Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6

วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6

Description: วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6

Search

Read the Text Version

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 6 ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์

ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ความต่างศักย์ไฟฟ้า อุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า การใช้พลงั งานไฟฟ้า การต่ออุปกรณ์ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน ประโยชน์ของ อเิ ลก็ ทรอนิกส์

ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า

ความต่างศักย์ไฟฟ้า • เป็ นความแตกต่างของพลงั งานไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด ซ่ึงทาใหเ้ กิดกระแสไฟฟ้า • กระแสไฟฟ้าไหลจากจุดท่ีมีศักยไ์ ฟฟ้าสูงไปยังจุดท่ีมี ศกั ยไ์ ฟฟ้าต่า และจะหยุดไหลเมื่อศกั ยไ์ ฟฟ้าท้งั สองจุด เท่ากนั • เคร่ืองวดั ความต่างศักย์ไฟฟ้า เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ มี หน่วยเป็น โวลต์ (Volt : V) • การต่อโวลตม์ ิเตอร์ในวงจรไฟฟ้าเพื่อใชว้ ดั ค่าความต่าง ศกั ยไ์ ฟฟ้าจะตอ้ งต่อแบบขนาน

กระแสไฟฟ้า • กระแสไฟฟ้าเกิดข้ึนไดเ้ ม่ือมีความตา่ งศกั ยต์ ่างกนั สองบริเวณ • กระแสไฟฟ้าจะไหลผา่ นวตั ถุท่ีมีสมบตั ินาไฟฟ้าได้ ซ่ึงจะไหลผา่ นมากหรือนอ้ ยน้นั ข้ึนอยกู่ บั ลกั ษณะของตวั นาไฟฟ้า • เคร่ืองมือที่ใชว้ ดั กระแสไฟฟ้า เรียกวา่ แอมมิเตอร์ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (ampere : A) • การตอ่ แอมมิเตอร์ในวงจรไฟฟ้าเพ่ือวดั ความกระแสไฟฟ้าจะต่อแบบอนุกรม

ไฟฟ้ากระแสตรง • กระแสไฟฟ้าที่ไหลในทิศทางเดียวตลอดเวลา • ไหลจากจุดที่มีศกั ยไ์ ฟฟ้าสูงกวา่ ไปยงั จุดท่ีมี ศกั ยไ์ ฟฟ้าต่ากวา่ หรือไหลจากข้วั บวกไปยงั ข้วั ลบ ไฟฟ้ากระแสสลบั • กระแสไฟฟ้าท่ีเกิดจากการเคล่ือนที่ของ อิเลก็ ตรอน • มีทิศทางกลบั ไปกลบั มาตลอดเวลาดว้ ยความถี่ ค่าหน่ึง

ความต้านทานไฟฟ้า • เป็นสมบตั ิของตวั นาไฟฟ้าที่ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ น ไปมากหรือนอ้ ย • ตวั นาไฟฟ้าท่ีมีความตา้ นทานต่าจะยอมใหก้ ระแสไฟฟ้า ไหลผา่ นไดม้ าก ส่วนตวั นาไฟฟ้าที่มีความตา้ นทานสูงจะ ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นไดน้ อ้ ย • เคร่ืองมือวดั ค่าความตา้ นทานไฟฟ้า เรียกวา่ มลั ติมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm : Ω )

ปัจจยั ทมี่ ีผลต่อความต้านทานไฟฟ้า ชนิดของตัวนาไฟฟ้า • ตวั นาไฟฟ้า คือ วตั ถทุ ี่ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้า ไหลผา่ นไดด้ ี ไดแ้ ก่ โลหะ เช่น เงิน ทองแดง สงั กะสี อะลูมิเนียม เป็นตน้ • ฉนวนไฟฟ้า คือ วตั ถุที่ไม่ยอมให้ กระแสไฟฟ้าไหลผา่ น หรือไหลผา่ นไดน้ อ้ ย ไดแ้ ก่ อโลหะ เช่น พลาสติกไม้ ผา้ เป็นตน้

ขนาดของตัวนาไฟฟ้า ความตา้ นทานสูง ลวดนิโครมทม่ี ีขนาดเลก็ และยาว ตวั นาไฟฟ้าชนิดเดียวกนั แตม่ ีขนาดต่างกนั ตวั นาไฟฟ้าขนาดเลก็ จะมีความตา้ นทานสูงกวา่ ตวั นาไฟฟ้าขนาดใหญ่ ความยาวของตัวนาไฟฟ้า ทองแดงทมี่ ีขนาดเลก็ และยาว ความตา้ นทานต่า ทองแดงที่มีขนาดใหญ่และยาว ตวั นาไฟฟ้าชนิดเดียวกนั แตม่ ีความยาว ตา่ งกนั ตวั นาไฟฟ้าท่ีมีความยาวนอ้ ยกวา่ จะมี ทองแดงท่ีมีขนาดใหญ่และส้ัน ความตา้ นทานต่ากวา่ ตวั นาไฟฟ้าที่มีความยาว มากกวา่ อุณหภูมิ ตวั นาไฟฟ้าท่ีเป็นโลหะบริสุทธ์ิและโลหะผสม เมื่ออณุ หภมู ิเพ่ิมข้ึน ค่าความตา้ นทาน กจ็ ะเพมิ่ ข้ึน

ความสัมพนั ธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า • กฎของโอห์ม กลา่ ววา่ “เม่ืออุณหภูมิคงท่ี อตั ราส่วนระหวา่ งความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ากบั กระแสไฟฟ้าของตวั นาไฟฟ้า จะมีค่าคงที่เท่ากบั ความตา้ นทานของตวั นาไฟฟ้าน้นั ” • ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความตา้ นทานไฟฟ้า เขียนเป็นสมการ ไดด้ งั น้ี V = IR เมื่อ V แทนความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) I แทนกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) R แทนความตา้ นทานไฟฟ้า

ตวั อย่าง

ตวั อย่าง

ตวั อย่าง

การใช้พลงั งานไฟฟ้า

กาลงั ไฟฟ้า ค่าของพลงั งานไฟฟ้าท่ีถกู ใชไ้ ปใน 1 วินาที มีหน่วยเป็น วตั ต์ (Watt : W) หรือ จูลตอ่ วินาที (Joule : J/s) สามารถเขียนเป็นสมการแสดงความสัมพนั ธ์ได้ ดงั น้ี เม่ือ P แทนกาลงั ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวตั ต์ (W) W แทนพลงั งานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล (J) t แทนเวลา มีหน่วยเป็นวนิ าที (s)

กาลงั ไฟฟ้าจะมีคา่ มากหรือนอ้ ยข้ึนอยกู่ บั ปริมาณกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นเครื่องใชไ้ ฟฟ้า และความต่างศกั ยท์ ่ีเครื่องใชไ้ ฟฟ้าน้นั ๆ ต่ออยู่ โดยเขียนเป็นสมการแสดงความสมั พนั ธไ์ ด้ ดงั น้ี เมื่อ P แทนกาลงั ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวตั ต์ (W) V แทนความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V) I แทนกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A) R แทนความตา้ นไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω)

การคานวณค่าไฟฟ้า • การคิดค่าไฟฟ้า คือ การคิดราคาพลงั งานไฟฟ้าที่ถูกใชไ้ ปตามอตั ราท่ีการไฟฟ้ากาหนด ซ่ึงค่าไฟฟ้าจะคิดเป็นกิโลวตั ตช์ วั่ โมง หรือหน่วย • ปริมาณพลงั งานท่ีใชข้ ้ึนอยกู่ บั กาลงั และเวลา เขียนเป็นสมการ ไดด้ งั น้ี W = Pt เม่ือ W แทนพลงั งานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นกิโลวตั ตช์ ว่ั โมง (kWh) P แทนกาลงั ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นกิโลวตั ต์ (kw) t แทนเวลา มีหน่วยเป็นชว่ั โมง (h)

ตวั อย่าง

ตวั อย่าง

ค่าไฟฟ้าฐาน • แบบจดทะเบียนเป็นผใู้ ชพ้ ลงั งานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยตอ่ เดือน อตั ราคา่ ไฟฟ้าเมื่อมีปริมาณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยตอ่ เดือน จานวนหน่วย หน่วยที่ ค่าพลงั งานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) 5 หน่วยแรก 1-5 0 10 หน่วยต่อไป 6-15 10 หน่วยตอ่ ไป 16-25 1.3576 10 หน่วยต่อไป 26-35 1.5445 65 หน่วยตอ่ ไป 36-100 1.7968 50 หน่วยตอ่ ไป 2.1800 101-150 2.2734

• แบบจดทะเบียนเป็นผใู้ ชพ้ ลงั งานไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยต่อเดือน อตั ราคา่ ไฟฟ้าเม่ือมีปริมาณการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าเกินกวา่ 150 หน่วยตอ่ เดือน จานวนหน่วย หน่วยท่ี ค่าพลงั งานไฟฟ้า (บาท/หน่วย) 150 หน่วยแรก 1-150 1.8047 250 หน่วยตอ่ ไป 151-400 2.7781 เกิน 400 หน่วยข้ึนไป 401 เป็นตน้ ไป 2.9780

ค่าบริการรายเดือน ประเภทที่อยอู่ าศยั ถา้ หากใชไ้ ฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยตอ่ เดือน จะเสีย คา่ บริการ 8.19 บาทตอ่ เดือน ถา้ เกิน 150 หน่วย ต่อเดือน จะเสียคา่ บริการ 40.90 บาทต่อเดือน ค่าไฟฟ้าผนั แปรหรืออตั ราค่าไฟฟ้า โดยอตั โนมัติ (Ft) มีคา่ ไม่แน่นอน ข้ึนอยกู่ บั หลายปัจจยั ภาษีมูลค่าเพม่ิ คิดจากค่าไฟฟ้าฐานรวมกบั ค่าไฟฟ้าผนั แปร ในอตั ราร้อยละ 7

ตวั อย่าง

การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้านอย่างประหยดั และปลอดภัย เครื่องใช้ไฟฟ้าทใี่ ห้พลงั งานแสงสว่าง • หลอดธรรมดาหรือหลอดแบบมีไส้: • หลอดฟลูออเรสเซนต์หรือหลอด มีลกั ษณะเป็นกระเปาะแกว้ ใส นีออน: ภายในเป็นสุญญากาศ บรรจุ ภายในมีไสห้ ลอดทาดว้ ยโลหะ ไอปรอทไวเ้ ลก็ นอ้ ย ผวิ ดา้ นในฉาบ ทงั สเตนกบั ออสเมียขดเป็นสปริง ดว้ ยสารเรืองแสง ไสห้ ลอด แก๊สไนโตรเจน และอาร์กอน กระเปาะแกว้ ข้วั ต่อไฟ กา้ นยดึ ไสห้ ลอด

วธิ ีเลือกใช้หลอดไฟฟ้าอย่างประหยดั และปลอดภัย • เลือกหลอดไฟชนิดประหยดั ไฟ และมีระยะเวลาใชง้ านนาน • เลือกหลอดไฟท่ีมีกาลงั วตั ตเ์ หมาะสมกบั การใชง้ าน • ในบริเวณท่ีตอ้ งการความสวา่ งมาก ควรเลือกใชห้ ลอดฟลูออเรสเซนต์ • เปิ ดไฟเฉพาะบริเวณท่ีตอ้ งการ และปิ ดไฟทุกคร้ังเมื่อเลิกใชง้ าน

เครื่องใช้ไฟฟ้าทีใ่ ห้พลงั งานความร้อน เตารีด • ระมดั ระวงั ไม่ใหค้ วามร้อนจากเตารีดสัมผสั กบั สายไฟฟ้า • หมนั่ ตรวจสอบที่หุม้ สายของเตารีด • ควรรีดผา้ คร้ังละมากๆ กาต้มน้าไฟฟ้า • ควรใส่น้าใหพ้ อเหมาะกบั ความตอ้ งการ • ไม่ควรวางใกลว้ ตั ถตุ ิดไฟ • ตรวจสอบสายไฟอยเู่ สมอ • เมื่อเลิกใชค้ วรถอดปลก๊ั ทนั ที

เครื่องใช้ไฟฟ้าท่ใี ห้พลงั งานกล ตู้เยน็ • เลือกซ้ือตูเ้ ยน็ ที่มีสลากประหยดั ไฟเบอร์ 5 • ไม่นาของร้อนใส่ในตูเ้ ยน็ เพราะทาใหก้ ินไฟมาก • ควรหมน่ั ทาละลายน้าแขง็ ออก เครื่องปรับอากาศ • เลือกเคร่ืองปรับอากาศที่มีสลากประหยดั ไฟเบอร์ 5 • ขณะเปิ ดใชง้ านควรปิ ดประตหู รือหนา้ ต่างใหส้ นิท • หมนั่ ตรวจสอบและทาความสะอาดแผน่ กรองอากาศ • เลือกขนาดใหเ้ หมาะสมกบั หอ้ ง • ปรับอณุ หภูมิท่ี 25 องศาเซลเซียส

เครื่องซักผ้า • เลือกขนาดใหเ้ หมาะสมกบั การใชง้ าน • ไม่ใส่ผา้ อดั แน่นเกินกาลงั ของเคร่ือง • ไม่ควรวางเครื่องซกั ผา้ ในพ้ืนที่ท่ีเปี ยกง่าย • ไม่ควรซกั ผา้ คร้ังละจานวนนอ้ ยเกินไป • ดึงปลกั๊ ออกทนั ทีเม่ือเลิกใชง้ าน

เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลงั งานเสียง วทิ ยุ • ปิ ดวิทยใุ นช่วงท่ีสภาพอากาศแปรปรวน มีฝนฟ้าคะนอง • เปิ ดเสียงใหด้ งั แตพ่ อควร หากเปิ ดดงั เกินไปอาจทาใหล้ าโพงเกิดความเสียหาย • ไม่วางวทิ ยใุ นท่ีเปี ยกช้ืน • เมื่อเลิกใชง้ านควรปิ ดวิทยุ และดึงปลกั๊ ออกทุกคร้ัง

การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน

การต่อวงจรไฟฟ้า การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม • เป็นการตอ่ อุปกรณ์ต่างๆ ในวงจรเรียงกนั เป็นสายเดียว • กระแสไฟฟ้าจะไหลในทิศทางเดียวกนั ตลอด • หากหลอดไฟฟ้าหลอดหน่ึงเสีย จะทาใหไ้ ฟฟ้าท้งั วงจรดบั ท้งั หมด

ผลของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรม • ความตา้ นทานรวมของหลอดไฟฟ้าจะเพ่มิ ข้ึนตามจานวนหลอดไฟฟ้าท่ีนามาตอ่ กนั Rรวม = R1 + R2 + … • กระแสไฟฟ้าที่ไหลผา่ นในวงจรจะมีค่าเท่ากนั ตลอดวงจร Iรวม = I1 = I2 • ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้าระหวา่ งปลายของหลอดไฟฟ้าแตล่ ะอนั จะข้ึนอยกู่ บั ความตา้ นทาน หรือกาลงั ไฟฟ้าของหลอดไฟฟ้าแตล่ ะหลอด ส่วนความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ารวมจะเท่ากบั ความต่างศกั ยข์ องแหล่งจ่ายพลงั งานไฟฟ้า Vรวม = V1 + V2 + …

การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน • เป็นการต่อวงจรไฟฟ้า โดยที่กระแสไฟฟ้ามีการแยกไหลออกไดห้ ลายทาง และ ช่วงสุดทา้ ยจะไหลมารวมกนั • เม่ือหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหน่ึงเสีย จะไม่มีกระแสไฟฟ้าเฉพาะวงจรของหลอดไฟ ที่เสียเท่าน้นั

ผลของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบขนาน • ความตา้ นทานรวมของหลอดไฟฟ้าจะนอ้ ยลงและนอ้ ยกวา่ ความตา้ นทานที่นอ้ ยท่ีสุด ในวงจรไฟฟ้า 1/Rรวม = 1/R1 + 1/R2 + … • กระแสไฟฟ้าไหลผา่ นหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอดไม่เท่ากนั โดยกระแสไฟฟ้ารวมจะ เท่ากบั ผลบวกของกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นหลอดไฟฟ้าแตล่ ะหลอด Iรวม = I1 + I2 + … • ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้าระหวา่ งปลายท้งั สองของหลอดไฟฟ้าแตล่ ะหลอดจะเท่ากนั และเท่ากบั ความต่างศกั ยไ์ ฟฟ้ารวม Vรวม = V1 = V2

อุปกรณ์ทใี่ ช้ในวงจรไฟฟ้า สายไฟ สะพานไฟ ฟิ วส์ เป็นตวั นาไฟฟ้าท่ี เป็ นอุปกรณ์สาหรับ ทาจากตะกว่ั ผสมดีบุก ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าผา่ น ตดั หรือตอ่ วงจรไฟฟ้า และบิสมทั เลก็ นอ้ ย มีจุด ไปได้ ทาดว้ ยโลหะซ่ึง ตวั สะพานทาดว้ ยโลหะ หลอมละลายต่า ซ่ึงเมื่อเกิด ส่วนใหญ่เป็ นทองแดง มีฉนวนกระเบ้ืองหรือ และมีพลาสติกห่อหุม้ อยู่ พลาสติกห่อหุม้ และมี ไฟฟ้าลดั วงจร ฟิ วส์จะขาด คนั จบั ใชย้ กข้ึนลงได้ ซ่ึงช่วยตดั วงจรไฟฟ้าเพอื่ ป้องกนั ไม่ใหเ้ กิดอนั ตราย

สวิตช์ เป็นอุปกรณ์ตดั หรือตอ่ วงจรไฟฟ้าในส่วนที่ตอ้ งการ เต้ารับและเต้าเสียบ เป็นอุปกรณ์ที่จะนากระแสไฟฟ้าเขา้ สู่ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าเพอ่ื ใหส้ ามารถทางานได้ เตา้ เสียบมี 2 แบบ ไดแ้ ก่ • แบบ 2 ขา จะใชก้ บั เตา้ รับ 2 ช่อง • แบบ 3 ขา จะใชก้ บั เตา้ รับ 3 ช่อง (ขาที่ 3 จะต่อกบั สายดิน ซ่ึงช่วยป้องกนั อนั ตรายกรณีมีกระแสไฟฟ้าร่ัว)

เคร่ืองมือตรวจสอบในวงจรไฟฟ้า เคร่ืองมลั ติมิเตอร์ ไขควงตรวจสอบไฟฟ้า

อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์

ตัวต้านทาน เป็นอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่ทาหนา้ ท่ีลดปริมาณกระแสไฟฟ้า ตวั ต้านทานชนิดค่าคงที่ ส่วนใหญจ่ ะมีลกั ษณะเป็นทรงกระบอก บริเวณปลายท้งั สองขา้ งมีขาที่ทาดว้ ยโลหะ ซ่ึงเป็นสารผสมระหวา่ งดีบุกกบั ทองแดง การวดั คา่ ความตา้ นทานสามารถวดั โดยใช้ โอห์มมิเตอร์ และการอา่ นแถบสีท่ีปรากฏบน ตวั ตา้ นทาน

ค่าแถบสีของตวั ตา้ นทาน แถบสี ตวั เลขเทยี บค่า ตวั คูณ ความคลาดเคล่ือน ดา 0 100 = 1 - น้าตาล 1 101 = 10 - แดง 2 102 = 100 - สม้ 3 103 = 1,000 - เหลือง 4 104 = 10,000 - เขียว 5 105 = 100,000 - น้าเงิน 6 106 = 1,000,000 - มว่ ง 7 107 = 10,000,0000 - เทา 8 108 = 100,000,000 - ขาว 9 109 = 1,000,000,000 - ทอง - 0.1 ±5% เงิน - 0.01 ±10% ไม่มีสี - - ±20%

ตวั อย่าง

ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้ หรือรีโอสแตต สามารถปรับค่าความตา้ นทานไดต้ ามตอ้ งการ ซ่ึงนิยม ใชใ้ นเครื่องใชไ้ ฟฟ้าหลายชนิด เช่น ป่ ุมปรับความดงั ของ วทิ ยุ ตวั ต้านทานไวความร้อน มีคา่ ความตา้ นทานเปล่ียนไปตามอณุ หภูมิ นิยมใช้ เป็นตวั ตา้ นทานในเคร่ืองเตือนอคั คีภยั ไมโครเวฟ

ตัวต้านทานไวแสง • เปล่ียนค่าความตา้ นทานเมื่อความเขม้ แสงท่ีตกกระทบเปลี่ยนไป โดยเม่ือมีแสงหรือ ความเขม้ แสงมากข้ึน ความตา้ นทานจะมีค่าเพ่มิ ข้ึน • นิยมนามาใชใ้ นเครื่องวดั แสงของกลอ้ งถา่ ยรูป และเป็นตวั ตา้ นทานในสวิตชป์ ิ ด-เปิ ดไฟ อตั โนมตั ิ

ไดโอด • เป็นอุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ที่ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นทางเดียว • ทาจากสารก่ึงตวั นา 2 ชนิด คือ ชนิดพี (p หรือ +) และชนิดเอน็ (n หรือ -) • ประกอบดว้ ยข้วั 2 ข้วั คือ ข้วั บวกซ่ึงต่อกบั สารก่ึงตวั นาชนิด p และข้วั ลบซ่ึงตอ่ กบั สารก่ึงตวั นาชนิด n • ไดโอดธรรมดา : เป็นตวั ควบคุมใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลไปในทิศทางเดียว • ไดโอดเปลง่ แสง : เป็นไดโอดที่สามารถเปลง่ แสงออกมาเม่ือไดร้ ับกระแสไฟฟ้า

ทรานซิสเตอร์ • สามารถนาไปใชป้ ระโยชนแ์ ทนหลอดสุญญากาศได้ • โครงสร้างประกอบดว้ ยสารก่ึงตวั นา 3 ช้นั คือ เบส คอลเล็กเตอร์ และอิมิตเตอร์ จึงทาให้ทรานซิสเตอร์ มี 3 ขา ซิลคิ อนชิป • เป็ นการนาทรานซิสเตอร์มาบดั กรีไวก้ บั ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบทางไฟฟ้าอ่ืนๆ ซ่ึงทาเป็ นแผงวงจร

การต่อวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

การต่อวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การต่อวงจรตัวต้านทาน ตอ้ งตอ่ แบบอนุกรม ซ่ึงตวั ตา้ นทานจะควบคุมปริมาณ การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร การต่อวงจรไดโอดธรรมดา ตอ้ งต่อตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า จึงจะทาใหก้ ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นวงจรไดโอด การต่อวงจรไดโอดเปล่งแสง ตอ้ งตอ่ ตวั ตา้ นทานไวใ้ นวงจรดว้ ย เพื่อลดปริมาณ กระแสไฟฟ้าใหไ้ หลผา่ นไดโอดในปริมาณท่ีพอเหมาะ

การต่อวงจรทรานซิสเตอร์ เมื่อขาเบสมีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น ทาใหข้ า คอลเลก็ เตอร์และขาอิมิตเตอร์มีกระแสไฟฟ้า เมื่อขาเบสไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผา่ น ไหลออก หลอดไฟจึงสวา่ ง ทาใหข้ าคอลเลก็ เตอร์และขาอิมิตเตอร์ ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลออก หลอดไฟ จึงไม่สวา่ ง

ประโยชน์ของอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์

ประโยชน์ของตัวต้านทาน • เป็นอุปกรณ์ในเครื่องเตือนภยั • เป็นสวิตชป์ รับความดงั หรือความเร็ว • เป็นสวิตชเ์ ปิ ด-ปิ ดไฟอตั โนมตั ิ ประโยชน์ของไดโอด • ใชเ้ ป็นอุปกรณ์ป้องกนั ชิ้นส่วนอิเลก็ ทรอนิกส์ • ใชเ้ ป็นตวั แสดงผลของวงจรไฟฟ้า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook