Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานประจำปี 2561

รายงานประจำปี 2561

Published by kulc79596, 2020-05-03 02:45:49

Description: รายงานประจำปี 2561

Search

Read the Text Version

สารบัญ หน้า ๑ สารจากผู้อ านวยการส านักหอสมดุ ๒ ๙ พฒั นาการของส านักหอสมดุ ๑๔ ๑๕ โครงสร้างการบริหารองค์กร ๑๗ รายนามคณะกรรมการประจ าส านักหอสมุด 6 รายนามผู้บริหารส านักหอสมดุ ๑๘ นโยบายการบริหาร ๒๐ ๒๑ วสิ ยั ทศั น์ พนั ธกิจ เอกลกั ษณ์ อตั ลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ นโยบายการบรหารU ๒๒ สมรรถนะบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ ยทุ ธศาสตร์และเป้าหมายของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์๑๒ปี ๒๓ ๒๖ แผนยุทธศาสตร์ านักหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์๕ ปี ระยะ(ปี งบประมาณ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕) ๒๙ ๓๒ บทสรุปการบริหารจัดการ ๓๔  การประชุมคณะกรรมการประจ าส านกั หอสมุด ๓๕  การประชุมผบู้ ริหารส านกั หอสมุด ๓๖  รายงานผลตามแผนปฏบิ ตั ิงานประจ าปี งบประมาณ๒๕๖๒พ.ศ.  การบริหารงบประมาณแผน่ ดินและเงนิ รายได้ ๓๙  การบริหารทรพั ยากรบคุ คล ๔๐  การบริหารงานอาคารและสถานท่ี ๔๑  การบริหารทรัพยส์ ินและสิทธิประโยชน์ ๔๒  การบริหารงานคุณภาพ  การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน  การประชาสมั พนั ธ์  ความร่วมมือ o ความร่วมมือกบั หน่วยงานตา่ งประเทศ o ความร่วมมือหอ้ งสมุดดา้ นประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา o ความร่วมมือกบั ขา่ ยงานPULINET o ความร่วมมือระหวา่ งหอ้ งสมุดสถาบนั อุดมศกึ ษา

สารบัญ (ต่อ) หน้า ผลการด าเนนิ งานตามพนั ธกิจ ๕๓  การสนบั สนุนการศกึ ษาและการวจิ ยั ๖๐  การบริการวชิ าการ ๗๔  การท านุบ ารุงศิลปะและวฒั นธรรม ๘๒ ผลการด าเนนิ งานตามนโยบาย 6 U ๘๗  มหาวทิ ยาลยั สีเขียว ๙๓  มหาวทิ ยาลยั แห่งเศรษฐกิจและสงั คมดิจิทลั ๙๕  มหาวทิ ยาลยั วจิ ยั ๙๖  มหาวทิ ยาลยั ระดบั นานาชาติ ๑๐๒  มหาวทิ ยาลยั ทม่ี ีความรับผดิ ชอบตอ่ รัฐและสงั คม  มหาวทิ ยาลยั แห่งความผาสุก ๑๑๐ ภาคผนวก สถิตกิ ารดำเนินงานรอบปี การศกึ ษา๒๕๖๑ (วนั ที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ – วนั ที่ ๓๑ กรกรฎาคม ๒๕๖๒)

สารจากผูอํานวยการ การจัดทํารายงานฉบบั น้ี เปน การรายงานในรอบปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ตง้ั แตว ันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๑ – วันท่ี ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ สํานักหอสมุดรวบรวมผลงานความกาวหนาการดําเนินงานตามภารกิจที่ไดรับการถายทอดม าจ าก มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร โดยสนับสนุนการดาํ เนินงาน ทั้ง ๔ ดาน ไดแ ก การจดั การศกึ ษา การวิจยั การบริการวชิ าการ และการ ทํานุบํารุงศลิ ปะและวฒั นธรรม มงุ เนน การสนบั สนนุ การศึกษา การวจิ ยั ดว ยการจัดหาทรพั ยากรสารสนเทศครอบคลุมสาขาวิชาที่มี การเรียนการสอน ท้ังรูปแบบสื่อส่ิงพิมพ และสื่ออิเล็กทรอนิกส การบอกรับฐานขอมูลเพื่อการศึกษาคนควาและอางอิงในระดับ นานาชาติ ซ่ึงผูรับบริการสามารถศึกษาคนควาไดทกุ ที่ ทุกเวลา รวมทั้งการจัดอบรมใหค วามรูการใชเครื่องมือสนับสนุนการผลติ ผลงานวิชาการ รายงานการวิจัยท่ีมีคุณภาพ มีการอางอิงตามรูปแบบสากลดวยโปรแกรม EndNote การตรวจสอบความซ้ํา เพอ่ื ปอ งกันการลกั ลอกวรรณกรรมดวยโปรแกรม Turnitin นอกจากน้ียังรวบรวมองคความรูท่ีเผยแพรโดยหนวยงานและบุคลากรของมหาวิทยาลัยเปนคลังความรูดิจิทัล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และเผยแพรส ูสาธารณะอยางตอเนือ่ ง ดําเนินการเผยแพรขอมูลความรูในประเด็นท่ีนาสนใจ ผานสื่อ สังคมออนไลน และเว็บไซต เร่ิมจัดทํารายการถายทอดความรูดวยส่ือรวมสมัย เชน รายการ KULIB talk นอกจากนี้ยังเปน หนว ยงานที่ดาํ เนินกจิ กรรมเพ่ือจดั สง ขอ มูลสนบั สนุนการเปน มหาวทิ ยาลยั สเี ขียว ตามเกณฑ UI Green metric และเปดโอกาสให ประชาชนเขาใชพ ื้นท่หี องสมดุ เพ่ือการเรยี นรูต ลอดชวี ติ สาํ หรบั ดานการทาํ นบุ าํ รงุ ศิลปะและวฒั นธรรม สาํ นักหอสมดุ เปน หนว ยงานทจ่ี ัดเก็บประวัติความเปน มาของมหาวทิ ยาลัย และหนวยงานภายใน ซ่ึงไดพัฒนาเว็บไซตเผยแพร รวมท้ังจัดกิจกรรมเพื่อสงทอดความภาคภมู ิใจตอ สถาบันแกศิษยเกาและศษิ ย ปจจุบัน จัดแสดงนิทรรศการถาวรและตามวาระโอกาส ณ หอประวัติ หออนุรักษ (หอ ๒) และหอประชุมใหญ สนับสนุนขอมูล ประวัติความเปนมาและเหตุการณสําคัญเพ่ือการดําเนินกจิ กรรมของมหาวิทยาลัย เชน กจิ กรรมวนั นนทรีทรงปลูกดนตรีทรงโปรด เปนตน สวนดานการบริหารจัดการภายในในป ๒๕๖๑ ไดใชการบริหารงานคุณภาพภายในสูความเปนเลิศ (EdPEx) และ พฒั นาการปฏิบตั ิงานโดยใชเทคโนโลยเี พอื่ สนับสนุนการเปน มหาวิทยาลัยดิจิทัล โดยเร่ิมเขาสูสังคมไรเงนิ สด (Cashless) โดยเก็บ คาสมาชิก คาปรับ ผานระบบ e-banking ที่เคานเตอรบริการ การใชระบบสแกนลายน้ิวมือ การลา ผานระบบ KU Smart P การนําขอ มลู การใหบรกิ ารมาประมวลผลและนําเสนอสสู าธารณะดวย Dashboard ดา นบุคลากรเร่ิมใชระบบพัฒนาบุคลากรดวย ระบบ PMS และการพัฒนาบคุ ลากรดวยการจัดการความรู ในนามของผูบริหารสํานกั หอสมุด ดิฉันขอขอบคณุ สําหรับความรวมมือของผูบริหาร บุคลากร นิสิตเกาและนสิ ติ ปจจุบัน ที่รวมกันใชทรัพยากรสารสนเทศ ทรัพยากรเพื่อการเรียนรู และใชพ้ืนท่ีเพื่อการสรางสรรคเพ่ือใหเกิดความรู เกิดปญญา เปน ประโยชนตอ ตนเอง สังคม และประเทศชาติ นางวนิดา ศรที องคาํ ผอู ํานวยการสํานกั หอสมดุ

พัฒนาการของสํานักหอสมดุ พฒั นาการจากแผนกหองสมดุ สกู ารเปนสํานกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ป พ.ศ. ๒๔๘๖ หองสมุดกอต้ังข้ึนพรอมการกอต้ัง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยเปนแผนกหองสมุด สังกัด สาํ นักงานอธกิ ารบดี จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๔๙๔ จึงไดชอ่ื วา หองสมุด กลาง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร แตยังคงมีสถานภาพเปนแผนก หอ งสมุดเชน เดิม ป พ.ศ. ๒๕๒๐ หองสมุดไดรับการยกฐานะเปนสํานักหอสมุด เม่ือวันที่ ๒๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ (ราชกิจจานุเบกษา เลม ที่ ๙๔ ตอนที่ ๔๘ ฉบบั พเิ ศษ หนา ๓) ป พ.ศ. ๒๕๒๓ สาํ นักหอสมุดเปด ใหบริการอาคารชวงเกษตรศลิ ปการ เปน อาคาร ๓ ช้ัน เม่อื วันที่ ๑๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๓ บนพ้ืนท่ี ๖,๗๐๐ ตารางเมตร ป พ.ศ. ๒๕๔๙ สํานักหอสมุดไดเปดบริการอาคารเทพรัตน วิทยาโชติ ซ่ึงเปนอาคาร ๕ ช้ัน บนพื้นท่ี ๑๔,๐๐๐ ตารางเมตร โดย สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานชื่อ อาคารน้ีวา “เทพรัตนวิทยาโชติ” ซึ่งมีความหมายวาอาคารทีร่ ุงเรือง ดว ยความรอู นั วเิ ศษดุจดวงแกว แหงเทพ วนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๕๕ สภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรมี นโยบายการบริหารงาน โดยการโอนยายหอจดหมายเหตุซ่ึงแตเดิม สังกัดสํานักอธิการบดี ใหมาสังกัดภายใตสํานักหอสมุด และมอบ อาคารหอประวัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร พ้ืนท่ีใชสอยรวม ๒๘๘ ตารางเมตร ใหอ ยใู นการดูแล ๒

พฒั นาการหอ งสมดุ เปนศนู ยก ารเรยี นรู ป พ.ศ. ๒๕๔๙ สํานักหอสมุดไดเปดบริการ ในรูปแบบใหม เปนหอ งสมดุ อเิ ล็กทรอนกิ ส หรือ e-library อยาง สมบรู ณ ณ อาคารเทพรตั นวิทยาโชติ โดยจดั ตงั้ เปน ศูนยการเรยี นรูม หาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร (Kasetsart University Learning Center - KULC) ท่ีมีความทันสมัยทั้งดานเทคโนโลยีสารสนเทศและขอมูลอิเล็กทรอนิกสท่ีหลากหลาย มี คณุ ภาพ ทงั้ ฐานขอ มูลทีบ่ อกรบั และท่พี ัฒนาขน้ึ เอง บริการมลั ติมีเดียหลากหลาย มีความพรอ มดว ยกายภาพท่สี วยงาม กวา งขวางสะดวกสบาย โดยมีการใหบริการทีเ่ ออื้ ประโยชนต อการเรยี นรูส าํ หรับผูใ ชบรกิ ารเฉพาะกลมุ ไดแก การบริการ หอ งศึกษากลมุ หองฉายภาพยนตร หองศูนยความรูดานการเกษตร หอ งประชมุ ชน้ั ๕ เปน ตน ป พ.ศ. ๒๕๖๑ สํานักหอสมุดไดจัดสรรงบประมาณปรับปรุงพ้ืนท่ีชั้น ๒ และยังคงดําเนินการใหเปน Co-Working Space เพื่อการแลกเปลย่ี นเรยี นรูในวงเงนิ ๑,๒๑๒,๑๗๗.๒๐ บาท พฒั นาการสํานกั หอสมดุ ในการเปน หองสมดุ สีเขียว ป พ.ศ. ๒๕๕๔ สํานักหอสมุดดําเนินกิจกรรมเพอ่ื สอดรับกับนโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว (UI GreenMetric) โดยการสนับสนุนการเผยแพร ใหขอมูล รวบรวมผลการดําเนินงานจัดทําเว็บไซต KU Green University โดยมีการ กําหนดนโยบาย Green Library สง เสรมิ การใหบ รกิ ารสเี ขยี ว พัฒนาปรบั ปรุงดานกายภาพเพื่อเออื้ ตอ การลดใชพ ลงั งาน รณรงคก ารลดใชกระดาษในสํานักงาน จัดกจิ กรรมสงเสริมการตระหนักและรคู ณุ คาใหกับบุคลากรและผใู ชหอ งสมดุ ป พ.ศ. ๒๕๕๕ สํานักหอสมดุ ไดร บั รางวัล BEAT2010 (Building Energy Awards of Thailand) รางวัลดา น การมสี วนรวมกลุม อาคารประเภทมหาวิทยาลัย อันแสดงถงึ การเปน ผูนําในดา นหนว ยงานทีส่ รา งจติ สาํ นึกในการอนรุ กั ษ พลังงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จนเกดิ เครือขา ยหอ งสมดุ สเี ขยี ว ป พ.ศ. ๒๕๕๗ สาํ นกั หอสมดุ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตรไดรบั มอบประกาศนียบตั รหองสมดุ คารบอนนิวทรัล “Carbon-neutral Library” แหงแรกของประเทศไทย เม่ือวนั ที่ ๒๔ กนั ยายน ๒๕๕๗ สํานกั หอสมุด ไดร ับเลือกใหเปน องคกรนํารอ งของมหาวิทยาลัย และเปน ๑ ใน ๙ องคกรภาคบรกิ าร เพ่ือเขารวมโครงการ “กิจกรรมชดเชยคารบ อน เพื่อสนับสนุนตลาดคารบอนภาคสมัครใจในประเทศ” ซ่ึงเปนความรวมมือระหวางองคการบริหารจัดการกาซเรือน กระจก (องคการมหาชน) และศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางดานกลยุทธธุรกิจท่ีเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม คณะสิ่งแวดลอ ม มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ซงึ่ มกี ารลงนามบนั ทึกขอ ตกลงความรว มมอื ระหวา งหนวยงานเม่อื วันที่ ๑๙ มนี าคม ๒๕๕๗ ป พ.ศ. ๒๕๕๘ สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดดําเนินการพัฒนาหองสมุดสีเขียวจนประสบ ความสาํ เร็จและเปนตน แบบหอ งสมดุ สเี ขยี วในระดับประเทศ โดยในเดือนเมษายน ๒๕๕๘ สมาคมหองสมุดแหง ประเทศ ไทยฯ ไดประกาศมาตรฐานหอ งสมุดสีเขยี ว ๓

ป พ.ศ. ๒๕๖๑ สํานักหอสมุดเปนหนวยงานจัดเก็บขอมูล UI Green Metric ใหกับมหาวิทยาลัย โดยท่ี สํานกั หอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดด าํ เนนิ การสง ขอมูลใหกับมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร เขา รวมการจัดอนั ดบั มหาวทิ ยาลยั สเี ขียว (UI Green Metric World University Ranking) ซง่ึ ดําเนนิ การโดย University of Indonesia, UI ทเี่ นนการเปนมหาวทิ ยาลัยสีเขียว (UI Green Metric) และไดขอใหห นวยงานรายงานกรอกขอ มลู ตามแบบฟอรม ตาม หมวดทั้ง 6 หมวด ไดแก 1. การวางระบบโครงสรางพื้นฐาน (Setting and Infrastructure: SI) 2. การจดั การพลังงาน และการเปลีย่ นแปลงภูมิอากาศ (Energy and Climate Change) 3. การจัดการของเสียในสวนงาน (Waste) 4. การ จดั การนํา้ (Water) 5. การสญั จร (Transportation) 6. การศกึ ษาของสว นงาน (Education) พฒั นาการสาํ นกั หอสมุดจากคลังความรดู า นการเกษตร สคู ลังความรูดจิ ทิ ลั มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ป พ.ศ. ๒๕๕๓ สาํ นักหอสมุด ไดพัฒนา \"ฐานขอ มลู ภมู ปิ ญ ญามหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร\" เพอ่ื รว มเฉลิมฉลอง ในวาระครบรอบ ๖๐ ป แหงการสถาปนามหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร (วันท่ี ๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๒๖) และไดพัฒนา ตอยอดขยายผลฐานขอมูลภูมิปญญามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เปน \"คลังความรูดิจิทัลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร\" เปด ใหบ รกิ าร ในวาระครบรอบ ๗๒ ป (วันท่ี ๒ กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๕๘) ป พ.ศ. ๒๕๕๘ พัฒนาคลังความรูดิจิทัลมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สํานักหอสมุดเปนหนวยประสานงาน รวบรวมผลงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพ่ือจัดเก็บ เผยแพรและใหบริการ เร่ิมจากการรวบรวมผลงานใน บางเขนและขยายผลสูว ทิ ยาเขต โดยทุกหนวยงานความรว มมือจะรว มกนั รวบรวมและบันทกึ ขอ มลู จดหมายเหตุ พฒั นาการสาํ นกั หอสมดุ เปน องคกรคณุ ภาพ ป พ.ศ. ๒๕๕๒ สาํ นกั หอสมดุ ไดรบั รางวัลคุณภาพในการใหบรกิ ารประชาชนจากสํานกั งาน กพร. รางวัลดีเดน ประเภทนวัตกรรมการใหบรกิ ารประจําป ๒๕๕๒ ป พ.ศ. ๒๕๕๔ ไดร ับรางวัลคณุ ภาพการใหบรกิ ารประชาชนรางวลั มาตรฐานศนู ยบ รกิ ารรวม/เคานเ ตอรบ รกิ าร ประชาชนและรางวัลความเปน เลศิ ดานการบริหารราชการแบบมีสวนรวม ประจําป ๒๕๕๔ จากสํานักงาน กพร. โดย ไดร บั รางวลั ชมเชยประเภทรายกระบวนงาน ในผลงานเร่อื ง “การเรยี นรดู า นเกษตรผา น e-Book” สํานักหอสมุดไดรับรางวัลคุณภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งท่ี ๘ ประจําป ๒๕๕๗ รางวัลที่ไดรับ ประเภทท่ี ๓ การพัฒนาปรบั ปรุงกระบวนงาน ระดับดีเย่ียม จํานวน ๒ ผลงาน คือประเภทที่ ๓.๒ แนวปฏิบัติทดี่ ี จาก ผลงาน “การดาํ เนนิ งานจากขอเสนอแนะ/แสดงความคิดเหน็ และขอ รอ งเรียนจากผรู บั บรกิ าร” กระบวนงาน ประเภท ท่ี ๓.๓ นวตั กรรมสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ าน จากผลงาน “ระบบหอ งสมดุ จินดามณี” ๔

ป พ.ศ. ๒๕๕๘ สาํ นักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดร บั คัดเลอื กจากมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตรใหเปน หนวยงานนํารอง ในการนําแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาสูความเปนเลิศ EdPEx (Education Criteria for Performance Excellence) มาใชบริหารองคกร ในเชิงระบบ ท้ังการวางแผน การปฏิบัติงานและการติดตาม ประเมินผล เพื่อการพฒั นาปรบั ปรุงคุณภาพ ซ่ึงเปน ไปตามแนวทางท่สี ํานกั คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา (สกอ.) ทไี่ ดนาํ เกณฑ มาเปน เคร่ืองมือเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพองคก รไปสคู วามเปนเลิศ เริ่มมีการปรับปรุงการบริหารจัดการภายในตามดัชนีท่ีกําหนดในการพัฒนาคุณภาพองคกรสูความเปนเลิศ ไดแก กําหนดนโยบายใหจัดหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส ภาษาตางประเทศแทนการจัดซ้ือฉบับพมิ พ และเพื่อเปนการ อาํ นวยความสะดวกใหก ับนสิ ติ อาจารย นักวิจยั ท่ีตองการทาํ วิจยั และทาํ วิทยานพิ นธ สาํ นกั หอสมุดจึงแกไ ขระเบยี บการ ยืมหนังสือของสํานักหอสมุด บางเขน ใหเพ่ิมข้ึนจากเดมิ จํานวน ๑ เทา ตั้งแตเดือนมกราคม ๒๕๕๙ เปนตนไป ไดแก นิสิตปริญญาตรียืมได ๒๐ เลม นิสิตปริญญาโท และบุคลากรยืมได ๓๐ เลม นิสิตปริญญาเอกและอาจารย ยืมได ๔๐ เลม บุคคลภายนอก ยืมได ๕ เลม ใหสิทธ์ิการยืมหนังสือกับนิสิตที่ไมไดลงทะเบียนเรยี นในภาคฤดูรอน สําหรับนิสติ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร บางเขน โดยมวี ตั ถปุ ระสงค เพื่อสงเสริมใหนสิ ติ ทีไ่ มไดล งทะเบยี นภาคฤดรู อ น ไดใ ชเวลาวา ง ในการศึกษาหาความรู โดยไมจ าํ กัดสิทธกิ์ ารยมื และเพื่อใหหนังสือในหอ งสมุด ถูกใชประโยชนใ นชว งปดภาคการศกึ ษา เพื่อเพมิ่ ประสิทธิภาพการเขา ใชฐานขอมูลทส่ี ํานกั หอสมดุ บอกรบั สํานกั หอสมดุ จึงไดต ิดตงั้ โปรแกรมเพิม่ เตมิ ให สามารถเขาถึงทรัพยากรสารสนเทศ โดยใชระบบการสืบคนแบบ Single Search ซึ่งสามารถสืบคนขอมูลจากหลาย แหลงขอมูลพรอมกัน และใชงานฐานขอมลู ผานระบบ EZproxy ซ่ึงสามารถเขาถึงสารสนเทศจากภายนอกเครือขา ย มหาวทิ ยาลัยไดอ ยางสะดวก ป พ.ศ. ๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรไดจดั ทาํ โครงการบมเพาะคุณภาพการศึกษาสูค วามเปน เลศิ ระดับ สว นงานสนับสนุน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร โดยมุงหวังเพอ่ื สรา งหนวยงานตน แบบท่ีมีการนําหลกั การบรหิ ารคุณภาพ ตามเกณฑ EdPEx ไปประยุกตใชในการบรหิ ารจัดการภายในองคกรอยางเปนระบบ และมีการปรับปรงุ อยางตอ เนอื่ ง สํานักหอสมดุ เปนหนวยงานหนึ่งที่เขารว มโครงการบมเพาะคุณภาพการศึกษาสูความเปน เลศิ ระดับสว นงานสนับสนนุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เพ่ือการดําเนินงานที่มีคุณภาพมากย่ิงข้ึน โดยกําหนดใหการใชงานฐานขอมูลผานระบบ EZproxy กับนิสิต อาจารยและบคุ ลากรทุกคน เพ่ือใหทราบพฤติกรรมการใชของผใู ชแตละคน ซึ่งจะไดนําไปปรบั ปรุง บริการทรพั ยากรสารสนเทศอเิ ลก็ ทรอนกิ ส ใหตรงกบั ความตอ งการของผูใ ชแ ตละกลมุ ไดช ดั เจนข้ึน พฒั นาการสํานักหอสมดุ ในการเปน หอ งสมุดดิจทิ ลั ป พ.ศ. ๒๕๒๘ ไดรบั คอมพิวเตอรเ คร่อื งแรกโดยทุนสนบั สนนุ จากศนู ยพฒั นาการวิจัยระหวางประเทศแคนาดา (IDRC) เปนคอมพิวเตอร IBM PC 80286 ฮารดดิสกขนาด 10 MB หนวยความจํา 256 KB สําหรับบันทึกขอมูลใน ๕

ฐานขอมูลของศูนยส นเทศทางกระบือนานานชาติ และศูนยสนเทศทางการเกษตรแหงชาติ โดยใชโปรแกรม DbaseIII Plus (พฒั นาโปรแกรมโดย ดร.เสรี เศวตเศรนี ภาควชิ าวิศวกรรมอตุ สาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร) ป พ.ศ. ๒๕๒๙ เร่ิมใหบริการสืบคน AGRIS online ผานโมเด็ม เพ่ือสืบคนขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร เมนเฟรมท่ใี หบรกิ ารฐานขอมลู AGRIS ท่ี AGRIS Processing Unit ประเทศออสเตรยี และทาํ สญั ญารับมอบโปรแกรม Micro CDS-ISIS version 1.0 จากองคการ UNESCO เพื่อใชในการพัฒนาฐานขอมูล AGRIS ของศูนยสนเทศทาง การเกษตรแหงชาติ ป พ.ศ. ๒๕๓๐ บอกรบั เปนสมาชิกของ DIALOG เพอ่ื ใหบริการสบื คน ขอ มูลสาขาวิชาตา ง ๆ แบบ Online และ ยกเลิกการเปน สมาชิกเมือ่ ป พ.ศ. ๒๕๔๐ ป พ.ศ. ๒๕๓๓ ไดรับเงินสนับสนุนจาก NECTEC ในโครงการเครือขายคอมพิวเตอร : สารนิเทศหองสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอร ๒ เครื่อง เปนรุน ๘๐๒๘๖-๑๒ เพื่อใชในการสรางฐานขอมูล AGRIS ของศูนยสนเทศทางการเกษตรแหง ชาติ และอีกเครอ่ื งหนง่ึ ใชสาํ หรับสรางฐานขอ มูลหนงั สือของสํานกั หอสมดุ ป พ.ศ. ๒๕๓๔ จัดซื้อเครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอรพ รอ มเครอ่ื งอานซีดี และเครอ่ื งพิมพ จํานวน ๑ ชุด เพื่อเตรยี ม ใหบริการขอ มลู AGRIS CD-ROM โดยศนู ยสนเทศทางการเกษตรแหงชาติ ทาํ การสาธิตการสืบคนขอมลู ดา นการเกษตร นานาชาติจากฐานขอมูล AGRIS CD-ROM และเปดใหบริการอยางเปนทางการ โดยผูใชสงคําขอใชบริการและ เจา หนา ท่ีเปน ผูสืบคนขอ มูลใหตรงตามความตองการ ป พ.ศ. ๒๕๓๕ พัฒนาฐานขอมูลโดยใชโปรแกรม Micro CDS/ISIS เพ่ือใชในการบนั ทกึ ฐานขอมลู การเกษตร ของประเทศไทยซงึ่ เปน ภาษาไทย โดยปรับเปล่ียนโครงสรา งฐานขอมูลใหสอดคลองกบั รปู แบบสารสนเทศภาษาไทย ป พ.ศ. ๒๕๓๖ สํานักหอสมุดรวมกับสํานักบริการคอมพวิ เตอร พัฒนาฐานขอมูลหองสมุด เพื่อใหบริการบน เครือขายนนทรี โดย ร.ศ. ยนื ภูว รวรรณ ใหการสนับสนนุ ในการพฒั นาโปรแกรมดว ย Dbase IV โดยติดตง้ั อยบู นเคร่ือง Sun Sparc Classic เพ่ือใหบริการขอมลู บนเครือขายนนทรี ดวยเหตุท่ีฐานดังกลาวถูกพัฒนาขึ้นมาดวยความเรงดว น เพื่อใหบรกิ าร ขอมูลท่บี นั ทึกจึงมีเฉพาะเขตขอมูลท่ีจําเปนสําหรบั ผูใชเทานนั้ แตไมเพียงพอสาํ หรบั การปฏิบตั ิงานของ หองสมดุ สาํ นักหอสมดุ จึงยังคงใชโปรแกรม CDS/ISIS ในการบันทึกขอ มลู หนงั สอื ในรูปแบบ MARC Format เพอ่ื ใชใ น การปฏิบัติงาน จนกระทั่งเปลี่ยนไปใชระบบหองสมุดอัตโนมัติ INNOPAC ในป พ.ศ. ๒๕๓๙ อีกท้ังไดรับ ไมโครคอมพิวเตอรพรอมโปรแกรม BRS และโมเดม็ จากศูนยบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ (TIAC) เพื่อใชใ นการใหบ รกิ าร สืบคนขอ มูลแบบ Online ไปท่ี TIAC ป พ.ศ. ๒๕๓๗ สํานักหอสมุดไดใชเงินรายไดสมทบกับเงนิ สนับสนุนจาก NECTEC เพ่ือติดต้ังระบบเครือขา ย ภายในอาคาร จํานวน ๘๔ จุด ออกแบบและติดตั้งระบบเครือขายตามมาตรฐาน IEEE 802.3/10 BaseT เพ่ือเช่ือม ระบบคอมพิวเตอรของสํานกั หอสมดุ กับเครือขายนนทรี โดยสามารถติดตอส่อื สารผา นระบบคอมพิวเตอร Online ดวย ๖

มาตรฐาน TCP/IP Novell IPX ผานสายสัญญาณภายในอาคารซึ่งเปนสาย UTP ขนาด 10 Mbps. โดยไดรับความ กรุณาจากอาจารยปรีดา เลิศพงศวิภูษณะ และอาจารยเขมะทัต วิภาตะวนิช ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร ชวย ออกแบบเครือขายและกําหนดรูปแบบระบบงานคอมพิวเตอรของสํานกหอสมุด ภายใตคําแนะนําของ รศ. ยืน ภูวรว รรณ ผอู ํานวยการสํานักบรกิ ารคอมพิวเตอรในขณะน้นั ปพ.ศ. ๒๕๓๗ สํานักหอสมุดใชเงินสนับสนุนจาก NECTEC สมทบกับเงินรายได จัดซื้อระบบคอมพวิ เตอรเพื่อ ใหบริการสารสนเทศ ประกอบดวยคอมพิวเตอรในระบบ Novell Netware 3.12 เปนคอมพิวเตอรแมขายฐานขอ มลู และเชอ่ื มตอกบั ซดี ีรอม ๖ หวั อาน เพ่ือเปน เคร่อื งแมขา ยใหบ ริการซดี รี อม ป พ.ศ. ๒๕๓๘ เปดใหบรกิ ารสบื คน ขอมูลบนระบบเครอื ขายภายในอยางเปน ทางการ ฐานขอมูลทใ่ี หบรกิ าร ไดแก ฐานขอมูลการเกษตรของประเทศไทย ฐานขอมูลหนังสือ ฐานขอมูลโสตทัศนวัสดุ ฐานขอมูลวารสารดาน การเกษตร ฐานขอมูลบรรณานุกรมสามบรู พาจารยเ กษตร ฐานขอมูลรายชื่อวารสารของประเทศไทย เปน ตน ป พ.ศ. ๒๕๓๙ จดั ซ้อื ระบบหองสมุดอตั โนมัติ INNOPAC ซงึ่ เปน โปรแกรมการจัดการระบบหอ งสมดุ แบบบรู ณา การ เพ่ือใชประโยชนใ นกระบวนงานหลกั ตาง ๆ เชน การจดั ซ้อื การบนั ทกึ ขอ มูล การจัดการวารสาร การสืบคนขอมูล การยมื คืน เปนตน ป พ.ศ. ๒๕๔๐ เริม่ ใหบรกิ ารสารสนเทศผานโฮมเพจสาํ นกั หอสมุดเปน คร้งั แรกที่ โดเมน lib.ku.ac.th ป พ.ศ. ๒๕๔๑ เรมิ่ ใหบริการยืมคนื หนังสือผานระบบหอ งสมดุ อตั โนมัติ INNOPAC ป พ.ศ. ๒๕๔๔ เปด ใหบ รกิ ารอินเตอรเนต็ สาํ หรับนิสิตและบคุ ลากรของมหาวทิ ยาลัย โดยมเี คร่อื งคอมพิวเตอร จาํ นวน ๕๐ เครอื่ ง ป พ.ศ. ๒๕๔๕ ปรับเปล่ยี นรูปแบบการจัดเกบ็ ขอ มลู ดานการเกษตรของประเทศไทย จากเดิมที่จัดเก็บในไมโคร ฟชมาจัดเก็บเอกสารในรูปแบบของไฟลดิจิทัล (PDF) ในปน้ีสํานักหอสมุดรวมกับสํานักบริการคอมพิวเตอร เปด ใหบริการการดเช่ือมตอเครือขายไรสาย (โมเด็มแบบ PCMCIA) สําหรับเขาใชเครือขาย KU-Win ภายในอาคาร สาํ นักหอสมุด ป พ.ศ. ๒๕๔๙ เริม่ ใชเทคโนโลยีการระบเุ อกลกั ษณดวยคล่ืนสัญญาณวิทยุ (Radio Frequency Identification - RFID) เพ่อื ชวยบริการยมื คนื หนังสือใหไ ดร ับความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึน้ และเปด ใหบ รกิ ารเครือ่ งยืมอัตโนมตั ิอยาง เปน ทางการในวนั ที่ ๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๑ ป พ.ศ. ๒๕๕๓ จัดต้ังคณะทาํ งานระบบหองสมดุ อัตโนมตั ิจินดามณี เพื่อศึกษาและพัฒนา ระบบสาํ หรบั นาํ มา เปนระบบสํารองในการใหบริการระบบหองสมุดอัตโนมัติอยางตอเน่ือง และเริ่มใหบริการหนังสือในหองสมุด Eco- Library เมือ่ วนั ที่ ๒๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ๗

ป พ.ศ. ๒๕๕๕ เริ่มใชเทคโนโลยีการระบุเอกลักษณดวยคลื่นสัญญาณวิทยุแบบระยะไกลย่ิง (Ultra-Hight frequenct Radio frequency Idencification : UHF-RFID) เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการใหบริการยืมคืนดวยระบบ RFID ในพน้ื ท่ีจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศปพมิ พตั้งแต พ.ศ. ๒๕๕๔ – จนถึงปจจบุ นั ซึ่งใหบ ริการอยูใ นพืน้ ทโ่ี ซนนิ่ง ชัน้ ๑ อาคารชว งเกษตรศิลปาการ ป พ.ศ. ๒๕๕๕ เปดใหบริการยืมเคร่อื งคอมพิวเตอรพกพาแบบจอสัมผัส จํานวน ๒๐ เครื่องเพื่ออํานวยความ สะดวกใหก บั ผูใชบริการในการเขา ถึงทรพั ยากรอิเล็กทรอนิกสทส่ี ํานักหอสมุดใหบรกิ าร ป พ.ศ. ๒๕๕๘ จัดซื้อเครื่องคอมพิวเตอรแมขายแบบเวอรชัวไลเซช่ัน (Server Virtualization) เพ่ือเพ่ิม ประสิทธิภาพการใหบริการระบบสารสนเทศ รองรับเทคโนโลยี Cloud computing และการบริหารจัดการระบบได สะดวกมากยิง่ ขึน้ ป พ.ศ. ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยไดทําสัญญารวมกับบริษัทเอไอเอส เพ่ือติดต้ังสัญญาณเครือขายไรสายให ครอบคลุมพ้ืนที่บริการภายในหนวยงานตาง ๆ ของมหาวิทยาลัย โดยสํานักหอสมุดไดรับความอนุเคราะห Wireless AccessPoint จาํ นวน ๙๔ จุด ติดตั้งท่อี าคารเทพรตั นว ิทยาโชติ จาํ นวน ๖๒ จดุ และ อาคารชว งเกษตรศิลปการ จํานวน ๓๒ จุด ป พ.ศ. ๒๕๖๐ สํานักหอสมุดเร่ิมใชบริการเชาพื้นที่จัดเก็บสารสนเทศ (Co-location Site) ที่สํานักบริการ คอมพิวเตอร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยฝากอุปกรณจัดเก็บขอมูลขนาดใหญ เพ่ือความปลอดภัยของระบบ สารสนเทศและสอดคลองกับนโยบายตามแผนบรหิ ารความตอเนอ่ื ง ป พ.ศ. ๒๕๖๑ สาํ นกั หอสมุดเรมิ่ ใชร ะบบงานดจิ ทิ ลั ในการบกิ ารจดั การภายในตามนโยบายการเปน Digital KU ไดแ ก การตดิ ตั้งระบบ KU Smart P สําหรับการลงเวลาปฏบิ ัติงาน การสง ใบลา การมอบหมายงาน และการประเมนิ ผล การปฏิบัติงาน โดยลดขั้นตอนการทํางานและลดกระดาษ ในสวนบริการผูใชเรม่ิ ติดต้ังระบบ Cashless ในจุดบริการ โดยผูชําระคาธรรมเนียมทางเขา คาปรับ ฯลฯ สามารถจายผานระบบ e-Banking ได นอกจากน้ียังเร่ิมใช TMB Business Click เพื่อชําระคาดําเนินงานกับบริษัท รานคาตาง ๆ โดยลดภาระการรับ-จายเงินสด และลดการใชเช็ค Smart Locker มาบริการผใู ชในการฝากของกอ นเขาใชหองสมุดดวยตนเอง อีกทั้งยังไดนําขอมูลมาวิเคราะหเ สนอใน รูปแบบ Dashboard เพือ่ แสดงการทํางานทีโ่ ปรง ใสใหทราบสถติ โิ ดยทางพืน้ ทแ่ี ละทางเว็บไซต ๘

โครงสรางการบรหิ ารองคก ร ๙

ฝ า ย จั ด ก า ร ทรั พ ย า ก ร ส าร ส นเทศ ภาระหนาท่ีบริการจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ไดแก จัดหาหนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ โสตทัศนวัสดุ ฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกส สื่อ อเิ ล็กทรอนิกส และสือ่ การเรียนรปู ระเภทตาง ๆ ให สอดคลองกับหลกั สูตรการเรียน การสอน การวจิ ยั ของมหาวิทยาลัย และตรงกับความตองการของ ผูใชบริการ ทําหนาท่ีพัฒนาฐานขอมูลทรัพยากรหองสมุดที่จัดหามาบริการ โดยการลงรายการบรรณานุกรมและ วิเคราะหหมวดหมูทรัพยากรสารสนเทศของสํานักหอสมุดและหองสมุดสาขาตามมาตรฐานสากล พัฒนาฐานขอมูล วิทยานิพนธฉบับเต็ม เพ่ือเปนเครือ่ งมือชวยในการสืบคนทรพั ยากรสารสนเทศของผใู ชบรกิ าร รวมทั้งดูแลบํารงุ รักษา ทรัพยากรสารสนเทศใหพรอมใชงาน ตลอดจนประสานความรว มมอื กับหองสมุดสถาบนั อุดมศึกษาในการพัฒนาการ จดั หาและจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ฝายบริการ ทําหนาท่ีใหบริการสนับสนุนการเรียนการสอน บริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภท ดูแลระเบียนสมาชิก ใหคําแนะนําการใชหองสมุดและ บริการตาง ๆ ของสํานักหอสมุด ใหบริการพื้นที่และ สงเสรมิ การใชทรัพยากรหอ งสมุด จัดกิจกรรมสงเสรมิ การ ใชทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภทเพื่อใหเกิดการใช ประโยชนอยางคุมคา และใหบริการสนับสนุนการวิจัย เสริมสรางทักษะดานการสืบคนขอมูลในรูปแบบตาง ๆ เพื่อใหผูใชสามารถเขาถึงขอมูลสารสนเทศตามท่ีตองการ จากฐานขอ มลู ออนไลนไ ดอยา งมีประสิทธิภาพ รวดเรว็ และ ตรงกบั ความตองการ สามารถนําความรูทไ่ี ดไ ปใชประโยชน ในการศึกษาคน ควา วิจัย ๑๐

ฝา ยสารสนเทศ ทําหนา ที่ รวบรวม จัดทํา คลังความรูดิจิทัลดานการเกษตรตามมาตรฐาน สารสนเทศเกษตรนานาชาติ แลกเปลี่ยนและ ใ ห บ ริ ก า ร ส า ร ส น เ ท ศ ด า น ก า ร เ ก ษต ร ทั้ ง ภายในประเทศและตางประเทศภายใตเครือขาย ระบบสารสนเทศเกษตรนานาชาติ (AGRIS- International Information System for the Agricultural Sciences and Technology) ใ น ฐานะศูนยสนเทศทางการเกษตรแหง ชาติ (Thai National AGRIS Centre : AGRIS) ศูนยสนเทศทางกระบือนานาชาติ (International Buffalo Information Centre : IBIC) ศูนยค วามรูดา นการเกษตร (Agriculture Knowledge Centre : AGKC) และศูนยประสานงานสารนิเทศสาขาเกษตรศาสตร และพัฒนาคลังความรูด ิจทิ ัลมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร เพื่อจัดเกบ็ เผยแพรแ ละใหบ ริการองคความรแู ละผลงานสรางสรรคของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หอจดหมายเหตุ มีหนาที่ในการจัดเก็บรวบรวมเอกสารสําคัญท่ีเกี่ยวของกับประวัติ พัฒนาการของ มหาวิทยาลัยใหเปนไปตามมาตรฐานสากล (ISAD (G)) โดยจัดเก็บและใหบริการสืบคนขอมูลทางดานประวัติ พัฒนาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ผานระบบ ฐานขอมูลจดหมายเหตุ และ เว็บไซตหอจดหมายเหตุ นอกจากนี้ยงั รบั ผิดชอบดูแล บริหารจดั การและบริการนาํ ชมอาคารหอประวัติมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อาคาร หอพักนิสิต (หอ ๒) และหองนิทรรศการ ณ อาคาร หอประชุม มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ทั้งในรูปแบบ ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ ๑๑

ฝายเทคโนโลยีการศึกษา มีภาระหนาท่ีผลิตส่ือ การเรียนรูในรูปของภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว บริหาร จัดการชองทางการสื่อสารประชาสัมพันธ จัดนิทรรศการ เพื่อสงเสริมภาพลักษณ และกิจกรรมตาง ๆ ของ สํานักหอสมุด รวมถึงประชาสัมพันธวิธีการเขาถึง ทรัพยากรตาง ๆ ของสํานักหอสมุด ดูแลความเรียบรอย ของหองประชุม และบรกิ ารวชิ าการในเรอ่ื งของการจัดการ ใหสํานักหอสมุดเปนแหลงการเรียนรูในการฝกประสบการณวิชาชีพ สําหรับนิสิต นักศึกษาจากสถาบันตาง ๆ และ ตอนรับศกึ ษาดงู าน ฝายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ภาระหนา ที่รักษาเสถียรภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ บรหิ ารจัดการระบบ เครือขาย ตามแนวนโยบายและแนวปฏิบัติในการรักษา ค ว า ม ม่ั น ค ง ป ล อ ด ภั ย ด า น ส า ร ส น เ ท ศ ข อ ง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร บํารุงรกั ษาเครอื่ งคอมพวิ เตอร แมขายและเครื่องคอมพิวเตอรลูกขาย พัฒนาระบบ สารสนเทศ บริหารจัดการระบบหองสมุดอตั โนมัติ จัดหา แ ล ะ จั ด ส ร ร เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ร ะ บ บ ส า ร ส น เ ท ศ ที่ มี ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ ป ฏิ บั ติ ง า น และ กา รใ หบริกา ร แ ล ะ ดู แ ล เว็บไซต สาํ นกั หอสมุด ๑๒

สํานกั งานเลขานุการ มภี ารกจิ หลัก เปนหนว ย ส นั บ ส นุ นใ น กา รปฏิ บั ติง าน ของ สํานักหอสมุด ดาํ เนนิ งานชว ยอํานวยการ งานบริหารและธรุ การทั่วไป งานเลขานุการผูบริหาร งานสารบรรณ งานประชุมของ สํานักหอสมุด บริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล งานการเงิน งานบัญชี การใชจายเงินงบประมาณ แผนดินและเงินรายได งานพัสดุ ครุภัณฑ งานจัดซื้อ จัดจาง งานจัดทําแผน และงบประมาณแผนดินและ งบประมาณเงินรายได งานซอมบํารุงรักษาครุภัณฑและระบบสาธารณูปโภค งานดูแลรักษาอาคารสถานที่และ ยานพาหนะ ดําเนินการงานอ่ืนใดท่ีมิไดกําหนดไวใหเปนอํานาจหนาที่ของหนวยใดของสํานักหอสมุด ตลอดจน ประสานงาน ปฏิบัติงานรวมกับฝายตาง ๆ และสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝายงานอื่นที่เกี่ยวของหรือท่ีไดรับ มอบหมาย ๑๓

รายนามคณะกรรมการประจําสํานกั หอสมุด วาระการดํารงตาํ แหนง วนั ท่ี ๒๐ ตุลาคม ๒๕๖๑ - ๑๙ ตลุ าคม ๒๕๖๓ ๑. ผอู ํานวยการสํานักหอสมดุ ประธานกรรมการ ๒. รองผอู าํ นวยการสํานกั หอสมดุ กรรมการ ๓. ผูชว ยศาสตราจารย ดร.ทรงพนั ธ เจิมประยงค กรรมการ ๔. นางเบญจา รงุ เรืองศลิ ป กรรมการ ๕. รองศาสตราจารย ดร.อภสิ ิฏฐ ศงสะเสน กรรมการ ๖. ผชู วยศาสตราจารย ดร.ทิพยวลั ย สรุ ินยา กรรมการ ๗. รองศาสตราจารย ดร.สมหวงั ขันตยานวุ งศ กรรมการ ๘. รองศาสตราจารย ดร.สมชาย นําประเสริฐชยั กรรมการ ๙. ดร.นรี นชุ ภาชนะทิพย กรรมการ ๑๐. นายฉัตรชัย จรญู พงศ กรรมการ ๑๑. รองศาสตราจารย ดร.พูนพิภพ เกษมทรพั ย กรรมการ ๑๒. รองศาสตราจารย ดร.ประกอบ สรุ วัฒนาวรรณ กรรมการ ๑๓. รองศาสตราจารย ดร.นัทธนัย ประสานนาม กรรมการ ๑๔. หัวหนาฝายในสาํ นักหอสมุดทกุ ฝาย กรรมการ ๑๕. นางกาญจนา วสสุ ิรกิ ุล กรรมการและเลขานุการ ๑๔

รายนามผูบรหิ ารสาํ นกั หอสมุด - นางวนิดา ศรที องคาํ ผูอ ํานวยการสาํ นกั หอสมุด - นางนงคล กั ษณ เท่ยี งธรรม (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) - นางเพญ็ สภุ า แกวพิทยาภรณ ผชู วยผูอ าํ นวยการดานบรหิ ารและวิเทศสัมพันธ (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๑) - นางสาววาทนิ ี เขมากโรทัย รองอาํ นวยการดานบรหิ ารและวเิ ทศสมั พันธ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) - นางสาวศสิญา แกว นยุ - นายอภิยศ เหรียญวิพฒั น หวั หนา ฝา ยจดั การทรพั ยากรสารสนเทศ - นางสาวสมใจ ขุนเจริญ (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑) รองอาํ นวยการดานวชิ าการ - นางกาญจนา วสุสริ กิ ุล (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) ผชู วยผอู ํานวยการดานวิชาการและทรัพยากรบคุ คล (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑) รองอํานวยการดานทรพั ยากรบคุ คลและสื่อสารองคกร (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒) รองอํานวยการดานทรัพยากรบุคคลและพฒั นาบริการ (๑ ตุลาคม ๒๕๖๒ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) ผชู วยผอู ํานวยการดา นกจิ การพเิ ศษ (๑ กรกฎาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) ผูชวยผอู ํานวยการดานวทิ ยาการขอมลู และสารสนเทศ (๑ มนี าคม ๒๕๖๒ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕) ผชู ว ยผูอ าํ นวยการดานพฒั นาบริการและหอ งสมดุ เครือขา ย (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๒) ผูชวยผอู าํ นวยการดา นหอ งสมุดสาขาและเครอื ขาย (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒) หัวหนา สาํ นกั งานเลขานกุ าร (๒๐ สงิ หาคม ๒๕๕๒ – ๓๐ กันยายน ๒๕๖๓) ๑๕

- นางสาวพรนภา ตง้ั นิตพิ งศ หวั หนาฝา ยจัดการทรพั ยากรสารสนเทศ - นางสาวสุพรรณี หงษท อง (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓) - นายสงิ หท อง ครองพงษ - นางสาวศศนิ พร นาคเกษม หวั หนา ฝา ยสารสนเทศ - นางสาวสารภี สสี ุข (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓) - นางสาวกติ ติยา ขุมทอง - นางสาวพฎา พทุ ธสมยั หัวหนา ฝา ยเทคโนโลยกี ารศึกษา (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓) หัวหนาฝา ยเทคโนโลยสี ารสนเทศ (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓) หัวหนาฝา ยบรกิ าร (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ มิถุนายน ๒๕๖๒) หัวหนา ฝา ยบรกิ าร (๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓) หัวหนาหอจดหมายเหตุ (๑ พฤษภาคม ๒๕๖๑ – ๓๐ เมษายน ๒๕๖๓) ๑๖

นโยบายการบรหิ าร วสิ ัยทศั น พนั ธกิจ เอกลกั ษณ อตั ลกั ษณ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร วิสยั ทศั น มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร สรางสรรคศ าสตรแหง แผน ดนิ สสู ากล เพ่อื พฒั นาประเทศอยา งยงั่ ยนื พันธกจิ ๑. สรา งคนท่มี ปี ญ ญา รเู หตรุ ูผล อยใู นคุณธรรม และมจี ติ สาํ นกึ เพ่อื สว นรวม ๒. สะสมภูมิปญ ญา สรางและพฒั นาองคความรทู หี่ ลากหลาย ตลอดจนสรา งผลงานที่มมี าตรฐาน สามารถแขงขันได ๓. รวมพัฒนากบั ชุมชน และรบั ผดิ ชอบตอสงั คม ๔. สืบสาน ทาํ นบุ ํารงุ ศลิ ปะ วัฒนธรรม และดาํ รงอัตลกั ษณข องมหาวิทยาลัย ๕. บรหิ ารทรัพยากรมหาวิทยาลัยอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ เอกลักษณ “มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร มงุ สรา งศาสตรแหง แผนดิน เพอื่ ความกนิ ดีอยดู ขี องชาต”ิ อัตลักษณ IDKU Integrity สํานกึ ดี มุงม่นั Determination สรางสรรค Knowledge creation สามคั คี Unity นโยบายการบรหิ ารงาน 6U มหาวิทยาลัยสีเขียว Green University มหาวทิ ยาดจิ ทิ ลั Digital University มหาวทิ ยาลยั วจิ ัย Research University มหาวิทยาลยั สสู ากล World Class University มหาวิทยาลยั สสู ังคม Social Responsibility University มหาวทิ ยาลยั แหงความสุข Happiness University ๑๗

สมรรถนะบุคลากรของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร I – Innovation: มคี วามคิดรเิ ร่ิม AM – Achievement Motivation: มงุ ผลสมั ฤทธ์ิของงาน Ka – Kasetsart Engagement: มคี วามผูกผันตอมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร S – Self Development: พฒั นาความเชยี่ วชาญในงานอาชพี E – Ethics: มีความซ่ือสตั ยแ ละจรรยาบรรณวิชาชีพ T – Teamwork: ทํางานเปนทีม ยุทธศาสตรและเปา หมายของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ๑๒ ป (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๑) ยุทธศาสตรท ี่ ๑ การสรา งสรรคศ าสตรแหงแผน ดนิ เพอ่ื การพฒั นาประเทศที่ยงั่ ยืน ยทุ ธศาสตรที่ ๒ การพัฒนาสูความเปน เลศิ ทางวิชาการในระดับสากล ยุทธศาสตรท่ี ๓ การเพ่ิมคณุ ภาพและประสทิ ธิภาพการดําเนนิ งานตามภารกจิ ยทุ ธศาสตรท ี่ ๔ การใชหลักธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารจดั การอยางยงั่ ยนื ๑๘

๑๙

บทสรุป การบรหิ ารจัดการ • การประชุมคณะกรรมการประจาํ สํานกั หอสมดุ (เดอื นสิงหาคม ๒๕๖๑ - กรกฎาคม ๒๕๖๒) ป พ.ศ. จํานวนครั้ง คร้ังที่ และ วันท่ีประชมุ ๒๕๖๑ ๑ คร้งั ท่ี ๑/๒๕๖๑ วนั ที่ ๒๕ ธันวาคม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๒ คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๒ วันท่ี ๒๓ เมษายน ๒๕๖๒ คร้ังที่ ๒/๒๕๖๒ วันท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๖๒ จากตารางในรอบป ๒๕๖๑ มีการประชุมคณะกรรมการประจําสาํ นักหอสมุด จํานวน ๓ ครั้ง เพื่อรายงานผล การดําเนนิ งาน รายงานผลการเงิน ใหค ณะกรรมการประจาํ สํานกั ทราบและพจิ ารณา ไดแก สรปุ รายงานการใชจายเงนิ ในปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ : งบประมาณแผนดินงบเงินอุดหนนุ (คาวสั ด)ุ ปบัญชี พ.ศ. ๒๕๖๒ สรุปการบอกรบั ฐานขอมลู อิเล็กทรอนิกสและการใชฐานขอมลู ในปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ สรปุ ผลการ จัดโครงการสัมมนาทางวิชาการประจําป เร่ือง Data Science: Data Analytics ในการบริหารหองสมุดในศตวรรษที่ ๒๑ จัดเมื่อวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ ณ หองประชุมช้ัน ๕ อาคารเทพรตั นว ิทยาโชติ สํานักหอสมุด สรุปผลการเขา รวมโครงการบมเพาะคุณภาพการศึกษาสูความเปน เลศิ ระดับสวนงานสนับสนุน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร EdPEx และแผนพัฒนาปรบั ปรงุ การเขารวมโครงการนํารองการใชระบบ KU Smart P ในการลงเวลาปฏิบตั ิงาน การลา และการประเมนิ ผล การปฏบิ ัติงาน (PMS) ในรอบการประเมนิ เดอื นกรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒ โครงการคัดเลือกหนังสอื อิเล็กทรอนิกส ebook 4 Plus การบอกรับและสถิติการใชงานฐานขอมูล (เดือนมกราคม - มีนาคม ๒๕๖๒) สรุปสถิติการใชงาน โปรแกรม Turnitin (ระหวางวันที่ ๑ มกราคม - ๑๗ เมษายน ๒๕๖๒) การประชุมหองสมุดสาขาและเครือขาย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๒ การจัดบรรยายหัวขอ “How to deal with anxiety & depression” เมอื่ วนั อังคารที่ ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๖๒ การจดั งานวนั สถาปนาสํานักหอสมดุ ครบรอบปท ่ี ๔๒ และขอความเห็นชอบ ในเร่ืองตาง ๆ ตามทีข่ อบงั คบั และระเบยี บของมหาวทิ ยาลัยกําหนดไว ไดแก (ราง) ประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เร่ือง ขอตกลงและเง่อื นไขการอนญุ าตใชทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนกิ ส (ฉบบั ภาษาไทย / ฉบบั ภาษาองั กฤษ) การ จายเงนิ เพิม่ พเิ ศษสาํ หรับพนักงานสายสนับสนนุ ที่มคี วามสามารถดานการใชภ าษาองั กฤษของสาํ นักหอสมดุ ขอความเหน็ ชอบ คําของบประมาณเงินรายได ประจําปบ ัญชี พ.ศ. ๒๕๖๓ การเสนอชอ่ื ผูสมควรดํารงตําแหนง  งกรรมการสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร และผูทรงคุณวุฒิ แทนตําแหนงท่ีวาง ๖ ราย การพิจารณาทบทวนและ ปรับปรุง (ราง) แผนปฏิบัติการ ระยะ ๓ ป (พ.ศ. ๒๕๖๓ - ๒๕๖๕) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร แผนยุทธศาสตร สํานักหอสมดุ ปงบประมาณ ๒๕๖๑ – ๒๕๖๕ พิจารณาขอความเห็นชอบการเสนอชื่อกรรมการประจําสํานักหอสมุด ๒๐

เปนกรรมการคัดเลือกพนักงานมหาวิทยาลัย พิจารณาขอความเห็นชอบการแตงตั้งคณะกรรมการกล่ันกรองผลการ ปฏบิ ตั ิงานของสํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร • การประชมุ ผูบ รหิ ารสาํ นกั หอสมุด (เดอื นสงิ หาคม ๒๕๖๑ - กรกฎาคม ๒๕๖๒) ป พ.ศ. จาํ นวนครง้ั ครง้ั ท่ี และ วันท่ีประชมุ ๒๕๖๑ ๕ ครั้งท่ี ๓/๒๕๖๑ วันท่ี ๑๖ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ครั้งท่ี ๔/๒๕๖๑ วนั ที่ ๒๖ กนั ยายน ๒๕๖๑ ครง้ั ท่ี ๕/๒๕๖๑ วนั ที่ ๑๘ ตุลาคม ๒๕๖๑ ครัง้ ท่ี ๖/๒๕๖๑ วันท่ี ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ ครั้งที่ ๗/๒๕๖๑ วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ ๗ ครง้ั ที่ ๑/๒๕๖๒ วันท่ี ๑๕ มกราคม ๒๕๖๒ ครง้ั ท่ี ๒/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๒ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ ครง้ั ที่ ๓/๒๕๖๒ วันที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๒ ครงั้ ที่ ๔/๒๕๖๒ วันที่ ๑๐ เมษายน ๒๕๖๒ ครง้ั ท่ี ๕/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ คร้ังท่ี ๖/๒๕๖๒ วันท่ี ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๒ ครง้ั ท่ี ๗/๒๕๖๒ วนั ท่ี ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ การประชุมผูบริหารสํานักหอสมุด ประกอบดวย ผูอํานวยการสํานักหอสมุดเปนประธานในท่ีประชุม และ ผูเขารวมประชุม ไดแก รองผูอาํ นวยการ ผูชวยผูอํานวยการ หัวหนาฝา ย รองหัวหนา ฝา ย และผูเกี่ยวของกับวาระการ ประชมุ กําหนดประชมุ เปนประจําทุกเดือนในวนั อังคารท่สี องของเดอื น ในการประชุมมเี ร่ืองแจงใหที่ประชมุ รบั ทราบจากมตทิ ีป่ ระชมุ คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ท่ีสาํ คัญและเกีย่ วขอ งและรวมพจิ ารณาในประเดน็ ตาง ๆ ไดแก การดําเนนิ งานของฝา ยตา ง ๆ การเสนอรายละเอยี ดของ การจัดทําโครงการและกิจกรรมของสํานักหอสมุด การประชาสัมพันธกิจกรรมและงานของสํานักหอสมุด เชน การพัฒนาเว็บไซตสํานักหอสมุด การใช Ezproxy ในการสืบคนฐานขอมูล การขยายและปรับปรุงพ้ืนท่ีใหบริการ ความรวมมือกับหนวยงานอื่น ๆ การจัดซ้ือจัดจางตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือฉบับใหม ประกาศผลการจัดอันดับ มหาวทิ ยาลัยโลกดานคณุ ภาพวิชาการตามเกณฑ Webometrics เปน ตน การดําเนินการพัฒนาบุคลากรและการจัดการความรู KU Smart P แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงาน เพื่อใหสอดคลองกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร การดําเนินงาน EdPEx (การประเมินคุณภาพการศึกษาเพ่ือการ ดําเนินการที่เปนเลิศ) การจัดการพลังงานและส่ิงแวดลอม โครงการเครือขายความรวมมือพัฒนาหองสมุดเพ่ือสังคม การพัฒนาบรกิ ารในรปู แบบตาง ๆ รวมทงั้ แจง ความคบื หนาประกาศ ระเบียบขอ บงั คับตาง ๆ ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ๒๑

• รายงานผลตามแผนปฏิบตั ิงานประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ (ตลุ าคม ๒๕๖๐ – กนั ยายน ๒๕๖๑) ยทุ ธศาสตร / กลยุทธ จาํ นวนแผนงาน/ จาํ นวนตัวชี้วดั โครงการ/กจิ กรรม แผน ผล ๔๔ ยุทธศาสตรท่ี ๑ การพฒั นาทรพั ยากรสารสนเทศและคลังความรู เพอ่ื สนับสนุนการ เรียนรู ๑๑ ๓๓ กลยทุ ธท ี่ ๑ การพฒั นาทรัพยากรสารสนเทศอเิ ล็กทรอนิกส ๓ ๒๒ กลยุทธที่ ๒ การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศสอดคลองตามหลักสูตร ๑๐ ๓๓ คลังความรู และฐานขอมูลจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ๑๑ ยทุ ธศาสตรท ี่ ๒ การใหบ รกิ ารทรัพยากรสารสนเทศเพือ่ การวจิ ยั การเรยี นการสอน และ การเรียนรูดว ยนวตั กรรมบรกิ ารรวมสมยั ๒๒ ๑๑ กลยุทธท่ี ๑ การสรางนวัตกรรมบรกิ ารเพ่ืออํานวยความสะดวกในการ ๒ ๖๕ เขา ถึงบริการ และขอมลู ขา วสาร ๘๗ ๕๕ กลยุทธท่ี ๒ การพัฒนาประสิทธิภาพบริการสารสนเทศเพ่ือใหผูใช ๑๑ ๓๓ บรกิ ารไดใ ชตรงความตอ งการ ๓๙ ๓๗ กลยทุ ธท ่ี ๓ การพัฒนาบรรยากาศสงเสรมิ การเรยี นรู ๒ ๙๔.๘๗ กลยุทธท่ี ๔ การพัฒนาบริการสารสนเทศสูสังคมตามยุทธศาสตรของ ๓ มหาวิทยาลยั ยทุ ธศาสตรท่ี ๓ การบริหารจัดการองคกรสคู วามเปนเลศิ กลยทุ ธท ่ี ๑ พัฒนาการบริหารจัดการภายในสํานกั หอสมดุ ๑๓ กลยุทธที่ ๒ พัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความสามารถ และทักษะใน ๒ การทํางาน กลยุทธท ่ี ๓ สรางความสุขและความผูกพันในองคก าร ๘ การดําเนนิ งาน ๕๔ คิดเปนรอยละความสาํ เรจ็ ๒๒

• การบรหิ ารงบประมาณแผน ดนิ และเงนิ รายได งบประมาณแผน ดินปงบประมาณ ๒๕๖๒ (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒) ตารางแสดงผลการดาํ เนินงานการเบิกจายงบประมาณแผนดนิ ป ๒๕๖๒ สาํ นกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร หนว ย: ลา นบาท รายการ งบประมาณป ๒๕๖๑ งบประมาณป ๒๕๖๒ การเปล่ยี นแปลง ป ๒๕๖๒ (รอยละ) เบิกจา ย จดั สรร เบิกจา ย คงเหลอื จัดสรร เบิกจาย คงเหลือ จัดสรร เบกิ จาย คงเหลือ (รอ ยละ) งบบุคลากร ๓๓.๒๓ ๑๕.๔๘ ๑๗.๗๕ ๓๓.๖๑ ๓๓.๖๐ ๐.๐๑ ๑.๑๕ ๑๑๗.๐๕ -๙๙.๙๗ ๙๙.๙๘ งบดาํ เนนิ งาน ๓.๒๘ ๓.๒๘ ๐.๐๐ <-------------------------------------------ไมไดร บั จัดสรร-----------------------------------------> คา ๑.๙๕ ๑.๙๕ ๐.๐๐ ๑.๙๕ ๑.๙๕ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๐.๐๐ ๑๐๐.๐๐ สาธารณปู โภค งบลงทนุ ๑.๐๗ ๐.๒๔ ๐.๘๓ ๐.๗๐ ๐.๖๔ ๐.๐๖ -๓๔.๔๖ ๙๔.๔๕ -๗๑.๑๔ ๙๑.๗๑* รวม ๓๙.๕๒ ๒๐.๙๔ ๑๘.๕๘ ๓๖.๒๖ ๓๖.๑๙ ๐.๐๖ -๘.๒๗ ๗๒.๘๒ -๙๙.๖๖ ๙๙.๘๒ แหลงขอ มลู : รายงานการงบประมาณแผนดิน สํานกั หอสมดุ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ และประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๑ จากระบบบัญชีสามมิติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หมายเหตุ: * งบลงทุนมีการเบิกจายภายในปงบประมาณ ๒๕๖๒ จํานวน ๐.๔๖ ลานบาท และเบิกจายโดยการกันเงินเหลื่อมปจ ํานวน ๐.๑๘ ลานบาท รวมเปน ๐.๖๔ ลา นบาท สําหรับปง บประมาณ ๒๕๖๒ สํานักหอสมุดไดรับจดั สรรงบประมาณแผน ดินจาํ นวน ๓๖.๒๖ ลานบาท ลดลง จากงบประมาณแผน ดนิ ทจี่ ัดสรรในปง บประมาณ ๒๕๖๑จํานวน ๓๙.๕๒ ลา นบาท เปนจาํ นวน ๓.๒๖ ลา นบาท คิดเปน รอยละ ๘.๒๗ เนอ่ื งมาจากรัฐบาลไมไ ดส นบั สนุนงบดําเนนิ งานหนวยงานในกํากับยกเวนคาสาธารณปู โภคเทานัน้ มกี าร เบกิ จายจํานวน ๓๖.๑๙ ลา นบาท คดิ เปนรอ ยละ ๙๙.๘๒ ของงบประมาณจดั สรร งบบุคลากรไดร ับจัดสรรจาํ นวน ๓๓.๖๑ ลา นบาท เพิ่มขน้ึ จากทจี่ ัดสรรในปง บประมาณ ๒๕๖๑จํานวน ๓๓.๒๓ ลานบาท คดิ เปน รอยละ ๑.๑๕ มีการเบกิ จา ยจาํ นวน ๓๓.๖๐ ลา นบาท คดิ เปนรอยละ ๙๙.๙๘ ของงบบคุ ลากรจดั สรร คาสาธารณูปโภคไดรับจัดสรรจํานวน ๑.๙๕ ลานบาท ซ่ึงเทากับท่ีรับจัดสรรในปงบประมาณ ๒๕๖๑ มีการ เบกิ จา ยเตม็ จํานวน หรอื รอ ยละ ๑๐๐.๐๐ สวนงบลงทนุ ไดรบั จัดสรรจาํ นวน ๐.๗๐ ลานบาท ลดลงจากงบลงทนุ ที่ไดรบั จัดสรรในปงบประมาณ ๒๕๖๑ จํานวน ๑.๐๗ ลา นบาท คดิ เปนรอยละ ๓๔.๔๖ มกี ารเบกิ จา ยงบลงทนุ จํานวน ๐.๖๔ ลานบาทคิดเปนรอยละ ๙๑.๗๑ ของงบลงทุนจดั สรร ๒๓

งบประมาณเงินรายไดป งบประมาณ ๒๕๖๒ (๑ ตลุ าคม ๒๕๖๑ – ๓๐ กนั ยายน ๒๕๖๒) ตารางแสดงผลการดําเนินงานงบประมาณเงนิ รายได (รายไดจากการดําเนินงาน) สํานกั หอสมุด มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ปงบประมาณ ๒๕๖๒ หนวย: ลา นบาท ปงบประมาณ การ รายไดจากการดําเนนิ งาน ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ เปลี่ยนแปลง สัดสวนตอรายได (รอยละ) ทั้งหมด (๑) (๒) (๓) (๔) รายไดคา ธรรมเนยี มการศึกษา ๕๖.๐๘ ๕๔.๘๔ -๒.๒๐ ๖๖.๐๒ รายไดจากการขายสนิ คาและบริการ ๐.๔๕ ๐.๔๘ ๖.๑๑ ๐.๕๗ รายไดจากการชว ยเหลืออุดหนนุ และบริจาค ๒๗.๐๓ ๒๕.๑๖ -๖.๙๒ ๓๐.๒๘ รายไดจ ากการบรหิ ารเงิน ๐.๐๓ ๐.๐๓ ๒๘.๒๘ ๐.๐๔ รายไดจากการดําเนินงานอนื่ ๑.๙๐ ๒.๕๖ ๓๕.๐๘ ๓.๐๙ รวมรายไดจ ากการดาํ เนินงาน ๘๕.๔๘ ๘๓.๐๘ -๒.๘๑ ๑๐๐.๐๐ แหลง ขอ มูล: งบแสดงผลการดําเนนิ งานเปรยี บเทยี บสํานกั หอสมุด จากระบบบญั ชีสามมิติของมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร สําหรับปงบประมาณ ๒๕๖๒ สํานักหอสมุดมีรายไดรวม ๘๓.๐๘ ลานบาท รายไดหลักประกอบดวยรายได คาธรรมเนยี มการศึกษา ๕๔.๘๔ ลา นบาท คดิ เปน ๖๖.๐๒% ของรายไดจ ากการดําเนนิ งาน ซ่งึ ลดลงรอยละ ๒.๒๐ เม่ือเปรยี บเทียบกับปงบประมาณ ๒๕๖๑ พบวารายไดจากการชวยเหลอื อดุ หนนุ และบริจาค จํานวน ๒๕.๑๖ ลานบาท ลดลงรอยละ ๖.๙๒ สวนรายไดจากการดําเนินงานอื่น ๒.๕๖ ลานบาท เพิ่มข้ึนรอยละ ๓๕.๐๘ เนื่องจาก รายไดจ ากการดาํ เนนิ งานอน่ื เปน รายไดท่มี าจากการรวมบอกรบั ฐานขอ มูลของคณะวิศวกรรมศาสตรและสาํ นกั หอสมุด กําแพงแสน และรายไดจากการใชบริการจา งเหมารว มกันของศูนยนานาชาตสิ ริ นิ ธรเพ่อื การวิจัย พัฒนา และถายทอด เทคโนโลยี ๒๔

ตารางแสดงผลการดาํ เนินงานงบประมาณเงนิ รายได (คาใชจา ยจากการดาํ เนินงาน) สาํ นักหอสมุด มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร ปง บประมาณ ๒๕๖๒ หนวย: ลา นบาท ปงบประมาณ การ คา ใชจ า ยจากการดาํ เนินงาน ๒๕๖๑ ๒๕๖๒ เปลี่ยนแปลง สัดสว นตอคาใชจา ย (รอ ยละ) ดาํ เนนิ งานทัง้ หมด (๑) (๒) (๓) (๔) คา ใชจ า ยบุคลากร ๗.๓๑ ๗.๙๙ ๙.๒๙ ๑๐.๕๔ คา ใชจา ยดานการฝกอบรม ๐.๒๑ ๐.๔๘ ๑๓๒.๖๑ ๐.๖๔ คา ใชจายเดนิ ทาง ๐.๔๙ ๐.๗๐ ๔๔.๑๘ ๐.๙๓ คาตอบแทน ใชสอยวสั ดุและสาธารณปู โภค ๕๕.๓๖ ๕๘.๕๙ ๕.๘๓ ๗๗.๓๖ คา เส่อื มราคาและคาตดั จาํ หนา ย ๖.๖๘ ๖.๔๒ -๓.๙๓ ๘.๔๘ คาใชจ า ยเงนิ อุดหนุน ๑.๑๔ ๑.๕๕ ๓๖.๕๔ ๒.๐๕ รวมคา ใชจ ายดาํ เนนิ งาน ๗๑.๑๘ ๗๕.๗๓ ๖.๓๙ ๑๐๐.๐๐ รายไดสงู (ตํา่ ) กวา คาใชจ ายจากการดําเนินงาน ๑๔.๓๐ ๗.๓๕ -๔๘.๖๒ แหลง ขอ มลู : งบแสดงผลการดาํ เนินงานเปรยี บเทยี บสาํ นกั หอสมุด จากระบบบัญชีสามมติ ขิ องมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร เมื่อเปรียบเทียบกับปงบประมาณ ๒๕๖๑ จะพบวาดานคาใชจาย สํานักหอสมุดมีคาใชจายดําเนินงานรวม ๗๕.๗๓ ลา นบาท เพ่มิ ขน้ึ จากคา ใชจายดําเนนิ งาน จาํ นวน ๗๑.๑๘ ลา นบาท คิดเปนรอ ยละ ๖.๓๙ คาใชจายหลักประกอบดวย คาตอบแทน ใชสอยวัสดุและสาธารณูปโภคจํานวน ๕๘.๕๙ ลานบาท คิดเปน รอ ยละ ๗๗.๓๖ ของคา ใชจา ยดาํ เนนิ งานท้ังหมด เพิม่ ขน้ึ รอ ยละ ๕.๘๓ คาใชจายบุคลากรจํานวน ๗.๙๙ ลานบาท คิดเปนรอยละ ๑๐.๕๔ ของคาใชจายดําเนินงานท้ังหมด เพิ่มข้ึน รอ ยละ ๙.๒๙ และคาใชจ า ยเงนิ อุดหนนุ จํานวน ๑.๕๕ ลา นบาท คดิ เปน รอ ยละ ๒.๐๕ ของคา ใชจา ยดําเนินงานทั้งหมด เพิ่มข้ึนรอ ยละ ๓๖.๕๔ ดังนั้นจะเห็นวา รายไดสทุ ธขิ องงบประมาณ ๒๕๖๒ ลดลงจากงบประมาณ ๒๕๖๑ รอยละ ๔๘.๖๒ เน่ืองจาก รายไดสุทธิจากการดําเนินงานของปงบประมาณ ๒๕๖๒ ลดลงรอยละ ๒.๘๑ แตรายจายจากการดําเนินงานเพิ่มขึ้น รอ ยละ ๖.๓๙ ๒๕

• การบริหารทรัพยากรบุคคล สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดกําหนดสมรรถนะหลัก ๗ ดาน เพ่ือใชในการพัฒนาขีด ความสามารถของบุคลากรสาํ นกั หอสมุด ดังน้ี ๑. ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒. ดา นการสืบคนสารสนเทศ ๓. ดา นการ ใชภาษาอังกฤษ ๔. ดานการใหบริการ ๕. ดานการจัดการพลังงานและส่ิงแวดลอมที่ย่ังยืน ๖. ดานการบริหาร และ ๗. ดา นวชิ าชพี เฉพาะตาํ แหนง โดยในรอบปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ บคุ ลากรสาํ นกั หอสมดุ ๑๑๖ คนไดรับการพัฒนาสมรรถนะหลัก ๗ ดา น สรปุ ได ดงั น้ี สมรรถนะหลัก จํานวนทไี่ ดร ับ คิดเปนรอยละ การพัฒนา ของบุคลากรท้งั หมด (คน) ๑. ดานเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๑๐๗ ๙๒.๒๔ ๒. ดา นการสบื คน สารสนเทศ ๗ ๖.๐๓ ๓. ดานการใชภ าษาอังกฤษ ๓๐ ๒๕.๘๖ ๔. ดานการใหบริการ/จัดการ ๑๑๑ ๙๕.๖๙ ๕. ดา นการจัดการพลังงานและสง่ิ แวดลอ มทย่ี ัง่ ยืน ๑๑๔ ๙๘.๒๘ ๖. ดานการบรหิ าร ๓ ๒.๕๙ ๗. ดา นวชิ าชพี เฉพาะตําแหนง ๗๐ ๖๐.๓๔ การนําเสนอผลงานของบคุ ลากร บุคลากรสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดมีการนําเสนอผลงานทางวิชาการทง้ั ในระดับชาติและ ระดับองคกร ระหวา งวันที่ ๑ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ถงึ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ซงึ่ เปนการเผยแพรอ งคค วามรทู ีเ่ ปน ประโยชน สูส าธารณะ เปน การสรางชอ่ี เสยี งใหแ กองคกร และสอดคลองกบั ยทุ ธศาสตรข องสํานกั หอสมดุ ในเร่ืองการบริหารจดั การ องคกรสูความเปนเลิศ ในกลยุทธดานการพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความสามารถและทักษะในการทํางาน โดยมี ผลงานวิชาการท่ีไดรับการพจิ ารณาใหไ ปรว มนําเสนอจาํ นวนทัง้ สิน้ ๑๐ เร่ือง ซึ่งมีผลงานทีไ่ ดรบั มอบรางวัล จํานวน ๔ เรือ่ ง รายละเอยี ดดังน้ี ๑. การนาํ เสนอผลงานทางวิชาการระดับองคกร ในโครงการางวลั คุณภาพ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ครงั้ ที่ ๑๒ ประจาํ ป ๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ จํานวน ๑ เร่ือง ไดแ ก ๒๖

ระดับรางวลั ประเภทการ ผูนําเสนอ เรือ่ ง ดี นําเสนอผลงาน เครือขายความรวมมือหองสมุดดานประกัน บรรยาย น.ส.ธนาภรณ ฉิมแพ คณุ ภาพการศึกษา ๒. การนาํ เสนอผลงานทางวิชาการระดบั ชาติ PULINET (ขา ยงานหองสมดุ มหาวทิ ยาลยั สว นภมู ภิ าค) ครงั้ ที่ ๙ เมือ่ วันที่ ๙-๑๐ มกราคม ๒๕๖๒ จาํ นวน ๙ เร่อื ง ไดแก ระดับรางวัล ประเภทการ ผนู าํ เสนอ เรือ่ ง นาํ เสนอผลงาน ดเี ดน โปสเตอร อภยิ ศ เหรยี ญวิพฒั น การวิเคราะหขอมูลและการนําเสนอขอมูล เชิงภาพ เพื่อประยุกตใชกับการแสดงขอ มูล สถติ ขิ องสํานักหอสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ดี บรรยาย น.ส. ถริ นนั ท ดาํ รงคสอน หองสมุดเพ่ือเกษตรกรไทย: ระบบบริการ นางอารีย ธญั กจิ จานุกจิ ความรูเพื่อเกษตรกรยคุ ใหม ดี บรรยาย น.ส.สุราภรณ คงผล แนวทางการจัดการความรูเพื่อพัฒนาคลัง นางอารยี  ธัญกจิ จานกุ จิ ความรดู ิจิทลั มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร - บรรยาย นายเฉลิมเดช เทศเรียน การจัดการความรูเพื่อพัฒนาวารสาร วิชาการ น.ส.กาญจนา อนุพนั ธุ ของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร - บรรยาย น.ส.สพุ รรณี หงษท อง “กรู เู กษตรศาสตร” บรกิ ารตอบคาํ ถามดา น นางอารีย ธัญกจิ จานกุ จิ การเกษตรในยคุ Thailand ๔.๐ - บรรยาย น.ส.ธนาภรณ ฉมิ แพ การบริหารโครงการดวยระบบปฏทิ นิ นายประจักษ สขุ อราม กจิ กรรมแบบเบด็ เสร็จ น.ส.จารวุ รรณ มีศลี - บรรยาย น.ส.ศสญิ า แกว นุย แชรอ งคค วามรู สแู รงบนั ดาลใจ : KULIB นายอภยิ ศ เหรียญวิพฒั น Talk by Knowledge Partner นายสงิ หท อง ครองพงษ ๒๗

ระดับรางวัล ประเภทการ ผูน ําเสนอ เร่ือง - นาํ เสนอผลงาน ตัวบงชี้ PULINET สูแนวปฏิบัติที่ดีของ โปสเตอร น.ส.ธนาภรณ ฉิมแพ เครือขายความรวมมือหองสมุดดานประกัน คณุ ภาพการศึกษา - โปสเตอร น.ส.วาทินี เขมากโรทัย ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม รู ใ น สํ า นั ก ห อ ส มุ ด นายธนวิตร พัฒนะ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร บุคคลากรดีเดน สํานักหอสมุด ไดมีการคัดเลือกบุคลากรดีเดน สายสนับสนุนและชวยวิชาการ ของสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ประจําป ๒๕๖๑ เพ่ือสงเสรมิ และยกยองบุคลากรสายสนับสนุนและชวยวิชาการ ผูมีความ ประพฤติและปฏบิ ตั ิตนเปน แบบอยางทดี่ ีในการครองตน ครองคน ครองงาน และมผี ลการปฏิบตั งิ านดเี ดน ดังน้ี - พนักงานมหาวทิ ยาลัย กลมุ วชิ าชีพ ไดแก นางสาวศศนิ พร นาคเกษม นกั วิชาการคอมพิวเตอรชํานาญการ กลมุ อาํ นวยการ ไดแก นางรสั รินทร นิศาธรรมพัฒน บรรณารักษช าํ นาญการ กลุมบรกิ าร ไดแก นางสาวนภาพร คลายมณี ผปู ฏบิ ัตงิ านหอ งสมุดชาํ นาญงาน - พนกั งานมหาวทิ ยาลยั เงินรายได กลมุ อํานวยการ ไดแ ก นางสาวหทยั รตั น ศรีสุภะ นกั ประชาสัมพนั ธ กลมุ บรกิ าร ไดแก นางสาวนริศรา คงขํา ผปู ฏิบตั งิ านบรหิ าร สาํ นกั หอสมดุ ไดพจิ ารณาเสนอรายชอ่ื บคุ ลากรเขารบั การคัดเลอื กบคุ ลากรดีเดน สายสนบั สนุนและชว ยวิชาการ ประจําป ๒๕๖๑ ตามโครงการคัดเลอื กบคุ ลากรดเี ดนสายสนับสนุนและชวยวิชาการ ของมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ประจําป ๒๕๖๑ คณะกรรมการคัดเลือกบุคลากรดีเดนสายสนับสนนุ และชวยวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ได ดําเนินการพิจารณาคัดเลือกบุคลากรดีเดนสายสนับสนุนและชวยวิชาการ ประจําป ๒๕๖๑ ท่ีเปนบุคลากรของ สาํ นักหอสมุดเปนบคุ ลากรดเี ดน สายสนบั สนุนและชว ยวิชาการ ประจําป ๒๕๖๑ ดงั นี้ พนักงานมหาวิทยาลัย กลุมบริการ ไดแก นางสาวนภาพร คลายมณี ผูปฏิบัติงานหอ งสมดุ ชํานาญงาน และ พนกั งานมหาวทิ ยาลยั เงนิ รายได กลุมบริการ ไดแ ก นางสาวนรศิ รา คงขาํ ผปู ฏิบัติงานบริหาร ๒๘

• การบรหิ ารงานอาคารและสถานท่ี การปรบั ปรงุ พนื้ ที่ ชนั้ ๒ อาคารเทพรตั นวิทยาโชติ เปน Co-Working Space ตามแผนการดําเนินงานประจาํ ปง บประมาณ ๒๕๖๒ ของฝายบรกิ าร ไดกําหนดจัดทําโครงการปรบั ปรุงพ้ืนท่ี เพ่ือการแลกเปลี่ยนเรียนรู โดยเสนอขอปรับปรุงพ้ืนท่ีใหบริการ Video on Demand บริเวณช้ัน ๒ อาคารเทพรัตน วิทยาโชติ เน่ืองจากมีสถิติการใชบริการท่ีนอยลงในปจจุบัน จึงดําเนินการปรับเปลี่ยนใหเปนพื้นท่ีแหงการเรียนรูใน รูปแบบ Co-Working Space เพื่ออํานวยความสะดวกและสนองตอบความตองการของผูใชบริการในการใชพ้ืนที่ รูปแบบใหม เพ่อื ใหผ ูใชบ ริการมพี ื้นทใี่ นการแลกเปล่ยี นเรยี นรเู พิ่มมากขน้ึ อีกทง้ั เปน การใชพืน้ ที่บรกิ ารในหองสมุดใหเ กดิ ประโยชนสงู สุด ภาพกอ นการปรบั ปรงุ ๒๙

ภาพการออกแบบปรบั ปรงุ พนื้ ที่ โครงการปรบั ปรงุ หอ งนิทรรศการเยน็ ศริ ะเพราะพระบรบิ าล หอจดหมายเหตุไดดําเนินการปรับปรุงหองนิทรรศการเย็นศิระเพราะพระบริบาล ณ อาคารหอประวัติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ระหวางวันท่ี ๒ มกราคม ๒๕๖๒ ถึงวันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือ ปรับปรุงหอ งนทิ รรศการใหม ีขอมลู ทถี่ กู ตอ ง เปน ปจ จบุ นั โดยนาํ เทคโนโลยี QR Code เขา มาใชเพื่อสามารถรับชมผาน ส่ือออนไลนได และเพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัว เน่ืองในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รวมท้ังแสดงใหเห็นถึงพระมหากรณุ าธิคุณท่ีทรงมีตอมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตรนับตั้งแตทรงพระเยาวจนถึงปจ จบุ ัน โดยมีคาเฉล่ยี ความพึงพอใจของผเู ขา ชมนิทรรศการหลงั จากปรบั ปรงุ เรยี บรอ ยแลว เปน เวลา ๑ เดือน อยทู ี่ระดบั ดีมาก ท่ี คา เฉลย่ี ๔.๖๖ ๓๐

การปรบั ปรงุ พน้ื ทที่ างเดนิ เพือ่ สขุ ภาพรอบอาคารสาํ นักหอสมุด การดําเนินโครงการสอดคลอง ยุทธศาสตรท่ี ๓ การบริหารจัดการองคกรแนวใหมสูองคกรเปนเลิศ กลยุทธที่ ๓.๓ สรางความสุขและความผกู พันในองคก ร โดยเร่มิ ตน การสาํ รวจพน้ื ที่ทจี่ ะทําทางออกกาํ ลังกายเพอื่ ปรบั ปรุงภมู ทิ ศั น รอบอาคารเทพรตั นวิทยาโชติ และ อาคารชวงเกษตรศิลปการ โดยจัดทําสวนหยอมเปน สวนแนวต้ัง ดวยตนไมปลอม และสวนหยอ มตนไมจรงิ และ สวนหิน จํานวน ๒ จุด ตกแตงรอบบริเวณทางรา นขายกาแฟ RINO ทําประชาสมั พนั ธ ทางเดนิ วง่ิ ดว ยสัญลกั ษณก ารต นู KUBOY ชักชวนใหบุคลากรของสาํ นกั หอสมุดใสใจตอ สุขภาพ และออกกําลงั กายดวย การเดิน หรอื วิ่ง ดวยตวั KUBOY ในทา ทางการออกกําลงั กาย จํานวน ๖ ตวั ปายโปสเตอร สตกิ เกอรต ดิ กระจก ชักชวน เดินออกกาํ ลงั กายรอบอาคาร ติดกระจกสองดาน วาดภาพสัญลักษณรองเทา KUBOY สัญลักษณของเสนทางการเดิน วิ่ง เสนประ ภาพเชิญชวน ณ พ้ืนเสนทาง (ภาพ KUBOY ข่ีเตา) เพื่อส่ือความหมายวา ว่ิงชาๆ แตวิ่งใหนาน วาดและ ระบายสตี วั อักษรภาษาอังกฤษตามเสน ทางเดิน และปลกู ตนไม รอบบริเวณอาคาร รวมทั้งดูแลบํารงุ รักษาตนไมทป่ี ลูก และทําพิธเี ปด เสน ทางเดิน วิ่ง ในวนั ที่ ๑๔ กุมภาพนั ธ พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยทา นรกั ษาการอธกิ ารบดี ดร.จงรกั วัชรินทรรตั น เปน ประธานในการเปด เสน ทางเดนิ วิง่ ๓๑

• การบรหิ ารทรัพยส ินและสิทธปิ ระโยชน ในรอบปท่ีผา นมา สํานักหอสมุดไดม ีการใหเ ชาพื้นทข่ี องสํานักหอสมุด เพื่อเพ่ิมการใหบริการแกนิสิต อาจารย บุคลากรและผูใชบริการเพิ่มข้ึน และเปนการเพ่ิมใชประโยชนจากพื่นท่ีของสํานักหอสมุดและกอเกิดรายไดเพ่ิมขึ้น เพ่ือนํารายไดม าพัฒนาและปรับปรงุ การใหบรกิ ารที่ดยี ง่ิ ขน้ึ ดังน้ี รานกาแฟไรทโน ใหบริการจําหนายอาหารวางและเครื่องด่ืม บริเวณซุมไมเลื้อยหองสมุดในสวน มีรานถาย เอกสาร ๔ จุดทั้งสองอาคาร คืออาคารชว งเกษตรศลิ ปการและอาคารเทพรตั นวิทยาโชติ เพื่อใหบ ริการถา ยเอกสารและ บริการอื่นเก่ียวกับการเรียนการสอน มีเคร่ืองพิมพอัตโนมัติ Double A และจัดใหมีตูจําหนายเคร่ืองดื่มอัตโนมัติ นมดัชมิลลแ ละตจู าํ หนา ยเคร่อื งด่มื อัตโนมัติ นมแลคตาซอย ณ บริเวณลานอเนกประสงค ๓๒

การพัฒนาและปรับปรุงดานกายภาพ ในรอบปทผี่ า นมา สํานกั หอสมดุ ไดม กี ารพฒั นาและปรับปรงุ ดา นกายภาพ อาคารและสถานท่ใี หม คี วามพรอม ในการใหบ รกิ ารท่ีดี รวมทงั้ สนิ้ เปนเงินจาํ นวน ๑,๐๒๘,๓๕๖.๖๗ บาท ดงั น้ี รายการ จาํ นวนเงิน (บาท) จา งเหมาซอมแซมสฐี านเครอ่ื งทํานา้ํ เยน็ จํานวน ๓ เครอื่ ง ๖,๖๓๔.๐๐ ช้นั ดาดฟา อาคารเทพรัตนวิทยาโชติ จางเหมาเปล่ียนลูกลอยบอ นา้ํ ฝนและบอบําบดั ๓๙,๕๙๐.๐๐ ๑๗,๗๑๙.๒๐ จางเหมาเติมน้าํ ยาชลิ เลอรอ าคารเทพรัตนวทิ ยาโชติ ๙,๓๐๙.๐๐ ซอ มแซมทอนา้ํ แอรรว่ั หอ งเธยี รเตอรช ้ัน ๒ อาคารเทพรตั นว ิทยาโชติ ๓๓๒,๔๑๗.๙๗ ๓,๐๓๑.๐๐ จา งเหมาซอมแซมกนั ซมึ ช้นั ดาดฟา อาคารสํานักหอสมุด ๑๑,๕๕๖.๐๐ เปลย่ี นไสก รองเคร่อื งกรองน้าํ ๑๖,๐๕๐.๐๐ จางเหมาซอ มแซมเปลยี่ นโชคฝง พ้ืนประตูทางเขา โซนพ้ืนท่นี ั่งอา น ชั้น ๔ ๔๘,๐๒๑.๖๐ อาคารเทพรตั นว ทิ ยาโชติ ๗๕,๔๙๙.๒๐ นาํ้ ยาเคร่ืองปรบั อากาศ (สําหรับเติมชิลเลอ ร อาคารเทพรตั นว ิทยาโชต)ิ ๑๑,๒๘๘.๕๐ ไฟฉกุ เฉิน จาํ นวน ๑๗ ชุด ๓๗,๔๐๗.๒๐ จา งเหมาซอ มแซมปมนาํ้ สําหรบั Chiller อาคารเพทรตั นวิทยาโชติ ๕๔,๐๐๐.๐๐ ๑๕๗,๒๙๐.๐๐ จางเหมาซอมแซมฝา เพดานและซอมแซมรอยราวอาคารหอประวัติ ๒๐๘,๕๔๓.๐๐ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร จา งเหมาทาสรี ้ัว อาคารหอประวตั ิ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร จา งเหมาตดั ตน ไมบริเวณรอบอาคารสาํ นกั หอสมุด จา งเหมาสูบสิ่งปฏกิ ลู บอบาํ บดั นํา้ เสยี อาคารสาํ นกั หอสมุด จางเหมาเปลีย่ นปม เติมอากาศ ๓๓

• การบริหารงานคณุ ภาพ สํานักหอสมุด หนวยงานนํารองในการดําเนินงานตามเกณฑ Education Criteria for Performance Excellence หรือ“เกณฑค ณุ ภาพการศกึ ษาเพือ่ การดําเนินการท่เี ปน เลศิ ” ซึง่ เปนแนวทางการประกันคุณภาพการศกึ ษา ภายใน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร ปการศึกษา ๒๕๖๑ เพ่ือใหการบริหารจดั การดานประกันคุณภาพสูความเปนเลศิ สอดคลองตามเกณฑ และยกระดับงานประกันคุณภาพที่เปนไปตามวิสัยทัศนและแนวทางการบริหารงานของ สํานกั หอสมดุ โดยไดร บั เกียรตจิ ากผูทรงคณุ วฒุ ิภายนอก คือ - ผูชวยศาสตราจารยศจี ศริ ิไกร อาจารยป ระจําสาขาวชิ าบรหิ ารการปฏบิ ัติการ คณะพาณิชยศาสตรและ การบัญชี มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร และท่ีปรึกษาภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร จาํ นวน ๒ ทาน คอื ๑. ผชู วยศาสตราจารยธีราพร อนันตะเศรษฐกลู อาจารยป ระจาํ ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร ๒. ผูชวยศาสตราจารยพจนา สีมันตร อาจารยประจําภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร กําแพงแสน วิทยาเขตกําแพงแสน เพือ่ ใหคําปรกึ ษาในการดําเนนิ งานตามหลักการบรหิ ารงานคุณภาพ ๓๔

• การบรหิ ารความเสย่ี งและการควบคมุ ภายใน สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ไดมีการจัดทําแผนการบริหารความเส่ียง ประจําป ๒๕๖๒ โดย พิจารณาจากยุทธศาสตร ที่ ๓ การบริหารจัดการองคก รแนวใหมส อู งคกรเปนเลิศ ที่มเี ปาหมาย เพอ่ื เสริมสรางศักยภาพ องคก รและบุคลากรใหสามารถทํางานท่ีตอบสนองตอ การเปลีย่ นแปลงทุกดา น ความเสย่ี งท่ยี งั เหลืออยู ไดแ ก ๑. โครงสรางองคกรไมสอดรับกับการเปล่ียนแปลง สํานักหอสมุดไดดําเนินการจัดการความเสี่ยง คือ ทําให บุคลากรที่รับผิดชอบมีความรูความสามารถในเร่ืองการวิเคราะหโครงสรางองคกร สํานกั หอสมุด และมี แนวทางในการปรับโครงสรางองคกรใหสอดรับกับสถานการณปจจุบัน โดยไดมีการสงผูบริหารและ เจาหนาท่ีผูรับผิดชอบ จํานวน ๔ คน ไดแก ผูอํานวยการสํานักหอสมุด รองผูอํานวยการดานทรัพยากร บุคคลและส่อื สารองคกร หวั หนาสํานักงานเลขานุการ และนกั ทรพั ยากรบุคคล เขารับการอบรมหลักสูตร การออกแบบโครงสรางองคก าร เมือ่ วันท่ี ๑๓ มนี าคม ๒๕๖๒ และอยูระหวา งดําเนนิ การประสานงานกบั กองแผนงาน สํานกั งานอธิการบดี ในการปรับโครงสรา งสาํ นกั หอสมุด ๒. ไมมีการวิเคราะหภาระงานและสมรรถนะที่สอดคลองกับสภาพแวดลอม สํานักหอสมุดไดดําเนินการ จัดการความเส่ียง คือ ศึกษาขอมูลการกําหนดสมรรถนะเฉพาะตําแหนงในหองสมุดของหนวยงานที่มี บริบทใกลเคียงกับสํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยกําหนดสมรรถนะเฉพาะตําแหนง ใน ตาํ แหนงหลกั ของสํานกั หอสมุด ไดแก ตําแหนง บรรณารกั ษ ตาํ แหนงนกั เอกสารสนเทศ และตาํ แหนง นัก จดหมายเหตุ ๓๕

• การประชาสมั พนั ธ การออกบูธเพ่ือประชาสมั พนั ธบริการ ทรพั ยากรสารสนเทศ และชอ งทางการรบั ขา วสารจากสํานกั หอสมุด งานสมั มนาอาจารย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร งานอบรมการใชงานระบบไอทีสิส สําหรับนิสิตกลมุ วันท่ี 26 มิถุนายน 2562 ในหัวขอ \"Digital วทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี ประจําป 2561 Education and Learning for the Future\" จั ด บู ธ เพื่อใหนิสิตท่ีเขารวมโครงการอบรมการทํา ประชาสัมพันธบริการและขาวสารของสํานักหอสมุด วิทยานิพนธผานระบบ iThesis ไดรับทราบขอมูล แ ล ะ ป ร ะ ชา สั ม พั น ธ ช อ ง ท า ง ก า ร ส่ือ ส า รของ เกี่ยวกับวิธีการสืบคนทรัพยากรสารสนเทศที่ สาํ นกั หอสมุด สํานักหอสมดุ ใหบ ริการ รวมทง้ั เครื่องมือสนบั สนุนการ ทําวิจยั และบริการอ่นื ๆ งานสมั มนาโครงการพฒั นาศกั ยภาพอาจารยเ พ่อื เขา สูตําแหนง ทางวิชาการ วันที่ 4 เมษายน 2562 สํานักหอสมุดจงึ ขอความ อนุเคราะหพ้ืนที่สําหรับจัดบูธ ประชาสัมพันธบริการ ตาง ๆ ของสํานักหอสมุด รวมท้ังนําเสนอขอมลู ทเ่ี ปน ประโยชนภ ายในหอ งสมั มนา ๓๖

การสื่อสารองคกร การสือ่ สารกลุมผูมสี ว นไดสวนเสีย และผใู ชบ รกิ าร ๑. จดหมายขาวสําหรบั ผูบรหิ ารมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ๒. จดหมายขาวอิเล็กทรอนิกสสําหรับอาจารย นักวิจัยและนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาผานระบบ Email Marketing ของ Mailchimp.com ๓. จดั ทําชองทางการประชาสมั พันธ Facebook Fan Page : สํานกั หอสมุด มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร - จํานวนรวมผูตดิ ตามเพจ : ๑๙,๑๔๓ - จํานวนรวมการถกู ใจเพจ : ๑๘,๘๘๒ ๔. การประชาสัมพันธภายในถึงกลุม บคุ ลากรของสาํ นกั หอสมุด จัดทําสื่อประชาสัมพันธที่รวมรวมขาวสารภายในติดภายในหองนํ้าของ บคุ ลากร รวมท้งั สิน้ ๓๒ จุด โดยในระยะแรกจดั ทําสือ่ ประชาสมั พันธเ ดอื นละ 1-2 ครั้ง และตอมาไดป รับเปน เดือนละ ๓ - ๔ ครัง้ ๓๗

๕. กจิ กรรมลูกคา สมั พนั ธ โครงการ Open House รวมกบั องคก ารบริหาร โครงการ Open House @ KU Library องคการนสิ ิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โครงการเลือกแนวทางวางอนาคต ๓๘

• ความรว มมอื ความรวมมือกับหนวยงานตางประเทศ ในปง บประมาณ ๒๕๖๒ สาํ นกั หอสมุดมคี วามรว มมอื กบั หนว ยงานตางประเทศ ๒ หนวยงาน ไดแ ก ๑. The Center for People and Forests (RECOFTC) เปนความรวมมือดานทรัพยากรหองสมุดและการ ใหบ รกิ าร โดยลงนามเมอ่ื วนั ที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๖๒ ณ หองประชมุ ๙ ชัน้ ๒ อาคารสารนิเทศ ๕๐ ป ๒. Shanghai Jiao Tong University Library (SJTU Library) เปนความรวมมอื ดานการแลกเปลย่ี นบคุ ลากร โดยมีการลงนามเมือ่ วันท่ี ๑๕ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ ณ หองประชมุ SJTU Library สาธารณรัฐประชาชนจีน กจิ กรรมความรวมมอื ทางวิชาการระหวา งสาํ นกั หอสมุด มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร และ SJTU Library ไดแ ก การที่สํานักหอสมุดเชิญ Dr. CHEN Jin, Director, SJTU Library มาเปนวิทยากรใหความรูหัวขอ “Electronic Resource/Database Selection Principle and API” เม่ือวันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ และเชิญเปนวิทยากรใน โครงการสัมมนาทางวิชาการประจําป หัวขอ “Data Science: Data Analytics ในการบริหารหองสมุดในศตวรรษที่ ๒๑” เม่อื วนั ที่ ๑๕ กุมภาพนั ธ ๒๕๖๒ ณ หองประชุมใหญ ชนั้ ๕ อาคารเทพรัตนวิทยาโชติ สาํ นกั หอสมุด ๓๙

ความรวมมอื หอ งสมดุ ดานประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา เมือ่ วนั ที่ ๒๘ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร ไดพ ิธีลงนามเครือขา ยความรวมมือหอ งสมุด เครือขายดานประกันคุณภาพการศึกษา รอบปที่ ๖ ข้ึน ขอตกลงความรวมมอื ของเครอื ขายความรว มมอื หอ งสมดุ ดา น ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระหวา งหองสมดุ ดว ยเจตนารมณค วามรวมมือของหอ งสมุดทกุ แหงไดเ หน็ ชอบรว มกนั ทีจ่ ะทาํ ขอ ตกลงเครือขา ยความรวมมือเครือขายหองสมดุ ดานประกนั คุณภาพการศึกษา โดยมรี ะยะเวลาความรวมมือ ๑ ป เรม่ิ ตง้ั แตวันที่ ๒๘ กนั ยายน พ.ศ. ๒๕๖๑ ถึงวนั ท่ี ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึง่ มีรายละเอยี ดดังตอ ไปน้ี • หองสมุดทกุ แหง รวมมือเปน เครือขายความรว มมือดานประกนั คุณภาพ เพ่ือยกระดับคุณภาพการบรหิ าร จัดการของหองสมดุ • หองสมดุ ทกุ แหงจะรวมมอื กันจดั กิจกรรมและเผยแพรข อ มูลขาวสารเพื่อสง เสรมิ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู • หองสมุดทุกแหงจะติดตามประเมินผลการสรา งเครือขาย เพื่อนําไปสูการพัฒนาการทํางานรวมกันอยา ง ตอ เน่อื ง • ดําเนนิ กิจกรรมอน่ื ๆ ท่จี ะสงเสรมิ และสนบั สนนุ ความรว มมือดา นประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งกนั และกนั ผลสมั ฤทธ์ิการทํางานรว มกนั ประกอบดวย - กรณีศึกษาการประเมินความพึงพอใจของผูรับบริการ คณะทํางานไดรวมกันจัดทําแบบประเมินความ พงึ พอใจของผูรับการบริการตอ การใหบ รกิ ารตา ง ๆ ของหอ งสมดุ ตามแนวทางที่ตกลงไวรวมกัน - การวเิ คราะหข อมลู ตามตวั บงชี้ทต่ี กลงรว มกนั ภายใตเ ครือขา ยความรวมมอื หอ งสมดุ ดานประกนั คุณภาพ การศึกษา (ตามบริบทหนว ยงาน) - การเขาใชหองสมุดรวมกัน เพื่อเปดโอกาสใหนักศึกษา อาจารย นักวิจัยและบุคลากรของทุกสถาบัน สามารถเขาใชหองสมุดรว มกนั เพ่อื ประโยชนใ นดานการศกึ ษา คน ควาและวิจัย - กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรูรวมกัน สง เสรมิ และสนบั สนุนซ่ึงกันและกนั ๔๐

ความรว มมือกับขายงาน PULINET PULINET หรือ Provincial University Library Network คือขายงานหองสมุดมหาวิทยาลยั สว นภูมิภาค ท่ีมี บทบาทสําคัญในการสรางความรวมมอื เครอื ขายระหวา งหอ งสมุดในสว นภมู ิภาค และสนบั สนนุ พันธกจิ ของมหาวิทยาลยั ในขา ยงานใหมคี ณุ ภาพสงู สุด ในป ๒๕๖๑ สํานักหอสมดุ ไดเ ขา รว มอยางไมเปน ทางการเพอื่ จดั ซ้อื รว มกนั กบั กลมุ PULINET โดย บริษัท Gale ไดเสนอเง่ือนไข มหาวทิ ยาลยั ทีอ่ ยูในกลมุ จดั ซ้อื รว มกนั หากสถาบันใดสัง่ ซือ้ รายการหนงั สอื eBook ท่ีผลติ ขนึ้ โดย สนพ. Gale (Imprint) สถาบนั ในกลุม กจ็ ะไดร บั สทิ ธ์ขิ าดการใชง านเลม นน้ั เสมอื นวา ไดม ีการส่ังซอ้ื ดวยเชน กัน จะไดอ า นและ เปนเจาของดวย PULINET Gale eBooks การเขารวมภาคีนี้ ไมมีภาระผูกพัน เปนการเขารวมในแตละปเทาน้ัน งบประมาณท่ใี ชใ นการเขารว ม มไิ ดเปน การจา ยเปลา (Subscription) แตอยา งใด โดยยงั คงเปนการคัดเลอื ก และสงั่ ซ้อื รายการหนงั สือ eBook ในรูปแบบซื้อขสดตามที่ไดระบุรายการลงในใบเสนอราคา การใชงาน เปนรูปแบบการใชงาน แ บ บ Unlimited user ร ว ม ทั้ ง ก า ร ด า ว น โ ห ล ด , ก า ร จั ด พิ ม พ , ก า ร ส ง เ นื้ อ ห า ไ ป ยั ง Cloud system (GoogleDrive/Microsoft Onedrive) ก็ไมมีการจํากัดจํานวนคร้ัง สามารถใชงานนอกเครือขายสถาบันได จากการ Login ดว ย Email ของสถาบัน สํานักหอสมุดไดใหอาจารยค ัดเลอื กได ๑๒ รายการ และสามารถอานของมหาวิทยาลัย ในภาคที ่คี ดั เลอื กไวเชนกัน โดยมสี ถาบนั ทเ่ี ขา รวมในภาคีจาํ นวน ๙ สถาบนั ในป ค.ศ. ๒๐๑๙ ดังนี้ ๑. มหาวิทยาลยั เชียงใหม ๒. มหาวทิ ยาลัยแมโ จ ๓. มหาวทิ ยาลัยบูรพา ๔. มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช ๕. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ๖. มหาวทิ ยาลยั พะเยา ๗. มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ๘. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร สรุปความคุมคาสาํ หรับการเขารวมภาคี สถาบันตาง ๆ ใชงบประมาณท่ีไมส งู มากนัก แตสามารถมีทรัพยากร จากทางสํานักพิมพ Gale ไดอยางกาวกระโดด ซ่ึงจะมีสวนชวยเปนอยางมากในกรณีที่สถาบันเพิ่งเร่มิ เปลีย่ นรูปแบบ หองสมุดมาเปน e-Library เน่ืองจากเม่ือเขารวมจะมีจํานวน Content การันตีในปท่ีเขารวมทันที โดยมีหนังสือ eBooks จํานวน ๑,๘๐๐ รายการ พรอมกับวารสารสิ่งพิมพตอเนื่องออนไลน ประมาณจาํ นวน ๕,๐๐๐ รายการ และ ภาคีรูปแบบน้ีมีอายุปตอป ไมมีการผูกมัดใด ๆ ทุก ๆ บาท ที่ชําระมานั้น เปนการซ้ือรายการหนั้งสือ eBooks เขา หองสมุด มไิ ดเปนการเชาใชแ ตอ ยา งใด ๔๑

ความรวมมือระหวางหองสมดุ สถาบนั อดุ มศึกษา คณะทํางานฝา ยวเิ คราะหทรัพยากรสารสนเทศ หอ งสมุดสถาบันอดุ มศึกษา ในปก ารศกึ ษา ๒๕๖๑ สํานักหอสมดุ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร เขารวมเปน สมาชกิ คณะทํางานฝา ยวิเคราะห ทรัพยากรสารสนเทศ หอ งสมุดสถาบันอุดมศกึ ษา โดยมอบหมายบคุ ลากรรว มเปน คณะทาํ งาน ๒ คน คอื นางเพญ็ สุภา แกวพิทยาภรณ ตําแหนงบรรณารักษชาํ นาญการ และนายสมภพ หนูอน ตําแหนงบรรณารักษปฏบิ ัติการ รวมกบั ผแู ทน จากหองสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐจาํ นวน ๓๔ สถาบัน และผูแทนจากหอ งสมดุ มหาวิทยาลัยเอกชนจํานวน ๓ สถาบนั รวม ๓๗ สถาบนั รวมคณะทาํ งานทงั้ ส้ินจาํ นวน ๗๙ คน บทบาทและหนา ทคี่ วามรบั ผิดชอบ • กําหนดมาตรฐาน รูปแบบการวิเคราะหทรพั ยากรสารสนเทศหลกั เกณฑการลงรายการและรูปแบบทาง บรรณานกุ รมหัวเรื่องเปน มาตรฐานเดยี วกนั • พัฒนาฐานขอ มลู หวั เรื่องภาษาไทย โดยพัฒนาและปรบั ปรุง เพ่มิ เตมิ หวั เรื่องและเผยแพร • พัฒนาบุคลากร โดยการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการการฝกอบรมการศึกษาดูงานหองสมุด และการ แลกเปลีย่ นเรยี นรู ผลการดําเนนิ งานรอบปการศึกษา ๒๕๖๑ ๑. เขารวมการประชุมทัง้ สิน้ จํานวน ๕ คร้ัง ดังนี้ คร้งั ท่ี ๑ วนั ท่ี ๑๙ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๖๑ ณ สํานักงานวทิ ยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลัย คร้ังท่ี ๒ วันท่ี ๑๗ - ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ ศูนยเครือขายการเรียนรูเพื่อภูมิภาค จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย จังหวัดนาน คร้งั ท่ี ๓ วันท่ี ๒๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ สาํ นักงานวิทยทรพั ยากร จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั คร้ังที่ ๔ วนั ท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒ ณ สาํ นกั งานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย ครง้ั ท่ี ๕ วนั ที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๒ ณ สาํ นักงานวทิ ยทรัพยากร จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย โดยมีจํานวนหัวเรือ่ งท่ีผา นการพจิ ารณาจากคณะทํางานฝายวิเคราะหทรพั ยากรสารสนเทศฯ จํานวน ๒,๗๙๐ หวั เรื่อง และเปน หัวเร่ืองที่เสนอและตรวจสอบโดยสาํ นักหอสมดุ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร จํานวน ๑๙๒ หัวเรือ่ ง ๒. เขา รว มการแลกเปลี่ยนเรยี นรูใ นเร่ืองตางๆ ๒.๑ การแลกเปลี่ยนเรียนรู เรื่อง “รูปแบบ Metadata ในระบบ iThesisที่สอดรับกับ TDC” วิทยากรโดย นางเพญ็ แข ประจงใจ สาํ นกั หอสมุดกลาง มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ และนายวสันต สุขสทุ ธสิ าํ นักงานวทิ ยทรพั ยากร จุฬาลงกรณม หาวิทยาลัย ๔๒

๒.๒ การแลกเปลี่ยนเรียนรู เร่ือง “รูปแบบ Metadata ในระบบ iThesis ท่ีสอดรับกับ TDC” วิทยากรโดย นายอภิวัฒน แกว หะวงษ สํานกั งานวทิ ยทรพั ยากร จฬุ าลงกรณมหาวทิ ยาลัย ๒.๓ การแลกเปลีย่ นเรยี นรู เรื่อง “การจัดการระเบยี นทรพั ยากรท่จี ําหนายออก” วิทยากรโดย นางเพ็ญสุภา แกว พทิ ยาภรณ สํานักหอสมุด มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร ๒.๔ การแลกเปลี่ยนเรียนรู เร่ือง การลงรายการ “รายพระนามพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและพระบรม วงศานุวงศในรัชกาลท่ี ๑๐” วิทยากรโดย นางรุงฟา ฐิโณทัย บรรณารักษอาวุโส สํานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ๒.๕ การแลกเปลี่ยนเรียนรู ประสบการณงานวิเคราะหทรัพยากรสารสนเทศ /การเขารวมคณะทํางานฝาย วิเคราะหฯ จากรุน พ่ีผูเกษียณอายุโดยนางศุลีพร พนั ธุธนวบิ ลู ย สาํ นักหอสมดุ มหาวิทยาลัยขอนแกน ๓. เขารว มการศึกษาดูงาน ๓.๑ การศึกษาดูงาน ณ ศูนยเครือขายการเรียนรูเพ่ือภูมิภาค จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จังหวัดนาน ในการ ประชมุ คร้งั ท่ี ๒/๒๕๖๒ วนั ที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๒ ๓.๒ การศึกษาดูงาน ณ หองสมุดคณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ในการประชุมคร้งั ที่ ๑/๒๕๖๓ วันที่ ๘ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๒ คณะทํางานฝายพฒั นาทรพั ยากรสารนเิ ทศ หอ งสมุดสถาบันอุดมศึกษา สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เขารวมเปนสมาชิกคณะทํางานฝายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ หองสมุดสถาบันอุดมศึกษา โดยมี ๑. นางนาถศจี พันธุใย รับผิดชอบงานจัดหาหนังสือภาษาไทย ๒. นางวันเพ็ญ ปรีตะนนท รับผิดชอบงานจัดหาวารสารภาษาตางประเทศ ๓. นางสาวบุษจรีย สมศรี รับผิดชอบงานจัดหาฐานขอมูล สังกัดฝายจัดการทรัพยากรสารสนเทศ ปจจุบันมีหองสมุดท่ีเขารวมโครงการมีจํานวน ๒๖ แหง ในชวงระหวางเดือน สิงหาคม ๒๕๖๑-กรกฎาคม ๒๕๖๒ คณะทํางานฝายพัฒนาทรัพยากรสารนิเทศ หองสมุดสถาบันอุดมศึกษา มีการ ประชมุ ท้ังหมด ๓ ครั้ง ไดแ ก ๔๓

ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑ วันท่ี ๒๕ - ๒๖ ตุลาคม ๒๕๖๑ ณ สํานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มี วาระการประชุมเก่ยี วกับ ๑) การรายงานความคืบหนาเร่อื ง คูมือการจาํ หนา ยออกทรัพยากรสารสนเทศ ฉบับพิมพค รัง้ ใหม คือ ในวนั ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๑ มีการประชุมคณะทาํ งานกลุมยอย มีการเพิ่มเติมขอมลู ในสว นหลกั เกณฑการพจิ ารณาจําหนา ยออก เชน จํานวนฉบับ สภาพของทรัพยากรสารสนเทศ ระยะเวลาจัดเก็บ สถติ ิการใชงาน รวมถึงหลกั เกณฑก ารพจิ ารณาของ หนังสือประเภทตาง ๆ เชน หนังสือทั่วไป วารสารและหนังสือพิมพ สื่อโสตทัศนวัสดุ อีกท้ังมีการระบุขั้นตอนการ จําหนายออกแบบทั่วไป ซ่ึงอยูบนพ้ืนฐานของระเบียบพัสดุฯ สวนสุดทายจะเปนภาคผนวกท่ีรวบรวมแนวทางการ จําหนา ยออกหนังสอื จากหอ งสมุดมหาวิทยาลัยตาง ๆ ๒.) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรยี นรูเร่อื ง การเขาถึงขอ มลู ทรัพยากรสารสนเทศอิเล็กทรอนกิ สเ มอื่ ยกเลิกการบอกรบั สถาบันตาง ๆ ไดรวมกันอภิปราย ซ่ึงโดยสวนมากการปที่สามารถเขาถึงไดมักขึ้นอยูกับเงื่อนไขและขอตกลงของ สํานกั พิมพและสถาบนั ตาง ๆ คร้ังท่ี ๑/๒๕๖๒ วันที่ ๒๘-๒๙ มีนาคม ๒๕๖๒ ณ สํานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มีวาระการประชมุ เกย่ี วกับ ๑) กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู เร่ือง แนวโนมและการปรับตัวของบรรณารักษในยุคปจจุบัน สถาบันตาง ๆ ไดร วมกันอภิปราย ผลกระทบจากการปรบั ลดอตั รากาํ ลังของแตละมหาวทิ ยาลัย ปรบั ลดงบประมาณ ทาํ ใหบรรณารักษ ตอ งปรับตัว พัฒนาและเพมิ่ ศักยภาพของตนเองตามบาบาทหนา ที่ท่คี วรจะเปน ๒) การรายงานความคืบหนา เรื่อง คมู ือการจาํ หนายออกทรพั ยากรสารสนเทศ จากการประชุมกลมุ ยอ ย ในวันท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๖๒ โดยมี ๖ หัวขอ ประกอบดวย ความหมาย วัตถุประสงค ความสําคัญ ประโยชน หลักเกณฑการ จําหนายออก และตัวอยางเกณฑก ารจําหนายออกของแตละสถาบนั โดยใหแตละสถาบันปรับปรงุ และเพ่ิมเติมเนื้อหา ซงึ่ จะนาํ ขอ มูลดังกลา วเพ่อื ใหคณะทาํ งานกลุมยอ ย ปรบั ปรุงเนื้อหาใหเรยี บรอ ยภายในเดือน มถิ ุนายน ๒๕๖๒ ๓) การบรรยาย เร่ือง การทํางานของระบบ EDS (EBsco Discovery Service) และ Knowledge base ของ EBSCO วิทยากรบรรยายโดย นางสาวนนั ทรัตน นนทิวัฒนวณิชจาก EBSCO Information Service โดยทางบริษทั ขอ ความรว มมือใหแตล ะสถาบันปรบั ปรงุ แกไขขอมูลทรัพยากรสารสนเทศใน Knowledge base ของสถาบันตนเองใหเปน ปจ จุบัน เพอ่ื ประโยชนสาํ หรับความมอื ในสถาบันอดุ มศกึ ษา คร้ังท่ี ๒/๒๕๖๒ เม่ือวันที่ ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๖๒ ณ สํานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย มวี าระการประชุมเก่ียวกับ ๑) กิจกรรมแลกเปลย่ี นเรียนรู เร่ือง การเสียภาษีคาฐานขอมลู ใหก ับกรมสรรพากร กรณีศึกษา:สํานักงานวทิ ย ทรัพยากร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั บรรยายโดย คุณธนชั บุญจันทร ๔๔

๒ ) กิ จ ก ร ร ม แ ส ด ง มุ ทิ ต า จิ ต แ ด ค ณ ะ ทํ า ง า น ฯ ที่ เ ก ษี ย ณ อ า ยุ ไ ด แ ก คุ ณ น า ถ ศ จี พั น ธุ ใ ย (มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร) และ คณุ สุกาญจนา ทิพยเนตร (มหาวทิ ยาลัยขอนแกน ) เปน การบอกเลาประสบการณการ ทํางานจากพี่สูนอง ซง่ึ พ่ี ๆ ไดใหขอคิดไวด งั น้ี • การทาํ งานในปจจุบนั มกี ารเปล่ียนแปลงไปจากสมัยกอ น เทคโนโลยีสารสนเทศเขามามีบทบาทมากขน้ึ ตองเรียนรใู หเ ทา ทันดวยการศึกษาเพมิ่ เตมิ หรอื สอบถามจากผมู ีประสบการณ • ผูปฏิบัตงิ านควรมีมนษุ ยสัมพนั ธท ีด่ ีตอ ผอู ื่น และตดิ ตอประสานงานอยา งนุมนวล • หนังสือบรจิ าคควรมเี กณฑก ารรบั เขา และจาํ หนา ยออกอยา งชดั เจน • การรวมงานกบั ผูอ ่ืนมใิ ชเ ปนผูนาํ ผูอ่ืนเพยี งอยางเดยี ว เราตอ งเปน ผูตามและผฟู ง ทดี่ ดี ว ย • ควรนกึ ถึงประโยชนของหนว ยงานเปน หลัก และทํางานอยางรอบคอบ คณะทํางานฝา ยเทคโนโลยีการศึกษา หองสมดุ สถาบันอุดมศึกษา เปนการประชุมสมั มนาเพ่ือความรว มมอื ระหวางหอ งสมุดอุดมศึกษา โดยมวี ัตถุประสงคเพือ่ หาแนวทางในการ สรางขายงานทางดานเทคโนโลยีการศกึ ษา แลกเปลย่ี นเรยี นรปู ระสบการณระหวา งหองสมุดสถาบันอดุ มศึกษา มีสถาบนั ตาง ๆ หมนุ เวียนกันเปนเจาภาพ ๔๕

คณะทํางานฝา ยวารสารและเอกสาร หองสมุดสถาบันอดุ มศึกษา สํานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร เขารวมเปนสมาชิกคณะทํางานฝายวารสารและเอกสาร หองสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษา โดยมนี างวนั เพ็ญ ปรตี ะนนท รับผิดชอบงานจดั หาวารสารอิเลก็ ทรอนกิ ส นายกนก สุขมณี รบั ผิดชอบ งานจัดหาวารสารภาษาไทยและงานดรรชนีวารสาร สังกัดฝายจัดการทรัพยากรสารสนเทศ และนายวินัย มะหะหมดั รับผิดชอบงานบรกิ ารวารสาร สังกัดฝายบริการ ซึ่งบทบาทและหนาทขี่ องคณะทํางานฝายวารสารฯ ประกอบดวย ๓ ดานหลัก ๆ คือ (๑) กําหนดแนวทางการจัดหาและการใชวารสารและเอกสารรวมกัน (๒) จดั ทําและเผยแพรเอกสารท่ี เปนประโยชนต อ การดาํ เนนิ งานวารสารและเอกสาร และ (๓) สงเสริมการพฒั นาบคุ ลากรทป่ี ฏิบัติงานดานวารสารและ เอกสาร ปจจุบันมีหองสมุดท่ีเขารวมโครงการมีจํานวน ๓๓ แหง ๔ วิทยาเขต ในชวงระหวางเดือนสิงหาคม ๒๕๖๑- กรกฎาคม ๒๕๖๒ คณะทํางานฝา ยวารสารและเอกสาร หองสมุดสถาบนั อดุ มศึกษา มีการประชมุ ทัง้ หมด ๓ คร้ัง ไดแ ก (๑) ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑ วันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ ณ สํานักหอสมดุ กลาง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาคณุ ทหารลาดกระบงั มีวาระการประชมุ เกย่ี วกบั (๒.๑) ความรว มมอื การกรอกขอ มูลรายชือ่ ทรัพยากรสารสนเทศอเิ ล็กทรอนกิ ส (๒.๒) การจดั ทาํ ฐานขอ มูลรายชอื่ วารสารภาษาตางประเทศทหี่ องสมุดสถาบนั อุดมศกึ ษาบอกรับ (๒.๓) แนวทางการบอกรบั วารสาร ScienceDirect ในป ๒๐๑๙ นอกเหนอื จากที่ สกอ. บอกรบั (๒.๔) การแลกเปลยี่ นเรียนรเู กยี่ วกับการดาํ เนนิ งานวารสารของหอ งสมดุ สถาบนั อุดมศึกษา (๒.๕) ศึกษาดูงานสาํ นกั หอสมุดกลาง สถาบันเทคโนโลยพี ระจอมเกลา เจา คุณทหารลาดกระบงั (๒) ครั้งที่ ๑/๒๕๖๒ วันท่ี๒๑-๒๒ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ หองประชุมคุณหญิงหลงฯ ชั้น ๗ อาคารศูนย ทรพั ยากรการเรยี นรคู ุณหญงิ หลง อรรถกระวีสนุ ทร มหาวทิ ยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ มวี าระการประชมุ เก่ยี วกบั (๓.๑) การจดั ทาํ ฐานขอมลู รายชอ่ื วารสารภาษาตางประเทศทห่ี องสมดุ สถาบันอุดมศึกษาบอกรับ (๓.๒) การจดั ทาํ รายนามคณะทํางานประจําป ๒๕๖๑-๒๕๖๒ และ (๓.๓) การแลกเปล่ียนเรียนรูจาก รนุ พ่ผี เู กษียณสรู นุ นอ ง โดยจดั งานเกษียณวารานุสรณ เพ่อื แสดงมฑุ ิตาจติ แดค ณะทํางานและอดีตคณะทํางาน ณ เรอื นจฬุ านฤมิต (๓) คร้ังที่ ๒/๒๕๖๒ วันท่ี๑๐ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ณ หองประชุม ๗๐๒ ชั้น ๗ สํานักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ มวี าระการประชุมเกี่ยวกับ (๔.๑) การจดั ทาํ ฐานขอมูลรายชอื่ วารสารภาษาตาง ประเทศที่หองสมุดสถาบันอุดมศกึ ษาบอกรับ (๔.๒) การขอเขา รว มเปน คณะทํางานของศนู ยก ารเรียนรูและหอสมดุ มหาวทิ ยาลยั ธุรกจิ บณั ฑิตย (๔.๓) การบอกรับวารสารทม่ี อี ยใู นฐานขอมลู ScienceDirect เพ่ิมเติมจากท่สี กอ. บอกรับ ๔๖

(๔.๔) การแลกเปล่ียนเรียนรเู กี่ยวกบั การดาํ เนินงานวารสารของหองสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษา และ (๔.๕) การอบรมเรื่อง การใชงาน Knowledge base ของ EBSCO เพ่ือเพ่ิมประสทิ ธิภาพบรกิ ารงาน วารสารกับระบบ EDS และเคร่ืองมอื อนื่ วิทยากรบรรยายโดย นางสาวนันทรัตน นนทิวัฒนวณิชจาก EBSCO Information Service ภาพ เวบ็ ไซตคณะทาํ งานฝายวารสารและเอกสาร ภาพ การประชุมคณะทํางานฝายวารสารและเอกสาร หอ งสมุดสถาบนั อุดมศึกษา หอ งสมดุ สถาบันอดุ มศกึ ษาครงั้ ท่ี ๓/๒๕๖๑ วนั ท่ี ๒ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๑ http://www.resource.lib.su.ac.th/Jgroup/ ณ สํานักหอสมดุ กลาง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา คุณทหารลาดกระบัง คณะทํางานฝายบรกิ ารสารนเิ ทศ หอ งสมดุ สถาบันอุดมศกึ ษา คณะทาํ งานฯ ไดด าํ เนินการจดั ประชมุ จํานวน ๓ ครั้ง ขอ มูลสอดคลองกับรอบปการศึกษา ๒๕๖๑ (สิงหาคม ๒๕๖๑-กรกฏาคม ๒๕๖๒) ดังนี้ ครัง้ ท่ี วนั เดอื น ป สถานที่ ๑/๒๕๖๒ ๒๙ - ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๖๑ หองสมุด มหาวทิ ยาลัยสงขลานครนิ ทร วิทยาเขตตรัง จงั หวดั ตรัง ๒/๒๕๖๒ ๒๕ - ๒๖ เมษายน ๒๕๖๒ หอสมุดกลาง หอสมุดและคลงั ความรมู หาวิทยาลยั มหิดล ศาลายา ๓/๒๕๖๒ ๒๕ - ๒๖ กรกฎาคม ๒๕๖๒ สาํ นักบรรณสารการพฒั นา สถาบันบณั ฑิตพฒั นบรหิ ารศาสตร การประชุมคณะทาํ งานฯ จะมีภาคการบรรยาย/สมั มนาทางวชิ าการ/อบรม ๑ วนั และการประชุมของคณะทาํ งานฯ ซง่ึ เปนตวั แทนจากมหาวิทยาลยั ตา ง ๆ ทว่ั ประเทศ ๑ วนั ในการประชุม ในการประชุมชวงวนั แรก เปน ภาคการบรรยาย ๔๗


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook