ เนินการสอนและผู*วิจัยเป;นครูสอนซอมเสริมภาษาไทยสะดวกในการจัดกิจกรรม 3.3 ดําเนินการจัดกิจกรรมโดยใช*กิจกรรมสงเสริม นิสยั รักการอาน ชั้นประถมศึกษาป&ที่ 5 ดังนี้ 3.3.1 ครูชี้แจงและอธิบายวิธีการเรียนโดยใช* กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน ช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 ให*นักเรียนเข*าใจ

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบบั ท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 3.3.2 ครูดําเนินการจัดกิจกรรมตามคูมือ สถิติทใ่ี ช&ในการวิเคราะหข* อ& มูลแผนการจดั กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน ช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 จํานวน 5 แผน 5 กิจกรรม ผู*วิจยั ได*ดาํ เนินการวิเคราะห4ข*อมูล โดยแยกออกเป;น 2 ลักษณะ คือ วิเคราะห4ข*อมูลเชิงปริมาณและวิเคราะห4 3.3.3 ให*นักเรียนศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมในแต ข*อมลู เชิงคณุ ภาพกิจกรรมตามลําดับ เม่ือจบแตละกิจกรรมให*นักเรียนทําแบบทดสอบท*ายกิจกรรมจนครบทุกกิจกรรม 1. การวิเคราะห4ข*อมูลเชิงปริมาณใช*สถิติ ดังน้ี 1.1 สถิติพื้นฐาน ได*แก 3.3.4 ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนขณะ 1.1.1 ร*อยละ (Percentage)ปฏิบตั ิกิจกรรมระหวางเรียนและจดบันทึกจากการสังเกต 1.1.2 คาเฉลย่ี (Mean) 1.1.3 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard 3.3.5 ทดสอบหลังเรียน (Posttest) โดยใช*แบบประเมินนิสัยรักการอานสําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา Deviation)ป&ที่ 5 โดยนักเรียน เพ่ือนของนักเรียน ผู*ปกครอง ครู 1.2 สถิติที่ใช*หาประสิทธิภาพของเครื่องมือและประจาํ ชั้น และผ*ูวิจัย ฉบบั เดิมทใี่ ชใ* นการทดสอบกอนเรียน เก็บรวบรวมข*อมูล 3.3.6 สอบถามความพึงพอใจตอกิจกรรมและ 1.2.1 กิจกรรมสงเสริมนิสัยรกั การอานการเรียนร*ูด*วยกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน 1) การหาคาความเท่ียงตรง (Validity) ของการวิเคราะหข* อ& มูล กิจกรรมสงเสริมนิสยั รักการอานช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5 1.3 สถิติท่ีใช*ในการทดสอบสมมติฐาน การพฒั นากิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับ 1.3.1 การหาประสิทธิภาพของกิจกรรมสงเสริมนกั เรียนชั้นประถมศึกษาป&ท่ี 5 ทาํ การวิเคราะห4ข*อมลู ดงั น้ี นิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาป&ท่ี 5 1. วิเคราะห4หาประสิทธิภาพของกิจกรรมสงเสริม โรงเรียนบ*านโคกภู อําเภอภูพาน สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนที่นิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 ตามเกณฑ4โดยหาความสัมพันธ4 ระหวางคะแนนท่ีได*จากการทํา มาตรฐาน 80/80แบบทดสอบท*ายกิจกรรม จํานวน 5 กิจกรรม กับคะแนนท่ีได*จากการประเมินนิสัยรักการอานหลังเรียนด*วยกิจกรรม 1.3.2 การเปรียบเทียบนิสัยรักการอานของสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา นักเรียนหลังการใช*กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอานสูงป&ท่ี 5 โดยคิดเป;นร*อยละของคะแนนเฉล่ีย และนําคะแนนท่ี กวากอนใช*กิจกรรม โดยการทดสอบคาที (t-test) แบบได*มาเปรียบเทียบและหาประสิทธิภาพตามเกณฑ4 80/80 Dependent Samples 2. วิเคราะห4ผลเพื่อเปรียบเทียบนิสัยรักการอาน สรุปผลการวิจัยของนกั เรียนกอนและหลังเรียนท่ีเรียนด*วยกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ที่ 5 จากการทดลองใช*กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอานโดยการทดสอบคาที (t–test) แบบ Dependent Samples สําหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5 ที่ผู*วิจัยพัฒนาข้ึน สรปุ ผลได*ดงั น้ี 3. วิเคราะห4ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียน 1. กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับ นักเรียนช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5 มีประสิทธิภาพเทากับชั้นประถมศึกษาป&ที่ 5 โดยใช*คาเฉลีย่ ( x ) และสวนเบี่ยงเบน 81.51/82.52 สงู กวาเกณฑ4 80/80 ที่ต้ังไว*มาตรฐาน (S.D.)

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 2. นิสัยรักการอานของนักเรียน หลังเรียนด*วย 1.3 จากผลการวิจยั ด*านความความคิดเห็นของกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนชั้น ผ*ูปกครองและครูประจําช้ัน พบวานักเรียนมีนิสัยรักการประถมศึกษาป&ที่ 5 สูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง อานในด*านการอานหนังสือขณะรอเวลาทําสิ่งใดสิ่งหนึ่งสถิติที่ระดับ .01 ศึกษาค*นคว*าโดยการอานเพ่ิมเติมหลังจากเรียนในชั้นเรียน และมีหนังสือติดตัวไว*อานในทุกสถานท่ี อยูในระดับตํ่า 3. ความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนโดยใช* ดังน้ันผ*ูปกครองและครูควรรวมมือกันในการสงเสริมให*กิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียน นักเรียนตระหนักและเห็นความสาํ คญั ของการอานหนังสือช้ันประถมศึกษาป&ท่ี 5 อยใู นระดบั มากทสี่ ุด ข*อเสนอแนะสําหรับหนวยงานตางๆ ท่ีมีสวนขอ& เสนอแนะ เก่ียวข*องในการจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน เพ่ือ กําหนดเป;นแนวทาง ดังน้ี จากผลการศึกษาวิจัยการพัฒนากิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาป&ท่ี 5 1. จากผลการวิจัยด*านความพึงพอใจของจะทําให*เกิดประโยชน4ตอการพัฒนาคุณภาพด*านการเรียน นักเรียนที่มีตอกิจกรรม พบวา นักเรียนมีความร*ูสึกท่ีดีตอการสอน ส่ือการเรียนการสอน และเป;นแนวทางใน การจัดกิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการอาน ดังนั้นโรงเรียนการศึกษาค*นคว*างานวิจัยตอไป ดังนี้ ควรสนับสนุน และสงเสริมให*มีการจัดกิจกรรมสงเสริม การอานในทุกชั้น ซ่ึงอาจมีการบูรณาการในแตละกลุม 1. ข*อเสนอแนะในด*านการเรียนการสอน สาระหมุนเวียนกนั ในการจดั กิจกรรมอยางตอเน่ือง เพ่ือให*สามารถนําแผนการจัดกิจกรรมสงเสริม 2. จากผลการวิจัยเกี่ยวกับความคิดเห็นของนิสัยรักการอาน สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาป&ที่ 5 ผ*ูปกครอง ครูประจําช้ัน นักเรียน และเพื่อนของนักเรียนไปใช*ได*อยางมีประสิทธิภาพ ผู*วิจัยมีข*อเสนอแนะเกี่ยวกับ ที่มีตอนิสัยรักการอานของนักเรียน พบวา นักเรียนมีนิสัยการนาํ แผนการจัดกิจกรรมไปใช* ดงั นี้ รักการอานอยูในระดับดี ดังน้ันโรงเรียนจึงเป;นองค4กร สําคัญในการผลักดันให*ผู*เรียนมีนิสัยรักการอาน โดยการ 1.1 จากผลการวิจัยด*านนิสัยรักการอาน พบวา จัดสภาพและบรรยากาศในโรงเรียนให*เป;นแหลงเรียนรู*นักเรียนมีนิสัยรกั การอานเพ่ิมขึ้นหลังจากเข*ารวมกิจกรรม อีกท้ังผู*ปกครองควรสงเสริมให*นักเรียนมีนิสัยรักการอานดังนั้นเพ่ือให*นักเรียนเกิดการเรียนรู*อยางตอเนื่อง ครูและ มากขึ้น โดยผู*ปกครองควรเป;นแบบอยางที่ดีและทําให*เด็กผู*ปกครองควรสงเสริมและสนับสนุนให*นักเรียนได*เข*ารวม เห็นเป;นตัวอยางในขณะท่ีอยูที่บ*าน ซ่ึงผู*ปกครองควรให*กิจกรรมสงเสริมการอาน เชน คายการอาน ที่ทางโรงเรียน เวลากับบุตรหลานและสร*างบรรยากาศในการอานให*และหนวยงานอ่ืนๆ จัดข้ึน เพื่อให*นักเรียนมีนิสัยรักการ เกิดข้ึนภายในครอบครัว เพราะสถาบันครอบครัวเป;นอานอยางยงั่ ยืน สถาบันแรกท่ีมีความสําคัญในการปลูกฝsงนิสัยรักการอาน ให*กบั นกั เรียน 1.2 จากผลการวิจัยด*านความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีตอกิจกรรม พบวา นักเรียนมีความสุข 2. ข*อเสนอแนะสําหรบั การทาํ วิจัยคร้ังตอไปสนุกสนาน เพลิดเพลิน และกระตือรือร*นในการปฏิบัติ ผ*ูวิจัยมีข*อเสนอแนะเพื่อการวิจัยครั้งตอไปกิจกรรม โดยเฉพาะการเรียนรู*จากแหลงเรียนรู*ภายในโรงเรียน ดังน้ันโรงเรียนควรสงเสริมและสนับสนุนให*มีการ สําหรบั ผู*ทีส่ นใจในการพัฒนากิจกรรมสงเสริมนิสัยรักการจัดกิจกรรม โดยอาศัยข*อมูลจากแหลงเรียนร*ู มีการจัด อาน ซึง่ ควรมีการศึกษาเพ่ิมเติมและทําการวิจัยในประเด็นบรรยากาศภายในห* องสมุด มีหนังสือท่ี ใหม และ ดงั ตอไปน้ีหลากหลาย เพ่ือให*นักเรียนได*ศึกษาค*นคว*าจากแหลงเรียนรู*ภายในโรงเรียน

วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 2.1 ควรมีการวิจัยและพัฒนากิจกรรมเก่ียวกับ 2.3 ควรมีการวิจัยเก่ียวกับกิจกรรมสงเสริมการจดั กิจกรรมสงเสริมการอาน โดยขยายกลุมตัวอยางใน การอานโดยให*ผ*ูปกครองได*เข*ามามีสวนรวมในกิจกรรมการวิจัย โดยจัดในระดับชั้นอื่นๆ เพื่อเป;นการปลูกฝsงนิสัย พร*อมกับบุตรหลานของตนเอง เพื่อสร*างนิสัยรักการอานรักการอานให*กบั นักเรียนในทุกชั้น อยางยัง่ ยืน 2.2 ควรมีการวิจัยเกี่ยวกับกิจกรรมสงเสริมการอานที่ผ*ูปกครองต*องการให*จัด เชนกิจกรรมครอบครัวนักอาน กิจกรรมแรลลี่การอาน (Reading Rally) เพ่ือเป;นแนวทางในการสงเสริมให*นักเรียนได*อานหนังสือทั้งที่บ*านและท่ีโรงเรียนอยางสมํ่าเสมอเอกสารอ&างอิงมีเดีย จุฬา. (2549). รกั การอาน...นําชีวิตสูความสาํ เร็จ. วารสารวิชาการ, 9(4), 14-19.ศรีรัตน4 เจิงกล่ินจันทร4. (2536). การอานและสรางนิสัยรักการอาน. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.สจุ ริต เพียรชอบ. (2549). การอาน. วารสารวิชาการ, 5(10), 10-14.

วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 การพฒั นาชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู เรอื่ ง นา้ํ และอากาศ โดยการสบื เสาะหา ความรู เพอ่ื เสรมิ สรา งการคดิ วเิ คราะห กลมุ สาระการเรียนรวู ทิ ยาศาสตร ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ่ี 3 Development of Learning Packages Entitled “Water and Air” In Science Substance Group Using Inquiry Method to Enhance Critical Thinking for Prathom Suksa 3 ผวู จิ ยะ นางพงษพ ศิ พงษอ นิ ทรธ รรม อาจารยท ป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ (1) ผชู ว ยศาสตราจารย ดร.ถาดทอง ปานศภุ วชะ ร (2) ดร.อมรา เขยี วรกะ ษา Researcher : Mrs. Pongpit Ponginthum; Thesis Advisors : (1) Assist. Prof. Dr. Thadthong Pansupawat (2) Dr. Ummara Khiawraksa บทคดั ยอ การวิจัยคร้ังนี้มีความมุงหมาย เพ่ือ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง น้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ' 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนระหวางกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3 3) เปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห'ระหวางกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง น้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห'กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3 กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3 ภาคเรียนท่ี 2 ป.การศึกษา 2553 โรงเรียนบานทุงมนธาตวุ ิทยา สํานกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 จํานวน 18 คน ไดมาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศโดยการสืบเสาะหาความรู เพือ่ เสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห'และแบบวัดความพึงพอใจรูปแบบการวิจัยใชรูปแบบ One Group Pretest–Posttest Design สถิติที่ใชในการวิเคราะห'ขอมูล ไดแก คาเฉล่ีย ( x )คาเบีย่ งเบนมาตรฐาน (S.D.) คารอยละ และการทดสอบ t-test แบบ Dependent Samples ผลการวิจยั พบวา 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ืองน้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห'กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3 มีประสิทธิภาพ 81.60/81.30 สงู กวาเกณฑ'ทีต่ ั้งไว 80/80

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบับท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากที่เรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง นํ้าและอากาศโดยการสืบเสาะหาความรู เพอ่ื เสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3หลงั เรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนยั สาํ คัญทางสถิติทีร่ ะดับ .05 3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห'ของนักเรียนหลังจากท่ีเรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศโดยการสืบเสาะหาความรู เพอ่ื เสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3หลังเรียนสงู กวากอนเรียน อยางมีนยั สาํ คัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 4. ความพึงพอใจของผูเรียนตอการเรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3 อยใู นระดบั มาก ABSTRACT The purposes of this research were: 1) to development learning packages entitled “Water andAir” in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3which contained the efficiency criterion of 80/80, 2) to compare the students’ achievements gainedbefore and after they had learnt through the development learning packages entitled “Water and Air”in Science Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3,3) to compare the students’ critical thinking abilities gained before and after they had learnt throughthe development learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Using InquiryMethod to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, and 4) to investigate the students’ satisficationof learning through the they had learnt through the packages entitled “Water and Air” in ScienceSubstance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3. The subjects were 18 Prathom Suksa 3 students studying in the second semester of 2010academic year at Ban Tungmontatwittaya School under the Office of Sakon Nakhon EducationalPramary Service Area 2. They were purposively selected. The tools used in the study were lessonplans, the packages learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group UsingInquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, a test to examine the students’ criticalthinking ability, and a measurement form to explore the students’ satisfaction. One Group Pretest-Posttest Design was adopted in this experiment. The statistics used for data analysis include mean,standard deviation, percentage, and t-test (Dependent Samples). The results found were as follows: 1. learning packages entitled “Water and Air” in Science Substance Group Using Inquiry Methodto enhance critical thinking for Prathom Suksa 3 contained the efficiency of 81.60/81.30 which washigher than the set criterion of 80/80. 

วารสารวชิ าการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 25552. After the students had learnt through the learning packages entitled “Water and Air” inScience Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, theirachievement was statistically higher than that of before at .05 level significance.3. After the students had learnt through the learning packages entitled “Water and Air” inScience Substance Group Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3, theirthinking ability was statistically higher than that of before at .05 level significance.4. The students’ satisfaction of learning packages entitled “Water and Air” in Science SubstanceGroup Using Inquiry Method to enhance critical thinking for Prathom Suksa 3 was at the high level.ภูมิหลงั พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 มาตรา 24 ไดกําหนดแนวทาง การจัดกระบวนการ สภาพสังคมไทยมีการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วท้ัง เรียนรูโดยฝ|กทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญทางดานเศรษฐกิจ การเมือง สังคม วิทยาศาสตร'และ สถานการณ' และการประยุกต'ความรูมาใชเพ่ือป}องกันและเทคโนโลยีซ่ึงมีผลกระทบตอการดําเนินชีวิตของคนไทย แกไขปwญหา (พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ, 2542,เพราะแตละวันจะมีขาวสารขอมูลผานเขามามากมาย หนา 10) ประกอบกับมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขอมูลเหลานี้มีความสําคัญถาคิดวิเคราะห'ไมเปvนอาจจะ ข้ันพ้ืนฐานไดใชเปvนกรอบในการประเมินคุณภาพภายนอกรับรูขอมูลขาวสารผิดพลาด บุคคลจึงตองรูจักการคิด มาตรฐานที่ 4 ดานผูเรียนกําหนดไวชัดเจนวา ใหผูเรียนวิเคราะห' รูจักแยกแยะสวนที่เปvนความจริงออกมาจาก มีความสามารถในการคิดวิเคราะห' คิดสังเคราะห'สวนท่ีเปvนเท็จ เพื่อจะไดนําไปใชการตัดสินใจอยางชาญ มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค' คิดไตรตรอง และมีฉลาดดังน้ันการคิดวิเคราะห'จึงจําเปvนอยางยิ่งสําหรับการ วิสัยทัศน' (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ,ดําเนินชีวิตในปwจจุบัน (วนิช สุธารัตน', 2547, หนา 123) 2545, หนา 69) การจัดการศึกษาโดยยึดหลักผูเรียนการคิดวิเคราะห'เปvนความสามารถในการจําแนก แยกแยะ สําคญั ท่สี ุด ทุกคนมีความสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเององค'ประกอบตางๆ ของส่ิงหนึ่งซ่ึงอาจจะเปvนวัตถุ ส่ิงของ ได สงเสริมใหผูเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มเรื่องราว หรือเหตุการณ' และหาความสัมพันธ'เชิงเหตุผล ศักยภาพ ใหความสําคัญตอความรูเกี่ยวกับตนเอง และระหวางองค'ประกอบเหลาน้ัน เพ่ือคนหาสภาพความเปvน ความสัมพันธ'ของตนเองและสังคม สถานศึกษาจึงจัดจริงหรือส่ิงท่ีสําคัญของส่ิงที่กําหนดน้ัน (สุวิทย' มูลคํา, กระบวนการเรียนรูท่ีมุงเนนการฝ|กทักษะกระบวนการคิด2547, หนา 9) การคิดวิเคราะห'จะเกิดข้ึนเมื่อตองการทํา การจัดการเผชิญสถานการณ' และการประยุกต'ความรูมาความเขาใจในสิ่งที่เกิดข้ึนเม่ือเกิดความสงสัยในบางสิ่ง ใชเพ่ือป}องกันและแกไขปwญหา จัดกิจกรรม ใหผูเรียนไดจึ ง พ ย า ย า ม ห า ค ว า ม สั ม พั น ธ' เ ชิ ง เ ห ตุ ผ ล ม า อ ธิ บ า ย เรียนรูจากประสบการณ'จริง ฝ|กการปฏิบัติใหทําได คิดเหตุการณ'ท่ีเกิดข้ึนตองการประเมินสิ่งตางๆ เพื่อตัดสินใจ เปนv ทําเปนv (กรมวิชาการ, 2545, หนา 3) การคิดเปvน เปvนเลือกส่ิงที่เหมาะสมตามวัตถุประสงค'ที่ต้ังไว การคิด ศักยภาพที่มีอยูในมนุษย'ทุกคน เพราะทุกคนสามารถวิเคราะห'ตองใชความสามารถในการสังเกต ตีความ สรางสรรค'สิ่งที่ดีมีประโยชน'ใหกับตนเองและสังคมไดการสืบคน การหาความสัมพันธ'เชื่อมโยงท่ีดี เพ่ือคนหา มากมาย กลไกของความสามารถในการคิดเปvน มีความเปvนไปของเรื่องนั้น จึงจําเปvนตองมีการพัฒนา ความสมั พนั ธ'เช่อื มโยงกับคณุ สมบัติพื้นฐานภายในมนุษย'ท่ีความสามารถของสมองในการคิดวิเคราะห'เพื่อใหได เหนี่ยวนํา เอื้ออํานวยใหเกิดการคิดและการตัดสินใจคําตอบท่ีถูกตอง ไมผิดพลาด (เกรียงศักด์ิ เจริญวงศักด์ิ, (ทิศนา แขมมณี และคณะ, 2540, หนา 113) รวมท้ัง2546, หนา 22) วิทยาศาสตร'มีบทบาทสําคัญยิ่งในสังคมโลกปwจจุบันและ

วารสารวิชาการหลกั สตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท่ี 4 ฉบับท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555อนาคต เพราะวิทยาศาสตร'เกี่ยวของกับชีวิตทุกคน ทั้งใน คนควาอยางมีระบบดวยกิจกรรมท่ีหลากหลายท้ังการทําการดํารงชีวิตประจาํ วนั และในงานอาชีพตางๆและทําใหคน กิจกรรมภาคสนาม การสังเกต การสํารวจตรวจสอบไดพัฒนาวิธีคิด ทั้งความคิดเปvนเหตุเปvนผล คิดสรางสรรค' การทดลอง การเรียนรูวิทยาศาสตร'ที่สามารถเสริมสรางคิดวิเคราะห'วิจารณ' มีทักษะสําคัญในการคนควาหา ความรูเปvนกระบวนการผูเรียนตองสืบคน เสาะหา สํารวจความรู มีความสามารถในการแกปwญหาอยางหลากหลาย ตรวจสอบ คนควาดวยวิธีการตางๆ จนทําใหผูเรียนเกิดทุกคนจําเปvนตองไดรับการพัฒนาใหรูวิทยาศาสตร' ความเขาใจและเกิดการรับรูอยางมีความหมายสามารถเ พ่ื อ ที่ จ ะ ไ ด มี ค ว า ม รู ค ว า ม เ ข า ใ จ โ ล ก ธ รร ม ช า ติ แ ล ะ สรางองค'ความรูดวยตนเองและมีความคงทนไดอยางเทคโนโลยีที่มนุษย'สรางขึ้นและนําความรูไปใชอยางมี ยาวนาน สามารถนํามาใชไดเมื่อมีสถานการณ'ใดๆ มาเหตุผล ดําเนินชีวิตอยูรวมกนั ในสังคมโลกอยางมีความสุข เผ ชิ ญ ห น า ซ่ึ ง ผู เรี ย น ต อ ง ผ า น ก ร ะ บว น ก า ร เ รี ย น รู ที่(กรมวิชาการ, 2546, หนา 1) หลากหลายโดยเฉพาะอยางย่ิงคือกระบวนการสืบเสาะ (Inquiry Process) และกิจกรรมการเรียนรูแบบสืบเสาะยัง จากผลการประเมินคุณภาพภายนอก โดยสํานักงาน สามารถพัฒนา การคิดข้ันสูงไดอีกดวย (สถาบันสงเสริมรับรองมาตรฐานและการประเมินคุณภาพการศึกษา การสอนวิทยาศาสตร'และเทคโนโลยี, 2545, หนา 216-(องค'การมหาชน) พบวามาตรฐานดานผูเรียน มาตรฐานท่ี 227)4 ผูเรียนมีความสารถในการคิดวิเคราะห' คิดสังเคราะห' มีวิจารณญาณ มีความคิดสรางสรรค' คิดไตรตรอง อยูใน การจัดการเรียนการสอนแบบการสืบเสาะหาความรูระดับตองปรับปรุงเปvนสวนใหญ จากจํานวนสถานศึกษา เปนv วิธีการสอนรูปแบบหน่ึงท่ีเนนผูเรียนเปvนสําคัญ ผูเรียน17,562 แหง มีสถานศึกษาเพียงรอยละ 11.1 ท่ีมีผลการ ไดใชความรูความสามารถในการเรียนรูดวยตนเอง โดยประเมินอยูในระดับดี (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ผานกระบวนการเรียนรูทางวิทยาศาสตร' ผูเรียนหาขอสรุปขั้นพ้ืนฐาน, 2549, หนา 1) ซึ่งสอดคลองกับการประเมิน จนเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องที่ศึกษา โดยมีครูผูสอนคุณภาพภายนอกสถานศึกษา รอบที่ 2 ป.การศึกษา 2550 เปvนผูสนับสนุน ชี้แนะชวยเหลือ ตลอดจนแกปwญหาท่ีโรงเรียนบานทุงมนธาตุวิทยา อําเภอเจริญศิลป• จังหวัด อาจจะเกิดข้ึนระหวางการเรียนการสอน ดังนั้นจึงเปvนการสกลนคร ซึ่งผานการประเมินอยูในเกณฑ' ระดับพอใช สอนที่เหมาะสมที่สามารถนําผูเรียนไปสูเป}าหมายที่ตั้งไว(โรงเรียนบานทุงมนธาตุวิทยา, 2552, หนา 17) และจาก (พิมพ'พันธ' เดชะคุปต', 2544, หนา 56) และการสอนแบบการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุมสาระการ สืบเสาะหาความรู เปvนรูปแบบการสอนท่ีแกปwญหาของครูเรียนรูวิทยาศาสตร' พบวา นักเรียนชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3 ไดอีกรปู แบบหนึ่ง เปvนวิธีท่ีชวยใหผูเรียนรูจักการวิเคราะห'คะแนนเฉล่ียรอยละ 65 อยูในเกณฑ'ต่ํากวาเป}าหมาย ไ ม ใ ช ท อ ง จํ า เ นื้ อ ห า โ ด ย ไ ม คิ ด ไ ต ร ต รอ ง ใ ห รอ บ ค อ บซ่ึงโรงเรียนไดตั้งเป}าหมาย คะแนนเฉลี่ยรอยละ 75 และใน การเรียนแบบนี้กระตุนใหผูเรียน อยากรูอยากเห็นเปvนการการสอบวิทยาศาสตร' NT นักเรียนช้ันประถมศึกษา อยางมาก ผูเรียนมีสวนรวมในการกําหนดกิจกรรมป.ที่ 3 โรงเรียนบานทุงมนธาตุวิทยา ป.การศึกษา 2552 เกิดความสนุกสนาน ไมจําเจอยูแตในหองเรียน สามารถคะแนนเฉลี่ยรอยละ 58.53 (สํานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษา ศึกษาคนควาหาความรูดวยตนเอง ฝ|กใหผูเรียนคิดอยางมีสกลนคร เขต 3, 2552, หนา 58) อีกท้ังในการจัดกิจการ เหตุผล และคิดแกปwญหา สงเสริมใหผูเรียนใชความคิดเรียนรูขาดสื่อการเรียนการสอนกลุมสาระการเรียนรู อยางอิสระ เปvนคนชางสังเกตมีเหตุผล กลาแสดงออกทางวิทยาศาสตร' ท่ีไปกระตุนความสนใจ ทําใหผูเรียนไมสนใจ ความคิด (สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐานเรียน เกิดความเบื่อหนาย สงผลทําใหผลสัมฤทธ์ิทางการ แหงชาติ, 2544, หนา 34-35)เรียน ป.การศึกษา 2551 อยูในเกณฑ'ทีต่ ่าํ ชุดกิจกรรมการเรียนรู เปvนสื่อการเรียนการสอนอีก การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร' ประเภทหน่ึงท่ีสามารถทําใหผูเรียนไดศึกษาคนควาดวยเนนกระบวนการท่ีผูเรียนเปvนผูคิดลงมือปฏิบัติศึกษา ตนเองตามความสามารถและความสนใจ มีอิสระในการคิด

วารสารวิชาการหลักสตู รและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบบั ท่ี 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555ผูเรียนมีโอกาสใชความคิดอยางเต็มที่ โดยคํานึงถึงความ ความมุงหมายของการวิจัยแตกตางระหวางบุคคลซ่ึงชุดกิจกรรมจะชวยใหใชเวลานอยลงในการนําเสนอขอมูลตางๆ ชวยใหผูเรียนเปvนอิสระ การวิจัยครั้งนี้ผูวิจยั ไดกําหนดความมุงหมายของการสามารถประกอบกิจกรรมการเรียนดวยตนเองมากกวาที่ วิจัยดังนี้จะใหครูบอก โดยครูเปvนผูสรางโอกาสทางการเรียนการสอน ใหผูเรียนไดทํากิจกรรมเปvนรายบุคคลหรือราย 1. เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง น้ําและกลุม ซึ่งผูเรียนจะศึกษาจากคําชี้แจงท่ีปรากฏอยูในชุด อากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดกิจกรรมการเรียนรูเปvนไปตามลําดับข้ันดวยตนเอง วิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมซึ่งสอดคลองกับธรรมชาติของผูเรียนที่อยากรูอยากเห็น ศึกษาป.ท่ี 3 ใหมีประสิทธิภาพตามเกณฑ' 80/80อยากคิดคนในสิ่งตางๆ การจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดมีสวนรวมในการเรียน ไดคิด ไดลองปฏิบัติไปทีละขั้นและทราบ 2. เพอื่ เปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนระหวางผลการกระทําของตนเอง ตรงกับแนวคิดการจัดการเรียนรู กอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนที่เรียนดวยชุดกิจกรรมสอนของบลูม และในการจัดกิจกรรมใหผูเรียนไดปฏิบัติ การเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรูตามท่ีตนเองตองการ ยอมกระทํากิจกรรมนั้นดวยความ เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูกระตือรือรนทําใหเกิดความม่ันใจเกิดการเรียนรูไดอยาง วิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3รวดเร็ว และประสบผลสําเร็จสูงทําใหเกิดความพึงพอใจตนเองไดในท่ีสุด (รวิวรรณ พงษ'พวงเพชร, 2552, หนา 3. เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถการคิดวิเคราะห'บทคัดยอ) ระหวางกอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนท่ีเรียนดวยชุด กิจกรรมการเรียนรู เรือ่ ง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหา จากเหตุผลดังกลาวผูวิจัยจึงพัฒนาชุดกิจกรรม ความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูการเรียนรู เรื่อง น้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู วิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ท่ี 3 เพ่ือกระตุนใหผูเรียน 4. เพอื่ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่เรียนดวยอยากรูอยากเห็นและเพ่ิมความสามารถในการคิดวิเคราะห' ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศ โดยการสืบและผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนใหสงู ข้ึน เสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3กรอบแนวคิดในการวิจยัชุดกิจกรรมการเรียนรูโดยการจดั กิจกรรมการเรียนรู ประสิทธิภาพแบบสืบเสาะหาความรูเพอ่ื เสริมสรางการคิดวิเคราะห' ชุดกิจกรรมการเรียนรู ตามเกณฑ' 80/80 ผลสัมฤทธ์ิ ความสามารถใน ความพึงพอใจตอการเรียนทางการเรียน การคิดวิเคราะห' ทเ่ี รียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู ภาพประกอบ กรอบแนวคิดในการวิจัย

วารสารวชิ าการหลักสตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภฏั สกลนคร ปท ี่ 4 ฉบับท่ี 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555วิธีดาํ เนินการวิจัย 4. แบบสอบถามความพึงพอใจ เปvนแบบวัดความ พึงพอใจของนักเรียนท่ีมีตอการจัดกิจกรรมการเรียนการรู 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง วิทยาศาสตร' โดยชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง นา้ํ และอากาศ 1.1 ประชากรท่ีใชในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียน โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ป.การศึกษา 2553 จํานวน 20 ขอ เปvนแบบมาตราสวนประมาณคา (Ratingศูนย'เครือขายการศึกษาท่ี 1 สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา Scale) 3 ระดบัประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 มีท้ังหมด 15 โรงเรียน คือ1) โรงเรียนบานหนองทุมหนองโจด 2) โรงเรียนอนุบาล การเกบ็ รวบรวมข&อมูลเจริญศิลป• 3) โรงเรียนบานทุงมนธาตุวิทยา 4) โรงเรียนบานหนองแสง 5) โรงเรียนบานหนองนอย 6) โรงเรียนบาน การวิจยั ครั้งนี้ ผูวิจยั ไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลหนองจาน 7) โรงเรียนบานหนองฮังแหลว 8) โรงเรียนดอน ดวยตนเอง โดยทดลองกับกลุมตัวอยาง คือ นักเรียนชัยวิทยา 9) โรงเรียนบานกุดนาม 10) โรงเรียนบานโคก ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3 ที่กําลังศึกษาในภาคเรียน 2ศิลา 11) โรงเรียนบานคําบอน 12) โรงเรียนบานทุงแก ป.การศึกษา 2553 โรงเรียนบานทุงมนธาตุวิทยา จํานวน13) โรงเรียนบานสรางฟาก 14) โรงเรียนบานทุงคํา และ 18 คน ไดดาํ เนินตามขั้นตอนดังน้ี15) โรงเรียนบานนาดี จํานวนทั้งหมด 230 คน 1. ประสานงานกับผูบริหารโรงเรียน ครูวิชาการ 1.2 กลุมตัวอยางท่ีใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ นักเรียน โรงเรียนบานทุงมนธาตุวิทยา อําเภอเจริญศิลป• จังหวัดช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3 ภาคเรียนท่ี 2 ป.การศึกษา 2553 สกลนคร สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาโรงเรียนบานทุงมนธาตุวิทยา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สกลนครเขต 2 ท่ีเปvนกลุมตัวอยางเพื่อกําหนด วัน เวลาในประถมศึกษาสกลนคร เขต 2 จํานวน 18 คน ไดมาโดย การทดลองวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ซ่ึงมีบริบทใกลเคียงกนั ในศนู ย'เครือขาย 2. การทดสอบก อนเรียน (Pre-test) โดยใช แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห'และ 2. เคร่ืองมือทใ่ี ชในการวิจัย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน ท่ีผูวิจัยสรางขึ้น เคร่ืองมือท่ีใชในการเก็บรวมรวมขอมูลครั้งนี้ เปvน กอนท่ีจะดําเนินการสอน โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู เรือ่ ง น้าํ และอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพอ่ื เสริมสรางเคร่ืองมือที่สรางขึ้น การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู การคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร'เรอ่ื ง นํา้ และอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสราง ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3การคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3 ดังนี้ 3. ครูช้ีแจงอธิบายวิธีการเรียนโดยใชชุดกิจกรรม การเรียนรู เร่ือง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่องนํ้าและอากาศ เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูโดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' วิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3 ใหนักเรียนเขาใจกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3จาํ นวน 8 ชุด รวมเวลา 16 ชว่ั โมง ที่ผูวิจยั สรางขึ้น 4. ครูสอนตามแผนการจัดการเรียนรู ชุดกิจกรรม การเรียนรู เร่ือง น้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปvน เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูแบบทดสอบแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จํานวน วิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 330 ขอ 3. แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห'ท่มี ีการจาํ แนก การเปรียบเทียบ เห็นความสัมพันธ'และการใชเหตผุ ล เปนv แบบทดสอบแบบอตั นัย จํานวน 3 ขอ

วารสารวชิ าการหลกั สูตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555 5. ใหนักเรียนศึกษาและปฏิบัติกิจกรรมในชุด 1.4 การวิเคราะห'แบบสอบถามความพึงพอใจกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง น้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหา รูปแบบการสอบถามความพึงพอใจที่มีตอการจัดกิจกรรมความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการ การเรียนการสอนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง น้ําและเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ท่ี 3 อากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิด วิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถม 6. การทดสอบหลังเรียน (Post-test) โดยใชแบบทดสอบ ศึกษาป.ที่ 3 เปvนแบบสอบถามชนิด แบบมาตราสวนวดั ความสามารถในการคิดวิเคราะห'และแบบทดสอบวัดผล ประมาณคา (Rating Scale) 3 ระดบัสัมฤทธ์ิทางการเรียนชดุ เดิมท่ีใชทดสอบกอนเรียน 2. การวิเคราะห'ขอมลู เชิงคุณภาพ 7. ใหนักเรียนตอบแบบสอบถามความพึงพอใจท่ีมี การวิจัยคร้ังน้ี ไดวิเคราะห'ขอมูลเชิงคุณภาพตอการเรียน โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง น้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิด โดยการวิเคราะห'เชิงเนื้อหาสรุปความจากการสังเกตวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถม พฤติกรรมการทํางานกลุม การนําเสนอหนาชั้นเรียนศึกษาป.ท่ี 3 จาํ นวน 20 ขอ การซักถามรายบุคคลและรายกลุม จากนั้นนําขอมูล มาสรุปผลการใชชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง น้ําและอากาศการวิเคราะหข( อ& มูล โดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ท่ี 3 ในการวิจัยการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง ท่ีมีตอการพัฒนาผูเรียนในดานตางๆ เพ่ือสรุปขอมูลในเชิงนํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสราง อธิบายความการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ท่ี 3 ผูวิจัยไดดําเนินการวิเคราะห'ขอมูล การวิจัย สถิติที่ใช&ในการวิเคราะห(ขอ& มลูครั้งน้ี โดยแยกออกเปvน 2 ลักษณะ คือ วิเคราะห'ขอมูลเชิงปริมาณและวิเคราะห'ขอมูลเชิงคุณภาพ ดังน้ี 1. สถิติพ้ืนฐาน 1.1 คารอยละ (Percentage) 1.การวิเคราะห'ขอมลู เชิงปริมาณ ดังน้ี 1.2 คาเฉล่ีย (Mean) 1.1 วิเคราะห'หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการ 1.3 คาสวนเบีย่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)เรียนรู เร่ือง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู 2. สถิติท่ใี ชในการหาคณุ ภาพเคร่ืองมือเพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรู 2.1 หาความเท่ียงตรงของเนื้อหา โดยการหาดัชนีวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ที่ 3 ในการวิเคราะห'โดยใชสตู ร E1/E2 ความสอดคลอง (Index of Consistency : IOC) โดยใชสูตร ของโรวิเนลลีและแฮมเบลตัน (Rowinelli and Hambleton) 1.2 การวิเคราะห'ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใชชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นาํ้ และอากาศ ระหวางคะแนน 2.2 การคาํ นวณหาความยากของขอสอบปรนัย (P)กอนเรียนและหลังเรียน โดยใช t-test (dependent Samples) 2.3 การคํานวณหาคาอํานาจจําแนกของขอสอบ ปรนัย (r) 1.3 การวิเคราะห'ความสามารถในการคิดวิเคราะห' 2.4 การหาคาความเชอ่ื ม่ันของแบบทดสอบปรนัยของนักเรียนท่ีเรียนดวยการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดยใช 2.5 การคาํ นวณหาความยากของขอสอบอัตนยั (P)ชุดกิจกรรมการเรียนรู เร่ือง น้ําและอากาศ โดยการสืบ 2.6 การคํานวณหาคาอํานาจจําแนกของขอสอบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระ อตั นยั (r)การเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ที่ 3 ระหวาง 2.7 การหาคาความเชื่อม่ันของแบบทดสอบอัตนัยคะแนนกอนเรียนและหลังเรียน โดยใช t-test (dependent โดยวิธีหาสมั ประสิทธิ์แอลฟาSamples)

วารสารวิชาการหลักสูตรและการสอน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับที่ 9 เดือนมกราคม - เมษายน 2555 3. สถิติสําหรับทดสอบสมมติฐาน ขอ& เสนอแนะ 3.1 สถิติที่ใชในการหาประสิทธิภาพของชุด 1. ขอเสนอแนะในการนาํ ไปใชกิจกรรมการเรียนรู เรอ่ื ง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหา 1.1 ครูสามารถนําชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นํ้าความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3 ตามเกณฑ' E1/E2 และอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการ คิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถม 3.2 สถิติท่ีใชในการทดสอบสมมุติฐานของคะแนน ศึกษาป.ที่ 3 ไปสอนในชั่วโมงปกติ หรือสอนซอมเสริมเฉล่ียกอนเรียนและหลังเรียน โดยการทดสอบคาที (t-test) เพราะชุดการเรียนรูน้ีไดผานการหาประสิทธิภาพเรียบรอยแบบ Dependent Samples แลวสรปุ ผลการวิจัย 1.2 การนาํ แผนการจดั การเรียนรูโดยใชชุดกิจกรรม การเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง นํ้าและอากาศ โดย เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' วิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ท่ี 3 ไปใช ครูผูสอนควรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถมศึกษาป.ท่ี 3 ศึกษาขั้นตอนในการใชใหเขาใจ เตรียมตัวนักเรียนใหพรอมมีประสิทธิภาพ 81.60/81.30 สงู กวาเกณฑ'ทตี่ ั้งไว 80/80 กอนท่ีจะลงมือใช 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากที่ 1.3 การจัดกิจกรรมกรรมการเรียนการสอนแตละเรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง น้ําและอากาศ คร้ัง ครูตองอธิบายข้ันตอนการทํากิจกรรมใหนักเรียนโดยการสืบเสาะหาความรู เพ่ือเสริมสรางการคิดวิเคราะห' เขาใจตรงกนักลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 1.4 เวลาทีใ่ ชในการจัดกิจกรรมการเรียนการเรียนรูท่ีระดับ .05 ควรยืดหยุนใหเหมาะสมกับเนื้อหาของแตละเรื่อง ซ่ึงการ กําหนดเวลาที่ใชในการทํากิจกรรมในแตละเนื้อหาจะไม 3. ความสามารถในการคิดวิเคราะห'ของนักเรียน เทากนั ข้ึนอยูกบั ความยากงายของเน้ือหาน้ันๆหลังจากท่ีเรียนดวยชุดกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง น้ําและอากาศ โดยการสืบเสาะหาความรู เพื่อเสริมสรางการคิด 2. ขอเสนอแนะในการวิจยั คร้ังตอไปวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ช้ันประถม 2.1 ควรมีการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูศึกษาป.ที่ 3 หลังเรียนสูงกวากอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติทรี่ ะดับ .05 วิทยาศาสตร'ท่ีเนนรูปแบบหรือเทคนิคการสอนอื่นๆ เชน รูปแบบการสอนแบบเนนกระบวนการแกปwญหา รูปแบบ 4. ความพึงพอใจของผูเรียนตอการเรียนดวยชุด การสอนแบบซิปปา เปvนตน เพ่ือใหเกิดความเหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู เรื่อง น้าํ และอากาศ โดยการสืบเสาะหา เน้ือหาวิชาทีจ่ ะสอนความรู เพื่อเสริมสรางการคิดวิเคราะห' กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร' ชั้นประถมศึกษาป.ท่ี 3 อยใู นระดบั มาก 2.2 ควรมีการพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู วิทยาศาสตร' กับเน้ือหาอ่นื ๆ จะไดมีสื่อการเรียนการสอนท่ี หลากหลาย ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให นกั เรียนเกิดความสนใจในการเรียนมากข้ึน

วารสารวิชาการหลกั สตู รและการสอน มหาวิทยาลยั ราชภัฏสกลนคร ปท ่ี 4 ฉบับที่ 9 เดอื นมกราคม - เมษายน 2555เอกสารอ&างอิงกรมวิชาการ. (2544). การจัดการเรียนรู กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2544. กรุงเทพฯ: ครุ ุสภาลาดพราว.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ'ศักด์ิ. (2546). การคิดเชิงวิเคราะห. กรงุ เทพฯ: บริษัทซัคเซสมีเดีย จาํ กัด.พิมพนั ธ' เดชะคุปต'. (2544). เอกสารประกอบการอบรมวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพทางวิทยาการ.วนิช สุธารตั น'. (2544). ความคิดและความคิดสรางสรรค. คณะครศุ าสตร': สถาบันราชภัฏ.สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร'และเทคโนโลยี. (2545). คูมือการจดั การเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร. กรุงเทพฯ: ครุ ุสภาลาดพราว.สํานักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพราว.สํานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 3. (2552). รายงานการประเมินคณุ ภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน. สกลนคร: สกลนครการพิมพ'. . (2553). รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อประกันคุณภาพผูเรียน ป2การศึกษา 2552 ช้ันประถมศึกษาป2ที่ 3. สกลนคร: สาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาสกลนคร เขต 3.สวุ ิทย' มลู คํา. (2547). กลยุทธการสอนคิดวิเคราะห. กรุงเทพฯ: หางหุนสวนจํากัดภาพพิมพ'.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook