Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 3001-2001-2-communication

3001-2001-2-communication

Published by edlits, 2018-03-28 05:53:38

Description: 3001-2001-2-communication

Search

Read the Text Version

การสอื่ สารขอ้ มูลและการตดิ ตง้ั โปรแกรมที่เก่ียวขอ้ ง

การส่ือสารขอ้ มลู : Data Communication• ทาไมตอ้ งสื่อสาร ? Step 1: Step 2:• การแลกเปล่ียนขอ้ มลู ระหวา่ งสองอปุ กรณผ์ ่านตวั กลางส่งขอ้ มูล Step 3: ที่ใชใ้ นการส่ือสาร ……• ส่วนประกอบของระบบสื่อสารขอ้ มูล Protocol Step 1: Step 2: Step 3: …… Protocol MediaSender Receiver

ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกบั การสื่อสารข้อมลู• กอ่ นทจ่ี ะมีการใช้คอมพิวเตอร์ การติดต่อส่อื สารเพือ่ สง่ ข้อมลู และข่าวสารจะผ่านทางสอ่ื ตา่ งๆ เช่น ไปรษณีย์ โทรศพั ท์ วทิ ยุ หนงั สือพมิ พ์ วารสาร เป็ นต้น ส่อื เหล่านเี ้ป็ นส่ือหลกั ในการ ติดต่อสอ่ื สารเป็ นเวลานาน• ยคุ แรกการนาคอมพิวเตอร์มาใช้งาน การทางานทกุ อย่างจะเป็ นแบบรวมศนู ย์ นน่ั คอื จะมี คอมพิวเตอร์ซง่ึ เป็ นเคร่ืองหลกั ทางานท่ีศนู ย์กลาง งานตา่ งๆจะต้องส่งมาประมวลผลที่ ศนู ย์กลาง• ยคุ ตอ่ มา พฒั นาเป็ นระบบการประมวลผลทางไกล ซงึ่ จะประกอบด้วยเทอร์มนิ ลั ที่จะเช่ือมตอ่ กบั คอมพวิ เตอร์ทีศ่ นู ย์กลาง ระบบนถี ้ งึ แม้วา่ จะมีการกระจายการใช้งานของผ้ใู ช้ท่ีอยหู่ า่ งไกล แตร่ ะบบการทางานก็ยงั รวมศนู ย์อยทู่ ี่คอมพวิ เตอร์กลางขององค์การอยนู่ นั่ เอง

ความรู้ท่ัวไปเกย่ี วกบั การสื่อสารข้อมลู (ต่อ)• เมือ่ มีการนาไมโครคอมพวิ เตอร์มาใช้งาน ทาให้เกิดการทางานแบบกระจายศนู ย์อย่างชดั เจน และแพร่หลายมากขนึ ้ ในขณะเดียวกนั หากมีงานทซ่ี บั ซ้อนและไมส่ ามารถทางานได้โดย ไมโครคอมพวิ เตอร์กส็ ามารถท่จี ะประมวลผลภายใต้คอมพิวเตอร์ท่ศี นู ย์กลางได้ ซง่ึ จะเห็นวา่ การทางานดงั กลา่ วเป็ นรูปแบบการประมวลผลแบบกระจาย• ในช่วงแรก จะทางานเป็ นเอกเทศโดยเป็ นรูปแบบการทางานแบบกระจายศนู ย์ นนั่ คือ ไม่มี การเชอื่ มโยงถงึ กนั จนกระทงั่ เกิดระบบแลน การทางานใดๆจะทาโดยเจ้าของงานซง่ึ เป็ นต้น ทางของข้อมลู เพื่อการประมวลผล แต่ในขณะเดยี วกนั ก็สามารถเช่อื มโยงกบั ผ้ใู ช้ในจดุ ตา่ งๆท่ี อย่หู ่างไกลกนั ได้ ทาให้การสือ่ สารข้อมลู ในสานกั งานมีความสะดวกและเป็นเคร่ืองมอื สาคญั ของการส่ือสารข้อมลู ในสานกั งานปัจจบุ นั นี ้

การสื่อสารข้อมลู และเครือข่ายคอมพวิ เตอร์• การสื่อสารข้อมลู เป็ นการส่งข้อมลู ข่าวสารจากต้นทางไปยงั ปลายทางโดยผ่านช่องทางการ ส่ือสารทงั้ สอ่ื แบบทตี่ ้องใช้สายและไมใ่ ช้สายนอกจากนนั้ ยงั เกย่ี วข้องกบั ชนดิ ของสญั ญาณ ประเภทของการสง่ สญั ญาณข้อมลู วธิ ีการสือ่ สารข้อมลู ทิศทางการสอื่ สารข้อมลู อปุ กรณ์ แปลงสญั ญาณ วธิ ีการแปลงสญั ญาณ• เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เป็ นการเชอ่ื มโยงคอมพิวเตอร์ตงั้ แตส่ องเครื่องขนึ ้ ไป เพื่อติดต่อสอื่ สาร แลกเปลย่ี นข้อมลู ระหว่างกนั โดยทวั่ ไปจะประกอบด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ช่องทางการ สื่อสารข้อมลู และอปุ กรณ์ท่ใี ช้เชอ่ื มตอ่ นอกจากนนั้ ยงั มีแบบจาลองไอเอสโอ ซง่ึ เป็ นระบบ เปิ ดเพอื่ เป็ นแนวทางมาตรฐาน เพอ่ื ให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ตา่ งระบบกนั ทางาน ร่วมกนั ได้

ความหมายของการส่ือสารโทรคมนาคมและการส่ือสารข้อมูล• การส่ือสารโทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถงึ การส่งผ่านสญั ญาณ หรือ พลงั งาน ซง่ึ อาจจะเป็ นขา่ วสารหรือข้อมลู ในรูปแบบตา่ งๆ ระหว่างผ้สู ่งและผ้รู บั ท่อี ยหู่ า่ งไกล กนั ในการสง่ ผ่านสญั ญาณจะอาศยั ช่องทางการสอ่ื สารข้อมลู ซง่ึ จะเป็ นแบบใช้สายโดยใช้ ลวดตวั นาฉนวน หรือแบบไม่ใช้สายโดยส่งสญั ญาณผ่านชนั้ บรรยากาศ เช่น การสอ่ื สารโดย การใช้โทรศพั ท์ (tele+phone = การพดู ระยะไกล) การแพร่ภาพโทรทศั น์ (tele + vision = การดู ระยะไกล) โทรเลข (tele + graph = การเขยี นทางไกล) เป็ นต้น

ความหมายของการส่ือสารโทรคมนาคมและการสื่อสารข้อมูล (ต่อ)• การส่ือสารข้อมลู (Data communication) หมายถงึ การส่งข้อมลู หรือขา่ วสาร จากผ้สู ่งต้นทางไปยงั ผ้รู บั ปลายทางทีอ่ ย่หู ่างไกล โดยผ่านช่องทางการสอ่ื สารเพอื่ เป็ นสื่อกลางในการสง่ ข้อมลู ซงึ่ อาจจะเป็ นแบบใช้ สาย หรือไมใ่ ช้สายก็ได้ ส่วนข้อมลู หรือข่าวสารนนั้ อาจจะเป็ นข้อความ เสยี ง ภาพเคลอ่ื นไหว หรือข้อมลู ที่ เป็ นมลั ติมีเดยี ก็ได้ ดงั นนั้ การสอื่ สารข้อมลู จงึ เป็ นส่วนหนง่ึ ของการส่ือสารโทรคมนาคม โดยเน้นการสง่ ผ่าน ข้อมลู โดยใช้ระบบคอมพวิ เตอร์และเครือข่ายเป็ นหลกั

องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมลู• ผ้สู ่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมลู (Sender)• ผ้รู ับหรืออุปกรณ์รับข้อมลู (Receiver) • ข้อมลู (Data)• ข่าวสาร (Message) „ ข้อความ (Text)• ตัวกลาง (Medium) „ รูปภาพ (Image)• โปรโตคอล (Protocol) „ เสียง (Voice)• ซอฟต์แวร์ (Software)

ตวั อย่างการสื่อสารข้อมลู

องคป์ ระกอบการส่ือสารขอ้ มลู

องคป์ ระกอบของระบบสื่อสารข้อมลู1.ผ้สู ง่ หรืออปุ กรณ์สง่ ข้อมลู (Sender) และ ผ้รู ับหรืออปุ กรณ์รับข้อมลู (Receiver)ผ้สู ง่ หรืออปุ กรณ์ สง่ ข้อมลู ต้นทาง ของ การส่ือสารข้อมลู มหี น้าท่ีเตรียมสร้างข้อมลู สว่ นผ้รู ับหรืออปุ กรณ์ รับข้อมลู เป็ นปลายทางการส่อื สารข้อมลู มีหน้าท่ีรับข้อมลู ท่ีสง่ มาให้ DTE แหลง่ กาเนดิ รับข้อมลู เทอร์มนิ อล คอมพิวเตอร์ เครื่องพมิ พ์อปุ กรณ์ รับ- สง่ ข้อมลูDCE อปุ กรณ์สง่ -รับข้อมลู โมเดม็ จานไมโครเวฟ ดาวเทยี ม

2.โปรโตรคอล (Protocol) และ ซอฟต์แวร์ (Software) โปรโตรคอล คือ วิธีการหรือกฏระเบียบที่ใช้ใน การสือ่ สารข้อมลู เพือ่ ให้ผ้รู ับและผ้สู ง่ สามารถเข้าใจกนั หรือคยุ กนั รู้เร่ือง สว่ นซอฟต์แวร์มหี น้าที่ทาให้การ ดาเนินงานในการสื่อสารข้อมลูเป็ นไปตามโปรแกรมท่ีกาหนดไว้3.ขา่ วสาร (Message) สญั ญาณอิเลคทรอนิกส์ที่สง่ ผา่ นไปในระบบส่อื สารเรียกวา่ ขา่ วสาร หรือ Information สามารถแบง่ การส่อื สารข้อมลู ได้เป็ น4 รูปแบบด้วยกนั คือ เสยี ง ข้อมลู ข้อความ ภาพ

4.สื่อกลาง (Medium) สอ่ื กลางเป็ นเส้นทางการสื่อสารเพอ่ื นาข้อมลู จากต้นทางไปยงั ปลายทาง สอื่ กลาง การสอ่ื สารอาจจะเป็ นเส้นลวด สายไฟ สายเคเบิลหรือ คล่ืนทางอากาศ เชน่ ไมโครเวฟ ดาวเทียม วิทยุการสง่ -รับข้อมลู เพอื่ โอนถา่ ยหรือแลกเปลย่ี นข้อมลู กนั ระหวา่ งผ้สู ง่ และผ้รู ับจะสาเร็จขนึ ้ ได้ต้องประกอบ ด้วยปัจจยั สาคญั 2 ประการ คือคณุ ภาพของสญั ญาณข้อมลู ท่ีสง่ -รับกนั และคณุ ลกั ษณะของสายสื่อสาร สาหรับสง่ ผ่านข้อมลู อยา่ งไรก็ตามเทคนิคการสง่ -รับข้อมลู ทงั้ ที่เป็ นสญั ญาณอนาลอ็ กและดิจิตอล

ทิศทางการส่ือสารขอ้ มลู : Direction of data flow• ทิศทางของสญั ญาณทีเ่ ดินทางระหวา่ งสองอุปกรณ์ เพอ่ื ติดต่อสื่อสาร รบั ส่งขอ้ มูล • แบบทางเดียว (Simplex) • แบบสองทางครง่ึ อตั รา (Half-duplex) • แบบสองทางเต็มอตั รา (Full-duplex)

รูปแบบการสง่ สญั ญาณข้อมลู 1. แบบทิศทางเดียวหรือซิมเพล็กซ์ (One-Way หรือ Simplex )ในการสง่สญั ญาณข้อมลู แบบ simplex ข้อมลู จะถกู สง่ ไปในทางเดียวเทา่ นนั้ และตลอดเวลา ตวั อยา่ งเชน่ การกระจายเสยี งของ สถานี วิทยุ หรือ การแพร่ภาพทางโทรทศั น์ เป็ นต้น

2. แบบกงึ่ ทางค่หู รือคร่ึงดเู พลก็ ซ์ (Either-Way of Two Waysหรือ HalfDuplex) การส่ือสารแบบ Half Duplex เราสามารถสง่ ข้อมลู สวนทางกนั ได้แต่ต้องสลบั กนั สง่ จะทาใน เวลาเดียว กนั ไมไ่ ด้ ตวั อยา่ งเช่น วทิ ยสุ อ่ื สารของตารวจแบบ Walkly-Talkly

3.แบบทางคู่ (Full-Duplex) ในแบบนีเ้ราสามารถสง่ ข้อมลู ได้พร้อมๆ กนัทงั้ สองทาง ตวั อยา่ งเช่น การพดู คยุ โทรศพั ท์ โดยสามารถสื่อสารพร้อมกนั ได้ทงั้ สองฝ่ าย บางครัง้ เรียกการสื่อสารแบบทางค่วู า่ Four-Wire Line

4.แบบสะท้อนสญั ญาณหรือ เอ๊กโคเพล๊กซ์ (Echo-Plex) เป็ นการสง่สญั ญาณท่ีรวมทงั้ Half-Duplex และ Full-Duplex ไว้รวมกนั เชน่ ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคีย์บอร์ด และจอภาพของเครื่อง Terminal ของ Main Frame หรือ Hostคอมพิวเตอร์

ชนิดของสญั ญาณ : Type of signal• สญั ญาณอนาล็อก (Analog signal) • เป็ นสญั ญาณแบบตอ่ เน่ือง เชน่ สญั ญาณเสียงในสายโทรศพั ท์ • ขอ้ ดี คือ สง่ ในระยะไกลได้ • ขอ้ เสยี คือ สญั ญาณถกู รบกวนไดง้ า่ ย ขอ้ มลู ผิดพลาดได้• สญั ญาณดิจติ อล (Digital signal) • สญั ญาณอยใู่ นรปู ของตวั เลขฐานสอง คือ 0 และ 1 • ใชใ้ นระบบคอมพวิ เตอร์ • ขอ้ ดี คือ แม่นยา มีความน่าเช่ือถือสงู • ขอ้ เสีย คือ ผิดเพ้ ยี นไดง้ า่ ย ถา้ เป็ นการสง่ ในระยะไกล

องค์ประกอบพนื้ ฐานของเครือข่าย

อุปกรณส์ ื่อสาร : Communication devices

ตวั กลางในการสื่อสารขอ้ มลู : Media• ชอ่ งทางท่ใี ชเ้ ป็ นทางเดินขอ้ มลู (Media/Channel)• ตวั กลางที่ใชเ้ พอื่ ส่งผ่านขอ้ มลู มี 2 ชนิด • มีสาย • ไรส้ าย• แต่ละชนิดมคี วามถี่ต่างกนั เรียกวา่ แบนดว์ ิธ (Bandwidth)• ความถ่ีของชอ่ งสญั ญาณจะเป็ นตวั กาหนดความจุของขอ้ มูลทส่ี ่งไปในชว่ งเวลาหน่ึง มหี น่วยเป็ น บิตตอ่ วินาที (Bits per second : bps)• ถา้ มแี บนดว์ ธิ สงู ก็จะรบั ส่งขอ้ มลู ไดม้ าก

ตวั กลางแบบมีสาย : Wire• สายค่ตู ีเกลียว (Twisted-pair) • คลา้ ยสายโทรศพั ท์ เหมาะกบั ระยะส้นั • แบบมีฉนวนหมุ้ และไม่มีฉนวนหมุ้• สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) • คลา้ ยสายทีวี ราคาแพง • ป้ องกนั คล่นื รบกวนไดด้ ี ความเร็วตา่• สายไฟเบอรอ์ อปติก (Fiber-optic) • ใชแ้ สงในการนาขอ้ มลู ผา่ นทอ่ นาแสง • สง่ ขอ้ มลู ไดไ้ ว ราคาแพง สญั ญาณรบกวนตา่

ตวั กลางแบบไรส้ าย : Wireless• อนิ ฟราเรด • ใชใ้ นการสง่ ขอ้ มลู ระยะใกลๆ้ เชน่ remote control วิทยุ/ทีวี • ความถ่ีสน้ั ชอ่ งทางส่ือสารนอ้ ย • ความเรว็ ประมาณ 4-16 Mbps • ทะลผุ ่านวตั ถุไม่ได้ ตอ้ งวางแนวเสน้ ตรงไม่เกิน 1-2 เมตร• คล่ืนวทิ ยุ • มีหลายชนิด เชน่ Bluetooth, VHF, UHF • ความถ่ีแตกต่างกนั ไป ใชใ้ นการส่ือสารระยะใกล้ • ความเร็วตา่ ประมาณ 2 Mbps • ไมจ่ าเป็ นตอ้ งอยแู่ นวเดียวกบั จุดสง่ ผา่ นวตั ถุขวางก้นั ได้

ตวั กลางแบบไรส้ าย : Wireless• คลื่นไมโครเวฟ • เป็ นคล่นื วทิ ยุชนิดหน่ึงที่มีความถี่สงู ระดบั GHz • เป็ นคลื่นเสน้ ตรงในระดบั สายตา • ตอ้ งมีจานรบั สง่ ตามยอดตึก/เขาเพื่อสง่ ตอ่ สญั ญาณ • ความเรว็ สงู ติดต้งั งา่ ย ประหยดั • สภาวะอากาศมีผลต่อสญั ญาณ• ดาวเทียม • คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้ า รบั สญั ญาณจากโลก • ดาวเทียม 3 ดวงก็ครอบคลมุ โลกไดห้ มด • ค่าอุปกรณ์ ติดต้งั บรกิ ารแพง • ความเรว็ ในสง่ ขอ้ มลู ค่อนขา้ งชา้ (166-400 Kbps)

อุปกรณเ์ ช่ือมตอ่ : Devices• โมเด็ม : Modem (Modulator/Demodulator)• Modulator ตวั แปลงสญั ญาณดิจติ อลเป็ นอนาล็อก• Demodulator ตวั แปลงสญั ญาณอนาล็อกเป็ นดิจิตอล• อปุ กรณท์ ี่ใชเ้ พอ่ื ติดต่อสื่อสารระหวา่ คอมพิวเตอรผ์ ่านสายโทรศพั ท์• มสี องแบบ คอื แบบภายนอก และภายใน

ชนิดของการเชอื่ มต่อ : Type of connection• Dial up • ส่งสัญญาณผ่านระบบโทรศพั ท์พ้ นื ฐาน โดยใช้ Modem เป็ นตวั แปลงสัญญาณ • ความเร็วตา่ ระดบั 56 Kbps• DSL, xDSL • ผ่านสายโทรศพั ทพ์ ้ นื ฐานและใช้ DSL modem • สญั ญาณดิจิตอลความเร็วสูง เขา้ รหสั ในย่านความถ่ีสงู กวา่ โทรศพั ทท์ วั่ ไป • ใชก้ บั อินเทอรเ์ น็ตและเครือข่ายระยะไกล • ความเร็วตง้ั แต่ 256 Kbps – 2 Mbps• ISDN • เทคโนโลยีแบบดจิ ิตอลใชก้ บั อินเทอรเ์ น็ตความเรว็ สงู • ความเร็วสงู กวา่ ระบบโทรศพั ทพ์ ้ นื ฐาน ประมาณ 1 Mbps • รบั ส่งขอ้ มลู ไดห้ ลายรปู แบบ โดยไม่รบกวนกนั • สามารถใชโ้ ทรศพั ท์ไดข้ ณะใชง้ านอินเทอรเ์ น็ต

ชนิดของการเช่อื มตอ่ : Type of connection• Cable • นิยมใชร้ ว่ มกบั ระบบเคเบิลทีวี โดยใชโ้ มเด็มตอ่ กบั สายเคเบิลทีวี • ความเรว็ ประมาณ 10 Mbps • ค่าใชจ้ ่ายไมแ่ พง ติดต้งั งา่ ย ใชโ้ ทรศพั ทไ์ ดพ้ รอ้ มกบั อินเทอรเ์ น็ต• Cellular • ติดตอ่ ผา่ นเครือขา่ ยโทรศพั ทม์ ือถือ • ใช้ cellular modem ท่ีมีในเครื่องติดต่อ • ความเร็วตา่ กวา่ โทรศพั ทพ์ ้ นื ฐานครึง่ หน่ึง • ระบบ 3G พฒั นาข้ นึ ใหม่ ความเร็วสงู ข้ นึ

โปรโตคอล : Protocol• มาตรฐาน/ขอ้ ตกลงในการส่ือสารขอ้ มลู• ครอบคลุมถึง • วธิ ีการและรปู แบบการสง่ ขอ้ มลู • จงั หวะเวลาในการสง่ ขอ้ มลู • ลาดบั การรบั สง่ ขอ้ มลู • วิธีจดั การป้ องกนั ความผิดพลาด• เปรยี บเสมอื นภาษาที่ใชส้ ่ือสารในระบบเครอื ขา่ ย• โปรโตคอลต่างกนั ก็คุยกนั ไมร่ เู้ ร่ือง

เครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ : Computer Networks• กลุ่มของคอมพิวเตอรแ์ ละอุปกรณต์ ่างๆ ท่ีเช่อื มต่อเขา้ ดว้ ยกนั• สามารถใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ภายในเครือขา่ ยได้• ขอ้ ดีของเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ • สะดวกในการสอื่ สาร • ใชฮ้ ารด์ แวรร์ ว่ มกนั • ใชซ้ อฟตแ์ วรร์ ว่ มกนั • ใชข้ อ้ มลู และสารสนเทศรว่ มกนั

ประเภทของเครอื ขา่ ย : Type of network• แบ่งเป็ น 3 ประเภท คอื เครอื ขา่ ยเฉพาะที่ เครอื ข่ายระดบั เมือง และเครือขา่ ยระดบั ประเทศ• เครือขา่ ยเฉพาะที่ • Local Area Network : LAN • เครอื ขา่ ยท่ีมีการเชอื่ มตอ่ กนั ในระยะใกล้ ครอบคลุมภายใตพ้ ้ นื ที่จากดั • เชอ่ื มต่อภายในอาคารเดียวกนั หรืออาคารในบริเวณเดียวกนั • เช่ือมตอ่ เครอื่ งพซี ีต้งั แต่สองเครอื่ งเขา้ ดว้ ย อาจรวมถึง เครอ่ื งพิมพแ์ ละอุปกรณอ์ ื่นๆ เพ่อื ใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั • หากตอ้ งการเชือ่ มตอ่ ระยะไกลข้ นึ จะใชอ้ ุปกรณท์ วน สญั ญาณ (Repeater) รว่ มดว้ ย

ประเภทของเครือขา่ ย : Type of network• เครอื ข่ายระดบั เมอื ง • Metropolitan Area Network : MAN • เช่อื มตอ่ เครือขา่ ย LAN เขา้ ไวด้ ว้ ยกนั • ครอบคลุมพ้ นื ท่ีกวา้ ง ระดบั เมืองหรือจงั หวดั • มีแบคโบน (Backbone) ทาหนา้ ที่เป็ นสายหลกั ในการเชอ่ื มเครือขา่ ย• เครอื ข่ายระดบั ประเทศ • Wide Area Network : WAN • เช่อื มตอ่ เครอื ขา่ ยตา่ งๆ เขา้ ดว้ ยกนั • ครอบคลมุ ระดบั ประเทศหรอื ขา้ มทวีป • ติดต่อผ่านชอ่ งทางสอ่ื สารระยะไกล เชน่ สายโทรศพั ท์ เคเบิล ดาวเทียม

ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามหนา้ ที่ของคอมพิวเตอร์ 2.1 Peer-to-Peer Network หรือเครือข่ายแบบเท่าเทยี ม 2.2 Client-Server Network หรือเครือข่ายแบบผ้ใู ช้บริการและผ้ใู ห้บริการ

ประเภทของเครือข่ายแบ่งตามความปลอดภยั

ประเภทของเครอื ขา่ ย

สถาปัตยกรรมเครอื ขา่ ย : Network architecture• อธิบายถึงการจดั การเครือข่ายทเี่ กีย่ วขอ้ งกบั • การจดั รปู แบบการเชอ่ื มตอ่ ทางกายภาพ • วิธีการเชอ่ื มตอ่ และการรบั สง่ ขอ้ มลู • ลกั ษณะการใชง้ านเครือขา่ ย• รปู แบบการเชอื่ มต่อเครือขา่ ย (Topology) มี 3 แบบ • แบบดาว (Star) • แบบวงแหวน (Ring) • แบบบสั (Bus)

การเชือ่ มตอ่ แบบดาว : Star topology• เรม่ิ ตน้ จากการเช่อื มต่อในระบบเมนเฟรม• เทอรม์ ินัลเชื่อมต่อกบั เมนเฟรมเพอ่ื ขอใชท้ รพั ยากร• มีคอมพวิ เตอรต์ รงกลางเป็ นตวั ควบคุมการรบั ส่งขอ้ มลู เรยี กวา่ ฮบั (Hub)• เครอื่ งอืน่ ๆ เช่อื มต่อไปยงั ฮบั ลกั ษณะคลา้ ยรปู ดาว• เป็ นการส่อื สารแบบ 2 ทิศทาง• ไมม่ กี ารชนกนั ของขอ้ มลู เพราะส่งไดท้ ีละเครอื่ ง• ขอ้ ดี ติดต้งั และดูแลงา่ ย ถา้ เครอ่ื งลกู ขา่ ยเสีย ก็ตรวจสอบไดง้ า่ ย เครื่องอ่ืนยงั ตดิ ตอ่ กนั ได้• ขอ้ เสยี ถา้ ฮบั เสีย เครอื ขา่ ยลม่ ใชส้ ญั ญาณมากกวา่ แบบอนื่

การเช่อื มตอ่ แบบวงแหวน : Ring topology• เชื่อมต่อกนั แบบวงกลม• รบั ส่งแบบทศิ ทางเดียว• ตรวจสอบขอ้ มูลทีส่ ่งมาวา่ ใชข่ องตนหรอื ไม่ ถา้ ใช่ก็รบั ไว้ ถา้ ไม่ใชก่ ็ส่งต่อ• ขอ้ ดี ส่งขอ้ มูลไปยงั ผรู้ บั หลายเครือ่ งๆ พรอ้ มกนั ได้ ไม่เกดิ การชนกนั ของขอ้ มูล• ขอ้ เสีย ถา้ เคร่อื งใดมีปัญหา เครือขา่ ยล่ม การติดต้งั ทาไดย้ าก และใชส้ ายสญั ญาณมากกวา่ แบบบสั

การเช่อื มต่อแบบบสั : Bus topology• เชอ่ื มต่อเป็ นเสน้ ตรง• มีสายหน่ึงทาหนา้ ที่เป็ นแกนหลกั (backbone)• ทุกเครอ่ื งจะเชือ่ มต่อเขา้ ส่แู กนน้ ี• ขอ้ ดี ประหยดั สายสญั ญาณ เคร่อื งหนึ่งเสียก็ไมก่ ระทบกบั เครอื ขา่ ย• ขอ้ เสีย อาจเกดิ การชนกนั ของ ขอ้ มูลได้ ตอ้ งมีการส่งใหม่ ถา้ สายหลกั เสีย เครอื ข่ายล่ม

รูปแบบของระบบเครือข่าย • Mesh • Bus • Star • Tree • Ring

ลกั ษณะการใชง้ านเครือขา่ ย : Type of LAN • Client/Server • ประกอบดว้ ยเคร่ืองที่ทาหนา้ ท่ีใหบ้ ริการ (Server) และเครอ่ื งท่ีทาหนา้ ที่ขอใชบ้ ริการ (Client) • Server จะทาหนา้ ท่ีควบคุมการทางานของเครอื ขา่ ย การเขา้ ถึงอุปกรณฮ์ ารด์ แวรแ์ ละซอฟตแ์ วร์ รวมถึงขอ้ มลู บนเครือขา่ ย • Client เป็ นเครือ่ งลกู ขา่ ย จะรอ้ งขอความตอ้ งการไปยงั server • Peer-to-peer • ใหค้ วามสาคญั กบั เคร่อื งในเครอื ขา่ ยเท่ากนั • ไมต่ อ้ งมีตวั ควบคุม แต่ละตวั เป็ นไดท้ ้งั เคร่อื งลกู ขา่ ยและเคร่อื งบริการ • สามารถใชท้ รพั ยากรรว่ มกนั ได้ ตน้ ทุนตา่ ไม่คานึงถึงความปลอดภยั มากนัก

ลกั ษณะการใชง้ านเครอื ขา่ ย : Type of LAN • Client/Server • Peer-to-peer

สว่ นประกอบของเครอื ขา่ ย : LAN component• สายสญั ญาณ• ซอฟตแ์ วร์• การด์ แลน• อปุ กรณใ์ นการเช่อื มเครือขา่ ย

ซอฟตแ์ วรใ์ นระบบเครอื ขา่ ย : Software • เป็ นโปรแกรมท่ใี ชใ้ นการสื่อสาร • โปรแกรมระบบปฏิบตั ิการเครอื ข่าย (Network operating system) • จดั การไฟลข์ อ้ มลู • ติดต่อกบั ผใู้ ชง้ านในเครือขา่ ย • บริการในการใชง้ านทรพั ยากรรว่ มกนั • เลอื กใชใ้ หต้ รงกบั ลกั ษณะการใชง้ านของเครือขา่ ย • Window NT, Novell Netware, Appleshare, Unix, Linux • โปรแกรมประยุกตท์ ีใ่ ชง้ านบนเครือข่าย • สามารถรนั ขา้ มเคร่ืองได้

Network Interface Card : NIC • ติดตัง้ บนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เพ่ือให้สามารถเช่อื มต่อเข้ากับระบบเครือข่ายผ่านทาง Switch หรือ Hub • Bandwidth 10/100/1000 Mbps

ส่ือกลางสาหรับการรับส่ งข้ อมลู แบ่งเป็ นแบบมีสายกบั ไร้สาย สายสัญญาณ ปัจจุบนั มสี ายสัญญาณทใี่ ช้เป็ นมาตรฐานในระบบ เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ อยู่ 3 ประเภท คอื 1. สายคเู่ กลยี วบดิ (Twisted Pairs) 2. สายโคแอ็กเชยี ล (Coaxial Cable) 3. สายใยแก้วนาแสง (Fiber Optic)

สายคู่บดิ เกลยี ว Twisted Pair

สาย UTP สาย UTP เป็ นสายทใี่ ช้เชือ่ มโยง คอมพิวเตอร์ไปยงั อปุ กรณ์สอื่ สารตามมาตรฐาน กาหนดความยาวได้ไม่เกนิ 100 เมตร เป็ นสายแบบท่มี ีตวั นาทองแดง 4 ค่โู ดย ทว่ั ไปเป็ นสายที่ใช้ลวดตวั นาทม่ี ีขนาดเส้น ผ่านศนู ย์กลางประมาณ 0.5 มิลลิเมตร สาย 4 ค่ทู ีต่ เี กลียวสลบั กนั ดงั นนั้ จงึ จาเป็ นต้องมสี ีเพื่อกาหนดสายเพื่อให้การเลอื ก ตอ่ สายทปี่ ลายทงั้ สองได้ถกู ต้อง จงึ มกี ารกาหนดสใี ห้เป็ นรหสั บง่ บอกสาย สที ีป่ รากฏ ที่สาย UTP ทใ่ี ช้ในมาตรฐานนมี ้ ีดงั นี ้ สายค่ทู ่ี 1 ใช้สขี าว - ฟ้ า ตวั ยอ่ (W-BL) สายคทู่ ่ี 2 ใช้สีขาว - ส้ม ตวั ย่อ (W-O) สายค่ทู ่ี 3 ใช้สขี าว - เขยี ว ตวั ยอ่ (W-G) สายคทู่ ่ี 4 ใช้สขี าว - นา้ ตาล ตวั ยอ่ (W- BR)

Category ของสาย UTP

STP (Shield Twisted Pair) เป็ นสายคลู่ กั ษณะคล้ายกนั กบั สาย UTP แต่มฉี นวนป้ องกนั สญั ญาณรบกวน สายคตู่ ีเกลียวห้มุ ฉนวนทีเ่ ป็ นโลหะถกั เป็ นร่างแหโลหะหรือฟอยส์ ซง่ึ ร่างแหนจี ้ ะมคี ณุ สมบตั ิเป็ นเกราะในการป้ องกนั สญั ญาณรบกวนต่างๆ ภาษาเทคนิคเรียกเกราะนวี ้ ่า ชลิ ด์ (Shield) จะใช้ในกรณีทเ่ี ชือ่ มตอ่ เป็ น ระยะทางไกลเกินกว่าระยะทางทีจ่ ะใช้สาย UTP


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook