Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2561

รายงานประจำปี 2561

Published by kulc79596, 2020-05-03 02:45:49

Description: รายงานประจำปี 2561

Search

Read the Text Version

เพอ่ื เพมิ่ พูนความรู ประสบการณแกบรรณารักษผ เู ขารวม สวนการประชมุ คณะทํางานฯ นนั้ เพื่อใหคณะทํางานฯ ไดมี โอกาสพบปะ และแลกเปลี่ยนเรียนรูแนวปฏิบัติท่ีดีรวมกัน และจะไดนําไปปรับใชใหเหมาะสมกับบริบทแตละที่ กอใหเกิดประโยชนตอผปู ฏิบตั ิงานรวมกันเพ่ือใหผูใชบริการไดร ับผลประโยชนสงู สุด ทั้งนี้ในการประชุมคณะทํางานใน รอบปท่ีผานมา มีการบรรยาย/สัมมนาทางวิชาการ/อบรม/การแลกเปล่ียนเรียนรู และการแลกเปลี่ยนเรียนรูตาง ๆ การศึกษาดูงาน/การเยยี่ มชม พรอ มทง้ั ภาพการเขา รว มกิจกรรมการประชุมดงั นี้ การบรรยาย/สมั มนาทางวชิ าการ/อบรม/การแลกเปลีย่ นเรียนรู ๑. การประชุมครัง้ ที่ ๑/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๒๙ - ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ ณ หองสมุดมหาวิทยาลัยสงขลานครนิ ทร วิทยาเขตตรัง จังหวัดตรงั มีการบรรยาย ๒ หัวขอ ไดแก การบรรยาย เทคนิคการออกแบบบรกิ าร (Service Design) เพ่อื สรา งสรรคการบริการหอ งสมุดท่เี ปนเลศิ และ Workshop การออกแบบบริการ (Service Design) เพ่อื สรา งสรรค การบรกิ ารหองสมุดท่เี ปนเลิศ วทิ ยากร โดย อาจารย ดร.พงศกร พิชยดนย และหวั ขอ การบรรยายเรื่อง ขอ ตกลงการ ใหบ รกิ ารระหวา งกลุมเครอื ขาย โดย นางสาวนนั ทรตั น นนทิวฒั นว ณชิ บรษิ ทั EBSCO ท้งั ๒ เรอื่ ง ทําใหผ ูเขารว มไดร บั ความรูเก่ยี วกับการออกแบบบริการ ทําอยางไรใหบริการเปน เลศิ และทําใหเกดิ การสรางเครอื ขา ยทเ่ี ขมแขง็ มากขึ้นทั้ง ในเร่ืองการบริการตา ง ๆ และการบรกิ ารยืมระหวา งหองสมดุ รวมกนั สําหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู มีการแลกเปลีย่ น เรียนรูรวมกันในชวงของการประชุม อาทิ ๑) ความแตกตา งระหวางโปรแกรมจัดการบรรณานุกรม EndNote X8 กับ X9 ๒) EndNote กับ iThesis ๓) ระบบลานจอดรถอัจฉรยิ ะของสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแกน (KKU Smart Parking System) ๔) การบอกรับฐานขอมูลตาง ๆ ในปงบประมาณ ๒๕๖๒ โดย สกอ. โดยเฉพาะฐานขอมูล ScienceDirect ซึ่งบอกรับในรูปแบบใหม สามารถเขาใชงานไดเพียง ๔ สาขาวิชา คือ สาขา Agricultural and Biological Sciences, Social Sciences, Engineering และ Immunology and Microbiology ซ่ึงประกอบดวย วารสารจํานวน ๗๐๐ กวาชื่อเรื่อง ดูเอกสารฉบับเต็มไดตั้งแตปพมิ พ ๒๐๑๐ – ปจจุบัน มีผลตั้งแตวันที่ ๑ มกราคม ๒๕๖๒ เปนตน ไป ๒. การประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ วันท่ี ๒๕ - ๒๖ เมษายน ๒๕๖๒ หอสมุดกลาง หอสมุดและคลังความรู มหาวทิ ยาลัยมหิดล ศาลายา มกี ารบรรยายและการฝกอบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร ไดแ ก ๑) รายงานความกาวหนาของความ รวมมอื ระหวางหอ งสมดุ ของประเทศไทยและอนาคต และบรรยายเรือ่ ง New Content in EDS วิทยากร โดย นางสาว นนั ทรตั น นนทวิ ฒั นวณิช บริษัท EBSCO ๒) แนะนาํ การตีพิมพบทความวิจยั ในวารสารทางวิชาการนานาชาติ วทิ ยากร โดย คุณวัลยลดา ภัทรโภคินเศรษฐ สํานักพิมพ Emerald Group Publishing Limited ทําใหผูเขารวมไดรับความรู ความกา วหนา ของการนาํ ระบบ EDS Single Search มาใชบ ริการรว มกัน สาํ หรับการแลกเปลี่ยนเรยี นรู มีการแลกเปล่ยี นเรียนรรู ว มกันในชวงของการประชุม อาทิ ๑) แนวทางการเปด บริการ ๒๔ ช่ัวโมง พ้ืนท่ีและการจดั เวรบรกิ าร ๒) การขนยายทรพั ยากรสารสนเทศ ๓) การนําเงนิ บริจาคท่ไี ดร บั จาก กิจกรรมงดคาปรบั เปนบรจิ าคเงนิ เพ่ือการกุศลของสํานักงานวิทยทรพั ยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั ๔๘

๓. การประชุมคร้ังที่ ๓/๒๕๖๒ วันท่ี ๒๕ - ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ สํานักบรรณสารการพัฒนาสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร มีหัวขอดังนี้ ๑) การบรรยาย มุมมองของผูมีสวนไดสวนเสียตอหองสมุด ในยุค Transformation วิทยากร ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณดา จันทรสม รองอธิการบดีฝายวิชาการ อดีตคณบดี คณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ๒) การบรรยาย ความคาดหวังตอการบริการของ หองสมุด ในยุค Transformation วิทยากร ศิษยเกาจากสมาคมนักศึกษาเกา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร ในพระบรมราชูปถมั ภ พธิ ีกร: ดร.ประดิษฐ กติ ติฤดีกุล ๓) การหารอื เรื่อง การใหบ ริการของสมาชกิ อว. (สกอ. เดมิ ) ที่ ไมไ ดอยใู นคณะทาํ งาน และการจดั ทําคมู อื แนวทางปฏิบัติในการบริการระหวางหองสมุด ความคบื หนา การรวบรวมการ ใหบริการฐานขอมูลคลังปญญาของม/ส วิทยากร โดย นางสาวนันทรัตน นนทิวัฒนวณิช บริษัท EBSCO ทําให ผูเขา รวมไดท ราบและตระหนกั ในบทบาทของหองสมดุ จากความคดิ เหน็ และมุมมองท่หี ลากหลาย และความคาดหวัง ของผูใ ชใ นยุคของความเปล่ียนแปลงทเ่ี กิดข้ึนอยางรวดเร็ว สําหรับการแลกเปลยี่ นเรียนรู มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรูรวมกันในชวงของการประชมุ อาทิ ๑) หุน ยนต Mobile Telepresence Robotic ของสํานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และหุนยนตของสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแกน ๒) การเรียนรูจากการศึกษาดูงาน ณ Shanghai Jiao Tong University Library, Fudan University Library, Tongji University Library และ Shanghai Library ของคณะผูบริหาร หัวหนาฝาย บุคลากร สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ๓) การพัฒนาบุคลากรใหมีความรูดานนโยบาย ทิศทางและ เปาหมายขององคกร ตามแผนยุทธศาสตรการพัฒนาองคกร และพัฒนาความคิดเชิงบวกของบุคลากรใหมศี ักยภาพ รองรับตอ การเปล่ียนแปลงทรี่ ุนแรงในยคุ ดจิ ิทัลของสํานักหอสมดุ มหาวิทยาลยั ขอนแกน การศึกษาดูงาน/เยย่ี มชม วนั เดอื น ป สถานท่ี ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ ศึกษาดูงานหองสมดุ มหาวิทยาลยั สงขลานครนิ ทร วิทยาเขตตรัง จงั หวดั ตรัง ๒๕ เมษายน ๒๕๖๒ ศกึ ษาดูงานจดหมายเหตแุ ละพพิ ธิ ภณั ฑม หาวทิ ยาลัยมหิดล ๒๖ เมษายน ๒๕๖๒ ศกึ ษาดงู าน SCB INVESTMENT LAB และหอ งสมุด หอสมดุ และคลงั ความรู มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ศึกษาดงู านและเยยี่ มชมนิดาโพล (NIDA Poll) สถาบันบณั ฑิตพัฒนบรหิ ารศาสตร สามารถติดตามรายละเอียดเก่ียวกับการดําเนินงานทีมคณะทํางานฝายบริการสารนิเทศ หองสมุด สถาบันอุดมศึกษา ไดท่ีเว็บไซต คณะทํางานฝายบริการสารนิเทศ หองสมุดสถาบันอุดมศึกษา (TSWG : THAILIS SERVICE WORKING GROUP) https://tswggroup.wordpress.com/ ๔๙

ภาพการเขา รวมการประชมุ ครง้ั ที่ ๑/๒๕๖๒ วนั ที่ ๒๙ - ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ หอ งสมุด มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร วิทยาเขตตรัง จงั หวดั ตรัง ภาพการเขา รวมการประชมุ ครัง้ ที่ ๒/๒๕๖๒ วนั ที่ ๒๕ - ๒๖ เมษายน ๒๕๖๒ ณ หอสมุดกลาง หอสมุดและคลงั ความรมู หาวิทยาลยั มหดิ ล ศาลายา ๕๐

ภาพการเขา รว มการประชุมครั้งท่ี ๓/๒๕๖๒ วนั ที่ ๒๕ - ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ สาํ นักบรรณสารการพฒั นา สถาบนั บัณฑติ พัฒนบรหิ ารศาสตร ความรวมมือระหวา งหองสมดุ สถาบันอุดมศึกษา ฝา ยเทคโนโลยีสารนิเทศ สํานักหอสมุดไดมอบหมายใหน างสาวศศนิ พร นาคเกษม นกั วิชาการคอมพิวเตอรชาํ นาญการ และนางสาวดล นภา แวว ศรี ทาํ หนาทเี่ ปนตัวแทนคณะทํางานความรวมมือระหวา งหอ งสมุดสถาบนั อุดมศกึ ษาฝายเทคโนโลยีสารนเิ ทศ ไดเขารวมการประชุมของคณะทํางานฯ จํานวน ๑ ครั้ง เม่ือวันที่ ๒๙ – ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ หองประชุม สํานักหอสมุด มหาวิทยาลยั ขอนแกน การจดั ประชุมครงั้ น้ีในวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ มีการอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ จํานวน ๒ เรอื่ ง ไดแ ก ๑. Virtualization and Containerization โดย นายสุชาติ จุลรัตน และนายวณิช พาดี นักวิชาการ คอมพิวเตอร สํานักเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแกน หัวขอการฝกอบรม ไดแก Docker, Container, เปรียบเทียบ Container และ Virtual Machines, การติดตั้ง Docker for Windows และ การใชงาน on Windows ๒. IOT @Library โดย นายจีระพล คุมเคี่ยม หัวหนาฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ หัวขอการฝก อบรม ไดแก IOT @Library ท่ีนํามาใช ในสํานกั หอสมดุ กลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนอื ไดแ ก Smart Room, Access Control, RFID Controller, Self-Check Station, NAS, Backup Server, Sound and PA Server, Digital Signage นอกจากนี้ยงั ไดศึกษาดูงานสํานักหอสมุด มหาวิทยาลยั ขอนแกน เกย่ี วกบั การนําเทคโนโลยตี างๆ มาใชใ นงาน หองสมุด เชน RFID, Self-Check, Book Drop, อุปกรณ Counter จํานวนผูเขาใชหองตางๆการจัดพ้ืนท่ีและอปุ กรณ สนบั สนนกุ ารเรยี นการสอนใหบรกิ ารแกน ักศึกษาและบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัย (Marker Space) ระบบตดิ ตามถังขยะ อัจฉริยะ และตดิ ตงั้ อุปกรณแ จง สถานที่จอดรถอัตโนมตั ิ (Smart Parking) ๕๑

สวนการประชุมคณะกรรมการฯ ในวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ไดมีการแจงเรือ่ งการนําระบบเทคโนโลยี สารสนเทศมาใชงานเพือ่ พัฒนาบรกิ ารของแตละหองสมุด และแลกเปลี่ยนขอมลู เกย่ี วกบั การทํา IR ของแตล ะหองสมุด เพื่อประโยชนในการแลกเปล่ยี นขอมลู ตอไปในอนาคต ๕๒

ผลการดําเนินงานตามพนั ธกิจ : การสนบั สนนุ การศกึ ษาและการวิจยั การจัดหาทรพั ยากรสารสนเทศ สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร มกี ารกาํ หนดวิสยั ทศั นใ นระยะ ๕ ป (ปง บประมาณ ๒๕๖๑–๒๕๖๕) เพอื่ เปนหองสมดุ มหาวิทยาลยั ท่ีสนับสนุนงานวิจยั และตอบสนองกบั ยทุ ธศาสตรของหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรที่จะมุงสู การเปนมหาวิทยาลยั วิจัย (Research University) โดยดําเนินงานจดั หาทรัพยากรสารสนเทศท่ีมเี นื้อหาสอดคลอ งกบั หลักสูตรการเรียนการสอน การวิจัยของมหาวิทยาลัย จัดหาเคร่ืองมือในการสืบคนทรัพยากรสารสนเทศ (Search tools) จัดหาเครื่องมือสนับสนุนการวิจัย (Research tools) และจัดบริการเพ่ือสงเสริมการใชทรัพยากรสารสนเทศ โดยมีนโยบายการพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบอิเล็กทรอนิกสมากกวารูปแบบตัวเลมท่ีเปนฉบับพิมพ เพ่ือตอบสนองตอ พฤติกรรมของผใู ชบรกิ ารหอ งสมุดทีเ่ ปลย่ี นแปลงไปใชฉ บบั อิเล็กทรอนกิ สเพมิ่ มากข้ึน สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ใชงบประมาณในการบอกรับทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนกิ ส (e-Journals, eBooks, e-Databases) ไมนอยกวารอยละ ๙๐ จากงบประมาณจัดซ้ือทรัพยากรสารสนเทศทั้งหมด โดยในปการศึกษา ๒๕๖๑ ในสัดสวนทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส รอยละ ๙๙.๐๑ และทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทสิ่งพิมพ รอยละ ๐.๙๙ ซ่ึงงบประมาณทรพั ยากรสารสนเทศของสํานักหอสมุดใชงบรายไดของสํานักหอสมดุ ท้ังหมด และไดรับงบสนับสนุนในการบอกรับแบบจายรวม (co-pay) จากสวนงานอ่ืน ๆ (หองสมุดวิทยาเขต/คณะ) บางสว น การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศที่เปนเคร่ืองมือในการสืบคนและชวยการเขียนผลงานวิจัยเพื่อการ ตีพิมพ ในปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ สํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร มีฐานขอ มลู อเิ ล็กทรอนิกสท ่ใี หบ รกิ าร จาํ นวน ๔๓ ฐาน จําแนกเปน ท่ีสํานักหอสมดุ บอกรบั เอง จํานวน ๓๒ ฐาน และสํานักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษา (สกอ.) บอกรับ จํานวน ๑๑ ฐาน รวมถึงสํานักหอสมุดพัฒนาขึ้นเอง เชน ฐานขอมูลหนังสืออิเล็กทรอนิกส (KU eBook Collection) ฐานขอ มูลวทิ ยานพิ นธอิเลก็ ทรอนิกส (KU Thesis) นอกจากนี้ยงั มีฐานขอมูลแบบเปดเสรี (Open Access) และฐานขอมลู ท่ีพฒั นาขึ้นเอง จํานวน ๙ ฐานขอมูลท่ี ใหบ ริการบนเวบ็ ไซตเพ่อื สนบั สนนุ การศกึ ษาและวิจัย ๕๓

ในการจัดหาทรพั ยากรสารสนเทศเนนการจัดหาใหตรงความตองการของผใู ชและการใหผ ูใ ชมีสวนรวมในการ คดั เลือกโดยจัดโครงการตา ง ๆ ดังน้ี - โครงการสํารวจทรัพยากรสารสนเทศอเิ ล็กทรอนิกส ประจําป ๒๕๖๒ วันที่ ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๒ - วันที่ ๑๕ กรกฏาคม ๒๕๖๒ ผา นระบบสาํ รวจความตองการทรัพยากรสารสนเทศอเิ ล็กทรอนิกส - โครงการวิเคราะหและจัดหาทรัพยากรสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนและการวิจัย ปง บประมาณ ๒๕๖๒ (ตุลาคม ๒๕๖๑-กันยายน ๒๕๖๒) - โครงการคัดเลือกหนังสืออิเล็กทรอนิกสแบบออนไลน ประจําปงบประมาณ ๒๕๖๒ (eBook 4plus ๒๐๑๙) วันที่ ๒ มกราคม ๒๕๖๒ – วันท่ี ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ ผานระบบคัดเลือกหนังสือ อิเลก็ ทรอนกิ สแ บบออนไลน - กจิ กรรมบรรยายเรอื่ งหลกั สูตรท่ีเปด การเรยี นการสอนในมหาวิทยาลัยและสิ่งสนบั สนุนการเรียนการสอน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ (มคอ.) วันศุกรที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ เวลา ๙.๐๐ – ๑๒.๐๐ น. สถานที่ หอ งประชุม ๒ ช้ัน ๒ อาคารเทพรัตนว ทิ ยาโชติ สาํ นกั หอสมดุ - โครงการ You Pick We Buy คร้ังที่ ๑๔ วันที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๑ สถานท่ี งานมหกรรมหนังสือ ระดบั ชาติ คร้ังท่ี ๒๓ (ศูนยป ระชมุ แหงชาติสิรกิ ติ ์)ิ ๕๔

บริการและสิ่งอาํ นวยความสะดวกในป ๒๕๖๑ ไดแ ก ๑. KU Library Catalog เปนแหลงสืบคน เฉพาะทรพั ยากรสารสนเทศทั้งหมดของเครือขา ยหองสมดุ มก. ๒. Single search เปนแหลงสืบคนทรัพยากรสารสนเทศท้ังหมดของเครอื ขายหองสมุด มก. และหองสมุดอน่ื ๆ ทีเ่ ปนสมาชกิ ผา น EDS จํานวน ๑๕ สถาบนั และกลมุ เครอื ขายสมาชิก PULINET จํานวน ๑๒ สถาบัน ๓. EBSCO A to Z เปน เครื่องมือตรวจสอบรายชอื่ วารสารอเิ ล็กทรอนกิ สท หี่ อ งสมดุ บอกรบั ในฐานขอ มลู ออนไลน และเชือ่ มโยงไปยังฐานขอ มลู นน้ั ๆ ๔. eBook Collection เปนระบบบริการหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสของอาจารยจากทุกคณะ และโครงการคัดเลือก หนังสืออิเลก็ ทรอนิกส (eBook๔plus) สําหรับอาจารยไ ดคัดเลือกหนังสอื ประกอบการเรียนการสอน จํานวน หนังสือ ๔ เลม สําหรับ ๔ ชั้นป ตอ ๑ หลักสตู ร ๕. Ezproxy เปนเคร่ืองมือที่ชวยใหนิสิตบุคลากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เขาใชงานฐานขอมูลที่หองสมุด บอกรบั ไดจากภายนอกมหาวทิ ยาลยั ๖. TDC (ThaiLIS Digital Collection) ฐานขอ มลู เอกสารฉบับเต็มในรปู อิเล็กทรอนิกส ประกอบดว ย วิทยานิพนธ งานวิจัย บทความวารสารและหนังสือหายาก ที่มีอยูในหองสมุดมหาวิทยาลยั /หนว ยงานในเครือขายหองสมุด สถาบันอดุ มศกึ ษาไทย (ThaiLIS) ๗. สหบรรณานุกรมหองสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย (Union catalog of Thai Academic Libraries-UCTAL) คือ สหบรรณานุกรมของหอ งสมดุ สถาบนั อดุ มศึกษาไทย แหลงจัดเกบ็ วารสารในประเทศไทย (Journal Link ๕๕

๘. บรกิ ารการสืบคน คาควอไทล (Quartile) ของวารสาร ISI Web of Science และตรวจสอบคา SJR (Scientific Journal Rankings) และ ๙. บรกิ ารตรวจสอบคา Impact factor วารสารไทย Thai Journal Citation Index Centre-TCI ๑๐.บริการแนะนําการจัดการขอมูลบรรณานุกรมใชอางอิงเพื่อทําผลงานวิชาการ หรือ บทความวิชาการ หรือ วทิ ยานิพนธ ไดแก โปรแกรม EndNote โปรแกรม Meneley และ ๑๑.บรกิ ารการตรวจการคดั ลอกบทความวิจยั (ภาษาองั กฤษ) ดว ยโปรแกรม Turnitin ผูส นใจสามารถสง ผลงานที่ ตองการตรวจไดท่ี [email protected] และรบั ผลการตรวจการคัดลอกภายใน ๑ วนั ทาํ การ โดย ไมม ีคาใชจา ย สาํ หรับบรกิ ารสงเสรมิ การใชทรพั ยากรสารสนเทศเพือ่ การวิจัย ไดแ ก บริการสอนการรูสารสนเทศ การสืบคน OPAC/eThesis การสืบคนฐานขอมูลเฉพาะสาขา การทบทวนวรรณกรรมอยางมีระบบ (Systematic Review) และ การจดั กจิ กรรมสงเสรมิ การใชฐานขอมูลอเิ ล็กทรอนกิ สตาง ๆ เปนตน ๕๖

กิจกรรมสนบั สนนุ การวิจยั กจิ กรรม การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร เร่อื ง “การลักลอกทาง กจิ กรรม การอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เรื่อง “การสบื คน และ วิชาการและความรูเ บื้องตนทางกฎหมายลิขสทิ ธ์”ิ จดสทิ ธบิ ตั รเร่ืองกญั ชา” (Marijuana Advanced วทิ ยากร โดย ผศ.ดร.ทรงพนั ธ เจมิ ประยงค Research Based on the Patent Documents) วันองั คารท่ี ๑๒ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ วิทยากรโดย Mr. Chuan Wang Lin. เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. วันพธุ ที่ ๒๗ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ สถานที่ หองประชุม ๓ ชนั้ ๔ อาคารเทพรตั นวทิ ยาโชติ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. สถานท่ี หอ งฝกอบรม ชั้น ๒ อาคารเทพรตั นว ิทยาโชติ ๕๗

กจิ กรรม การอบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ เรอื่ ง “การใชโปรแกรม กจิ กรรม การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ เร่ือง “การใชโ ปรแกรม จัดการบรรณานุกรมขนั้ สงู (Advanced EndNote X9) R ในการวเิ คราะหขอ มลู วิจยั ทางดา นสงั คมศาสตร” คร้งั ท๒ี่ ” วทิ ยากรโดย คณุ จีรวฒั น พรหมพร วิทยากรโดย รศ.ดร.พงศป ระพนั ธ พงษโ สภณ วนั องั คารท่ี ๑๑ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒ วันพฤหัสบดที ี่ ๑๓ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. สถานที่ หอ งฝก อบรม ชนั้ ๒ อาคารเทพรัตนว ิทยาโชติ สถานท่ี หองฝกอบรม ชน้ั ๒ อาคารเทพรตั นว ิทยาโชติ กจิ กรรม การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร เรอื่ ง “Citation กิจกรรม การอบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร เรอื่ ง “การใชโปรแกรม Database และการคดั เลือกวารสารเพอื่ การตพิ มิ พ” R สาํ หรบั งานวจิ ยั ดา นวิทยาศาสตร” วทิ ยากรโดย คุณศรญั ญาภรณ โชลิตกลุ วิทยากรโดย ผศ.ดร.วินยั โพธส์ิ ุวรรณ วนั พฤหัสบดที ่ี ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๖๒ วนั ศกุ รท ี่ ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ เวลา ๑๒.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น. สถานท่ี หองฝก อบรม ชัน้ ๒ อาคารเทพรตั นวทิ ยาโชติ สถานท่ี หอ งฝกอบรม ชั้น ๒ อาคารเทพรตั นวทิ ยาโชติ ๕๘

กิจกรรม การอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร เรือ่ ง “การทบทวน กิจกรรม บรกิ ารใหค ําปรึกษาการใชโ ปรแกรมจดั การทาง วรรณกรรมอยางมรี ะบบ (Systematic Review)” บรรณานุกรม EndNote วทิ ยากรโดย ผศ. ดร.ทรงพันธเ จิมประยงค ใหบรกิ ารทุกวนั วันพฤหสั บดที ี่ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๖๒ สถานท่ี เคานเ ตอรบรกิ ารตอบคาํ ถามและชวยการคนควา เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๒.๐๐ น. ชั้น ๑ อาคารชวงเกษตรศลิ ปการ สํานักหอสมดุ มก. สถานท่ี หอ งประชมุ ๓ ชน้ั ๔ อาคารเทพรัตนวิทยาโชติ กิจกรรม บริการตอบคําถามและชว ยการคน ควา วนั ที่ ใหบริการทกุ วนั สถานที่ เคานเตอรบ รกิ ารตอบคําถามและชวยการคนควา ชั้น ๑ อาคารชว งเกษตรศลิ ปการ สํานกั หอสมดุ มก. ๕๙

ผลการดาํ เนินงานตามพนั ธกจิ : การบรกิ ารวชิ าการ KULIB Talk ภายใต โครงการ Knowledge Partner (ระหวา งเดือนสงิ หาคม ๒๕๖๑ - กรกฎาคม ๒๕๖๒) รายการ KULIB Talk ภายใต โครงการ Knowledge Partner ไดดําเนินงานระหวางชวงเดือนเดือนสิงหาคม ๒๕๖๑ - กรกฎาคม ๒๕๖๒ โดยมีวัตถุประสงคการดําเนินงานเพ่ือรวบรวมและเผยแพรผลงานวิจัย องคความรู นวัตกรรม ผลงานรางวัลของนิสิต บุคลากร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร และศิษยเกา สูสาธารณะชน และเพื่อสง เสริม การใชผลงานวจิ ัย นวัตกรรมของสาํ นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรผ า นสื่อรว มสมยั โดยเชอ่ื มโยงและสอดคลอ ง กับแผนยุทธศาสตรส าํ นักหอสมดุ คือ ยุทธศาสตรท่ี ๑ การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ ท่ีทันสมัย เพื่อสนับสนนุ การ วจิ ัยดว ยกระบวนการมีสว นรวมของเครอื ขาย กลยทุ ธท่ี ๒ การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศหองสมดุ ๒.๑ การใหบรกิ าร ทรพั ยากรสารสนเทศเพ่ือการวิจัยและการเรยี นการสอนดวย นวัตกรรมบริการรวมสมยั โดยผลการดาํ เนนิ งานมกี ารถา ย ทํารายการ KULIB Talk ซ่งึ มผี ลการดาํ เนินงาน ดังนี้ ๑. จดั หาและประสานติดตอวิทยากร โดยหาขอมูลวทิ ยากรจากแหลงขาวตาง ๆ เชน เว็บไซตของมหาวทิ ยาลยั เพจ / Facebook จากคณะตา ง ๆ หรือ บคุ คลตา ง ๆ ท่ีใหข อมูล ๒. ประสานขอขอมลู ทเี่ ก่ยี วของทางโทรศัพท อีเมล หรือทาง Line สวนตัว เพ่ือนําไปจัดทําสคริปสําหรับการ ถา ยทาํ รายการ ๓. เมอื่ มกี ารตกลงนดั หมายวันทีส่ มั ภาษณแลวจงึ จดั ทําหนังสอื เชญิ อยา งเปน ทางการ ๔. จดั ทาํ สคริปการทาํ งานของทีมงาน โดยลงรายละเอียดการสัมภาษณ ขอ คําถาม และการถายทํา ๕. ประสานใหนิสิตจากชมรมศลิ ปะการพูดมาเปน พิธกี รให (กรณสี มั ภาษณนสิ ติ ) ๖. บันทกึ รายการ โดยมกี ารบันทกึ รายการ จํานวน ๒๕ ตอน ๖๐

โครงการขยายผลพฒั นาคลงั ความรดู ิจทิ ัลและฐานขอมูลจดหมายเหตุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร โครงการขยายผลพัฒนาคลังความรูดิจิทัลและฐานขอมูลจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปน โ ค ร ง ก า ร ท่ี ข ย า ย ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น จ า ก โ ค ร ง ก า ร พั ฒ น า ค ลั ง ค ว า ม รู ดิ จิ ทั ล แ ล ะ ฐ า น ข อ มู ล จ ด ห ม า ย เ ห ตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมผลงานสรางสรรคและเอกสารจดหมายเหตุของ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร เพ่อื การอนุรกั ษและเผยแพรผลงานใหไดร บั การอางองิ ทัง้ ในระดับชาติและระดบั นานาชาติ ตามนโยบาย Digital University และ World Class University ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร โดยผลการดําเนินงาน ในปการศึกษา ๒๕๖๑ (วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒) พบวา มีการเผยแพรขอมูลท่ีเปนผลงาน สรางสรรค จํานวน ๑,๑๘๔ รายการ และเอกสารจดหมายเหตุ จํานวน ๔๔๕ รายการ สําหรับรายละเอียดกิจกรรม อื่น ๆ มดี งั น้ี ๑. จดั ทาํ ซดี ีผลงานผเู กษยี ณ ประจําป ๒๕๖๒ สํานักหอสมุด จัดทําซีดีรวบรวมผลงานของบุคลากรที่เกษียณเพ่ือมอบเปนเกียรติประวัติและเปน ท่ี ระลกึ แดผเู กษยี ณอายุ โดยมกี ารรวบรวมผลงานที่ไดบ ันทกึ และใหบ รกิ ารในระบบคลงั ความรดู จิ ิทลั ฯ มาจดั ทาํ ในรูปแบบ ซีดี พรอมจัดทาํ รายชอ่ื ผลงานของผูเ กษยี ณอายุ เพอ่ื ขออนุญาตสทิ ธก์ิ ารเผยแพรผ ลงานและเพ่อื เปนสาธารณประโยชน ผานเครือขายอินเทอรเน็ตในคลังความรูดิจทิ ัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยผลงานที่ไดรับการตอบรบั ใหอ นุญาต เผยแพรจะใหบรกิ ารท่ี http://kukr.lib.ku.ac.th สําหรับผูเ กษียณอายุ ประจําป ๒๕๖๒ มีจํานวน ๕๙ ทาน ท่ีมีผลงานในระบบคลังความรดู ิจิทลั มก. และไดสงมอบซีดผี ลงานผเู กษียณทา นละ ๓ แผน รวมเปนจํานวนทง้ั หมด ๑๗๗ แผน ๒. ฐานขอมลู ผลงาน ศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ณ นคร สํานักหอสมดุ จัดทาํ ฐานขอ มลู ผลงาน ศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ณ นคร เพอ่ื รวบรวมผลงานท้งั หมด ของศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร ในรูปแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส พรอมจัดทําหนังสืออิเลก็ ทรอนิกส และใหบริการท่ี http://kukr๒.lib.ku.ac.th/kukr_es/prasert/index โดยผสู นใจสามารถเขาถงึ องคความรผู านระบบออนไลนไดอยาง ๖๑

สะดวกและรวดเรว็ อีกท้ังยงั ไดจ ดั นิทรรศการแสดงประวตั ิและผลงานผา นฐานขอ มลู ผลงาน ศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ณ นคร เพ่อื เปน แสดงความอาลัยและรําลกึ ถึงบรู พาจารยท ที่ ําคณุ ประโยชนใหก บั มหาวทิ ยาลัย พรอ มท้ังจดั นิทรรศการ ศตวรรษกาลรําลึก ศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร เน่ืองในวันภาษาไทยแหงชาติ พ.ศ.๒๕๖๒ : ขับขานดนตรี ประดษิ ฐส อ่ื สรางสรรคภาษาไทย โดยจดั แสดงประวัตแิ ละผลงานของศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร และสาธติ การ สบื คนขอมลู ใหก บั ผูท ่ีสนใจอีกดวย ๓. สถติ กิ ารใหบรกิ ารในระบบคลงั ความรดู ิจทิ ลั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ที่เว็บไซต https://kukr.lib.ku.ac.th มีรายละเอยี ดดงั น้ี - จํานวนผลงานทั้งหมดในคลงั ความรดู จิ ิทัล มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ๙๓,๙๓๒ รายการ - จาํ นวนการเขาใชระบบบรกิ ารคลังความรูด จิ ทิ ลั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ๕๐๔,๙๐๓ ครง้ั (วันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ – วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒) - จํานวนการเขาใชร ะบบบริการคลงั ความรูดิจทิ ลั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ๕,๐๑๓,๑๔๗ ครงั้ (ตง้ั แต วนั ที่ ๒ กมุ ภาพันธ ๒๕๕๘ – ปจ จบุ ัน) ๖๒

๖๓

โครงการหอ งสมดุ เพื่อเกษตรกรไทย สํานกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร นอกจากทาํ หนาทเี่ ปนคลังความรู สนับสนุนการเรียน การสอน การ วิจยั ของมหาวิทยาลยั แลว ยังไดร บั มอบหมายจากรฐั บาลใหท ําหนา ท่ีเปน ศูนยประสานงานสารนเิ ทศ สาขาเกษตรศาสตร เปนศูนยสนเทศทางการเกษตรแหงชาติ และศูนยสนเทศทางกระบือนานาชาติ โดยทําหนาที่รวบรวมองคความรูด า น การเกษตรของประเทศ มาอยางตอเนือ่ งเปนเวลาเกอื บ ๔๐ ป ดงั นน้ั เพอ่ื ใหเกษตรกรไดม ีโอกาสเขา ถึงแหลง ความรดู า น การเกษตรของสํานักหอสมุดไดโดยสะดวก สํานักหอสมุด จึงรวมมือกับหนวยงานท่ีเกี่ยวของ จัดทําหองสมุดเพ่ือ เกษตรกรไทย โดยเปดโอกาสใหเกษตรกรไดเขาถึงคลังความรูดิจิทัลดานการเกษตร และระบบบริการตอบคําถาม “กูรูเกษตรศาสตร” โดยไมเสียคาใชจา ย เพื่อสนับสนุนใหเ กษตรกรนําความรูไปใชประโยชน เพื่อพัฒนาการผลติ ทาง การเกษตรบนฐานความรู ในยุคเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั ตามนโยบาย Thailand 4.0 วัตถปุ ระสงค ๑. เพ่ือสนบั สนุนใหเ กษตรกรไทยเขาถงึ แหลง ความรูด า นการเกษตรไดโดยสะดวก ๒. เพือ่ สง เสรมิ ใหเ กษตรกรใชฐานความรใู นการพัฒนาและแกป ญหาการผลติ ดานการเกษตร ผลการดําเนินงานโครงการหองสมุดเพ่ือเกษตรกรไทย หอ งสมุดเพอ่ื เกษตรกรไทย เปนระบบบรกิ ารความรูท่มี หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรร ว มกบั หนวยงานความรวมมอื จัดทําข้ึนเพื่อขยายโอกาสใหเ กษตรกรเขาถึงแหลงความรูดานการเกษตรท่ีมคี วามสมบูรณที่สุดในประเทศ โดยไมเสยี คาใชจา ยผา นบรกิ ารคลงั ความรดู จิ ทิ ลั ดานการเกษตร และระบบบริการตอบคําถาม “กรู เู กษตรศาสตร” เพอ่ื สนับสนุน ใหเกษตรกรนําความรูไปใชประโยชน ในการพัฒนาการผลิตทางการเกษตรดวยฐานความรู ในยุคเศรษฐกิจดิจิทัล ตามนโยบาย Thailand ๔.๐ บรกิ าร หอ งสมดุ เพอื่ เกษตรกรไทย ประกอบดว ย • ระบบบรกิ ารคลงั ความรูดิจทิ ัลดานการเกษตรของประเทศไทย เปนระบบบรกิ ารความรจู ากคลงั ความรดู า น การเกษตรท่ีรวบรวมหนงั สอื ตํารา เอกสาร บทความดา นการเกษตร ทีส่ มบรู ณทสี่ ุดของประเทศ ทงั้ ที่เปน ผลงานวิจยั และบทความรทู ั่วไป จากสือ่ หลากหลายประเภท • ระบบบรกิ ารสารสนเทศเกษตรนานาชาติ เปน ระบบบรกิ ารความรดู า นท่เี ปน ฐานขอมูลงานวิจยั ระดบั สากล ขององคกรสารสนเทศระดบั นานาชาติ เชน องคการอาหารและเกษตรแหงสหประชาชาติ • ระบบบริการคลังความรูดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนระบบบริการความรู จากคลังผลงาน สรางสรรคของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ที่ไดส ง่ั สมมาอยา งตอเนื่องเปน เวลายาวนานกวา ๗๕ ป ๖๔

• ระบบกรู ูเกษตรศาสตร เปนระบบตอบคําถามดานการเกษตรผานไลน โดยผูเช่ียวชาญดานการเกษตรจาก หลากหลายสาขา ผสมผสานกบั เอกสารความรแู ละผลงานวจิ ัยจากคลังความรูดิจิทลั ดานการเกษตร โดยมี ระบบการจดั การคลังความรูอยูเบอื้ งหลังระบบการใหบรกิ าร เพื่อจัดเก็บองคความรขู องผูเชีย่ วชาญสะสม เปน คลังความรู เพ่อื ใชป ระโยชนอ ยา งยง่ั ยืน หองสมุดเพอื่ เกษตรกรไทย จงึ เปน ระบบบรกิ ารทผ่ี สานความรูดา นการเกษตรแบบครบวงจร ซึ่งมกี ารผสมผสาน องคความรขู องผูเชยี่ วชาญผานระบบการตอบคําถามท่ีเจาะลึกและตรงประเด็น รวมกับการเตมิ เต็มความรูจากเอกสาร ตาํ ราในคลังความรูดจิ ทิ ัลดานการเกษตร ซงึ่ เปนองคค วามรทู งั้ ในประเทศและตา งประเทศ ใหบรกิ ารโดยสาํ นักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซ่ึงทําหนาท่รี วบรวมองคความรดู า นการเกษตรของประเทศ มาอยางตอเน่ืองเปนเวลากวา ๓๕ ป พรอ มเปดประตคู วามรูเ พอ่ื ขยายการใหบ รกิ ารสเู กษตรกรไทย ระบบหองสมดุ เพอ่ื เกษตรกรไทยเปดใหบ รกิ ารผานเวบ็ ไซต http://thaifarmer.lib.ku.ac.th เกษตรกรสามารถ เขาใชงานระบบ และคนหาขอมูลความรูดานการเกษตรไดจากทุกท่ี ทุกเวลา ผานเครือขายอินเทอรเน็ต โดยไมมี คาใชจาย ขอมูลท่ีใหบริการในระบบ ประกอบดวย ขาวสาร ถาม-ตอบ แจงเตือน และแหลงความรูดานการเกษตร สําหรับเกษตรกรที่สมัครเปนสมาชิกของระบบหองสมุดเพื่อเกษตรกรไทย เม่ือลงชื่อเขาใชงานแลว จะสามารถถาม ปญ หา “กรู ูเกษตรศาสตร” โดยสง คําถามผา นเวบ็ ไซต เมนถู ามกรู ู หรอื ผานไลน @GuruKasetsart หองสมุดเพ่ือเกษตรกรไทย คลังความรดู จิ ทิ ลั ดา นการเกษตร ● ขาวสาร เปน ขอ มูล ขาวสาร เรอ่ื งนารูดา นการเกษตรสาํ หรบั เกษตรกร • แจงเตือน เปนขอ มลู การแจง เตือนภัยดานการเกษตรจากหนวยงานราชการ เพื่อใหเ กษตรกรเตรียมพรอม รบั มอื กับสถานการณตา งๆ ๖๕

• แหลง ความรู เปน คลังความรู ฐานขอ มลู ระบบสารสนเทศ และเวบ็ ไซตดานการเกษตร ท่ีเกษตรกรสามารถ คน หาความรไู ดผา นเครอื ขายอนิ เตอรเ น็ต จากทกุ ท่ี ทุกเวลา • คลงั ความรูดจิ ิทลั ดา นการเกษตรของประเทศไทย เปนระบบริการความรจู ากคลังความรดู านการเกษตรท่ี รวบรวมหนงั สอื ตํารา เอกสาร บทความดานการเกษตร ท่ีสมบูรณที่สดุ ของประเทศ ทั้งที่เปนผลงานวจิ ยั และบทความรูท่วั ไป จากสือ่ หลากหลายประเภท • ฐานขอมลู ออนไลนดา นการเกษตรเปนระบบบริการความรูดา นการเกษตรจากตา งประเทศ ไดแ ก องคก าร อาหารและเกษตรแหง สหประชาชาติ AGRIS FAO • แหลงความรูดานการเกษตรอ่ืนๆ เปนแหลงความรูจากเว็บไซตของหนวยงานราชการ และองคกรดาน การเกษตร ● ถาม-ตอบ เปนปญหาดานการเกษตรที่เกษตรกรถามกูรูเกษตรศาสตร ผานทางระบบหองสมุดเพ่ือเกษตรกร ไทย และทาง Line@GuruKasetsart ๖๖

การใหบริการตอบคําถามดานการเกษตรผานระบบกูรเู กษตรศาสตร เปนการดําเนินงาน โดยผูเช่ียวชาญท้ัง ภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร นอกจากนี้ ยังมีนักเอกสารสนเทศที่ผานการฝกอบรมเทคนิคการ วิเคราะหค าํ ถาม คาํ ตอบ เปน ผชู ว ยในการตอบคาํ ถามรวมกบั ผเู ชีย่ วชาญ และทําหนา ทสี่ บื คน สารสนเทศทีเ่ ก่ยี วของใน รูปอิเลก็ ทรอนิกสจากคลังความรูดิจิทัลดานการเกษตร และแหลง ขอมูลทั้งในและตา งประเทศ สงใหเกษตรกรเพ่ิมเติม นอกเหนือจากคําตอบท่ีไดจากผูเช่ียวชาญ โดยเฉลีย่ ไมนอยกวา ๓ เร่ืองตอคําถาม ตลอดจนแนะนําแหลง ความรูอื่นๆ เพอื่ เปนขอ มูลเพ่มิ เตม่ิ ใหก ับเกษตรกรอีกดวย หองสมุดเพ่ือเกษตรกรไทย มีจํานวนสมาชิกรวม ๑,๙๐๘ คน เปนสมาชิกจากระบบหองสมุดเพือ่ เกษตรไทย จํานวน ๕๗๐ คน เปน สมาชกิ ผา นทาง Line@ จาํ นวน ๑,๓๓๘ คน ผลการดาํ เนนิ งาน มีจาํ นวนคาํ ถาม ๙๑ คาํ ถาม ผลประเมินผลความพึงพอใจตอการรับบริการตอบคาํ ถาม และชว ย คา เฉลยี่ ความพึงพอใจ คนควา ดานการเกษตรผาน Line@ GuruKasetsart หอ งสมุดเพื่อเกษตรกรไทย X - การสอ่ื สารขอมลู ผานทางไลน @กรู เู กษตรศาสตร ๔.๗๓ - ประโยชนของขาวสารทีไ่ ดร ับ ๔.๖๖ - ความกระตือรอื รน และความรวดเรว็ ในการใหบ รกิ ารและตอบคาํ ถาม ๔.๗๗ - คาํ ตอบและขอ มลู ทไี่ ดร ับตรงตามความตองการ ๔.๕๗ - ความพงึ พอใจภาพรวมในการใหบ ริการ ๔.๘๐ ความพึงพอใจของผตู อบแบบประเมิน โดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจอยูในระดับดีมาก ที่คาเฉล่ีย ๔.๗๑ โดยภาพรวมในการใหบรกิ ารมีระดับความพงึ พอใจอยูในระดับดีมาก ท่ีคาเฉลี่ย ๔.๘๐ ท้ังน้ีเมอ่ื พจิ ารณาเปนรายขอ ใน ดา นระบบนัน้ ผูต อบแบบประเมินมคี วามพึงพอใจทุกหัวขอ ในระดับดีมาก โดยพึงพอใจหวั ขอ ความกระตอื รือรน และ ความรวดเรว็ ในการใหบรกิ ารและตอบคําถามมากที่สุด ทค่ี า เฉล่ีย ๔.๗๗ รองลงมาคอื หัวขอ การสื่อสารขอ มลู ผานทาง ไลน @กูรูเกษตรศาสตร ที่คาเฉล่ยี ๔.๗๓ และหวั ขอ คาํ ตอบและขอ มลู ทไี่ ดร บั ตรงตามความตองการนอ ยท่ีสดุ ที่คาเฉลย่ี ๔.๕๗ โครงการพฒั นาคลงั ความรูดจิ ทิ ัลและฐานขอ มูลจดหมายเหตุ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร โครงการพฒั นาคลังความรูดิจิทัลและฐานขอมูลจดหมายเหตุ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ระดับวทิ ยาเขต เปนโครงการทส่ี าํ นักหอสมุดรว มกบั มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ๓ วิทยาเขต ไดแก วิทยาเขตกําแพงแสน วิทยาเขตศรี ราชา และวิทยาเขตเฉลมิ พระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ในการรวบรวมผลงานสรา งสรรคและเอกสารจดหมายเหตขุ อง มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร เพื่อการอนุรกั ษและเผยแพร โดยไดร ับอนมุ ัติโครงการจากมหาวทิ ยาลัยใหด ําเนนิ การในสวน ๖๗

ของวิทยาเขต ในเดือนกันยายน ปงบประมาณ ๒๕๖๐ และดําเนินงานตอเน่ืองในปงบประมาณ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๒ สาํ หรับผลการดาํ เนินงานในปการศกึ ษา ๒๕๖๑ (วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ – ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒) ๒. กจิ กรรมอืน่ ๆ ๒.๑ การประชมุ รว มกับหองสมดุ วิทยาเขต ๓ วทิ ยาเขต มีรายละเอียดดงั น้ี ๒.๑.๑ การประชุมเพ่ือติดตามผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาคลังความรูดิจิทัลและจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ระดับวิทยาเขต คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๒ ในวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ หองสมดุ วิทยาเขตเฉลิม พระเกียรติ จังหวัดสกลนคร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร เพ่ือติดตาม ความกาวหนาผลการดําเนินงานโครงการของแตละวิทยาเขตและรวมวางแผนการดําเนินงานโครงการประจําป งบประมาณ ๒๕๖๒ ๒.๑.๒ การประชุมเพ่ือติดตามผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาคลังความรูดิจิทัลและจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ระดับวิทยาเขต คร้ังท่ี ๒/๒๕๖๒ ในวันท่ี ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ สํานักหอสมุด กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน เพื่อติดตามความกาวหนาผลการดําเนินงานโครงการฯ ตามท่ีไดรวมกนั วางแผนไว พรอ มปรบั แผนการดําเนนิ งานใหสอดคลอ งกบั ระยะเวลาที่เหลือของปง บประมาณ ๒๕๖๒ ๒.๒ การฝกอบรมเชงิ ปฎบิ ัติการ มรี ายละเอียดดงั น้ี ๒.๒.๑ สาํ นักหอสมุด กําแพงแสน จัดฝกอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร เรอ่ื ง การบันทึกขอมลู แบบออนไลนใน คลังความรดู ิจิทลั และฐานขอ มลู จดหมายเหตุ มหวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในวนั ท่ี ๒๘ สิงหาคม ๒๕๖๑ โดยการฝกอบรม ครั้งนี้ประกอบดวยแนะนําวิธีการใชงานระบบบันทึกขอมูลออนไลนพรอมรูปแบบรายการบรรณานุกรมที่เปน มาตรฐานสากล เพื่อใหผูเ ขา อบรม/ผูทรี่ ีบผดิ ชอบการบนั ทกึ ขอ มูลของสวนงานในวทิ ยาเขตกําแพงแสน สามารถใขง าน ระบบไดอ ยางถกู ตองและบนั ทึกขอ มูลใหตรงตามรปู แบบและมาตรฐานที่กําหนดได อีกทัง้ ยังมีการจดั แสดงนทิ รรศการ สาธิตการสืบคนขอมลู ในระบบบริการคลังความรดู ิจิทลั มก. ดว ย โดยผูท รี่ ว มเดนิ ทางรับผดิ ชอบเปน วทิ ยากรและผูชวย วิทยากร และเปนผูสาธิตแนะนําระบบบริการคลังความรูด ิจทิ ัล มก. เพ่ือใหผูเขาอบรมไดเหน็ ถึงประโยชนของจดั เก็บ ขอมลู รวมถึงการแสดงผลของขอ มูลท่ีใหบริการในระบบดว ย ๖๘

๒.๒.๒ กิจกรรมเผยแพรฐานขอมลู จดหมายเหตุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตกําแพงแสน ใน วนั ท่ี ๒๗ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ ณ บริเวณลานดา นหนา สาํ นักหอสมุด กาํ แพงแสน เพอ่ื ให นิสติ อาจารย และบุคลากร ได ใชประโยชนในการศึกษาคนควาเรยี นรเู รือ่ งราวในอดตี ทผ่ี านมาของบรู พาจารย รวมทั้งสง่ิ แวดลอ มและวัฒนธรรมของ มหาวิทยาลัย การใหบ รกิ ารวารสาร Buffalo Bulletin (สิงหาคม ๒๕๖๑ – กรกฎาคม ๒๕๖๒) วารสาร Buffalo Bulletin เปนวารสารวิชาการดานกระบอื โดยรวบรวม ตีพิมพ และใหบริการบทความวิจยั (Original article) บทความวิชาการ (Review article) และรายงานกรณีศึกษา (Case study report) ตีพิมพราย ๓ เดือน ไดแก มกราคม-มีนาคม เมษายน-มิถุนายน กรกฎาคม-กันยายน และ ตุลาคม-ธันวาคม ปจจุบันใหบริการใน รูปแบบออนไลนท่ี http://kuojs.lib.ku.ac.th/index.php/BufBu การพัฒนาระบบสารสนเทศดานเกษตรและคลังความรดู ิจทิ ัล มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ๑. คลงั ความรูดจิ ทิ ัลดานการเกษตร (http://agkb.lib.ku.ac.th) คลังความรูดิจิทัลดานการเกษตร เปนคลังขอมูลท่ีรวบรวมองคความรูจากผลงานวิจัย หนังสือ ตารา และ บทความรูดานการเกษตรของประเทศไทย ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๓ เปนตนมา จนถึงปจจุบัน ประกอบดวยขอมูล บรรณานุกรม และเอกสารฉบับเต็มในรูปอิเล็กทรอนิกส เกษตรกร นักวิชาการ และผูสนใจ สามารถเขาถึงความรูได โดยสะดวก รวดเรว็ เขา ถงึ ไดจากทุกที่ ทกุ เวลาโดยไมต องเสยี คา ใชจ าย สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในฐานะที่เปนศูนยสนเทศทางการเกษตรแหงชาติ และศูนย ประสานงานสารนิเทศ สาขาเกษตรศาสตร รวมกับหนวยงานความรวมมือในเครือขายสารสนเทศเกษตรไทย และ หนวยงานท่ีเก่ยี วของ รวมกันบนั ทกึ ผลงานและผลติ หนังสืออิเล็กทรอนกิ สดานการเกษตร เพ่ือการใชประโยชนในการ พฒั นาการเกษตรของประเทศอยา งยัง่ ยืน ๖๙

๒. คลังความรดู จิ ทิ ลั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร (https://kukr.lib.ku.ac.th) คลังความรูดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปนแหลงจัดเก็บและรวบรวมผลงานสรางสรรคของบุคลากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในรูปแบบดิจิทัลตามมาตรฐานสากล และเปนระบบบริการเผยแพรผลงานของ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรใหเ ปน ทร่ี จู กั และไดร ับการอางอิงท้งั ในระดบั ชาติและระดบั นานาชาติ และเผยแพรค วามรูสู สังคมอยางเปน รูปธรรม ผลงานในระบบบริการคลังความรูดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประกอบดวย ผลงานวิจัย ผลงานทาง วิชาการ หนังสือ ตํารา เอกสารคําสอน บทความ การประชุมวิชาการของหนวยงานในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วารสารท่ีผลิตโดยหนวยงานในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และผลงานสรางสรรคทุกประเภท รวมท้ังเอกสารจดหมาย ของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร โดยไมจํากัดปพมิ พ ๗๐

๓. ระบบบริการหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนกิ สดานการเกษตร เฉลมิ พระเกียรตพิ ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั (http://ag-ebook.lib.ku.ac.th) สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในฐานะศูนยประสานงานสารนิเทศสาขาเกษตรศาสตร รวมกับ สํานกั พิมพมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร และหนว ยงานความรวมมือในเครอื ขา ยสารสนเทศเกษตรไทย รวมทง้ั หนวยงาน และเจาของผลงานท่ียนิ ดเี ผยแพรผ ลงานดา นการเกษตร ไดจดั ทาํ โครงการพฒั นาหนังสอื อิเลก็ ทรอนิกสดา นการเกษตร เฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เพื่อรวบรวมองคความรจู ากหนงั สือท่ีมเี น้ือหาเก่ียวของกับการเกษตร การวจิ ยั คน ควาทางการเกษตรตามแนวพระราชดําริ หลักการทรงงาน และการประยกุ ตใ ชปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงใน ภาคการเกษตร เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระปรีชาญาณในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวดานการเกษตร และปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือใหเปนคลังความรูสนับสนุนการเรียน การสอน มูลนิธิพระดาบสในพระบรมราชูปถัมภ และ ๗๑

สาขาวิชาเกษตรของสถาบันการศึกษาตางๆ รวมทั้งเกษตรกร และผูสนใจท่ัวไป สามารถเขาถึงความรูไดโดยสะดวก รวดเร็ว เขาถึงไดจ ากทุกท่ี ทกุ เวลาโดยไมต องเสยี คาใชจ าย ๔. ระบบบริการหนงั สอื อเิ ลก็ ทรอนิกสเฉลมิ พระเกียรติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี (http://ebook.lib.ku.ac.th/ereading) สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดจัดทําโครงการพัฒนาหนังสืออิเลก็ ทรอนิกสเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี โดยการรวบรวมหนังสือ ตํารา และผลงานของอาจารย นกั วิจยั และ บุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในสาขาวิชาตาง ๆ (ยกเวนสาขาการเกษตร) เพื่อใหผลงานของ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ไดถ กู ใชป ระโยชน ไดร บั การเผยแพรส สู งั คมอยางเปน รูปธรรม เปน คลงั ความรู สนบั สนนุ การ เรียนการสอน การวจิ ัย เปน ส่ือการศึกษาของประเทศ และเปน กจิ กรรมสง เสรมิ การอานเพอื่ สนับสนนุ ใหสงั คมไทยเปน สงั คมแหง การเรยี นรู ๗๒

๗๓

ผลการดําเนินงานตามพันธกิจ : การทํานบุ าํ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรม โครงการประวัตศิ าสตรบ อกเลา Oral History ๘๐ ป มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร โครงการประวัติศาสตรบ อกเลา Oral History ๘๐ ป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดดําเนินโครงการประจาํ ป การศึกษา ๒๕๖๑ ระหวางเดือนสิงหาคม ๒๕๖๑ ถึงเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๒ เพ่ือศึกษาและรวบรวมขอมูลเชิง ประวัติศาสตรของมหาวิทยาลัยในสวนที่ยังขาดหายใหมีความสมบูรณ โดยการบันทึกขอมูลและคําสัมภาษณของ คณาจารยและบุคลากรภายในหนวยงานตางๆ เพื่อจัดเก็บขอมูลไวในคลังขอมูลของหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ซง่ึ การดําเนินงานของโครงการเปนการบนั ทึกเทปสมั ภาษณ โดยสํานกั สงเสรมิ และฝก อบรม และสงมอบไฟลก ารบันทึกเทปไปยังหนวยงานท่ใี หการสมั ภาษณ และนําไปใชประโยชนตอไปในอนาคต โดยไดมีการ ดําเนินงานติดตอขอสัมภาษณหนวยงานตางๆ เพื่อจัดทํารวบรวมมาเปนขอมูลจดหมายเหตุ ซึ่งอยูระหวางดําเนินการ ระหวางเดอื นสิงหาคม ๒๕๖๑ ถงึ เดอื นกรกฎาคม ๒๕๖๒ ไดมีการสัมภาษณหนว ยงานทง้ั หมด ๑๔ หนวยงาน ดังนี้ ๑. ศูนยสนเทศกระบอื นานาชาติ สาํ นกั หอสมุด ๒. ชมรมวรรณศิลป มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ๓. สาํ นกั บริการคอมพวิ เตอร ๔. คณะสังคมศาสตร ๕. สํานกั สงเสรมิ และฝก อบรม ๖. ศูนยแ ละสถานีวจิ ยั ตา งๆ ของคณะประมง ๗. คณะประมง ๘. คณะเทคนคิ การสตั วแพทย ๙. พพิ ิธภณั ฑธรรมชาติวิทยาประมง ๑๐. สถาบนั คน ควา และพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ๑๑. ภาควิชากีฏวทิ ยา คณะเกษตร ๑๒. การเสวนาพิเศษ เรอื่ ง ๓๐ ป KUSA เสวนาอาวโุ ส ๑๓. สาํ นักการกีฬา สาํ นักงานอธกิ ารบดี ๑๔. บณั ฑิตวทิ ยาลัย ๗๔

นทิ รรศการตามวาระและโอกาสสาํ คญั ของมหาวทิ ยาลยั นิทรรศการตามวาระและโอกาสสําคัญของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร แบง เปน ๒ นิทรรศการ คือ นทิ รรศการ พิธีพระราชทานปริญญาบัตร และนิทรรศการประเพณีรับนองใหม ซึ่งในปการศึกษา ๒๕๖๑ ไดมีการจัดนิทรรศการ ท้ังหมด ๓ คร้ัง ไดแก นิทรรศการประเพณีรับนองใหม ประจําปการศึกษา ๒๕๖๑ นิทรรศการประเพณีรับนองใหม ประจาํ ปการศกึ ษา ๒๕๖๒ และนิทรรศการพธิ พี ระราชทานปรญิ ญาบตั ร ประจําปก ารศกึ ษา ๒๕๖๐ นิทรรศการประเพณีรับนองใหม ประจําปก ารศึกษา ๒๕๖๑ ไดจัดขึ้นระหวางวันที่ ๓ – ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ สวนนิทรรศการประเพณีรับนอ งใหม ประจาํ ปการศึกษา ๒๕๖๒ ไดจ ัดขึ้นระหวา งวนั ที่ ๑๕ – ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ บริเวณดานหลังเคานเตอรประชาสัมพันธ อาคารเทพรัตนวิทยาโชติ สํานักหอสมุด โดยมีหอจดหมายเหตุเปน ผูรับผิดชอบในการจดั ทํานิทรรศการรว มกับฝา ยเทคโนโลยีการศกึ ษา ซ่ึงเปน นิทรรศการทจี่ ดั ข้ึนเปน ประจาํ ทกุ ปใ นชวง เปดภาคเรียน โดยเนื้อหานิทรรศการจะเปนการนําเสนอเร่ืองราวเก่ียวกับประวัติความเปนมาและพัฒนาการของ ประเพณีการตอ นรับนองใหมต้ังแตอ ดตี จนถงึ ปจ จุบนั เพ่อื ใหน ิสิตใหมช น้ั ปที่ ๑ บคุ ลากร รวมท้ังบุคคลทัว่ ไป ไดรบั ทราบ เรื่องราวเก่ียวกับประวัติความเปนมาของประเพณีการตอนรับนองใหมในอดีต ซ่ึงนิทรรศการประเพณีรับนองใหม ประจําปการศึกษา ๒๕๖๒ ไดมีผูเขาเย่ียมชมนิทรรศการจํานวน ๑,๒๖๗ คน ไดรับผลประเมินความพึงพอใจอยูใน ระดับดี ทคี่ าเฉลย่ี ๔.๓๙ สวนนิทรรศการพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปการศึกษา ๒๕๖๐ ไดจัดข้ึนระหวางวันท่ี ๑๕ – ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ณ โถงนทิ รรศการ ชน้ั ๑ อาคารเทพรตั นวทิ ยาโชติ สาํ นกั หอสมุด โดยหอจดหมายเหตเุ ปน ผูร ับผิดชอบ ในการจัดทํานิทรรศการรวมกับฝายเทคโนโลยีการศึกษา โดยเน้ือหานิทรรศการจะเปนการนําเสนอเร่ืองราวเก่ยี วกับ ๗๕

ประวัติความเปนมาของพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั รในอดตี จนถงึ ปจจบุ นั เพื่อใหนสิ ิต บคุ ลากร และบคุ คลท่ัวไป ไดร บั ทราบเร่อื งราวเกี่ยวกบั พธิ พี ระราชทานปริญญาบัตรของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ต้ังแตอ ดตี จนถึงปจจุบัน โครงการนิทรรศการพระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก รัชกาลท่ี ๑๐ โครงการนิทรรศการพระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก รัชกาลท่ี ๑๐ ไดจ ัดขึ้นระหวา งวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ถงึ วันที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ โถงนิทรรศการ ชั้น ๑ อาคารเทพรตั นวิทยาโชติ สํานักหอสมุด ซึ่งจัดข้ึนเพ่อื เฉลมิ พระ เกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจา อยูห ัว รัชกาลที่ ๑๐ เนื่องในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก และสาํ นึกในพระมหา กรุณาธิคุณท่ีทรงมีตอมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร และเพอ่ื ใหนิสติ บุคลากร และบุคคลทั่วไป ไดรับรูถึงขั้นตอนตางๆ ของพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รูปแบบของนิทรรศการมีท้ังในรูปแบบจัดแสดงในพื้นที่ และนิทรรศการออนไลน http://kulc.lib.ku.ac.th/coronationrama๑๐/ โดยมีผเู ขาเยย่ี มชมนทิ รรศการจํานวน ๒,๒๑๓ คน ไดร บั ผลประเมินความพึงพอใจ อยูใ นระดบั ดีมาก ท่ีคา เฉลย่ี ๔.๕๗ ๗๖

นิทรรศการทไี่ ดร บั มอบหมายจากมหาวิทยาลัย นทิ รรศการวนั ที่ระลกึ วันนทรีทรงปลกู ดนตรีทรงโปรด สืบสานวันทรงดนตรี นิทรรศการวันท่ีระลึกวันนนทรีทรงปลูก ดนตรีทรงโปรด สืบสานวันทรงดนตรี เมื่อวันท่ี ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพ่ือใหบุคลากรและนิสติ ไดรบั ทราบถึงประวัติ ความเปนมาและรวม ราํ ลกึ ถงึ วนั ประวัตศิ าสตรและรว มถายทอดใหบุคลากรและนิสิตรุน หลงั ไดรับทราบและสํานกึ ในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง ไดเสด็จมาทรงปลูกตนนนทรีท่ีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เม่ือวนั ที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๐๖ ซ่งึ กิจกรรมคร้ังนี้ หอจดหมายเหตุ สํานกั หอสมุด ไดร ับมอบหมายใหเ ปน คณะอนุกรรมการฝา ย นทิ รรศการ โดยในป พ.ศ. ๒๕๖๑ เปนการนําชมหองนิทรรศการในงานวนั ท่ีระลกึ วนั นนทรีทรงปลกู ดนตรีทรงโปรด สบื สานวนั ทรงดนตรี ใหก ับบคุ คลท่ีมารวมงานของมหาวิทยาลัย ๗๗

นทิ รรศการศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร นกั ปราชญ ศาสตรแหง แผนดนิ เนื่องดวยศาสตราจารย ดร.ประสรฐิ ณ นคร ไดถึงแกอนิจกรรม เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ หอจดหมาย เหตุรวมกับฝา ยเทคโนโลยีการศึกษา ไดรวมกันจัดนิทรรศการศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร นักปราชญ ศาสตร แหงแผนดิน เมื่อวันที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ อาคารชวงเกษตรศิลปการ สํานักหอสมุด เพ่ือใหนิสิต บุคลากร และ บคุ คลท่ัวไป ไดร ว มราํ ลึกและรับทราบถึงชีวประวัตแิ ละผลงานตา งๆ ของศาสตราจารย ดร.ประเสรฐิ ณ นคร นิทรรศการวันรําลึกพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงหวานขาว ณ เกษตรกลางบางเขน นทิ รรศการวันราํ ลึกพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงหวา นขา ว ณ เกษตรกลางบางเขน ไดดําเนินงานเม่ือวันท่ี ๕ มิถุนายน ๒๕๖๒ เพ่ือใหนิสิต บุคลากร และบุคคลทั่วไปไดรบั ทราบถงึ ความเปนมาและความสาํ คัญของวนั ดงั กลาว โดยเปนการจัดแสดงนทิ รรศการ ณ บรเิ วณดา นหนา หองนิทรรศการภายใน หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และนําชมนิทรรศการภายในหองใตรมนนทรี ซ่ึงเปนหองจัดแสดงนิทรรศการ เก่ยี วกบั งานวันระลกึ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธบิ ดินทร ทรงหวานขาว ณ เกษตร กลาง บางเขน โดยสํานักหอสมุด ไดรับมอบหมายใหเ ปน คณะกรรมการฝายนิทรรศการ ซึ่งการจัดแสดงนิทรรศการทุก คร้ังไดรับความสนใจจากผเู ขารวมชมงานเปนอยา งดี ๗๘

การเย่ียมชมหอประวัติมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ปการศึกษา ๒๕๖๑ ระหวางวันท่ี ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ ถึงวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ไดมีผูเขาเย่ียมชมหอ ประวัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จํานวน ๓,๒๗๙ คน โดยแบงเปนนิสิตมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร จํานวน ๑,๙๗๘ คน นิสิตเกามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จํานวน ๔๐ คน บุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จํานวน ๔๗๒ คน ชาว ตา งประเทศ จํานวน ๒๔๒ คน และบุคคลทวั่ ไป จํานวน ๕๔๗ คน โดยมผี ลการประเมนิ ความพงึ พอใจในระดบั ดมี าก ท่ี คาเฉล่ีย ๔.๕๙ ฐานขอมลู จดหมายเหตุจากหนวยงานตา งๆ ภายในมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร บางเขน มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต กําแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา และมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขต เฉลมิ พระเกยี รติ จังหวัดสกลนคร ปการศึกษา ๒๕๖๑ ไดมีการนําเขาขอมูลจดหมายเหตุจากหนวยงานตางๆ ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน รวมท้ังวิทยาเขตตางๆ ไดแก วิทยาเขตกําแพงแสน วิทยาเขตศรีราชา และวิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด สกลนคร จาํ นวน ๑,๕๗๘ รายการ ดงั นี้ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน จาํ นวน ๑,๑๙๒ รายการ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกําแพงแสน จํานวน ๑๕๙ รายการ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร วิทยาเขตศรีราชา จํานวน ๑๙๔ รายการ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตเฉลมิ พระเกยี รติ จังหวดั สกลนคร ๓๓ รายการ ๗๙

สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน ดานการทํานุบํารุงศลิ ปะและวัฒนธรรม ประกอบดว ย ๑. งานดา นนทิ รรศการ มีการจัดนทิ รรศการจาํ นวน ๗ เรอื่ ง ช่ือนิทรรศการ วันท่ีดําเนินการ ๑.๑ นิทรรศการตามวาระและโอกาสสําคัญของมหาวิทยาลัย ประกอบไปดวย - นทิ รรศการประเพณีรับนองใหม ประจําปก ารศึกษา ๒๕๖๑ วนั ท่ี ๓ – ๑๗ สิงหาคม ๒๕๖๑ - นทิ รรศการพิธพี ระราชทานปรญิ ญาบตั ร ประจําปการศกึ ษา วนั ที่ ๑๕ – ๒๕ ตลุ าคม ๒๕๖๑ ๒๕๖๑ -นิทรรศการประเพณีรับนอ งใหม ประจําปการศกึ ษา ๒๕๖๒ วันที่ ๑๕ – ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ผูเขาเย่ียมชมนิทรรศการจํานวน ๑,๒๖๗ คน ไดรับผล ประเมนิ ความพึงพอใจอยูในระดบั ดี ที่คาเฉล่ีย ๔.๓๙ ๑.๒ นทิ รรศการวันท่รี ะลกึ วนั นนทรีทรงปลูก ดนตรีทรงโปรด วนั ที่ ๒๙ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ สืบสานวันทรงดนตรี ๑.๓ นิทรรศการพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ ๑๐ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ถึงวันท่ี ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๑.๔ นิทรรศการวันราํ ลึกพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหา วนั ที่ ๕ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ อานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร ทรงหวานขาว ณ เกษตรกลางบางเขน ๑.๕ นิทรรศการศาสตราจารย ดร.ประเสริฐ ณ นคร วนั ที่ ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ นกั ปราชญ ศาสตรแ หง แผน ดนิ ๒. โครงการประวัตศิ าสตรบ อกเลา Oral History ๘๐ ป มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร มกี ารสมั ภาษณห นวยงาน จํานวน ๑๔ หนว ยงาน หนว ยงานทสี่ ัมภาษณ วนั ทด่ี ําเนินการสัมภาษณ ๒.๑ ศนู ยส นเทศกระบือนานาชาติ สํานกั หอสมุด วันท่ี ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๑ ๒.๒ ชมรมวรรณศิลป มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วันที่ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๖๑ ๒.๓ สาํ นักบรกิ ารคอมพวิ เตอร วันท่ี ๔ กันยายน ๒๕๖๑ ๒.๔ คณะสังคมศาสตร วันท่ี ๒๘ กันยายน ๒๕๖๑ ๒.๕ สํานกั สงเสรมิ และฝกอบรม วนั ท่ี ๘ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๒ ๒.๖ ศนู ยแ ละสถานวี จิ ยั ตางๆ ของคณะประมง วันที่ ๑๒ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๒ ๘๐

หนวยงานท่สี ัมภาษณ วันทีด่ าํ เนินการสมั ภาษณ ๒.๗ คณะประมง วันที่ ๑๓ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ ๒.๘ คณะเทคนคิ การสัตวแพทย วนั ท่ี ๒๗ กมุ ภาพนั ธ ๒๕๖๒ ๒.๙ พพิ ิธภณั ฑธรรมชาติวทิ ยาประมง วนั ที่ ๒๘ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ ๒.๑๐ สถาบันคนควาและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและ วนั ท่ี ๖ มีนาคม ๒๕๖๒ อุตสาหกรรมเกษตร วนั ที่ ๗ มีนาคม ๒๕๖๒ ๒.๑๑ ภาควชิ ากีฏวทิ ยา คณะเกษตร วนั ท่ี ๒๘ มิถนุ ายน ๒๕๖๒ ๒.๑๒ การเสวนาพเิ ศษ เรือ่ ง ๓๐ ป KUSA เสวนาอาวโุ ส วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๒.๑๓ สาํ นักการกฬี า สํานกั งานอธกิ ารบดี วันที่ ๑๘ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ๒.๑๔ บัณฑติ วทิ ยาลยั ๘๑

ผลการดาํ เนนิ งานตามนโยบาย 6U : มหาวิทยาลยั สีเขยี ว วนั พัฒนาและปลกู ตน ไม มก. ประจาํ ป ๒๕๖๒ วันพฒั นาและปลกู ตนไม มก. ประจําป ๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๔ กันยายน ๒๕๖๒ วนั ที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๖๒ สถานที่ อโรคยาอทุ ยาน ๗๗ ป มก. สถานท่ี สาํ นกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บรรยายหวั ขอ สขุ กนั เถอะเรา..(ซมึ ) เศรา ไปทาํ ไม ? กิจกรรมปลกู ตนรวงผึง้ เฉลมิ พระเกียรติและถวายพระ วนั ที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ พรชัยมงคล เน่อื งในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรม สถานที่ ณ หอ งประชุมใหญ ชน้ั ๕ อาคารเทพรตั น ราชาภิเษก พ.ศ. ๒๕๖๒ วทิ ยาโชติ สาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ บางเขน สถานท่ี ณ บริเวณสํานักพิพธิ ภณั ฑและวัฒนธรรม การเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ๘๒

การจดั การพลงั งานและสง่ิ แวดลอ มตามเกณฑ UI Green Metric สํานักหอสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ในฐานะหนว ยงานบริการความรูข องมหาวิทยาลยั สีเขียว ไดพัฒนา องคกรใหเปนหองสมุดสีเขียว (Green Library) ต้ังแตป พ.ศ. ๒๕๕๓ ตามนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (Green University) ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรโ ดยมุงเนน การจัดการพลงั งานและสิ่งแวดลอมเพื่อใหเกดิ ความยง่ั ยืน สราง การมีสวนรวมกับชุมชนโดยสงเสริมการเรียนรูดานพลังงานและส่ิงแวดลอมใหเกิดกับนิสิตและบุคลากร ใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ตลอดจนผูใ ชบ ริการของสาํ นกั หอสมดุ เพอ่ื ใหมหาวทิ ยาลยั เปน มหาวทิ ยาลัยแหง ความผาสกุ จึงไดมีการดําเนินโครงการจัดการพลังงานและสิ่งแวดลอมตามเกณฑ UI Green Metric สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเพื่อใหการดําเนินงานสอดรับกับนโยบายของมหาวิทยาลยั โดยมี วัตถุประสงคเพ่ือจัดใหม ี พื้นที่การทาํ งานท่ีมีความสะดวก ปลอดภัย เปนระเบยี บ ประหยัดพลงั งานและรักษาสงิ่ แวดลอม เพ่ือสงเสริมกจิ กรรม ตางๆ ดานการอนุรักษพลังงานและสิ่งแวดลอมตามเกณฑการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียว UI GreenMetric มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ใหแกบ คุ ลากรและผใู ชบรกิ าร เพอ่ื รวบรวม ประมวลผลขอ มูล เผยแพรประชาสมั พนั ธข อมลู ที่สอดคลองกับเกณฑการจัดอันดับมหาวิทยาลัยสีเขียว UI GreenMetric มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยมีผลการ ดาํ เนนิ งานตามข้ันตอนการจดั การพลังงานตามพรบ.การสง เสริมการอนุรักษพลังงาน พ.ศ. ๒๕๓๕ (แกไข พ.ศ. ๒๕๕๐) ทงั้ หมด ๘ ขัน้ ตอนและดาํ เนนิ งานตามเกณฑ UI GreenMetric ดังน้ี ๑. กาํ หนดโครงสรางการจดั การพลังงานคณะทํางาน / คณะผูตรวจประเมินภายใน สํานักหอสมุดไดมีการดําเนินการจัดตั้งคณะทํางานการจัดการพลังงานและส่ิงแวดลอม ตามเกณฑ UI GreenMetric โดยไดกําหนดอํานาจหนาที่และความรบั ผิดชอบตามคําส่ังสํานักหอสมุดมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ท่ี ๒๐๐/๒๕๖๑ และไดเผนแพรคําส่ังตามชองทางตางๆ เชน การประชุมคณะทํางาน, การติดบอรดประกาศ, การสง จดหมายอเิ ล็กทรอนิกส ๒. การประเมนิ สถานภาพการจัดการพลงั งานเบือ้ งตน สํานักหอสมุดไดมีการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตน(Energy Management Matrix : EMM) โดยพจิ ารณาจากการดาํ เนินงานดานพลงั งานทีผ่ า นมา กอ นการกาํ หนดนโยบายอนุรกั ษพลังงาน โดยประเมิน จากขอมูลการประเมินสถานภาพการจัดการพลังงานเบื้องตนประเมินจาก๗ ฝาย ของจํานวนท้ังหมด ๗ ฝาย หรือ บุคลากรจาํ นวน ๘๘ คน จากทงั้ หมด๑๑๒ คน คดิ เปนรอยละ ๗๘.๕๗ ๘๓

๓. การทบทวนและกาํ หนดนโยบายอนรุ ักษพ ลงั งาน เพ่ือแสดงเจตจํานงและความมุงมั่นในการดําเนินการดานการอนุรักษพลังงาน สํานักหอสมุดจึงไดกําหนด นโยบายอนุรักษพ ลงั งานตามวัตถปุ ระสงคแ ละเปา หมายการอนรุ กั ษพลังงาน ซึง่ สอดคลองกับสถานภาพการใชพลังงาน และเหมาะสมกับอาคารควบคมุ และมกี ารเผยแพรน โยบายตามชองทางตางๆ เชน การประชุมคณะทาํ งาน, การตดิ บอรด ประกาศ, การสง จดหมายอิเล็กทรอนกิ ส ๔. โครงการอบรมพัฒนาบุคลากรดา นพลังงานและสิ่งแวดลอ ม โครงการจัดการพลังงานและส่ิงแวดลอมตามเกณฑ UIGreenMetricสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดจ ดั กิจกรรมอบรมใหแกบ คุ ลากรจาํ นวน ๓ หลกั สูตร ดงั นี้ ๔.๑ กิจกรรมอบรมผูตรวจสอบภายในพลงั งาน จัดข้ึน ณ วันท่ี ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ มีผูเขาอบรมจาํ นวน ๑๗ คนโดยผูเขาอบรมถูกคัดเลือกและเปนตัวแทนจากฝายทั้ง ๗ ฝาย เพื่อเขารับการอบรมและคัดเลือกมาเปน คณะกรรมการผูตรวจสอบภายในพลังงานคาเฉลี่ยความพงึ พอใจของผเู ขา รว มกจิ กรรมอบรมผูตรวจสอบภายในพลังงาน ระดบั ดี (คา เฉลย่ี ๔.๑๘) ๔.๒ กิจกรรมอบรมหลักสูตร Carbon Footprint ณ วันท่ี ๕ มีนาคม ๒๕๖๒ โดยมีวัตถุประสงคในการจัด กจิ กรรมคอื เพื่อสงเสริมกิจกรรมตา ง ๆ ดานการอนุรักษพ ลงั งานและสง่ิ แวดลอม ตามเกณฑก ารจัดอันดับมหาวทิ ยาลัย สเี ขยี ว UI Green Metric มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรใหแกบคุ ลากรและผใู ชบริการ โดยมีความเชื่อมโยงและสอดคลอง กบั แผนยุทธศาสตรส าํ นกั หอสมดุ ในยุทธศาสตรท ่ี ๓ การบรหิ ารจดั การองคกรสคู วามเปนเลศิ กลยทุ ธท่ี ๓ สรางความสขุ และความผกู พนั ในองคกร มผี เู ขาอบรมจาํ นวน ๑๐๔ คน และมผี ตู อบแบบสอบถามจาํ นวน ๗๖ คน คดิ เปนรอยละ ๗๖ จากจํานวนผเู ขาอบรมท้งั หมดคา เฉล่ยี ความพงึ พอใจของผเู ขาอบรมกจิ กรรมอบรมหลักสูตร Carbon Footprint อยใู น ระดับดี (คาเฉล่ีย ๔.๔๖) ๔.๓ การอบรมหลักสูตรการบริหารจัดการหองสมุดสีเขียวในยุค Internet of Things (IOT) และ จิตสํานึกดานพลังงาน ในวันที่ ๓๐ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ หองประชุม ช้ัน ๕ อาคารเทพรัตนวิทยาโชติ สํานักหอสมุด โดยมผี ลจากแบบประเมิน จํานวน ๗๕ ฉบับ จากผูเขารวมกิจกรรมจาํ นวน๙๙ คนภาพรวมมีความพงึ พอใจอยใู นระดบั ดี ซงึ่ มคี าเฉลี่ยเทา กับ ๔.๔๒ คิดเปนรอ ยละ ๘๘.๔๐ ๔.๔ การศกึ ษาดูงานหนวยงานภายนอกดานพลงั งานและสิ่งแวดลอมศนู ยการเรยี นรตู ันแลนดดินแดน แหงความสมดุล โดยมีผลจากแบบประเมนิ จํานวน ๘๙ ฉบับ จากผูเขารว มกิจกรรมจํานวน ๑๐๔ คน ความพึงพอใจ ตอการศึกษาดูงาน ศูนยการเรียนรูตันแลนด ดินแดนแหงความสมดุลโดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยูในระดับดี ซึ่งมี คา เฉลี่ยเทา กบั ๔.๔๒ คิดเปนรอ ยละ ๘๘.๔๐ ๘๔

๕. การประชาสมั พนั ธดานการอนุรักษพลงั งานและสง่ิ แวดลอ ม ฝา ยเทคโนโลยกี ารศึกษาและฝายเทคโนโลยี สารสนเทศของสํานกั หอสมุด ไดดําเนินงานดานการประชาสัมพนั ธขาวสารภายในใหกบั บุคลากรของสํานักหอสมดุ เพื่อใหท ราบข้ันตอนการดาํ เนนิ การหรอื กจิ กรรมภายในของสํานักหอสมุด ๕.๑ การประชาสมั พนั ธข า วสารภายใน ๕.๒ รายงานการติดต้ัง Dashboard ระบบ EIS (Energy Information System) แสดงคาการใช พลงั งานของอาคารสาํ นักหอสมดุ ระบบ EIS (Energy Information System) เปน ระบบสามารถแสดงคาพลงั งานแบบเรียลไทมด ังทเ่ี ห็นบนจอ และสามารถดูผานมอื ถอื โดยสามารถเลือกดู ขอมูลทั้งสองอาคารไดรวมท้ังแสดงปริมาณไฟฟาท่ีผลิตไดจากแผงพลังงานแสงอาทิตยท่ีติดต้ังอยูบนช้ัน ๔ อาคาร เทพรตั นวทิ ยาโชติ ซึ่งระบบ EIS เปน ระบบทช่ี ว ยสังเกตพฤตกิ รรมการใชพลังงานของอาคาร โดยมีการคาํ นวณแนวโนม การใชพลังงาน ทําใหสังเกตไดงายหากเกิดความผิดปกติของการใชพลังงานในชวงเวลาตาง ๆ โดยระบบน้ีไดมีการ ดาํ เนนิ งานตดิ ตัง้ ใหสามารถโชวบ นจอทชั สกรนี ทช่ี น้ั ๑ เพอื่ ใหผ ูใชบริการและผทู ่ีมาศกึ ษาดงู านไดเห็นคา การใชพ ลังงาน ของทั้งสองอาคารแบบเรียลไทม โดยติดตั้งแลวเสร็จเมื่อวันท่ี ๑๒ กันยายน ๒๕๖๒ โดยคุณชาญณรงค เผือกพูนผล ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ๕.๓ การเปนศูนยด ูงานดา นพลังงานและส่ิงแวดลอ ม สาํ นกั หอสมดุ ไดเปด บานใหห นว ยงานอืน่ ๆ ที่สนใจเขาศกึ ษาดงู านดา นพลงั งานและส่งิ แวดลอ ม ดังน้ี - คณะบคุ ลากรศนู ยบ รรณสารและสอ่ื การศกึ ษา มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีสรุ นารี ศึกษาดงู านหองสมุดสีเขียว วันท่ี ๑๐ กนั ยายน ๒๕๖๒ ณ สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน - อาจารยและนสิ ติ ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปตยกรรมศาสตร เขาเยยี่ มชม วันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ สํานกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร บางเขน - มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบลู สงคราม เขาเย่ียมชมดงู าน วันที่ ๑๒ มิถุนายน ๒๕๖๒ ณ หองประชุม ๓ ชั้น ๔ อาคารเทพรตั นวทิ ยาโชติ สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน - คณะบุคลากร จากมหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมภ ศึกษาดูงานหองสมุดสีเขียว วันท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๒ ณ สาํ นักหอสมุด และหอประวตั ิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ๖. การประชุมคณะทํางานและผูตรวจประเมินภายใน / ผลการประเมิน EMM / นโยบาย / แผนมาตรการ ดา นพลงั งาน / การทบทวนวิเคราะหแ ละแกไข ๖.๑ สํานักหอสมุดไดดําเนินการจัดการประชมุ คณะทํางานจัดการพลังงานและส่งิ แวดลอมตามเกณฑ UI Green Metric จํานวน ๕ คร้งั ดงั น้ีดงั น้ี - ครั้งที่ ๑/๒๕๖๑ วนั อังคารท่ี ๑๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ - ครงั้ ท่ี ๒/๒๕๖๒ วันจนั ทรท ่ี ๔ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ - คร้งั ที่ ๓/๒๕๖๒ วนั องั คารที่ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ๘๕

- คร้งั ที่ ๔/๒๕๖๒ วนั อังคารที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๒ - ครงั้ ท่ี ๕/๒๕๖๒ วันพุธท่ี ๒๕ กนั ยายน ๒๕๖๒ ๖.๒ การตรวจตดิ ตามภายในดานการจัดการพลังงาน สํานักหอสมดุ ไดม ีการจดั การตรวจติดตามภายในดาน การจัดการพลังงานโดยคณะทํางานผูตรวจประเมินการจัดการพลังงานและส่ิงแวดลอมภายในสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ตามคาํ สงั่ ท่ี ๐๒๔/๒๕๖๒ ลงวนั ท่ี ๑๙ มนี าคม ๒๕๖๒ ๗. การตรวจ ๗ ส. สํานักหอสมุดไดมีการดําเนินงานตรวจ ๗ ส.เพ่ือปรับปรุงพ้ืนที่การทํางานใหมีความเปน ระเบียบ ปลอดภัย และสะดวกมากย่ิงข้ึน รวมถึงใหบคุ ลากรเขาใจการดําเนนิ งานดานการประหยัดพลงั งานและรกั ษา ส่งิ แวดลอม โดยมกี ารตรวจจาํ นวน ๒ คร้งั ดังน้ี - ครัง้ ท่ี ๑ เมอื่ วนั ท่ี ๓ พฤษภาคม ๒๕๖๒ - ครั้งที่ ๒ เมอ่ื วันที่ ๑๙ กันยายน ๒๕๖๒ การประเมนิ ผล คา เปาหมาย ตวั ช้ีวัดความสําเรจ็ และ คาเปา หมายตัวช้ีวดั ผลการดําเนินงานจริง ตวั ช้ีวัด ผลจากแบบประเมิน จํานวน ตามทีก่ าํ หนด ๑ ๐ ๓ ฉ บั บ จ า ก ผู จํ า น ว น บคุ ลากร ๑๑๖ คน (คิดเปน รอย คาเฉลี่ยความพงึ พอใจของบคุ ลากรตอการ ระดบั ๓.๕๑ ละ ๘๘.๗๙) ภาพรวมมีความ พึงพอใจอยูในระดับดี ซ่ึงมี ปฏิบัติงานและสภาพแวดลอม คาเฉลี่ยเทากับ ๔.๑๓ (คิดเปน รอ ยละ ๘๒.๖) ค า เ ฉ ลี่ ย ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผู เ ข า ร ว ม ระดับ ๓.๕๑ กจิ กรรม ค า เ ฉ ลี่ ย ค ว า ม พึ ง พ อ ใ จ ข อ ง ผูเขารวมกิจกรรม จากจํานวน กิจกรรมทั้งหมด ๔ กิจกรรม ภาพรวมมีความพึงพอใจอยูใน ระดับดี ซ่ึงมีคาเฉลี่ยเทากับ ๔.๓๗ (คิดเปน รอยละ ๘๗.๔) ๘๖

ผลการดาํ เนินงานตามนโยบาย 6U : มหาวทิ ยาลยั แหงเศรษฐกจิ และสังคมดิจิทลั โครงการความรว มมอื ระหวางมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรกบั ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) สํานักหอสมุดใหความสําคัญกับการนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนการปฏิบัติงานและอํานวยความ สะดวกในการใหบริการ รวมถึงสนองตอนโยบาย ๖U ของมหาวิทยาลัยในดาน Digital University จึงรวมดําเนินงาน โครงการความรว มมือระหวา งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรกับธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) โดยเปนหนว ยงานนาํ รองในการนาํ ระบบ KU Smart P ซงึ่ เปนระบบบริหารงานทรพั ยากรบุคคล ประกอบดว ยการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน เงินเดือน และการลาซึ่งใชงานรวมกับเครื่องสแกนลายน้ิวมือ นอกจากน้ันสํานักหอสมุดยังใหบริการแบบไรเงินสด (Cashless) ผใู ชบริการสามารถชําระคาบรกิ ารตางๆ และการฝากของท่เี ครอื่ ง Smart Locker ดวย QR Payment ผาน Mobile Banking ไดกบั ทุกธนาคาร ๘๗

การปรับปรงุ เว็บไซตส ํานกั หอสมดุ (https://www.lib.ku.ac.th) การปรับปรุงเว็บไซตดําเนินการภายใตคณะทํางานพัฒนาและปรับปรุงเว็บไซต สํานักหอสมุด โดยมี ผูอํานวยการสํานักหอสมุดเปน ท่ีปรกึ ษา เร่ิมเผยแพรแ ละใหบ ริการเมอ่ื วันท่ี ๒๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ เน่ืองในโอกาสวัน คลายวนั สถาปนาสาํ นักหอสมดุ ครบรอบปท่ี ๔๒ ๘๘

การออกแบบไดนําสถิติการขาชมจากเว็บไซตเดิมมาพิจารณาเพื่อใหการจัดวางโครงสรางไดตรงตามความ ตอ งการของผูใ ชบริการ และจดั กลมุ เนื้อหาเพื่อใหผ ูใ ชบ รกิ ารไดรับความสะดวกในการเขา ถึงขอมลู ไดงา ยขึน้ การพฒั นา เว็บไซตใช Joomla ๓.๕ ชวยในการจัดการเนื้อหา (Content Management System: CMS) และการบริหารจดั การ เว็บไซตโดยแบงผูรับผิดชอบดูแลเนื้อหาแตละสวน รองรับการปรับเปล่ียนขนาดการแสดงผลท่ีเหมาะสมบนหนาจอ อุปกรณท ่หี ลากหลาย (Responsive Web Design) นอกจากน้ันยงั มกี ารนาํ Google Analytics มาใชในการเกบ็ ขอ มูล ผูเขาชมเว็บไซตเ พือ่ นําขอ มลู ทไี่ ดไปวเิ คราะหและปรบั ปรงุ เนื้อหาท่ีเหมาะสมตรงตามความตองการ ภาพแสดงสถิตกิ ารเขาใชเว็บไซตต งั้ แตเรมิ่ ใหบ ริการ ๘๙

การนาํ เสนอขอมลู การใหบรกิ ารตา งๆ ของสาํ นกั หอสมดุ ผา นทาง Dashboard มีการจัดทํา Dashboard นําเสนอขอมูลการใหบริการตางๆ เพื่อใชในการแสดงขอมูลที่เปนประโยชน ตรวจสอบประสิทธิภาพและความกาวหนาในการใหบริการ สนับสนุนการบริหารจัดการในดานตาง ๆ ใหผูบริหาร สามารถใชขอมลู ในการกาํ หนดทิศทางการตัดสินใจ โดยขอมลู Dashboard มีการนําเสนอขอมลู ดา นการบรกิ ารดังน้ี ๑. สถิติการบริการใชงาน OPAC ปรับปรงุ ขอมูลรายวนั แสดงขอมลู การใชบริการสบื คน ขอ มลู ผา น OPAC โดยแสดงจาํ นวน Hits การใชง านเว็บไซต สํานกั หอสมดุ การใชงาน OPAC จาํ นวนการดาวนโ หลดวิทยานิพนธมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร และ คําคน ยอดนิยมทีม่ ีการสบื คน ใน OPAC โดยมีการปรบั ปรุงขอ มลู เปน รายวัน ๒. สถิติการบริการฐานขอ มูลออนไลน ปรับปรุงขอ มูลรายวัน แสดงขอมูลการใชบริการฐานขอมูลออนไลนผานระบบ Ezproxy โดยแสดงขอมูลจํานวนผูใช ฐานขอมูลรายคน แยกตามประเภทผูใช เชน นิสิต ปริญญาตรี, นิสิตบัณฑิตศึกษา อาจารย เปนตน แยกตามคณะ และแยกตามรายช่ือฐานขอมูลออนไลน โดยมีการปรบั ปรงุ ขอ มูลเปนรายวัน ๙๐

๓. สถิตกิ ารบรกิ ารยืมคนื แสดงขอ มลู การใชบรกิ ารยืมคืนและใชบริการสาํ นักหอสมุด Ezproxy โดยแสดงขอมลู จํานวนผใู ชท ่เี ขา ใชบ ริการของสาํ นักหอสมุดเปนจํานวนคน แยกตามประเภท เชน นสิ ิต, บคุ ลากร, ผูใชภายนอก แยก ตามคณะ และแสดงขอมูลจํานวนผูใชบริการยืมคืนเปน จาํ นวนคร้ัง แยกตามคณะและหมวดหมขู อง ทรพั ยากรทีม่ ีการยืม โดยมกี ารปรับปรงุ ขอมูลเปน รายวัน ๔. รายงานสถติ ิการเขาใชส ํานักหอสมดุ แสดงขอมูลการใชบริการสํานักหอสมุดต้ังแตป ๒๐๑๕ สามารถเลือกตัวกรองในการกรองขอมูลได หลายประเภท เชน ชวงเวลา ประเภทนสิ ิต คณะของนิสติ แสดงขอมลู ในหลายมมุ มอง เชนการเขาใช แยกตามประเภทผูใชภายในและภายนอก แยกตามคณะ เปน ตน โดยมรี ายงานยอ ยทัง้ หมด ๘ รายงาน โดยมกี ารปรบั ปรุงขอ มลู เปน รายเดือน ๙๑

๕. รายงานบริการยมื คืน แสดงขอมูลการใชบริการยืมคืนของสาํ นกั หอสมดุ ตั้งแตป ๒๐๐๘ สามารถเลอื กตัวกรองในการกรอง ขอมูลไดหลายประเภท เชน ชวงเวลา. Item type, Item Location, สงั กดั ของสมาชิก แสดงขอมลู ใน หลายมุมมอง เชน จํานวนครั้งการยืม คืน ยืมตอ, จํานวนสมาชิกที่ใชบริการ, จํานวน Item ท่ีถูกยมื เปน ตน โดยมีรายงานยอยทั้งหมด ๗ รายงาน ๖. รายงาน Ebook สาํ นกั พิมพม หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร แสดงขอมูลการใชบริการ Ebook ของสํานักพิมพมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรในป ๒๐๑๙ สามารถ เลือกตัวกรองในการกรองขอมูลไดหลายประเภท ช่ือหนังสือ, ประเภทนิสิต, คณะของนิสิต แสดง ขอมลู จาํ นวนผใู ช Ebook แยกตามเดอื น ตามคณะ ตามชือ่ หนังสอื เปนตน โดยมีรายงานยอ ยทงั้ หมด ๓ รายงาน ๙๒

ผลการดําเนนิ งานตามนโยบาย 6U : มหาวิทยาลยั วจิ ยั การจัดหาทรพั ยากรสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนิกส เพื่อสนบั สนุนการศกึ ษาคน ควา เพือ่ การวจิ ยั ในป ๒๕๖๑ ดังนี้ รายชือ่ ฐานขอมลู อเิ ลก็ ทรอนิกสท ี่ใหบ ริการ ณ ปการศึกษา ๒๕๖๑ ดงั นี้ ฐานขอมลู กลมุ สาขาวชิ า วทิ ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี สาขาวิชา ลําดับ ชอ่ื ฐานขอ มูล วิทยาศาสตร วิทยาศาสตร( เคม)ี ๑ AAAS (Science magazine) วทิ ยาศาสตร(ฟส กิ ส) วทิ ยาศาสตร(ฟส กิ ส) ๒ ACS Journal Archives วศิ วกรรมศาสตร(โยธา) ๓ AIP วศิ วกรรมศาสตร( เคร่ืองกล) ๔ APS เกษตรศาสตร เกษตรศาสตร(สตั วแพทย) ๕ ASCE ๖ ASME เกษตรศาสตร(ประมง) ๗ CAB Abstracts เกษตรศาสตร ๘ CABI-compendia package : Animal Health เกษตรศาสตร (วนศาสตร) and Production Compendium (AHPC) เกษตรศาสตร ๙ CABI-compendia package : Aquaculture Compendium (AC) วิทยาศาสตร (สถิติ คณิต) วทิ ยาศาสตร (เคม)ี อตุ สาหกรรมเกษตร ๑๐ CABI-compendia package : Crop Protection Compendium (CPC) ๑๑ CABI-compendia package : Forestry Compendium (FC) ๑๒ CABI-compendia package : Horticulture Compendium (HC) ๑๓ Project Euclid ๑๔ SciFinder ๙๓

ฐานขอ มลู กลุมสาขาวชิ ามนุษยศาสตรแ ละสังคมศาสตร ลาํ ดบั ช่ือฐาน สาขาวิชา ๑ Business Source Complete บรหิ ารธุรกิจ ๒ Econlit เศรษฐศาสตร ๓ Sage สงั คมศาสตร ๔ IQ Newsclips มนษุ ยศาสตร ๕ Newscenter มนษุ ยศาสตร ฐานขอมูลกลมุ สหสาขาวชิ า ลาํ ดับ ชื่อฐาน สาขาวิชา ๑ Annual Review สหสาขาวชิ า ๒ Taylor & Francis สหสาขาวิชา ๓ Wiley e-Journal สหสาขาวิชา ๔ SCOPUS สหสาขาวชิ า ฐานขอ มลู e-Book ๑ 2ebook Digital Library สหสาขาวิชา ๒ CABI eBook เกษตรศาสตร ๓ Cambridge Books Online สหสาขาวชิ า ๔ EBSCO Ebook สหสาขาวชิ า ๕ Gale Virtual Reference Library สหสาขาวิชา ๖ IET Digital Library วิศวกรรมศาสตร ๗ KNOVEL วศิ วกรรมศาสตร ๘ Oxford Scholarship Online สหสาขาวชิ า ๙ Science Direct eBooks สหสาขาวิชา ๑๐ SpringerLink(E-books) สหสาขาวิชา ๑๑ Taylor & Francis eBooks สหสาขาวิชา ๑๒ Wiley ebook-UBCM model สหสาขาวชิ า ๑๓ Woodhead ebooks อตุ สาหกรรมเกษตร ๑๔ World Scientific eBooks สหสาขาวิชา ๙๔

ผลการดาํ เนินงานตามนโยบาย 6U : มหาวทิ ยาลยั ระดบั นานาชาติ จากผลสํารวจ UI Green Metric World University Ranking 2019 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรเปน มหาวิทยาลยั สเี ขยี ว ไดอ นั ดบั ๒ ในไทย และอนั ดับที่ ๘๑ ของโลกซ่งึ สํานักหอสมุดเปน หนว ยงานหน่ึงทจ่ี ัดเกบ็ ขอ มลู การ ดาํ เนนิ งานท่ีเกยี่ วของใหก ับมหาวิทยาลัย ไดแ ก QS World University Rankings for Agriculture & Forestry ประกาศผลการจัดอันดับ ในสาขาเกษตรศาสตรและวนศาสตร (Agriculture and Forestry) ปรากฏวา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (มก.) ถูกวางเอาไวท่ีอันดับ ๕๑ - ๑๐๐ ของมหาวิทยาลัยทั่วโลก สาขาเกษตรศาสตร ใน ความหมายของสํานักจดั อันดับ QS รวมถงึ สาขาเกษตร วิทยาการอาหาร ประมง สัตวแพทยศาสตร เศรษฐศาสตรและ ธุรกิจเกษตร วิศวกรรมศาสตรเกษตร และสาขาอื่น ๆ ในเครือ เปนการมองผลงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรใ น ภาพรวมของหนวยวิชาการในกลมุ สาขาเกษตรศาสตรและวนศาสตรข อง มก. ประเด็นสําคัญดานหนึง่ คอื ผลการสํารวจ โดย QS ครั้งน้ี เปน การชวี้ า ในบรรดา สาขาวชิ าการของระบบมหาวิทยาลยั ของไทยทงั้ หมด สาขาเกษตรศาสตรและวน ศาสตร ของ มก. เปนสาขาวิชาท่ีมีอันดับสูงสุดในเวทีโลก สํานักหอสมุดมีทรัพยากรสารสนเทศท่สี นับสนุนการเรยี น การสอน การวจิ ัย ในสาขาดงั กลา ว ความรวมมอื ทางดา นหอ งสมุดในสาธารณรัฐประชาชนจีน คณะผูบริหารและบคุ ลากร สาํ นกั หอสมุด เดินทาง ไปศึกษาดูงานหองสมุด ๔ แหง ในสาธารณรฐั ประชาชนจีน ไดแก Shanghai Jiao Tong University Library, Fudan University Library, Tongi University Library และ Shanghai Library ระหวางวันท่ี ๑๒ – ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยมีวตั ถปุ ระสงคเ พื่อจะไดมโี อกาสเปดโลกทศั นและแลกเปลี่ยนเรียนรวู ธิ ีการบริหารจดั การหอ งสมุด และสราง ความรว มมือ ในการแลกเปล่ียนบคุ ลากร การเขารวมประชุมThe International Federation of Library Associations and Institutions (IFLA ) ระหวา งวันท่ี ๒๔ – ๓๐ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ประเทศกรีก ผบู รหิ ารจาํ นวน ๒ ทา น ไดเขา รวมประชมุ เพื่อติดตาม ความเคลือ่ นไหวทางวิชาการในการใหบ รกิ าร จดั กิจกรรมของหองสมุด ในปน ี้จัดภายใตหัวขอ Libraries : dialogue for change โดยมีสมาชิกจากหองสมุดท่ัวโลกมานําเสนอผลงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นท้ังในภาคบรรยายและภาค โปสเตอร และไดศ กึ ษาดงู านหองสมุด National Technical University of Athens, Central Library และ Library of Health Sciences ๙๕

ผลการดาํ เนินงานตามนโยบาย 6U : มหาวทิ ยาลยั ท่ีมีความรบั ผิดชอบตอ รฐั และสงั คม การตอ นรับดูงานจากชาวตางชาติ คณะนสิ ิตอาเซยี น เขาเยยี่ มชม คณะนักศกึ ษาและอาจารยจาก Keio University วันท่ี ๗ มกราคม ๒๕๖๒ ประเทศญป่ี นุ เขาเยยี่ มชม ณ หอประชุมและ หอประวัติ วนั ที่ ๒๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร บางเขน ณ สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร บางเขน คณะจากศึกษาดงู านจาก National Academy for คณะจากศึกษาดูงานจาก Duta Wacana Christain Planning and Development (NAPD) เขาเยย่ี มชม University สาธารณรฐั อินโดนีเซยี เขาเยย่ี มชม วันท่ี ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๗ ตลุ าคม ๒๕๖๒ ณ สาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ณ สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ๙๖

คณะจากศกึ ษาดูงานจาก Universiti Putra Malaysia คณะผอู บรมหลักสตู ร \"Teaching ICT for Teachers\" เขาเย่ยี มชม เขาเย่ยี มชม วนั ท่ี ๓๐ ตลุ าคม ๒๕๖๒ วันท่ี ๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ ณ สํานกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน ณ สํานกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน การรบั ฝก งานนสิ ติ กิจกรรม อาจารยเ ขา นเิ ทศนสิ ติ ฝก งาน มหาวทิ ยาลัย อาจารยเ ขานเิ ทศนสิ ิตฝก งาน มหาวิทยาลับ ราชภัฏอุดรธานี วนั ท่ี ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๒ มหาสารคาม วันที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ หอ งประชุม ๑ ช้ัน ๒ อาคารเทพรตั นว ทิ ยาโชติ ณ หองประชุม ๑ ชัน้ ๒ อาคารเทพรัตนวิทยาโชติ สาํ นกั หอสมดุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ๙๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook