Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนชมพู่

แผนชมพู่

Published by korpaibigfun, 2020-02-12 06:04:59

Description: แผนชมพู่

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาบลหลกั สาม **************************** เพ่ือให้การส่งเสริมการจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงาน สานักงาน กศน. และของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบ้านแพ้วจึงได้จัดทาแผนปฏบิ ตั ิ การประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาบลหลักสาม ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลพ้ืนฐานของ กศน.ตาบล ข้อมูล พน้ื ฐานเพอ่ื การวางแผน ทิศทางการดาเนินงาน และรายละเอยี ดแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ของ กศน.ตาบลหลักสามซ่ึงทางคณะกรรมการ กศน.ตาบลหลักสาม ได้พิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ใน แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563กศน.ตาบลหลักสามและให้นาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ดงั กล่าว ใช้เปน็ กรอบในการดาเนินงานของ กศน.ตาบลหลักสามต่อไป ท้ังน้ี ตง้ั แต่ เดอื น ตุลาคม 2562 ลงชื่อ..........................................ผเู้ สนอ ( นางสาวภทั รวดี กัญจา ) ครู กศน.ตาบล ลงช่ือ...........................................ผู้เหน็ ชอบ () ประธานคณะกรรมการ กศน.ตาบล ลงชอ่ื ...........................................ผอู้ นมุ ตั ิ (นางวรภร ประสมศรี) รองผ้อู านวยการ สานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสาคร รักษาการในตาแหน่ง ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอบา้ นแพ้ว

คานา แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 กศน.ตาบลหลักสามจัดทาข้ึนเพื่อเป็นแนวทางในการจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2563 โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตรแ์ ละ จุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สอดคล้องกบั ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดาเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสมุทรสาคร และ ยุทธศาสตรแ์ ละจดุ เนน้ การดาเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอบ้านแพ้ว ตลอดจนบริบท ความตอ้ งการของกลมุ่ เปา้ หมายในพื้นทเ่ี พอื่ กาหนดเปน็ แนวปฏบิ ัตแิ ละแนวทางในการดาเนินงาน กศน.ตาบลหลกั สาม ให้เปน็ ไปตามเปา้ หมายทต่ี ั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทาแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาบลหลกั สาม ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เล่มนี้ ประกอบด้วย 1) ข้อมูลพ้ืนฐานของ กศน.ตาบล 2) ข้อมูลพ้ืนฐานเพื่อการวางแผน 3) ทิศทางการ ดาเนินงาน และ 4) รายละเอียดแผนปฏิบตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 กศน.ตาบลหลักสาม ขอขอบคุณผู้อานวยการ กศน.อาเภอบ้านแพ้ว ข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศึกษา ครอู าสาสมคั ร กศน. เครอื ขา่ ย และผู้เก่ยี วขอ้ งทกุ ท่านที่ใหค้ วามรว่ มมือเป็นอย่างดียง่ิ ทาใหแ้ ผนปฏบิ ัติ การประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เลม่ น้ี สาเร็จลุลว่ งด้วยดี และหวังเป็นอย่างย่งิ วา่ กศน.ตาบลหลกั สาม จะนาสภาพ ปัญหาและผลการดาเนินงานมาปรับปรุงเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพือ่ สนองตอบความต้องการของประชาชนในพนื้ ท่อี ยา่ งแทจ้ รงิ กศน.ตาบลหลักสาม ตลุ าคม 2562 ผู้จัดทา

สารบัญ ข เรอื่ ง หน้า ส่วนที่ 1 1 ข้อมลู พื้นฐานของ กศน.ตาบลหลกั สาม 1 ความเปน็ มา 1 ทต่ี ้งั 1 บทบาทหนา้ ท่ีภารกจิ กศน.ตาบล 1 ส่วนท่ี 2 1 ข้อมูลพ้ืนฐานเพ่อื การวางแผน 1 สภาพท่ัวไปตาบลหลักสาม 1 ข้อมูลดา้ นประชากร 9 ขอ้ มลู ด้านสังคม 10 พนื้ ที่ 11 ข้อมลู ดา้ นการศกึ ษา 12 สว่ นท่ี 3 13 ทศิ ทางการดาเนินงานของ กศน.อาเภอบ้านแพว้ 18 แนวทางการพัฒนา กศน.อาเภอบ้านแพ้ว 18 กลยุทธ์ 19 การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ ม กศน.ตาบลหลกั สาม (SWOT Analysis) 20 แนวทางการพัฒนา กศน.ตาบล 21 ปรชั ญา 22 วสิ ัยทศั น์ 22 อัตลักษณ์ 22 เอกลกั ษณ์ 22 จุดเน้นจุดเดน่ การทางานของ กศน.ตาบล 22 พนั ธกจิ 22 เปา้ ประสงคแ์ ละตวั ชี้วดั ตามความสาเรจ็ 23 กลยุทธ์ 23

ค สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 คณะกรรมการ กศน.ตาบล ..............................................................................................2 2 อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน ................................................................................................4 3 องค์กรนักศึกษา ..................................................................................4 4 ทาเนยี บครู กศน.ตาบล ..........................................................................................5 5 ทาเนียบครู กศน.ตาบล ..........................................................................................6 6 แหล่งเรยี นรู้ประเภทสถานท่ี/ชุมชน/กลุ่มทางเศรษฐกิจ/สังคม ..........................................................6 7 แหล่งสนบั สนนุ ทุน/งบประมาณ ประเภทองคก์ ร..............................................................................7 8 จานวนประชากรจาแนกตามเพศและเขตพื้นทต่ี าบลหลักสาม...........................................................9 9 การเกษตร ......................................................................................................................................10

ส่วนท่ี 1 ข้อมูลพน้ื ฐานของ กศน.ตาบลหลักสาม ความเป็นมา เดิมศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตาบลหลักสาม ตั้งอยู่บริเวณวัดชัยมงคล แต่เน่ืองจากศูนย์การเรียนมีจานวน นักศึกษาเพิ่มขึ้น ชาวบ้านและประชาชนในตาบลหลักสามจึงได้จดั ต้ังกองผ้าป่าเพ่ือสร้างศูนยก์ ารเรียนประจาหมบู่ ้าน ต้ังชื่อว่า “อาคารเฉลิมพระเกียรติ กศน.ตาบลหลักสาม” ได้รับความอนุเคราะห์พ้ืนที่จากวัดชัยมงคล ตาบลชัยมงคล อาเภอเมือง จงั หวัดสมุทรสาคร ซง่ึ ในขณะนน้ั มีอาณาเขตพนื้ ท่คี าบเก่ียวกับตาบลหลักสาม อาคารเรยี นเป็นอาคารที่ใช้ หลายหน่วยงาน เช่น อบต.หลักสาม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจาตาบลทุ่งอินทรีย์ เนื่องจากเป็นศูนย์กลาง ของหฒ่บุ ้าน คอื หมทู่ ่ี 4,11 ตาบลหลักสาม และหมูท่ ่ี 3 ตาบลชัยมงคล ที่ตั้ง ศาลาเฉลมิ พระเกียรติ หมู่ที่ 4 ตาบลหลกั สาม อาเภอหลกั สาม จังหวดั สมทุ รสาคร หมายเลขโทรศัพท์ 0809695449 หมายเลขโทรสาร - E-Mail [email protected] บทบาทหน้าทีภ่ ารกิจ กศน.ตาบล 1) ศูนยเ์ รียนร้เู ศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎใี หม่ เป็นศูนย์กลางการส่งเสริม จัดกระบวนการการเรียนรู้ และหน่วยประสานงานแหล่งเรียนรู้หลัก ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งภายในชมุ ชน ดาเนินงานรว่ มกบั กองอานวยการรกั ษาความมั่นคงภายในราชอาจักร (กอ.รมน.) 2) ศูนยส์ ่งเสริมพัฒนาประชาธิปไตยตาบล (ศส.ปชต.) เพื่อสร้างการเรียรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยที่มี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข โดยเฉพาะสิทธิและหน้าท่ีในระบอบประชาธิปไตยบูรณาการความร่วมมือกับ คณะกรรมการการเลอื กตัง้ (กกต.) 3) ศูนยด์ จิ ิทัลชมุ ชน ซึ่งบริหารจัดการฐานข้อมูลท่ีจาเป็นสาหรับ กศน. และชุมชน เพ่ือให้มีความรู้และรับรู้ท่ีเท่าทัน ปรับตวั ให้สอดคลอ้ งกับการเปล่ยี นแปลงของสังคมโลกยุคดิจทิ ลั 4) ศูนยก์ ารศกึ ษาตลอดชวี ติ ชุมชน เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และการศึกษา ตามอัธยาศัย ให้มีคุณภาพท่ีสอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชนเป็นฐานในการดาเนินงาน โดย กศน. ตาบลมีบทบาทเป็นผู้ประสานงานและอานวยความสะดวก

ตารางที่ 1 คณะกรรมการ กศน.ตาบล 2 รูปถา่ ย ชื่อ – สกุล บทบาท นายสนั ติ หงษา ประธาน นายยอดรกั แกว้ สกุ ใส กรรมการ นายเพลนิ จงู ใจ กรรมการ นายวิชัย อนิ สว่าง กรรมการ กรรมการ นางนิตยา วิมงั สาเจรญิ รูปถา่ ย ช่ือ – สกลุ บทบาท

3 นางสมพร บัวสอน กรรมการ นายศริ ิศักดิ์ อภิญญาณสจั จะ กรรมการ นายฐติ ิวตั ร คงพุกา กรรมการ นายสุรศักดิ์ แกว้ สวาสดิ์ กรรมการ นายชานนท์ กามะหยเี่ งิน กรรมการ

ตารางที่ 2 อาสาสมคั รสง่ เสริมการอ่าน 4 รปู ถา่ ย ชอ่ื – สกลุ นางสาวสมใจ ทบั ทิม บทบาท อาสาสมัครส่งเสรมิ การอ่าน นางสาวอญั ชลี นพคณุ อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน นายอาทิตย์ ขาวเจรญิ อาสาสมคั รส่งเสรมิ การอ่าน ตารางที่ 3 องค์กรนักศึกษา

5 รปู ถ่าย ชื่อ – สกุล บทบาท นายณัชชา ทองชวิ ประธาน นางสาวเกศรา ชัยทวศี ักด์ิ รองประธาน นายมนูญ แมวจา กรรมการ นางสาววราภรณ์ กุดเปง๋ กรรมการ นางสาวสิรมิ ล แจสมทุ ร เหรัญญกิ ตารางท่ี 4 ทาเนยี บครู กศน.ตาบล ตาแหน่ง ระยะเวลาทดี่ ารงตาแหนง่ ลาดบั ที่ ชื่อ – สกลุ

6 1 นางสาววรรณละภา โตแดง ครู กศน.ตาบล 16 ธั นวาคม 2558 – 2 นางสาวภัทรวดี กัญจา ครู กศน.ตาบล ปัจจบุ ัน รางวัล เกียรตบิ ตั ร และผลงานดเี ด่นของ กศน.ตาบล - ชุมชนตน้ แบบไทยนิยม ย่งั ยืน - ศูนย์สง่ เสริมประชาธปิ ไตยดีเดน่ ระดับอาเภอ แหล่งเรยี นรใู้ นชุมชน และทนุ ด้านงบประมาณท่สี ามารถนามาใช้ประโยชนเ์ พอ่ื การจดั การศึกษา ประเภทบุคคล ประเภทสถานที่และองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกิจกรรมทางสังคม- วฒั นธรรมและต้นทุนงบประมาณ ตารางที่ 5 ทาเนยี บครู กศน.ตาบล 1. แหลง่ เรยี นรูป้ ระเภทบุคคล ได้แก่ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ความรู้ความสามารถ ท่ีอยู่ 1. นางเครือวลั ย์ เติมสายทอง สมุนไพรและการนวดแผนไทย หมู่ที่ 7 ตาบลหลักสาม 2. นายพิสิฐ จันทร์หงษ์ การปลูกเมล่อนปลอดสารพิษ หมทู่ ่ี 9 ตาบลหลกั สาม 3. นายเจรญิ หลงเปลี่ยว การเพาะแตนเบียนเพื่อกาจัดหนอน หมู่ท่ี 5 ตาบลหลกั สาม หัวดา ตารางที่ 6 แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทสถานท/่ี ชุมชน/กลุม่ ทางเศรษฐกิจ/สงั คม ได้แก่ ชอื่ แหล่งเรียนรู้ ประเภทแหลง่ เรยี นรู้ ทีต่ ง้ั วัดธรรมจรยิ าภิรมย์ ศาสนาและวฒั นธรรม หมู่ท่ี 1 ตาบลหลักสาม วัดปา่ สุวัฒนาราม ศาสนาและวัฒนธรรม หมทู่ ่ี 4 ตาบลหลกั สาม

7 วดั วังชยั ทรัพย์วิมล ศาสนาและวัฒนธรรม หมู่ที่ 5 ตาบลหลกั สาม สวนสมนุ ไพรบา้ นเอกลกั ษณ์ไทย สมุนไพรไทยและนวดแผนโบราณ หมทู่ ่ี 7 ตาบลหลกั สาม บ้านสวนพสิ ฐิ ฟารม์ เมล่อน การเกษตร หม่ทู ่ี 9 ตาบลหลักสาม ตารางท่ี 6 แหลง่ สนบั สนุน ทุน/งบประมาณ ประเภทองค์กร ได้แก่ ภาคเี ครือข่าย การสนับสนุน ทอี่ ยู/่ ท่ตี ั้ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจา หมทู่ ่ี 7 ตาบลหลักสาม ตาบลหลกั สาม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจา หมู่ที่ 11 ตาบลหลักสาม ตาบลทงุ่ อินทรยี ์

สว่ นท่ี 2 ขอ้ มูลพ้ืนฐานเพื่อการวางแผน สภาพทัว่ ไปตาบลหลกั สาม ลักษณะทางภูมศิ าสตร์ - ทศิ เหนอื จรดตาบลหลกั สาม อาเภอบา้ นแพ้ว จังหวดั สมทุ รสาคร - ทศิ ใต้ จรดตาบลชยั มงคล อาเภอเมอื งสมทุ รสาคร จงั หวดั สมุทรสาคร - ทิศตะวันออก จรดตาบลสวนสม้ และอาแพง อาเภอบ้านแพว้ จังหวดั สมทุ รสาคร - ทิศตะวนั ตก จรดตาบลยกกระบตั ร อาเภอบ้านแพว้ จงั หวัดสมทุ รสาคร แผนท่ีตาบลหลักสาม อาเภอบ้านแพ้ว จงั หวดั สมุทรสาคร

ข้อมลู ด้านประชากร ตารางที่ 7 จานวนประชากรจาแนกตามเพศและเขตพ้นื ท่ีตาบลหลักสาม ห มู่ ช่อื หมูบ่ ้าน จ า น ว น จานวนประชากร(คน) ที่ 1 บา้ นหลักสาม ครัวเรือน ชาย หญิง รวม 2 บา้ นวัดราษฎร์ 2,385 3 บา้ นคลองจางวาง 1,017 1,113 1,272 1,267 4 บ้านคลองจางวางเชย 805 5 บ้านท่งุ อินทรยี ์ 387 592 675 760 6 บ้านคลองลาทา่ แร้ง 1,236 7 บ้านหนองนกไข่ 213 401 404 1,508 8 บ้านคลองหมอ้ แกง 1,950 9 บ้านคลองแค 217 336 424 898 10 บ้านคลองดาเนนิ 509 11 บา้ นทงุ่ อินทรยี ์ 488 616 620 733 12 บา้ นคลองบนั ไดเหล็ก 1,018 13 บ้านคลองแพ้ว 447 723 785 768 438 รวม 503 952 9998 14,275 247 443 455 146 239 270 165 361 372 456 484 534 212 382 382 97 199 239 4,595 6,841 7,434 ตาบลหลักสาม มีครัวเรือนอาศัยอยู่ จานวน 4,595 ครัวเรือน อยู่ในเขตพื้นท่ีการปกครององค์การ บริหารส่วนตาบลหลักสามทั้งหมดมีประชากรทั้งส้ิน คนแยกเป็นประชากรชาย จานวน 6,841 คนคิดเป็นร้อยละ 47.92 และประชากรหญงิ จานวน 7,434 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 52.08 ความหนาแนน่ เฉล่ยี 374 คน/ตารางกิโลเมตร

10 ข้อมลู ด้านสังคม ด้านการเมอื ง/การปกครอง 2.1 เขตการปกครองแบ่งการปกครอง ออกเป็น 13 หมบู่ า้ น จานวนหมู่บ้านในเขต อบต. เต็มท้ัง 11 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 3 , 4 , 5 , 6 , 7 ,8 , 9 , 10 , 11 , 12 และหมทู่ ่ี 13 จานวนหม่บู า้ นในเขต อบต.หลักสาม บางส่วน 2 หมบู่ ้าน ไดแ้ ก่ หมู่ที่ 1 และหมู่ท่ี 2 มีท้องถิน่ อน่ื ในตาบล 1 แห่ง คอื เทศบาลตาบลบา้ นแพว้ 2.2 การเลือกตัง้ มีการแบ่งหนว่ ยเลือกตง้ั ออกเปน็ 16 หน่วย สาธารณสุข - โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบล/หม่บู ้าน 2 แห่ง ไดแ้ ก่ 1) โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพตาบลหลกั สาม ตงั้ อยูห่ มทู่ ่ี 7 ตาบลหลักสาม 2) โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลบา้ นทุ่งอินทรีย์ ตง้ั อยู่หม่ทู ี่ 11 ตาบลหลักสาม ระบบเศรษฐกิจ ชือ่ พ้ืนท่ี (ไร่) ตารางที่ 8 การเกษตร แยกเป็น มะลิ 7 ดอกรัก 6 ประเภท มะเขือยาว 1 สวนไมด้ อก ผักบ้งุ จีน 1 ผกั อ่นื ๆ 4 ปลูกพชื ผกั ขา้ ว 1,030 พชื มะพรา้ ว 2,229 มะมว่ ง 757 ฝรั่ง 9 ลาไย 1 แกว้ มังกร 277

11 การประมง พ้ืนทีต่ าบลหลักสาม ส่วนใหญ่ทาอาชีพการเกษตร และประมง ซง่ึ อาชพี ดา้ นการประมง ส่วนใหญจ่ ะเป็นการเลย้ี งกุง้ ขาว กุง้ กา้ มกราม เล้ียงกบ(ในกระชงั ) เลยี้ งปลาน้าจดื และปลาสวยงาม ประเภท ช่ือ พื้นที่ (ไร)่ สัตว์น้า กงุ้ 817.75 ปลา 2,913.28 ปลาสวยงาม 58 การปศุสัตว์ พน้ื ที่ตาบลหลกั สาม สว่ นใหญท่ าอาชีพการเกษตร และปศุสัตว์ ซงึ่ อาชีพดา้ นปศุสัตวท์ ่ี ประชาชนทาส่วนใหญ่ คือ เลี้ยงไก่ไข่ ไก่ชน เปด็ ไข่ หมู และกระต่าย ประเภท ช่อื พื้นที่ (ไร)่ สัตวบ์ ก ไกไ่ ข่ 1.50 ไกช่ น .50 ไก่อื่น ๆ 2 เป็ดไข่ 2 หมู 1 กระตา่ ย 1 การท่องเท่ียว พืน้ ทีต่ าบลหลักสาม มีสถานท่ที อ่ งเท่ยี วที่น่าสนใจ คือ วัดราษฎรศ์ รัทธากะยาราม (วดั มอญ) ซึ่งเป็น วัดของชาวรามญั มเี อกลักษณค์ วามเป็นรามัญ และคลองแค หมทู่ ี่ 9 (หมู่บ้านท่องเท่ียวโดยชมุ ชน) อุตสาหกรรม ภาคอตุ สาหกรรมของตาบลหลักสาม ส่วนใหญ่เป็นอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก จานวน 43 แหง่ การพาณชิ ย์และกลุ่มอาชีพ - กลุ่มแปรรูปนา้ ตาลมะพรา้ ว ต้ังอยูห่ ม่ทู ี่ 5 - กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลิต ต้งั อยูห่ มู่ท่ี 9 - กลุ่มอนุรักษ์และพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มบา้ นคลองแค ต้งั อยหู่ มู่ที่ 9 - กลมุ่ สตรบี ้านคลองแค (กลุ่มน้าพรกิ ) ตง้ั อยู่หมู่ท่ี 9 - กลมุ่ ขนมหวานบ้านคลองแค ตง้ั อยทู่ ห่ี มู่ท่ี 9 - ชมรมผูส้ ูงอายบุ า้ นท่งุ อนิ ทรยี ์ ตั้งอยูห่ มูท่ ี่ 11

12 ข้อมลู ด้านการศึกษา ตาบลหลักสาม มีสถานศึกษารวมท้ังหมด 8 แห่ง มีครูจานวน.................คน และมีนักเรียนจานวน3,112 คน เป็นอตั ราส่วนคร/ู อาจารย์ ตอ่ นักเรียน ประมาณ.........................ในแตล่ ะสถานศึกษาท่ีอยูใ่ นเขตตาบลหลักสาม มี จานวนนักเรยี น นักศึกษา ดงั นี้ 1) ศนู ยพ์ ัฒนาเด็กเล็กตาบลหลักสาม จานวนนกั เรยี น 43 คน 2) โรงเรยี นอนุบาลบา้ นแพ้ว (วนั ครู 2500) จานวนนกั เรยี น 916 คน 3) โรงเรียนบา้ นวงั จระเข้ จานวนนักเรียน 140 คน 4) โรงเรียนวัดราษฎรศ์ รทั ธากะยาราม จานวนนักเรียน 142 คน 5) โรงเรยี นวัดชยั มงคล จานวนนักเรยี น 125 คน 6) โรงเรียนอัตตาภวิ ฒั น์ จานวนนักเรียน 292 คน 7) โรงเรียนสารสาสนว์ เิ ทศบ้านแพ้ว จานวนนักเรียน 622 คน 8) โรงเรียนวัดธรรมจรยิ าภิรมย์ จานวนนกั เรยี น 792 คน 9) กศน.ตาบลหลักสาม จานวนนกั เรียน 40 คน

ส่วนที่ 3 ทิศทางการดาเนนิ งาน นโยบายและจดุ เน้นการดาเนินงานสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อธั ยาศยั ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 1. ยุทธศาสตร์ด้านความมนั่ คง 1.1 พัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภกั ดีต่อสถาบันหลักของชาติ โดยปลกู ฝงั และสรา้ งความตระหนกั รถู้ ึง ความสาคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงค์เสริมสร้างความรักและความภาคภูมิใจในความเป็นคนไทยและชาติไทย น้อมนาและเผยแพร่ศาสตรพ์ ระราชา หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รวมถึงแนวทางพระราชดาริต่างๆ 1.2 เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และการมีส่วนร่วมอย่างถูกต้องกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ในบริบทของไทย มีความเป็นพลเมืองดี ยอมรับและเคารพความ หลากหลายทางความคิดและอดุ มการณ์ 1.3 ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาเพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม่ ท้ังยา เสพตดิ การคา้ มนษุ ย์ ภยั จากไซเบอร์ ภยั พบิ ัตจิ ากธรรมชาติ โรคอุบัติใหมๆ่ 1.4 ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและสร้างเสริมโอกาสในการเข้าถึงบริการการศึกษา การพฒั นาทกั ษะ การ สร้างอาชีพ และการใช้ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต้ และพื้นที่ ชายแดนอื่นๆ 1.5 สร้างความรู้ ความเข้าใจในขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศพ้ืนบ้าน ยอมรับและ เคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ และชาวต่างชาตทิ ่มี ีความหลากหลาย ในลักษณะพหสุ งั คมทีอ่ ยูร่ ว่ มกนั 2. ยทุ ธศาสตรด์ ้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั 2.1 เร่งปรับหลักสูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. เพื่อยกระดับทักษะด้านอาชีพของประชาชนให้เป็น อาชีพท่ีรองรับอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ (First S – curve และ New S - curve) โดยบุรณาการความร่วมมือ ในการพฒั นาและเสรมิ ทักษะใหม่ด้านอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถงึ มงุ่ เน้นสร้างโอกาสในการสรา้ งงาน สร้างรายได้ และตอบสนองต่อความต้องการของตลาดแรงงานทั้งภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยเฉพาะในพื้นที่เขตระเบียง เศรษฐกิจ และเขตพัฒนาพิเศษตามภูมิภาคต่างๆ ของประเทศ สาหรับพื้นที่ปกติให้พัฒนาอาชีพที่เน้นการต่อยอด ศักยภาพและตามบริบทของพน้ื ที่ 2.2 จดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาพนื้ ท่ีภาคตะวันออก ยกระดับการศึกษาให้กับประชาชนให้จบการศึกษาอย่าง น้อยการศึกษาภาคบังคับ สามารถนาคุณวุฒิท่ีได้รับไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ รวมท้ังพัฒนาทักษะในการ ประกอบอาชีพตามความต้องการของประชาชน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ ตอบสนองต่อบริบทของสังคมและชุมชน รวมท้งั รองรับการพฒั นาเขตพ้ืนที่ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC)

14 2.3 พฒั นาและส่งเสรมิ ประชาชนเพ่อื ตอ่ ยอดการผลติ และจาหนา่ ยสนิ ค้าและผลิตภัณฑ์ออนไลน์ 1) เร่งจัดต้ังศูนย์ให้คาปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ์ Brand กศน. เพ่ือยกระดับคุณภาพของสินค้า และผลิตภัณฑ์ การบริหารจัดการที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การส่งออก และสร้างช่องทางจาหน่าย) รวมท้ัง สง่ เสรมิ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยใี นการเผยแพร่และจาหนา่ ยผลิตภัณฑ์ 2) พัฒนาและคัดเลือกสุดยอดสินค้าและผลิตภัณฑ์ กศน. ในแต่ละจังหวัด พร้อมทั้งประสานความ รว่ มมือกับสถานีบรกิ ารนา้ มันในการเป็นช่องทางการจาหนา่ ยสดุ ยอดสินค้าและผลิตภณั ฑ์ กศน. ให้กวา้ งขวางย่ิงข้นึ 3. ยุทธศาสตรด์ า้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนษุ ย์ 3.1 พัฒนาครูและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับการจัดกิจกรรมและการเรยี นรู้ เป็นผู้เชื่อมโยงความรู้กับผู้เรยี น และผู้รับบริการ มีความเป็น “มืออาชีพ” มีจิตบริการ มีความรอบรู้และทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและเป็น “ผอู้ านวยการเรยี นรู้” ท่สี ามารถบรหิ ารจัดการความรู้ กจิ กรรม และการเรียนรูท้ ดี่ ี 1) เพ่ิมอัตราข้าราชการครูให้กับ กศน. อาเภอทุกแห่ง โดยเร่งดาเนินการเร่ืองการหาอัตราตาแหน่ง การสรรหา บรรจุ และแตง่ ตงั้ ข้าราชการครู 2) พัฒนาขา้ ราชการครูในรูปแบบครบวงจร ตามหลกั สตู รท่ีเชอ่ื มโยงกับวทิ ยฐานะ 3) พัฒนาครู กศน.ตาบลให้สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นเร่ืองการพัฒนาทักษะ การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ ทักษะภาษาตา่ งประเทศ ทักษะการจัดกระบวนการเรยี นรู้ 4) พฒั นาศกึ ษานเิ ทศก์ ใหส้ ามารถปฏบิ ัติการนเิ ทศได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ 5) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทให้มีทักษะความรู้เร่ืองการใช้ประโยชน์จากดิจิทัลและ ภาษาตา่ งประเทศทจี่ าเปน็ 3.2 พัฒนาแหล่งเรียนรู้ให้มีบรรยากาศและสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความพร้อมในการ ให้บริการกิจกรรมการศึกษาและการเรียนรู้ เป็นแหล่งสารสนเทศสาธารณะท่ีง่ายต่อการเข้าถึง มีบรรยากาศที่เอื้อต่อ การเรียนรู้ เป็นคาเฟ่พ้ืนที่การเรียนรู้สาหรับคนทุกช่วงวัย มีสิ่งอานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงาม มีชีวิต ท่ี ดงึ ดดู ความสนใจ และมคี วามปลอดภัยสาหรบั ผใู้ ชบ้ ริการ 1) ยกระดับ กศน.ตาบลนาร่อง 928 แห่ง (อาเภอละ 1 แห่ง) ให้เป็น กศน.ตาบล 5 ดี พรีเมี่ยม ท่ี ประกอบด้วย ครดู ี สถานท่ดี ี (ตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี) กิจกรรมดี เครือข่ายดี และมนี วัตกรรมการเรยี นท่ีดมี ีประโยชน์ 2) จัดให้มีศูนย์การเรียนรู้ต้นแบบ กศน. เพ่ือยกระดับการเรียนรู้ ใน 6 ภูมิภาค เป็นพื้นท่ีการเรียนรู้ (Co – Learning Space) ท่ีทันสมัยสาหรับทุกคน มีความพร้อมในการให้บริการต่างๆ อาทิ พ้ืนท่ีสาหรับการทางาน/ การเรียนรู้ พ้ืนท่ีสาหรับกิจกรรมต่างๆ มีห้องประชุมขนาดเล็ก รวมท้ังทางานร่วมกับห้องสมุดประชาชนในการ ให้บริการในรปู แบบห้องสมดุ ดจิ ทิ ัล บรกิ ารอนิ เตอร์เนต็ สอ่ื มัลติมีเดีย เพ่อื รองรบั การเรียนรแู้ บบ Active Learning 3) พัฒนาห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ให้เป็น Digital Library โดยให้มีบริการหนังสือใน รปู แบบ e – Book บริการคอมพิวเตอร์ และอินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สูง รวมท้งั Free Wi-fi เพ่ือการสบื ค้นข้อมลู 3.3 ส่งเสรมิ การจดั การเรียนรู้ที่ทันสมัยและมปี ระสิทธภิ าพ เออื้ ต่อการเรยี นรู้สาหรบั ทุกคน สามารถเรยี นไดท้ ุกท่ีทุกท่ี ทุกเวลา มกี ิจกรรมท่ีหลากหลาย นา่ สนใจ สนองความตอ้ งการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรยี นรู้ของประชาชน

15 รวมท้ังใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือเช่ือมโยงความสมั พันธ์ของคนในชุมชน ไปสกู่ ารจัดการความรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ท่ีปลูกฝงั คุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบตอ่ ส่วนรวม และ การมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรปู แบบต่างๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนนุ ให้มีการจดั กิจกรรมเพื่อปลูกฝงั คณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้กบั บคุ ลากรในองค์กร 2) จดั ใหม้ ีหลกั สูตรลกู เสือมัคคุเทศก์ โดยให้สานกั งาน กศน.จงั หวัด/กทม. จัดตงั้ กองลกู เสือ ท่ลี ูกเสือมีความพร้อม ด้านทักษะภาษาต่างประเทศ เป็นลูกเสอื มัคคเุ ทศก์จังหวดั ละ 1 กอง เพอ่ื สง่ เสรมิ จติ อาสาพฒั นาการท่องเทย่ี วในแต่ละ จังหวดั 3.4 ส่งเสริมความรว่ มมือกับภาคีเครือขา่ ย ประสาน ส่งเสรมิ ความรว่ มมือภาคีเครือขา่ ย ทงั้ ภาครฐั เอกชน ประชาสงั คม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือสร้างความเข้าใจ และให้ เกิดความร่วมมอื ในการส่งเสริม สนับสนุน และจดั การศึกษาและการเรียนรู้ให้กบั ประชาชนอยา่ งมคี ุณภาพ 1) เร่งจัดทาทาเนียบภูมิปัญญาในแต่ละตาบล เพื่อใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างการเรียนรู้จาก องคค์ วามรู้ในตัวบุคคลใหเ้ กิดการถ่ายทอดภมู ิปัญญา สร้างคุณค่าทางวัฒนธรรมอยา่ งยงั่ ยืน 2) ส่งเสริมภมู ิปัญญาท้องถ่นิ สกู่ ารเรียนรู้ชมุ ชน 3) ประสานความรว่ มมือกับภาคีเครือขา่ ยเพ่ือการขยายและพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ให้เขา้ ถึงกลุม่ เปา้ หมายทุกกลมุ่ อย่างกวา้ งขวางและมีคุณภาพ อาทิ กลุ่มผ้สู งู อายุ กลมุ่ อสม. 3.5 พฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพ่อื ประโยชนต์ ่อการจัดการศกึ ษาและกลมุ่ เปา้ หมาย 1) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน์ กศน. ทั้งในรูปแบบของการศึกษาขั้นพื้นฐาน การพัฒนาทักษะชีวติ และทักษะ อาชีพ การศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทั้งการพัฒนาช่องทางการค้าออนไลน์ 2) สง่ เสรมิ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนรู้ 3) ส่งเสริมใหม้ ีการใช้การวจิ ยั อย่างงา่ ยเพื่อสรา้ งนวตั กรรมใหม่ 3.6 พฒั นาศักยภาพคนดา้ นทกั ษะและความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ัล (Digital Literacy) 1) พัฒนาความรู้และทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการ สอน 2) ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ประชาชนมีทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัลท่ี สามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั รวมทั้งสร้างรายได้ให้กบั ตนเองได้ 3.7 พัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารของประชาชนในรูปแบบต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม โดยเน้นทักษะ ภาษาเพื่ออาชีพ ท้ังในภาคธุรกิจ การบริการ และการท่องเท่ียว รวมท้ังพัฒนาส่ือการเรียนการสอนเพ่ือส่งเสริมการใช้ ภาษาเพ่อื การสื่อสารและพัฒนาอาชีพ 3.8 เตรยี มความพร้อมการเข้าสสู่ ังคมผสู้ ูงอายุทเี่ หมาะสมและมคี ุณภาพ

16 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมให้กับประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักถึงการเตรียมพร้อมเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีความเข้าใจพัฒนาการของช่วงวัย รวมทั้งเรียนรู้และมีส่วนร่วมในการดูแลรับผิดชอบผู้สูงอายุในครอบครัว และชมุ ชน 2) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรียนรู้สาหรับประชาชนในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุท่ี เหมาะสมและมคี ุณภาพ 3) จัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิตสาหรับผู้สูงอายุภายใต้แนวคิด “Active Aging” การศึกษาเพ่ือพัฒนา คุณภาพชีวิต และพัฒนาทักษะชีวิต ให้สามารถดูแลตนเองท้ังสุขภาพกายและสุขภาพจิตและรู้จักใช้ประโยชน์จาก เทคโนโลยี 4) สร้างความตระหนักถึงคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้มีการเผยแพร่ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุ และ ให้มสี ่วนรว่ มในกิจกรรมด้านตา่ งๆ ในชมุ ชน เชน่ ด้านอาชพี กีฬา ศาสนาและวฒั นธรรม 5) จดั การศกึ ษาอาชพี เพ่ือรองรบั สงั คมผู้สงู อายุ โดยบรู ณาการความร่วมมอื กับหนว่ ยงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในทกุ ระดบั 3.9 การส่งเสรมิ วิทยาศาสตร์เพอื่ การศึกษา 1) จัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เชงิ รุก และเน้นให้ความร้วู ิทยาศาสตร์อย่างง่ายกับประชาชนในชุมชน ท้ังวิทยาศาสตร์ ในวถิ ชี ีวติ และวทิ ยาศาสตร์ในชีวิตประจาวัน 2) พฒั นาส่อื นทิ รรศการและรูปแบบการจัดกจิ กรรมทางวิทยาศาสตร์ใหม้ ีความทนั สมยั 3.10 สง่ เสรมิ การรภู้ าษาไทยให้กับประชาชนในรูปแบบตา่ งๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้ืนท่ีสูงใหส้ ามารถฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาไทย เพ่ือประโยชน์ในการใชช้ ีวติ ประจาวันได้ 4. ยทุ ธศาสตร์ดา้ นการสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 4.1 จดั ตง้ั ศนู ยก์ ารเรยี นรู้สาหรบั ทุกช่วงวยั ท่ีเปน็ ศนู ยก์ ารเรยี นร้ตู ลอดชวี ติ ที่สามารถให้บริการประชาชนได้ทุกคน ทกุ ช่วงวัย ที่มีกิจกรรมท่ีหลากหลาย ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ในแต่ละวัย และเป็นศูนย์บริการความรู้ ศูนย์ การจัดกิจกรรมท่ีครอบคลุมทุกช่วงวัย เพื่อให้มีพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมและมีความสุขกับการเรียนรู้ตามความ สนใจ 1) เร่งประสานงานกบั สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน เพื่อจัดทาฐานขอ้ มลู โรงเรยี นท่ีถูกยบุ รวม หรือ คาดว่านา่ จะถูกยุบรวม 2) ใหส้ านกั งาน กศน.จงั หวดั ทุกแหง่ ที่อยู่ในจงั หวดั ทมี่ โี รงเรยี นท่ีถูกยุบรวม ประสานขอใช้พื้นทีเ่ พื่อจดั ตั้งศนู ย์การ เรียนรู้สาหรับทกุ ชว่ งวัย กศน. 4.2 สง่ เสริมและสนบั สนุนการจดั การศกึ ษาและการเรียนรู้สาหรับกลมุ่ เป้าหมายผูพ้ กิ าร 1) จัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน การศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศัย โดยเน้น รปู แบบการศึกษาออนไลน์ 2) ให้สานักงาน กศน.จงั หวดั ทุกแห่ง/กทม. ทาความร่วมมอื กบั ศนู ย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวดั ในการใช้สถานท่ี วสั ดอุ ปุ กรณ์ และครุภัณฑ์ดา้ นการศึกษา เพอ่ื สนบั สนนุ การจัดการศึกษาและการเรียนรสู้ าหรบั กลมุ่ เปา้ หมายผพู้ ิการ

17 4.3 ยกระดับการศึกษาให้กับกลุ่มเป้าหมายทหารกองประจาการ รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายพิเศษอื่นๆ อาทิ ผู้ต้องขัง คน พิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนที่อยู่นอกระบบการศึกษาให้จบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พน้ื ฐาน สามารถนาความรู้ทไ่ี ด้รับไปพัฒนาตนเองได้อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 4.4 พัฒนาหลักสตู รการจัดการศึกษาอาชพี ระยะสนั้ ให้มีความหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกับบริบทของพ้ืนท่ี และ ตอบสนองความตอ้ งการของประชาชนผรู้ ับบริการ 5. ยทุ ธศาสตรด์ ้านสรา้ งการเตบิ โตบนคุณภาพชวี ติ ที่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม 5.1 ส่งเสริมให้มีการให้ความรู้กับประชาชน ในการรับมือและปรับตัวเพ่ือลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติและ ผลกระทบที่เกีย่ วขอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ 5.2 สร้างความตระหนักถึงความสาคัญของการสร้างสังคมสีเขียว ส่งเสริมความรู้ให้กับประชาชนเก่ียวกับการคัดแยก ต้ังแต่ต้นทาง การกาจัดขยะ และการนากลับมาใช้ซ้า เพื่อลดปริมาณและต้นทุนในการจัดการขยะของเมือง และ สามารถนาขยะกลบั มาใชป้ ระโยชน์ได้โดยง่าย รวมท้งั การจัดการมลพษิ ในชมุ ชน 5.3 ส่งเสริมให้หน่วยงานและสถานศึกษาใช้พลังงานท่ีเป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม รวมทั้งลดการใช้ทรัพยากรที่ส่งผล กระทบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม เช่น รณรงคเ์ รอื่ งการลดการใชถ้ งุ พลาสตกิ การประหยัดไฟฟ้า เป็นต้น 6. ยุทธศาสตรด์ ้านการปรบั สมดลุ และพัฒนาระบบบรหิ ารจดั การภาครัฐ 6.1 พัฒนาและปรับระบบวิธกี ารปฏิบัติราชการให้ทันสมัย มีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติ มชิ อบ บรหิ ารจัดการบนข้อมูลและหลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ มุ่งผลสมั ฤทธ์ิมคี วามโปรง่ ใส 6.2 นานวัตกรรมและเทคโนโลยรี ะบบการทางานที่เป็นดิจิทัลมาใช้ในการบริหารและพัฒนางาน สามารถ เช่ือมโยงกับระบบฐานขอ้ มูลกลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร พรอ้ มทง้ั พฒั นาโปรแกรมออนไลน์ทส่ี ามารถเช่ือมโยงข้อมูล ต่างๆ ที่ทาให้การบริหารจัดการเป็นไปอย่างต่อเน่ืองกันตั้งแต่ต้นจนจบกระบวนการ และให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย สามารถเข้าถงึ บริการได้อยา่ งทนั ที ทกุ ทีท่ ุกเวลา 6.3 ส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ให้มีความรู้และทักษะตามมาตรฐาน ตาแหน่ง ให้ ตรงกับสายงาน ความชานาญ และความต้องการของบคุ ลากร

18 ทศิ ทางการดาเนนิ งานของ กศน.อาเภอบ้านแพว้ แนวทางการพฒั นา กศน.อาเภอบ้านแพ้ว 1. ผู้บริหารสถานศึกษาเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติภารกิจและมีความมุ่งมั่นท่ีดีอยู่แล้ว ควรใช้ภาวะดังกล่าวเป็นฐานสาคัญในการพัฒนาทีมงานให้มีศักยภาพในการปฏิบัติภารกิจเป็นทีมงานคุณภาพให้ได้ ต่อไป เช่น ส่งเสริมการปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างครู กศน.ตาบลที่อยู่ติดกันเพ่ือช่วยเหลือกันยามจาเป็น หากไม่ สามารถปฏิบัติงานได้เพียงลาพัง รวมท้ังฝึกการปฏิบัติงานให้ทีมงานสามารถมองสภาพและทิศทางการปฏิบัติงานได้ ตลอดแนวต้งั แตเ่ ร่มิ จนสิ้นสุด ดังนเ้ี ปน็ ต้น 2. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายที่ดีอยู่แล้ว ควรส่งเสริมเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งโดยการขยายฐาน เครอื ข่ายออกไปสู่ชมุ ชนต่าง ๆ ให้แนน่ หนาย่งิ ข้นึ เชน่ การขยายฐานสมาชกิ กลุ่มผสู้ ูงอายุในชุมชนต่าง ๆ ใหม้ ากย่ิงข้ึน ด้วยการชวนทากจิ กรรมสรา้ งคุณค่าต่อจิตในของผสู้ ูงอายุใหม้ ากขึน้ และเดน่ ยิง่ ข้ึน เปน็ ตน้ ทัง้ นีค้ วรมกี ารดาเนนิ การให้ แลว้ เสร็จตามท่ีได้เสนอแนะไว้ ภายใน 2 ปกี ารศกึ ษา ปรชั ญา คดิ เป็น น้อมนาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง วิสัยทศั น์ สถานศกึ ษาคณุ ภาพ สร้างการพัฒนาอย่างย่งั ยืน บนพ้ืนฐานความพอเพยี ง อตั ลกั ษณ์ ยิ้มทักทาย ไหว้เป็นมิตร มีจติ อาสา เอกลกั ษณ์ สถานศกึ ษาพอพยี งเคยี งคู่ภาคเี ครอื ขา่ ย พันธกจิ สร้างคนดี มีอาชีพ มีคุณธรรมจริยธรรม ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างจิตสานึกความเป็นพลเมืองดีมีอาชีพ มี คุณธรรมจริยธรรม 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพื่อยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะ การเรยี นรขู้ องประชาชนทุกกลุม่ เป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรบั การเปล่ยี นแปลงบริบททางสังคม และสร้าง สงั คมแหง่ การเรียนรู้ 2. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต รวมทง้ั การดาเนินกจิ กรรมของศนู ย์การเรยี นและแหล่งการเรียนรู้อ่ืนในรปู แบบตา่ ง ๆ 3. ส่งเสรมิ และพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใชใ้ หเ้ กิดประสทิ ธิภาพในการจัดการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหก้ ับประชาชนอยา่ งท่วั ถึง 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม การวัดผลประเมินผลในทุกรูปแบบให้สอดคล้อง กับบรบิ ทในปจั จบุ ัน

19 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพเพื่อมุ่งจัดการศึกษาและเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ โดยยึด หลกั ธรรมาภบิ าล เปา้ ประสงค์และตัวชว้ี ัดตามความสาเรจ็ เปา้ ประสงค์ ตัวช้วี ัดความสาเร็จ 1.ประชาชนในอาเภอบ้านแพ้วได้รับการศึกษานอกระบบและ ร้อยละ 75 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการศึกษานอก การศกึ ษาตามอธั ยาศยั ท่มี คี ณุ ภาพ ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยทม่ี ีคณุ ภาพ 2.บคุ ลากรไดร้ ับการพัฒนาอยา่ งตอ่ เนอื่ งทั้งดา้ น บุคลากรทกุ คนไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งต่อเนอื่ ง การบริหารจดั การและการจดั กิจกรรมเรียนการสอน ท้ังด้านการบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมการ ทีม่ ีคุณภาพ เรยี นการสอนทีม่ คี ณุ ภาพ 3.สถานศึกษามีระบรหิ ารงานที่มปี ระสทิ ธภิ าพ 3.1 มรี ะบบบรหิ ารท่ีมปี ระสิทธิภาพ และมีการดาเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.2 มีการดาเนนิ งานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.3 บริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและหลักธรรมาภบิ าล 3.4 มรี ะบบสารสนเทศที่ดี 4.ภาคีเครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมหรือให้การสนับสนุนในการจัด รอ้ ยละ 80 ของภาคส่วน ตา่ ง ๆ ในอาเภอ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั บ้านแพ้วเข้ามาร่วมหรือให้การสนับสนุนในการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย กลยุทธ์ กลยุทธท์ ่ี 1 : มงุ่ ม่ันพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา - พัฒนาคุณภาพผู้เรียน - พฒั นาคุณภาพครูและบคุ ลากร - พฒั นาหลกั สูตร - พฒั นาและจัดหาส่อื การสอน กลยุทธ์ที่ 2 : สรา้ งเสรมิ และพฒั นาระบบบรหิ ารท่ีมคี ุณภาพ - เพิ่มประสทิ ธิภาพในการบริหารจดั การ ให้ผูเ้ รียน/ผู้รับบริการได้รบั บริการที่สะดวกรวดเรว็ - เสริมสร้างหลักธรรมาภบิ าลในการบริหารงาน - พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

20 กลยุทธ์ท่ี 3 : ขยายโอกาสทางการศึกษา - จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและให้ ครอบคลุมพนื้ ที่ในอาเภอบ้านแพ้ว - จัดกิจกรรมเชิงรุก ด้วยการให้บริการประชาชนถงึ พนื้ ท่ี กลยทุ ธท์ ี่ 4 : ผนึกกาลังภาคเี ครอื ขา่ ย - ส่งเสริมภาคเี ครือขา่ ยใหเ้ ข้ามามสี ่วนรว่ มในจดั การจัดการศึกษาและกจิ กรรม/โครงการตา่ งๆ - ใชช้ ุมชนเป็นฐานการเรยี นรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบ้านแพ้วได้นารายงานการประเมินตนเอง รายงานการ ประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด และรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบที่ 3 มาเป็นทิศทางในการ จดั ทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม กศน.ตาบลหลกั สาม (SWOT Analysis) 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมภายใน 1.1 จดุ แข็งของ กศน.ตาบล (Strength - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ กศน.ตาบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคารสถานที่ สอื่ วัสดุอปุ กรณ์ และด้านโครงสร้างองคก์ ร/การบรหิ ารจดั การ ค่านยิ มองคก์ ร 1. มกี ารจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ 2. มีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่หลากหลาย 3. จัดกิจกรรมได้ตรงตามความตอ้ งการของประชาชน 4. มคี วามพรอ้ มในการให้บรกิ าร 5. มีการพัฒนาอย่างต่อเนอ่ื ง 6. มีการทางานรว่ มกันกบั องค์กรเครอื ขา่ ยไดด้ ี 7. มกี ารประชาสัมพนั ธ์กิจกรรมของกศน.ตาบลหลายช่องทาง 8. มีการประชุมคณะกรรมการ กศน.ตาบล และองค์กรเครอื ขา่ ย 1.2 จุดออ่ นของ กศน.ตาบล (Weakness - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตาบล คณะกรรมการ กศน.ตาบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคารสถานที่ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสร้างองค์กร/การบริหารจดั การ ค่านยิ มองค์กร 1. ไมม่ ี อาคาร กศน.ตาบลทเ่ี ปน็ เอกเทศ 2. ไดร้ บั การจดั สรรงบประมาณค่อนข้างน้อย 3. ในการจัดวัสดุอุปกรณส์ านกั งานทที่ ันสมัย 4. เจ้าหน้าที่ที่ปฏบิ ัติงานใน กศน.ตาบลน้อย

21 5. วิชาทีส่ อนไม่ตรงตามวุฒกิ ารศกึ ษา 6. วสั ดอุ ุปกรณ์และส่อื การสอนไมเ่ พียงพอ 7. ไม่มสี ื่อการสอนดา้ น ไอซีที 2. การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อมภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunity - O) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพ้ืนที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกิจ ด้านเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อส่อื สาร และดา้ นส่งิ แวดล้อม 1. เป็นพ้นื ทท่ี ี่มีประชากรวัยแรงงานอยู่มาก 2. องคก์ รเครือข่ายเขา้ ใจและใหค้ วามรว่ มมอื กับงาน กศน.ตาบลมากข้นึ 3. กศน.ตาบลเป็นแหล่งการศึกษาตลอดชวี ติ ใหก้ ับชมุ ชน 2.2 อปุ สรรค/ความเสยี่ ง (Threat - T) ด้านนโยบาย กฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพ้ืนที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกิจ ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคม ตดิ ตอ่ สื่อสาร และด้านส่งิ แวดลอ้ ม 1. กลุม่ เปา้ หมายในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ในดา้ นต่าง ๆ มเี วลาไม่ตรงกัน 2. งบประมาณสนับสนุนในจัดกิจกรรมค่อนข้างน้อย ทาให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ครบตามความ ต้องการของกลมุ่ เปา้ หมาย 3. เปน็ สงั คมเมืองทาให้การจดั กิจกรรมบางอย่างไม่ไดผ้ ลดีเทา่ ที่ควร แนวทางการพัฒนา กศน.ตาบล 1. ครู กศน.ตาบล เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติภารกิจและมีความมุ่งม่ันท่ีดีอยู่แลว้ ควรใช้ ภาวะดังกล่าวเป็นฐานสาคัญในการพัฒนางานให้มีศักยภาพในการปฏิบัติภารกิจให้มีคุณภาพต่อไป เช่น ส่งเสริมการ ปฏิบัติงานร่วมกันระหว่างครู กศน.ตาบลท่ีอยู่ติดกันเพื่อช่วยเหลือกันยามจาเป็นหากไม่สามารถปฏิบัติงานได้เพียง ลาพัง รวมท้ังฝึกการปฏิบัติงานให้สามารถมองสภาพและทิศทางการปฏิบัติงานได้ตลอดแนวต้ังแต่เริ่มจนสิ้นสุด ดังน้ี เปน็ ต้น 2. สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายท่ีดีอยู่แล้ว ควรส่งเสริมเครือข่ายให้มีความเข้มแข็งโดยการขยายฐาน เครอื ขา่ ยออกไปสู่ชุมชนต่าง ๆ ให้แนน่ หนายงิ่ ข้นึ เชน่ การขยายฐานสมาชกิ กลุ่มผู้สูงอายุในชุมชนต่าง ๆ ใหม้ ากย่ิงข้ึน ด้วยการชวนทากจิ กรรมสร้างคุณคา่ ต่อจิตในของผู้สูงอายุให้มากขึ้นและเดน่ ยง่ิ ข้นึ เปน็ ตน้ ทั้งนี้ควรมีการดาเนินการให้ แล้วเสรจ็ ตามที่ไดเ้ สนอแนะไว้ ภายใน 2 ปีการศึกษา

22 ปรชั ญา คิดเป็น น้อมนาปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง วสิ ยั ทัศน์ สถานศึกษาคุณภาพ สร้างการพฒั นาอย่างย่ังยนื บนพนื้ ฐานความพอเพียง อตั ลักษณ์ ย้ิมทกั ทาย ไหว้เปน็ มิตร มจี ิตอาสา เอกลกั ษณ์ สถานศึกษาพอพียงเคยี งคู่ภาคเี ครอื ขา่ ย จดุ เนน้ จดุ เดน่ การทางานของ กศน.ตาบล ครู กศน.ตาบล มกี ารจดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ ครู กศน.ตาบล ไดร้ บั การพัฒนาความรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงานอยา่ งต่อเนื่อง ไดร้ บั การส่งเสริมและสนับสนุนจากภาคีเครอื ข่ายในการจัดการเรียนรู้ ลงพน้ื ทป่ี ฏบิ ัตงิ านใหบ้ รกิ ารอย่างทั่วถงึ ครู กศน.ตาบล มคี วามกระตอื รอื ร้นในการปฏบิ ตั งิ าน นักศึกษาเข้ารว่ มการจดั กจิ กรรมการเรียนรูข้ องกศน.อย่างต่อเนอ่ื ง ครู กศน.ตาบล มีแผนการจัดการเรียนรู้ และมีการพฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอนทหี่ ลากหลายและทันสมัย พันธกจิ สร้างคนดี มีอาชพี มคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรม สง่ เสรมิ การจดั การเรียนรู้ เพื่อสร้างจิตสานึกความเป็นพลเมืองดี มีอาชพี มีคุณธรรมจรยิ ธรรม 1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยท่ีมีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะ การเรียนรู้ของประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมทุกช่วงวัย พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงบริบททาง สังคม และสรา้ งสังคมแหง่ การเรยี นรู้ 2. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ายในการมีส่วนร่วมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั และการเรยี นรู้ตลอดชีวิต รวมทั้งการดาเนนิ กิจกรรมของศูนย์การเรียนและแหล่งการเรียนรู้อนื่ ในรูปแบบ ตา่ ง ๆ 3. ส่งเสริมและพัฒนาการนาเทคโนโลยีทางการศึกษาและเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพใน การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ใหก้ ับประชาชนอย่างท่ัวถงึ

23 4. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ส่ือ นวัตกรรม การวัดผลประเมินผลในทุกรูปแบบ ใหส้ อดคลอ้ งกบั บรบิ ทในปัจจบุ ัน 5. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพเพ่ือมุ่งจัดการศึกษาและเรียนรู้ท่ีมี คุณภาพ โดยยึดหลกั ธรรมาภิบาล เป้าประสงคแ์ ละตัวชว้ี ัดตามความสาเร็จ เป้าประสงค์ ตัวชีว้ ดั ความสาเร็จ 1.ประชาชนในอาเภอบ้านแพ้วได้รับการศึกษานอก รอ้ ยละ 75 ของกลุ่มเปา้ หมายได้รบั การศึกษานอกระบบ ระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยท่มี คี ณุ ภาพ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยทีม่ ีคุณภาพ 2.บคุ ลากรได้รับการพฒั นาอย่างตอ่ เนื่องท้ังด้าน บคุ ลากรทุกคนได้รับการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง การบริหารจดั การและการจดั กจิ กรรมเรียนการสอน ทั้งด้านการบริหารจัดการและการจัดกิจกรรมการเรียน ท่มี คี ุณภาพ การสอนท่ีมคี ุณภาพ 3.สถานศึกษามีระบริหารงานท่มี ปี ระสิทธภิ าพ 3.1 มีระบบบริหารท่ีมีประสิทธิภาพ และมีการดาเนินงานตามวงจรคุณภาพ PDCA 3.2 มีการดาเนินงานตามวงจรคณุ ภาพ PDCA 3.3 บริหารงานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักธรรมาภบิ าล 3.4 มีระบบสารสนเทศทดี่ ี 4.ภาคเี ครือขา่ ยเข้ามามีส่วนรว่ มหรือให้การสนับสนุนใน ร้อยละ 80 ของภาคสว่ น ตา่ ง ๆ ในอาเภอ การจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั บ้านแพ้วเข้ามาร่วมหรือให้การสนับสนุนในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย กลยทุ ธ์ กลยุทธ์ที่ 1 : มุ่งม่นั พัฒนาคุณภาพการศึกษา - พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รียน - พัฒนาคุณภาพครแู ละบคุ ลากร - พัฒนาหลกั สูตร - พัฒนาและจัดหาส่ือการสอน กลยุทธท์ ่ี 2 : สร้างเสริมและพัฒนาระบบบริหารทม่ี ีคุณภาพ - เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการบริหารจัดการ ให้ผูเ้ รียน/ผู้รับบรกิ ารไดร้ บั บรกิ ารที่สะดวกรวดเรว็ - เสริมสรา้ งหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน - พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ

24 กลยทุ ธ์ท่ี 3 : ขยายโอกาสทางการศึกษา - จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและให้ ครอบคลมุ พื้นท่ีในอาเภอบา้ นแพว้ - จัดกิจกรรมเชงิ รุก ด้วยการให้บริการประชาชนถึงพื้นที่ กลยุทธ์ที่ 4 : ผนึกกาลงั ภาคเี ครือข่าย - สง่ เสรมิ ภาคีเครือขา่ ยให้เขา้ มามสี ่วนรว่ มในจดั การจดั การศึกษาและกจิ กรรม/โครงการต่างๆ - ใช้ชุมชนเป็นฐานการเรยี นรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอบ้านแพ้วได้นารายงานการประเมินตนเอง รายงานการ ประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด และรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบท่ี 3 มาเป็นทิศทางในการ จัดทาแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา

25 ภาคผนวก

26 คณะผ้จู ัดทา ท่ปี รกึ ษา ผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จงั หวัดสมทุ รสาคร รองผู้อานวยการ สานักงาน กศน.จงั หวัดสมทุ รสาคร 1. นายมนตรี ลมิ าภริ ักษ์ ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบ้านแพ้ว 2. นางวรภร ประสมศรี นักวิเคราะห์นโยบายและแผน สังกัดสานักงาน กศน.จังหวัด 3. นางจิดาภา บัวทอง ประจวบครี ขี ันธ์ 4. นายนิยม ภาลีภณั ฑ์ ครู กศน.ตาบลหลกั สาม คณะผ้จู ัดทา นางสาวภทั รวดี กญั จา รวบรวม/เรียบเรยี ง ครู กศน.ตาบลหลกั สาม นางสาวภัทรวดี กญั จา ออกแบบปกรูปเล่มและพมิ พ์ ครู กศน.ตาบลหลกั สาม ครู กศน.ตาบลหลกั สาม นางสาวภัทรวดี กัญจา บรรณาธิการ นางสาวภัทรวดี กญั จา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook