Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore (unit1)

(unit1)

Published by pile_1207, 2017-09-21 05:31:44

Description: (unit1)

Search

Read the Text Version

หลกั สูตร ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) พทุ ธศกั ราช 2557วิชา คอนกรตี เทคโนโลยี (Concrete Technology) รหัสวชิ า 3121-2005 นายอัคเนตร ยศสมบัติ แผนกวชิ าชา่ งกอ่ สรา้ ง-โยธา 21 กันยายน 2560

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เพื่อให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจในชนิดและลักษณะของวสั ดผุ สมหรือมวลรวม 2. เพือ่ ให้สามารถใช้สารผสมเพิ่ม 3. เพื่อใหส้ ามารถวิเคราะหห์ าขนาดของมวลรวม 4. เพื่อใหส้ ามารถหาค่าความถ่วงจาเพาะ 5. เพอื่ ใหส้ ามารถทดสอบหาหน่วยนาหนกั มวลรวม 6. เพอื่ ให้รจู้ ักอินทรีย์สารที่เจือปนในมวลรวม 7. เพ่ือใหท้ าการทดสอบความทนทานของมวลรวม 8. เพ่ือใหส้ ามารถวเิ คราะหค์ ุณสมบตั ิของทรายหวั ข้อเร่อื ง 1. วัสดุผสมหรอื มวลรวม 2. สารผสมเพม่ิ 3. การวเิ คราะห์หาขนาดของมวลรวมละเอียดและมวลรวมหยาบ 4. การทดสอบหาค่าความถว่ งจาเพาะและการดูดซึมของมวลรวม 5. การทดสอบหาหน่วยนาหนักมวลรวมและปรมิ าณชอ่ งวา่ ง 6. การทดสอบหาปริมาณอินทรียส์ ารทเี่ จอื ปนในมวลรวม 7. ความทนทานต่อการขดั สขี องมวลรวม 8. การพองตัวของทรายสาระสาคญั วสั ดุผสมแบง่ เป็น 2 ประเภท คอื วสั ดผุ สมละเอียด (Fine Aggregate) = วัสดมุ ีขนาดเล็กลอดผ่านตะแกรงเบอร์ 4 ได้ จดั เป็นวสั ดุผสมละเอยี ด ได้แกว่ ัสดปุ ระเภททราย เช่น ทรายบก ทรายแมน่ า และ วัสดุผสมหยาบ (Coarse Aggregate) = วัสดทุ ่ีคา้ งบนตะแกรงเบอร์ 4 ไดแ้ ก่ กรวด หรือ หินจากโรงโมข่ นาดตา่ งๆ ใบความรู้ชือ่ วิชา คอนกรีตเทคโนโลยี สอนครั้งที่ 1ชอื่ หนว่ ย วสั ดผุ สมหรือมวลรวม หนว่ ยท่ี 1ชือ่ เร่ือง สารผสมเพมิ่ จานวน 2 ชัว่ โมง1.3.สารเพ่มิ แบบแร่ธาตุ (Mineral Admixture)มีลักษณะเปน็ ผงละเอียด ใชป้ รับปรงุ ความสามารถในการใช้งาน เพ่ิมความคงทน ทาให้คอนกรีตมีคณุ สมบัติในการเกาะตวั ดีขนึ และยังสามารถใช้ทดแทนปริมาณปนู ซเี มนต์ไดบ้ างส่วน1.4.สารผสมเพ่ิมอนื่ ๆ

เป็นสารผสมเพิ่มทยี่ ังไมจ่ ัดอยู่ในมาตรฐานของ ASTM ไดแ้ ก่ สารเพม่ิ การยดึ เหนี่ยว สารลดการกัดกร่อนสารเพมิ่ การขยายตวั สารกันซมึ2. การใช้สารผสมเพิ่ม สารผสมเพ่มิ ได้เขา้ มามบี ทบามอย่างรวดเร็วในวงการก่อสร้าง ประเทศท่เี จริญแล้ว ได้มกี ารนาสารเพ่ิมมาใช้ปรับปรุงคุณสมบัติของคอนกรีตกนั อย่างมาก ตวั อยา่ งเชน่ ในประเทศสหรัฐอเมรกิ าใช้คอนกรีตที่ใสส่ ารผสมเพ่มิ ถึง 90% ในออสเตรเลีย ญ่ปี นุ่ และเยอรมัน มียอดการใช้ 80% , 80% และ 60% ตามลาดบั สว่ นในประเทศไทยวงการกอ่ สร้างเพิ่งต่นื ตวั เร่อื งการใชส้ ารผสมเพิ่มอยา่ งจรงิ จงั ในช่วง 10 ปที ี่ผา่ นมา ทาให้ยอดคอนกรตี ทผี่ สมสารผสมเพ่งิ ยังมีปริมาณไม่มาก แต่ยอดปริมาณการใชใ้ นปัจจบุ ันไดเ้ จริญเติบโตอย่างรวดเรว็ มากกด็ ้วยเหตุที่สาคัญ คอื คอนกรตี ท่ีใสส่ ารผสมเพม่ิ จะมคี ุณสมบตั ิท่ีเหมาะสมกบั การทางานมาก คือ คอนกรตี จะมีความสามารถเทไดห้ รือเหลวอย่นู านกว่าคอนกรตี ท่ัว ๆ ไป ทาใหส้ ะดวกทงั ดา้ นการลาเลยี งและการทาใหค้ อนกรีตอัดแน่นในแบบซึง่ สิง่ ผลดตี ่อคณุ สมบตั ิของคอนกรีตที่แข็งตัวแล้ว รวมทังคา่ ใช้จ่ายในการก่อสรา้ งลดลงดว้ ย ส่ิงสาคญั ท่ีพึงระลึกไว้เสมอ คือ สารผสมเพิ่มไม่สามารถชว่ ยแก้ไขคอนกรีตท่ีมสี ว่ นผสมไม่ดี หรือการใช้งานที่ไมถ่ ูกต้อง หากแต่ใช้เมื่อไมส่ ามารถปรับปรุงคอนกรตี ดว้ ยการปรบั ปรงุ ส่วนผสม3. ข้อระวังในการใช้งาน ปญั หาท่ีเกิดขึนเมื่อใช้สารผสมเพม่ิ มักเนื่องมาจากความไม่เขา้ ใจวา่ สารผสมเพิม่ ชนิดหนึ่ง ๆ มผี ลต่อคอนกรีตอย่างไรบ้างข้อพงึ ระมัดระวังท่ีผใู้ ชค้ วรยดึ ปฏบิ ตั คิ ือ 3.1. สารผสมเพ่มิ ทจ่ี ะนามาใช้ควรมีคณุ สมบัตติ รงตามมาตรฐาน เช่น ของประเทศไทยควรเป็นไปตามมอก. 733-2530 “สารเคมผี สมเพม่ิ สาหรบั คอนกรีต” รวมทังตอ้ งมีข้อมลู เทคนคิ ตา่ ง ๆ ดงั นี - ผลของสารผสมเพิ่มตอ่ คอนกรีต - อิทธผิ ลอืน่ ๆ ท่ีสารผสมเพ่ิมมีตอ่ คอนกรีตไม่ว่าจะเปน็ ทางท่ีเป็นประโยชน์หรือเป็นผลเสีย - คุณสมบตั ทิ างกายภาพของสารผสมเพิ่ม - ความเขม้ ขน้ ของสว่ นประกอบที่สาคญั - สว่ นประกอบอนื่ ๆ ท่ีอาจมีผลเสียต่อคอนกรตี เช่น คลอไรด์ ซลั เฟต ซัลไฟด์ ฟอสเฟต นาตาล ไนเตรด และ แอมโมเนีย - PH - ผลเสยี ตอ่ ผูใ้ ช้ทังระยะสันและระยะยาว - วิธีการเกบ็ และอายุการใช้งาน - การตระเตรยี มและวิธีการผสมเข้าไปในส่วนผสมคอนกรตีปริมาณท่ีควรใช้ ปรมิ าณสงู สุดที่อาจใช้ได้ และขอ้ เสยี ท่ีเกดิ จากการใช้เกนิ ปริมาณกาหนด ใบความรู้ช่อื วชิ า คอนกรีตเทคโนโลยี สอนครัง้ ที่ 1ช่อื หนว่ ย วัสดผุ สมหรือมวลรวม หน่วยที่ 1ช่ือเรอื่ ง สารผสมเพิม่ จานวน 2 ช่ัวโมง3.2. ควรใช้สารผสมเพิ่มในปรมิ าณท่ีผผู้ ลิตแนะนา พรอ้ มกบั ตรวจดูผลวา่ เป็นไปตามที่

ตอ้ งการหรือไม่ การเตรียมตวั อย่างเพ่อื การทดสอบควรทาในสภาวะของการใช้งาน เพราะผลอนั แทจ้ รงิ ของสารผสมเพิม่ ต่อคอนกรตี จะขึนอยู่กบั สว่ นประกอบตา่ ง ๆ คือชนิดของซีเมนต์ คุณสมบตั ิของมวลรวมและสารไม่บริสทุ ธทิ์ ี่มอี ยู่ ส่วนผสม วธิ ีและระยะเวลาการผสม ชว่ งเวลาท่ใี ส่สารผสมเพิม่ อณุ หภูมิของคอนกรตี และสภาพการบ่ม 3.3. ควรใช้วิธีการวดั ปริมาณสารผสมเพ่มิ ทีแ่ น่นอน ซง่ึ สาคญั มาในกรณีของสารกักกระจายฟองอากาศและสารผสมเพิ่มเคมี ทังนีเพราะปริมาณท่ผี สมมักต่ากวา่ 0.1% โดยนาหนักของซเี มนต์ ดังนันหากมีการผสมเกินปริมาณท่ีกาหนดอาจก่อใหเ้ กิดผลเสยี อย่างมาก 3.4. ผลของสารผสมเพ่ิมต่อคณุ สมบัติอ่นื ๆ ของคอนกรีต สารผสมเพ่ิมทว่ั ๆ ไปมักมีผลต่อคณุ สมบัติของคอนกรตี หลายอยา่ งพร้อม ๆ กัน4. สารกกั กระจายฟองอากาศ สารกักกระจายฟองอากาศ เปน็ สารอินทรียท์ ่ีทาปฏกิ ิริยาบนผวิ (Organic Surfactants) โดยก่อใหเ้ กดิฟองอากาศในปริมาณท่ีสามารถควบคมุ ไดใ้ นเนือคอนกรตี ฟองอากาศขนาดเล็กกระจายตวั อยสู่ ม่าเสมอและจะคงตัว โดยท่ัวไปจะมีขนาดเสน้ ผา่ ศนู ย์กลาง 0.25-1 มลิ ลิเมตร ฟองอากาศท่ีเกิดขนึ นี (Entrain Air) แตกตา่ งจากโพรงอากาศ (Entrapped Air) ซึง่ มขี นาดใหญแ่ ละจาเกิดในบางบรเิ วณอันเนื่องมาจากจีเขยา่ คอนกรีตไมด่ ีพอ สารกกั กระจายฟองอากาศนชี ว่ ยทาใหค้ อนกรีตมคี วามคงทนต่อการแข็งตวั ของนา (Frost) หรือเกลือที่ทาใหน้ าแข็งละลาย (De – Lcing Salts) นอกจากนยี ังชว่ ยเสรมิความสามารถเทได้ของคอนกรีตสดด้วย 4.1 วตั ถุดิบ สารกักกระจายฟองอากาศนีผลติ ขนึ จากผลพลอยไดจ้ ากอตุ สาหกรรมทากระดาษ, นามนั และอาหารสาเรจ็ รูปจากสัตวว์ ตั ถดุ บิ ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ยางไม้ ไขมนั หรือนามันสัตวแ์ ละพืช หรือจากกรกซึ่งได้มาจากยางไมห้ รือจากไขมนั ของสัตว์และพืช เปน็ ตน้ 4.2 ลกั ษณะการทางาน สารกักกระจายฟองอากาศ ประกอบด้วยตัวเปลยี่ นแปลงคุณสมบัตบิ นผวิ ของอนภุ าคซึ่งมกั รวมกนั อยู่ระหวา่ งผิวนาและอากาศ ทาใหแ้ รงตึงผวิ ของนาลดลง ก่อใหเ้ กิดฟองอากาศขนาดเลก็ มากกระจายอย่อู ย่างสม่าเสมอในเนือคอนกรีต โดยฟองอากาศนีจะถกู ทาให้อยตู่ วั ด้วย 4.3 ผลของสารกักกระจายฟองอากาศต่อคอนกรตี สด การกักกระจายฟองอากาศมผี ลดตี ่อความสามารถในการใช้งานและการเกาะตัวของคอนกรีตเหลว โดยลดการแยกตัวและการเยิม ไม่ว่าจะมีค่ายุบตัวมากหรือน้อยก็ตาม ในคอนกรีตที่มีค่ายุบตัวเดียวกัน คอนกรีตที่มีฟองอากาศจะใช้งานได้ดีกว่าคอนกรีตธรรมดา เพราะเทลงแบบและบดอัดได้ง่ายกวา่ หรือมีความสามารถเทได้ดีกว่าน่ันเอง ในส่วนผสมท่ีเหลว ฟองอากาศจะช่วยลดการแยกแยะที่อาจเกิดขึนระหว่างการขนส่งและการใช้งาน ใบความรู้ชอ่ื วิชา คอนกรีตเทคโนโลยี สอนครั้งท่ี 1ช่ือหน่วย วัสดผุ สมหรือมวลรวม หน่วยที่ 1

ช่อื เรอ่ื ง สารผสมเพิ่ม จานวน 2 ชวั่ โมงการเพ่มิ ปริมาณอากาศ 5% จะทาให้ค่ายุบตวั เพ่มิ ขนึ 15 - 50 มม. โดยมีปรมิ าณเพสท์คงที่ ทังนีเป็นเพราะฟองอากาศขนาดเล็กเหล่านีทาหน้าที่เสมือนเป็นมวลรวมละเอียดขนาดเลก็ ซ่ึงยืดหยุ่นได้และเสียดทานต่า จึงช่วยลดแรงเสียดทานระหว่างของแข็งภายในเนือคอนกรีตเหลว คอนกรีตจึงมีลักษณะคล้ายกับว่ามีทรายมาก คุณสมบัตินีใช้ได้ผลดีสาหรับส่วนผสมที่ขาดอนุภาคขนาดเล็ก ตามปกติจะไม่ใช้การกักกระจายฟองอากาศเพ่ือเพิ่มค่ายุบตัว แต่ใช้เพ่ือลดปริมาณทรายและนาสาหรับค่ายุบตัวหนึ่ง ๆ การเพ่ิมลดปริมาณอากาศ 5%สามารถทาให้ลดปริมาณนาได้ 20 - 30 ลิตร/ลบ.ม. ซึ่งทาให้เกดิ กาลังอัดของคอนกรีตสงู ขึน และเป็นสว่ นหน่ึงที่ทดแทนกาลงั อนั ที่ลดลงเพราะปรมิ าณอากาศท่ีสูงขึน4.4 ผลของสารกกั กระจายฟองอากาศตอ่ คอนกรตี ทแ่ี ขง็ ตวั แล้วปริมาณฟองอากาศภายในคอนกรีตท่เี พม่ิ ขนึ มผี ลเสยี ตอ่ กาลังอดั ของคอนกรีต ตามปกติคอนกรีตที่มีฟองอากาศกาลงั อดั จะลด 5% ทุก ๆ การเพ่มิ ขนึ ของฟองอากาศ 1%4.5 ปัจจยั ทม่ี ีผลกระทบตอ่ การกกั กระจายฟองอากาศผลของการกักกระจายฟองอากาศขึนอยู่กบั4.5.1. วัสดุผสมคอนกรตี และสดั สว่ นผสม- สว่ นละเอยี ด เชน่ ทรายละเอียด หรือปรมิ าณซเี มนตท์ ่เี พมิ่ ขนึ จะยับยงั การเกิด ฟองอากาศ- ปรมิ าณฟองอากาศจะเพิ่มขึนโดยลดขนาดของหิน- สัดสว่ นของทรายมีความสาคัญต่อปริมาณฟองอากาศการเพ่ิมทรายขนาด 300 - 600ไมโครเมตร จะก่อใหเ้ กิดปรมิ าณฟองอากาศมากขนึ แต่ถา้ มีทรายที่ละเอยี ดมาก โดยเฉพาะทรายที่ไดจ้ ากการบดหนิ จะยับยงั การเกดิ ฟองอากาศ- นาที่เหมาะสาหรบั คอนกรีตไม่มผี ลต่อปริมาณฟองอากาศทีเ่ กิดขนึ แต่นากระด้างจะยับยงัการเกดิ ฟองอากาศ ดังนันจึงตอ้ งใสป่ ริมาณสารกักกระจายฟองอากาศ เพมิ่ ขนึ-การใช้สารผสมเพ่มิ อื่น ๆ ร่วมกับสารกระจายฟองอากาศจะต้องทาอย่าง ระมดั ระวัง ในบางกรณีอาจจะยบั ยงั การเกิดฟองอากาศ หรอื บางกรณีจะต้องใส่5. สารผสมเพ่ิมอื่น ๆ 5.1 การผสมและการจีเ้ ขย่า - ปริมาณฟองอากาศจะถูกกระทบด้วย ชนิด อัตราและเวลาทีใ่ ชใ้ นการผสม รวมทังปริมาณคอนกรีตทถี่ ูกผสม การยดื เวลาการผสมจะส่งผลใหเ้ กิดฟองอากาศลดลง - คอนกรตี ท่ีมคี วามสามารถเทไดต้ า่ มาก จะก่อให้เกิดฟองอากาศได้ยากมาและปริมาณฟองอากาศจะเพิ่มขนึ เมื่อความสามารถเทได้มากขนึ ตลอดชว่ งค่ายุบตวั 25 - 150 มลิ ลเิ มตร - การจเี ขย่าคอนกรีตมากเกินไปจะสง่ ผลใหป้ รมิ าณฟองอากาศลดลง ใบความรู้

ชอ่ื วชิ า คอนกรีตเทคโนโลยี สอนครั้งท่ี 1 ชื่อหนว่ ย วัสดุผสมหรือมวลรวม หน่วยที่ 1 ช่ือเรอ่ื ง สารผสมเพ่มิ จานวน 2 ชวั่ โมง5.2 สภาพแวดล้อม - ปรมิ าณฟองอากาศในคอนกรตี จะเป็นปฏภิ าคผกผันกับอุณหภูมิ กลา่ วคือ เมื่ออณุ หภูมิสูงขนึจาก 10C เปน็ 32 C ปรมิ าณฟองอากาศจะลดลงประมาณ 50%5.3 สารเคมผี สมคอนกรีตสารเคมผี สมคอนกรีต คือ สารละลายเคมชี นดิ ตา่ ง ๆ ทีใ่ สผ่ สมลงในคอนกรีตเพอ่ื เปลี่ยนเวลาการก่อตวัและลดปริมาณนาในสว่ นคอนกรตี ตามมาตรฐาน ASTM C494 แบ่งสารเคมีผสมเพ่ิมเหล่านอี อกเป็น 7 ประเภท คอื ประเภท A สารลดปริมาณนา (Water Reducing) ประเภท B สารยึดเวลาการกอ่ ตวั (Retarding) ประเภท C สารเรง่ เวลาการก่อตวั และแข็งตัว (Accelerating) ประเภท D สารลดปรมิ าณนาและยดื เวลาการก่อตัว (Water Reducing and Retarding) ประเภท E สารลดปรมิ าณนาและเร่งเวลาการก่อตวั (Water Reducing and Accelerating) ประเภท F สารลดปรมิ าณนาจานวนมาก (Water Reducing – High Range) ประเภท G สารลดปริมาณนาจานวนมากและยดื เวลาการก่อตัว (Water Reducing – High Range and Retarding) 5.3.1 สารลดปรมิ าณน้าสารลดปรมิ าณนาหรือที่รู้จักในช่อื Plasticizer หมายถงึ สารผสมเพ่มิ ท่เี ตมิ ลงในสว่ นผสมคอนกรีต เพื่อลดปรมิ าณนาทจ่ี ะต้องใชผ้ สม โดยได้ความขน้ เหลวตามกาหนด และไม่มผี ลกระทบต่อปรมิ าณฟองอากาศหรือเวลาการก่อตัวของคอนกรีตการใชส้ ารลดปริมาณนาใหเ้ กิดประโยชน์ทาได้ดังนี 1) + สารลดปรมิ าณนา ความสามาระเทได้เพิม่ ขึน คา่ ยบุ ตวั >Aกาลังอดั =Bคอนกรีตปกติ 2) + สารลดปรมิ าณนา กาลงั อัดเพ่มิ ขนึ ค่ายุบตัว=A กาลังอัด<Bค่ายุบตวั ,Aกาลังอดั ,B 3) + สารลดปริมาณนา คอนกรีตที่ราคาประหยัด ค่ายบุ ตัว=A กาลังอัด<B - ปรมิ าณนา - ปรมิ าณซเี มนต์ รูปท่ี 1.1 ประโยชนก์ ารใชส้ ารลดปรมิ าณนา้ กรณีท่ี 1 ใช้เพือ่ ช่วยใหง้ านคอนกรีตท่ีทาไดย้ าก เช่น โครงสรา้ งท่ีบางหรือมเี หล็กเสรมิ จานวนมากคอนกรีตนีจะมีความสามารถเทได้ดี งา่ ยต่อการจีเขย่าเขา้ แบบ โดยไม่ตอ้ งเพิ่มปริมาณนาและซีเมนต์ กรณที ี่ 2 คอนกรตี จะมคี วามสามารถเทไดต้ ามท่ีต้องการโดยใช้ปริมาณนาลดลงในขณะท่ีปริมาณซเี มนต์คงที่ นน่ั คือ อัตราส่วนนาต่อซีเมนต์จะลดลง สง่ ผลให้กาลงั อัดคอนกรีตสูงขึนการตา้ นทานการซึมผา่ นของนาและความคงทนสูงขึนหรืออาจจะประยกุ ตใ์ ชใ้ นกรณีทต่ี ้องการเพม่ิ กาลังอัดโดยไมส่ ามารถเพ่ิมปริมาณซีเมนต์ เพราะจะเกิดปัญหาด้านอุณหภมู ิท่ีสูงขึนหรือเกิดการหดตวั ทาใหเ้ กิดการแตกร้าว โดยเฉพาะโครงสร้างคอนกรีตขนาดใหญ่ เช่น ฐานรากแผ่ เป็นต้น

ใบความรู้ ชื่อวชิ า คอนกรีตเทคโนโลยี สอนครงั้ ที่ 1 ช่อื หนว่ ย วัสดุผสมหรือมวลรวม หน่วยที่ 1 ชอ่ื เรอ่ื ง สารผสมเพิม่ จานวน 2 ช่วั โมง กรณีที่ 3 คอนกรตี จะมีความสามารถเทได้ตามที่ต้องการโดยไมม่ ีการเปลย่ี นแปลงอัตราสว่ นนาต่อซเี มนต์นัน่ คอื เราสามารถลดปริมาณซีเมนต์ลงได้ 5.4 วตั ถดุ บิ สารลดปรมิ าณนาได้มาจากสารประกอบหลัก 3 ชนิด คือ 1) เกลือและสารประกอบของ Lignosulphonate 2) เกลือและสารประกอบของ Hydroxycarboxylic Acid 3) Polymer เช่น Hydroxylated Polymers สารลดปริมาณนานี ทั่ว ๆ ไปจะทามาจากสารประกอบ 2 ชนิดแรก 5.5 ทาไมตอ้ งลดปรมิ าณน้า การลดปรมิ าณนาในสว่ นผสม เปน็ ส่งิ ทส่ี าคัญมากสาหรบั งานคอนกรตี จะพบวา่ สารเคมีผสมคอนกรีต 5 ใน 7 ชนิด จะมีคุณสมบัตลิ ดปริมาณนา กอ่ นที่จะอธิบายในรายละเอียด เราควรมาพิจารณาถึงหน้าทขี่ องนาในส่วนผสมคอนกรตี อีกทีเพื่อความเข้าใจมากย่ิงขึน นาเป็นสว่ นผสมทส่ี าคัญมากส่วนหนง่ึ ในการผลติ คอนกรตี โดยจะทาหน้าท่ี 3 อยา่ ง คอื 1) เข้าทาปฏกิ ิริยาเคมีกบั ปูนซเี มนต์ หรอื ปฏกิ ิรยิ า Hy – dration 2) ทาหนา้ ทีเ่ คลือบหินและทรายให้เปยี ก เพ่ือซเี มนต์จะเข้าเกาะและแข็งยึดติดกนั 3) ทาหนา้ ทหี่ ลอ่ ลน่ื ใหห้ นิ ทราย ซเี มนต์ อยู่ในสภาพเหลวสามารถไหลเข้าแบบไดง้ ่าย นาจานวนพอดีท่ีจะทาปฏิกิริยาไฮเดรชั่น คือประมาณ ± 1% ของนาหนักซีเมนต์ หรืออัตราส่วนนาตอ่ ซีเมนต์ (W/C) = 0.28 ± 0.01 แตค่ อนกรีตทั่วไปใช้ค่าอัตราส่วนนาต่อซีเมนต์มากกว่า 0.35 นาท่ีเกินนีจะเข้าไปทาหน้าท่ใี นข้อ 2 และ 3 ทาให้คอนกรีตเหลว ทางานได้สะดวกขนึ นาส่วนนถี ูกเรยี กวา่ “นาสว่ นเกนิ ” (ExcessWater) นาสว่ นเกนิ ถา้ มีมากเกินไปจะมีผลเสยี ต่อคอนกรตี คอื 1. เกดิ การเยมิ ของนาขนึ มาที่ผวิ หน้ามาก (Bleeding) 2. เกดิ การแยกตัว 3. กาลงั อัดต่าลง 4. เกิดการหดตัว 5. ทาใหเ้ กิดรพู รุน มีผลทาให้คอนกรีตขาดความทนทาน 5.6 ลกั ษณะการทางาน สารผสมเพิ่มชนิดนีชว่ ยลดความต้องการนาของคอนกรตี ทังนีเพราะมคี ุณสมบัติในการชว่ ยเปลี่ยนคณุ สมบัติของผิวต่อระหว่างของแข็งและนาในคอนกรีต ปกตอิ นุภาคซีเมนตต์ า่ ง ๆ ในคอนกรตี จะมปี ระจไุ ฟฟา้เหลอื ตกค้างบนผิว ซึง่ อาจเป็นขัวบวกหรอื ลบก็ได้ อนุภาคซึง่ มปี ระจตุ ่างกันจะดูดรวมกันเปน็ กลมุ่ (Flocculate)ซง่ึ สามารถดดู นาได้จานวนมากทาให้เหลือนาหลอ่ ลน่ื คอนกรีตเหลวอยนู่ อ้ ย โมเลกลุ ของสารผสมเพิ่มชนิดนชี ่วยทาให้ประจุเป็นกลาง หรือทาให้ประจุบนผิวอนภุ าคต่าง ๆ กลายเปน็ ประจชุ นิดเดยี วกนั จึงเกิดแรงผลกั ดนั ซึ่งกนั และกันทาให้แยกตัวกันในเนือเพสต์ นาทผ่ี สมไปในคอนกรีตส่วนใหญจ่ งึ สามารถถูกใช้ลดความหนึบของเพสต์

ใบความรู้ชอ่ื วิชา คอนกรีตเทคโนโลยี สอนครัง้ ท่ี 1ชือ่ หน่วย วสั ดผุ สมหรือมวลรวม หนว่ ยที่ 1ชื่อเรอื่ ง สารผสมเพิ่ม จานวน 2 ชว่ั โมง6. ลกั ษณะการทางานสารผสมเพิ่มชนิดยดื เวลาการก่อตัวนีจะถูกดดู ซึมไว้บนผวิ ของอนุภาคซีเมนต์ สง่ ผลให้อัตราการซมึผา่ นของนาเข้าไปทาปฏิกิรยิ า ไฮเดรชน่ั กับอนภุ าคซเี มนต์• ปัจจัยท่ีมผี ลกระทบต่อการทางาน• ชนิดและปริมาณการใชป้ รมิ าณสารยดื เวลาการก่อตวั• ชนดิ ของซเี มนตแ์ ละสารประกอบเวลาและอุณหภูมิทเี่ ตมิ สารยดื เวลาการก่อตวั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook