Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 415 37 suwichan

415 37 suwichan

Published by palmyntzv, 2018-08-16 03:58:41

Description: 415 37 suwichan

Search

Read the Text Version

ประเภทของคาํ ประพนั ธ์ไทย

โคลง 4 สุภาพ • โคลงส่ีสภุ าพ เปน คําประพันธป ระเภท รอ ยกลอง ชนดิ หนง่ึ ซง่ึ มปี รากฏ ใน วรรณคดไี ทย มานานแลว วรรณคดไี ทยฉบบั ทเี่ กา และมี ชือ่ เสยี งมาก ฉบับ หนึ่งคอื “ลิลิตพระลอ\" มีโคลงส่ีสภุ าพ บทหน่งึ ถกู ยกมาเปนบทตนแบบท่ีแตง ไดถ กู ตองตาม ลกั ษณะบังคับของโคลงส่ี สุภาพ คอื นอกจากจะมบี งั คบั สัมผสั ตามทต่ี าง ๆ แลว ยงั บงั คบั ใหม วี รรณยุกตคาํ เอกคาํ โทในบางตําแหนงการประพันธโคลงสี่ สภุ าพ • ลกั ษณะโคลงสสี่ ุภาพ คณะของโคลงส่สี ุภาพ คือ บทหน่ึง มี 4 บาท (เขยี น เปน 4 บรรทดั ) 1 บาทแบง ออกเปน 2 วรรค โดยวรรคแรก กาํ หนดจาํ นวนคาํ ไว 5 คํา สว น วรรคหลงั ในบาทที่ 1,2 และ 3 จะมี 2 คํา (ในบาทที่ 1 และ 3 อาจเพิ่ม สรอยได อีกแหงละ 2 คาํ ) สว นบาทท่ี 4 วรรคที่ 2 จะมี 4 คํา รวมทัง้ บท มี 30 คํา และเมื่อรวมสรอยทงั้ หมด อาจเพมิ่ เปน 34 คํา

• สว นทบี่ งั คับ เอก โท (เอก 7 โท 4) ดงั น้ี• บาทที่ 1 (บาทเอก) วรรคแรก คําท่ี 4 เอก และคาํ ที่ 5 โท• บาทที่ 2 (บาทโท) วรรคแรก คาํ ท่ี 2 เอก วรรคหลัง คาํ แรก เอก คําที่ 2 โท• บาทที่ 3 (บาทตรี) วรรคแรก คําที่ 3 เอก วรรคหลงั คาํ ที่ 2 เอก• บาทที่ 4 (บาทจตั วา) วรรคแรก คําที่ 2 เอก คําที่ 5 โท วรรคหลงั คํา แรก เอก คาํ ที่ 2 โท เสียงลือเสยี งเลาอา ง อนั ใด พี่เอยเสยี งยอมยอยศใคร ทว่ั หลาสองเขือพี่หลับใหล ลมื ตน่ื ฤๅพี่สองพ่คี ิดเองอา อยา ไดถ ามเผอื

ฉันท• ฉันท คอื ลักษณะถอ ยคาํ ท่กี วีไดรอยกรองข้ึน เพื่อใหเ กิดความไพเราะ โดยกําหนดครุ ลหุและสัมผสั เปนมาตรฐาน ฉันทเปน คาํ ประพันธท ่ไี ด แบบอยา งมาจากอนิ เดีย เดมิ แตง เปน ภาษาบาลี และสนั สกฤตไทยนํา เปล่ียนแปลงลักษณะบางอยา งเพ่ือใหสอดคลองกับความนิยมในคาํ ประพันธไ ทย โขดเขินศริ ขรเขา ณ ลําเนาพนาลยัสงู ลวิ่ ละลานนั- ยนพนประมาณหมายยอดมวั สลัวเมฆ รจุ ิเรขเรียงรายเลอื่ มเลือ่ มศลิ าลาย กส็ ลับระยบั สี

คาํ ประพันธประเภท \"กาพย\" กาพย เปน คาํ ประพันธช นดิ หน่ึงทบี่ งั คบั จาํ นวนคาํ และสมั ผัสจัดวรรคตางจากกลอนและไมบงั คบั เสียงวรรณยุกตทา ยวรรค ไมมีบังคบัเอก-โท เหมอื น โคลง และไมม บี ังคับ ครแุ ละลหุเหมอื นฉนั ทกาพยเปนคําประพนั ธทปี่ รากฏมาตัง้ แตในสมัยกรงุ ศรีอยธุ ยา มีทัง้ ทีแ่ ตงเปนหนงั สอื อานเลน แตง เปน หนงั สอื สวด หรอื เปนนทิ าน กระท่ังเปนตาํ ราสอนก็มี กาพยมีดว ยกันหลายชนดิ แตละชนิดมีลักษณะเฉพาะแตกตา งกนั ในทน่ี ข้ี ออธิบายรปู แบบ ฉันทลกั ษณใ นการแตงคําประพนั ธป ระเภทกาพย ๓ ชนิดดวยกนั ดังน้ี

กาพยย านี ๑๑ สิบเอ็ดบอกความนัย หนึง่ บาทไซรของพยางควรรคหนาอยาเลอื นราง จํานวนหาพาจดจําหกพยางคใ นวรรคหลัง ตามแบบตัง้ เจา ลองทําสมั ผัสตามชี้นาํ โยงเสน หมายใหเ จา ดูสดุ ทายของวรรคหน่งึ สัมผสั ตรึงสามนะหนูหกหา โยงเปน คู เรงเรียนรสู รา งผลงาน

กาพยฉบัง ๑๖ ฉบังสิบหกความหมาย หน่ึงบทเรียงรายนับไดส ิบหกพยางค เพื่อเปน แนวทาง สัมผัสรัดตรึง สมั ผสั ชัดเจนขออา ง รอ ยรัดจดั ทาํใหห นไู ดค ดิ คาํ นงึ จงจํานําไป พยางคสุดทา ยวรรคหนงึ่สดุ ทา ยวรรคสองตองจํา สดุ ทายวรรคสามงามขําสัมผสั รดั บทตอ ไป บทหนึง่ กับสองวอ งไวเรยี งถอ ยรอยกาพยฉบงั

กาพยสุรางคนางค ๒๘สรุ างคนางค เจ็ดวรรคจดั วาง วรรคหน่ึงส่คี าํสัมผสั ชัดเจน เปน บทลํานาํ กําหนดจดจาํ รูร่าํ รเู รียน รูทกุ ขร ยู าก รคู ิดรูอา น รปู ระสบการณ รงู านอานเขียน รพู ากรเู พยี ร ประดจุ ดวงเทยี น ประดบั ปญ ญาฯ

คาํ ประพันธป ระเภท \"กลอน\" กลอน คือ ลกั ษณะคําประพันธช นิดหนึ่งท่มี ีลักษณะบังคบั คณะและสมั ผสั แตไ มบงั คับ เอกโท และ ครุ-ลหุ กลอนสองวรรคเทากับหนง่ึบาท กลอนสบี่ าทเทา กบั หน่งึ บท วรรคทง้ั สี่ของกลอนยังมชี ือ่ เรยี กตา ง ๆกันอกี คือ ๑. วรรคแรก หรือ วรรคสดับ คําสุดทา ยของวรรคนยิ มใชเสยี งเตน (คอื นอกจากเสียงสามัญ) จะทําใหเ กดิ ความไพเราะ แตถ า จะใชเ สียงสามัญกไ็ มหาม ๒. วรรคสอง หรอื วรรครับ คาํ สุดทายของวรรคนิยมเสยี งจัตวา จะใชเ สยี งเอก เสียงโทบางกไ็ ด แตไมค วรใชเ สยี งสามญั หรือเสียงตรี ถา จะใชเ สยี งเอก คาํ สุดทายของวรรครองควรเปน เสยี งตรี ๓. วรรคสาม หรอื วรรครอง คาํ สดุ ทา ยของวรรคนยิ มใชเสียงสามัญ ไมควรใช คาํ ตายและคาํ ที่มรี ปู วรรณยกุ ต ๔. วรรคส่ี หรอื วรรคสง คาํ สุดทายของวรรคนยิ มใชเสียงสามัญ หา มใชคําตายและคําทีม่ รี ปู วรรณยุกต จะใชค ําตายเสยี งตรบี างก็ได ในที่นี้เราจะมาเรียนรรู ปู แบบฉนั ทลกั ษณในการแตง คําประพันธประเภทกลอน ๓ ประเภท ดว ยกัน คอื

กลอนสภุ าพ กลอนสุภาพพึงจาํ มกี าํ หนด กลอนหน่งึ บทสวี่ รรคกรองอักษรวรรคละแปดพยางคนบั ศัพทสุนทร อาจย่งิ หยอนเจด็ หรือเกา เขา หลกั การหา แหง คาํ คลองจองตองสมั ผสั สลบั จดั รับรองสงประสงคสมานเสียงสูงตํ่าตอ งเรียงเยยี่ งโบราณ เปน กลอนกานทครบครันฉนั ทน เ้ี อย

กลอนสกั วา สักวาหวานอนื่ มหี ม่ืนแสน ไมเ หมอื นแมนพจมานทห่ี วานหอม อาจจะนอมจติ โนม ดงั ดดู ดมื่ บอระเพด็ กลิ่นประเทียบเปรยี บดวงพวงพยอม ใครฟง ลมเมินหนาดว ยโลมลม แมนลอ ลามหยามหยาบไมป ลาบปลมื้ตองเข็ดขม ผูด ไี พรไมป ระกอบชอบอารมณระอาเอ

กลอนดอกสรอ ย เด็กเอยเด็กนอ ย ความรูเ จา ยังดอ ยเรงศึกษาเม่อื เติบใหญเจา จะไดม วี ชิ า เปนเครื่องหาเล้ียงชีพสําหรบั ตนไดประโยชนห ลายสถานเพราะการเรียน จงพากเพยี รไปเถดิ จะเกดิ ผลถงึ ลําบากตรากตรําก็จําทน เกดิ เปน คนควรหมั่นขยนั เอย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook