Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Education 4.0

Education 4.0

Published by eiwtoomahha2210, 2016-10-04 04:08:37

Description: Education 4.0

Search

Read the Text Version

Education 4.0 in Active learning Education 4.0 เกดิ ข้นึ จาก คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ไดเ้ ปิดตวั การเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่เรียกวา่ \"การศึกษาระบบ Chula Engineering Education 4.0\" อยา่ งเป็นทางการไปเม่ือปี2557 ในช่วงที่ ศ.ดร.บณั ฑิต เอ้ืออาภรณ์ ดารงตาแหน่งคณบดี เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผเู้ รียนไปสู่นกั สร้างนวตั กรรม การศึกษาระบบ 1.0 เป็นการศกึ ษาที่เนน้ การบรรยายและการจดจาความรู้ ส่วนการศึกษาระบบ 2.0เป็นการศึกษาท่ีใชอ้ ินเทอร์เน็ตเป็นส่ือกลาง การศึกษาระบบ 3.0 เป็นการศกึ ษาในปัจจุบนั ที่เป็นสงั คมแห่งความรู้ ผเู้ รียนตอ้ งมีทกั ษะในการเรียนรู้ในแหลง่ เรียนรู้ที่หลากหลาย ทางานสร้างสรรคท์ ่ีไม่ซ้าเดิม รวมถึงสามารถทางานเป็นทีมได้ ในขณะที่การศกึ ษาระบบ 4.0 เป็นการศึกษาสู่อนาคต ที่เนน้ การผลิตคนไปสร้างสรรคน์ วตั กรรม ดงั น้นั คณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั จึงไดพ้ ฒั นารูปแบบการเรียนรู้โดยผา่ นกระบวนการศาสตร์การคดิ เชิงออกแบบ หรือ Design Thinking กลายเป็นการศกึ ษาระบบ 4.0 ข้นึ มา โดยมีการริเริ่มรายวิชา Creative Design for Community ซ่ึงผเู้ รียนจะไดพ้ ฒั นาโครงงานจริงไปแกป้ ัญหาให้กบัองคก์ ารจริง และมีผเู้ ชี่ยวชาญดา้ น Design Thinking มาร่วมสอนและใหค้ าแนะนา นอกจากน้ี ยงั นาเอาแนวคิดแบบ CDIO (Conceive-Design-Implement-Operate) เขา้ มาใชเ้ ป็นกรอบงานในกระบวนการเรียนการสอนท่ีเน้นโครงงานเป็นฐาน โดยไดส้ ร้างห้องเรียนแบบ Smart Classroom ท่ีเรียกว่า i-SCALE ท่ีเนน้ผเู้ รียนเป็นศูนยก์ ลาง ทาให้เกดิ ปฏิสมั พนั ธร์ ะหว่างผเู้ รียนไดส้ ะดวก และกระตุน้ ให้เกิดการเรียนรู้ร่วมกนัและไดส้ ร้างศนู ย์ i-Design Workspace ข้นึ เพือ่ ให้ผเู้ รียนไดท้ ดลองแนวคดิ นวตั กรรมใหม่ๆ ในรูปแบบEngineering Playground ที่ผเู้ รียนสามารถสร้าง Prototyping ของนวตั กรรมของตนเองได้

ตวั อยา่ งห้อง i-SCALE ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยัหวั ใจสาคญั ของประเทศไทยในยคุ 4.0 คอื การปรบั เปลย่ี นโครงสร้างเศรษฐกจิ ไปสู่ “Value-BasedEconomy” หรือเศรษฐกิจที่ขบั เคลอ่ื นดว้ ยนวตั กรรมเปลีย่ นการผลติ สินคา้ โภคภณั ฑไ์ ปสู่สินคา้ เชิงนวตั กรรมเปล่ียนจากการขบั เคลือ่ นประเทศดว้ ยอตุ สาหกรรมไปสู่การขบั เคลอ่ื นดว้ ยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวตั กรรม“เดินหน้าการศึกษาไทยอย่างไรให้ตอบโจทย์ Thailand Economy 4.0”ปัจจุบนั ประเทศไทยมีกาลงั แรงงานในช่วงอายุ 15 - 60 ปี ราว 38 ลา้ นคน แต่มีแรงงานกว่า 1 ลา้ นคนว่างงานเป็นประจาอยา่ งนอ้ ย 6 เดือนทุกปี เพราะขาดทกั ษะทีน่ ายจา้ งตอ้ งการ ส่วนแรงงานรุ่นใหม่ที่สาเร็จการศกึ ษาปริญญาตรีประสบปัญหาการว่างงาน เพราะมีปริมาณบณั ฑิตเขา้ สู่ตลาดจานวนมาก แต่ขาดทกั ษะที่นายจา้ งตอ้ งการทาใหเ้ สี่ยงตอ้ งยอมทางานรบั ค่าจา้ งต่ากวา่ วุฒปิ ริญญาตรี “ระบบการศึกษาไทยตอ้ งเร่งปรบั ตวั เพือ่ สร้างความมน่ั ใจใหแ้ ก่นกั ลงทุนท้งั จากในและต่างประเทศรวมท้งั ตอบสนองนโยบายรฐั บาล เร่ือง Thailand Economy 4.0 และความตอ้ งการของตลาดแรงงานในประเทศ โดยเร่ิมตน้ จากการสร้างโอกาสทางการศกึ ษาที่มีคณุ ภาพให้เท่าเทียมกนั แก่เดก็ เยาวชนทุกคนในประเทศ เน่ืองจากปัจจุบนั ช่องวา่ งทกั ษะข้นั พ้ืนฐาน เช่น การอ่านของเดก็ ไทยต่างกนั มากถงึ 3 ปี ระหวา่ งเดก็

ในชนบทและเด็กในเมือง นอกจากน้นั สถาบนั อุดมศกึ ษาควรเนน้ ยกระดบั คณุ ภาพบณั ฑิตมากกว่าการเพิม่ปริมาณ และฝึกฝนทกั ษะที่ตลาดแรงงานตอ้ งการในอนาคต มากกว่าทกั ษะการทางานซ้า ๆ (Routine Skills)ท่ีไม่มีใครตอ้ งการแลว้ ส่วนแรงงานที่ตอ้ งการยกระดบั ศกั ยภาพการทางานของตนควรมุ่งพฒั นาทกั ษะท่ีเทคโนโลยแี ละหุ่นยนตไ์ ม่สามารถแทนที่ได้ เช่น Non-Routine Skills” ดร.เกียรติอนนั ต์ ลว้ นแกว้ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ ม.ธุรกิจบณั ฑิตย์ กล่าวถึงยคุ Thailand Economy4.0 ว่า เป็นยคุ หลงั การปฏวิ ตั ิอตุ สาหกรรมคร้ังท่ี 4 ท่ีเนน้ การใชไ้ อทีเขา้ มาแทนท่ีแรงงานมนุษย์ ถือเป็นยคุแห่งการสร้างและทาลายความรู้อยา่ งรวดเร็ว แต่กถ็ ือเป็นยคุ แห่งการเรียนรู้และบูรณาการความรู้โลกไซเบอร์กบั โลกจริงใหเ้ ป็นหน่ึงเดียว ซ่ึงการศกึ ษาจะเป็นเครื่องมือสาคญั ในการยกระดบั คุณภาพแรงงานคนให้ทนัต่อการเปล่ียนแปลงน้ี และเม่ือเปรียบเทียบกบั ประเทศอื่น ๆ ในเอเชีย พบว่า ความสามารถในการแขง่ ขนัและทุนมนุษยใ์ นประเทศไทยยงั ไม่สามารถแข่งขนั ไดด้ ีเท่ากบั ประเทศมาเลเซีย จีน และ สิงคโปร์ และยงั ได้คะแนนคุณภาพการศึกษาดา้ นคณิตศาสตร์และวทิ ยาศาสตร์ต่ากว่าประเทศที่มีระดบั ทุนมนุษยใ์ กลเ้ คยี งกนั ระบบการศกึ ษาท่ีจะตอบโจทยข์ องการขบั เคลอ่ื นประเทศไปสู่ Economy 4.0 ไดจ้ ริงน้นั ตอ้ งให้ความสาคญั กบั การเปล่ยี นวิธีการสอน ลดการเรียนรู้เชิงเทคนิคและการท่องจา แลว้ หนั ไปใหน้ ้าหนกั กบั การสร้างทกั ษะในการเรียนรู้และปรบั ตวั ของผเู้ รียนให้สามารถพฒั นาตนเองไดต้ ลอดชีวิต นน่ั หมายถึงวธิ ีการประเมินผลการเรียนที่แตกต่างออกไปจากปัจจุบนั ท่ีเนน้ การสอบเพยี งอยา่ งเดียว ขณะเดียวกนั ในระดบั พ้นื ที่จะตอ้ งมีการจดั การเรียนรู้ที่คานึงถึงความตอ้ งการของตลาดแรงงานในพ้นื ท่ี และกล่มุ จงั หวดั ใกลเ้ คียงโดยเฉพาะการจดั การศึกษาข้นั พ้นื ฐาน และระดบั อาชีวศึกษาเพอื่ ให้ผทู้ ี่เขา้ สู่โลกของงานสามารถหางานทาได้้ คนสุดทา้ ยคอื ดร.ไกรยส ภทั ราวาท ผเู้ ชี่ยวชาญดา้ นนโยบายเศรษฐศาสตร์การศึกษา สสค. กลา่ ววา่ ผลพวงจากการปฏิวตั ิอุตสาหกรรมในแต่ละคร้ัง ทาให้ตอ้ งปฏริ ูปการศึกษาคร้ังใหญ่เพอ่ื ใหส้ อดรบั กบั ความตอ้ งการทกั ษะใหม่เพื่อใหก้ ารเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ มีความต่อเน่ือง โดยเฉพาะการปฏวิ ตั ิในคร้งั ที่ 4 ที่กาลงั จะเกิดใน 5 ปี ถดั จากน้ี จะเนน้ การใชเ้ ทคโนโลยแี ละเครื่องจกั รเขา้ มาแทนท่ีแรงงานมนุษย์ โดยเฉพาะแรงงานที่ใช้ “ทกั ษะการทาซ้าเป็นประจา” (Routine Skill) จะถกู แทนท่ีดว้ ยเทคโนโลยกี ารผลติ ที่ทนั สมยัเช่น หุ่นยนต์ การพิมพ์ 3 มิติ และ สายพานอตั โนมตั ิ เป็นตน้ ซ่ึงมีประสิทธิภาพการผลิตท่ีสูงกวา่ มนุษยแ์ ละมีตน้ ทุนต่อหน่วยที่ถูกกวา่ สอดคลอ้ งกบั ผลสารวจความตอ้ งการแรงงานของนายจา้ งและองคก์ รเกดิ ใหม่ในปี 2557 ขององคก์ ารเพอ่ื ความร่วมมือทางเศรษฐกจิ และการพฒั นา (OECD) ซ่ึงเป็นผรู้ ิเริ่มโครงการประเมินผลนกั เรียนร่วมกบั

นานาชาติ (Programme for International Student Assessment: PISA) พบวา่ นายจา้ งขององคก์ รในศตวรรษท่ี 21 คาดหวงั ใหพ้ นกั งานในองคก์ รมีทกั ษะดา้ นการคดิ วิเคราะห์ (Critical Thinking) และความคดิสร้างสรรค์ (Creativity) มากที่สุด “เราตอ้ งคานึงถงึ การพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื อยา่ มองเพยี งแค่ตวั เลขการเติบโตทางเศรษฐกจิ อยา่ งเดียว แต่เราควรจะมองถงึ การพฒั นาประเทศอยา่ งยงั่ ยนื และมีความพอเพยี งดว้ ย” โดยสรุปกค็ อื ท้งั 3 คน ตอ้ งการสะทอ้ นให้เห็นขอ้ มูลว่า ถงึ เวลาแลว้ ท่ีบา้ นเราตอ้ งตระหนกั ถึงเรื่องน้ีอยา่ งจริงจงั เพราะประเทศเราหยดุ นิ่งมายาวนาน การหยดุ นิ่งกเ็ หมือนกบั การถอยหลงั เพราะประเทศอ่นื ๆโดยเฉพาะเพ่อื นบา้ นกต็ ่อควิ แซงเราไปเร่ือย ๆ ท่ีผา่ นมา เรามุ่งเนน้ ประเดน็ เร่ืองการปฏิรูปการศึกษา กย็ กให้เป็นเร่ืองของนกั การศึกษา แต่เรื่องการปฏริ ูปการศึกษาควรจะตอ้ งมีการเชื่อมโยงจากหน่วยงานหรือองคก์ รที่หลากหลายใหส้ อดคลอ้ งต่อการพฒั นาประเทศ และมุ่งสร้างคนให้มีคณุ ภาพเพ่อื ตอบโจทยท์ ศิ ทางการเติบโตและเปล่ียนแปลงของโลกดว้ ย ซ่ึงตอ้ งเร่ิมตน้ ต้งั แต่วนั น้ี !Education 4.0 คือการเรียนการสอนท่ีสอนให้นักศึกษา สามารถนาองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ทุกหนทุกแห่งบนโลกนี้มาบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ เพื่อพฒั นานวัตกรรมต่างๆ มาตอบสนองความต้องการของสังคม การเรียนการสอนในบา้ นเราที่ผมยงั พอสมั ผสั ได้ ยงั คงห่างไกลในหลายๆ มิติ เช่น เราไม่เคยสอนให้เดก็ ของเราไดค้ ดิ เองทาเอง ส่วนใหญย่ งั คงสอนใหเ้ ดก็ ทาโจทยแ์ บบเดิมๆ ผมชอบเวลาที่มีหลายคนมีรูปคาตอบของเดก็ ๆ ที่แปลกๆ มาลงเฟสบุค๊ ซ่ึงถา้ เป็นเร่ืองจริงก็คงดี แสดงว่าเด็กกลา้ คดิ มากข้ึน อีกเรื่องคือเดก็ของเราเร่ิมไม่รู้จกั สงั คม เดก็ ๆ ส่วนใหญใ่ ชเ้ วลาในโลกออนไลนไ์ ปกบั เกมส์ ชอ้ ปป้ิ ง เแชท เฟสบุ๊ค ไลน์อนิ สตราแกรม ซ่ึงส่วนใหญม่ นั เป็นสงั คมมายา ซ่ึงเทคโนโลยไี ม่ไดผ้ ดิ นะครับ แต่เหรียญมนั มีสองดา้ นเทคโนโลยกี เ็ ช่นกนั เราจะนาไปใชใ้ นดา้ นใดใหเ้ กดิ ประโยชน์ มนั เป็นความยากและทา้ ทาย ผทู้ ี่ตอ้ งทาหนา้ ที่สอนเด็กๆ ในยคุ น้ี เพราะการเรียนการสอนในยคุ 4.0 ตอ้ งปล่อยใหเ้ ดก็ ไดใ้ ชเ้ ทคโนโยี ในการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ปลอ่ ยใหเ้ ดก็ กลา้ คิดและกลา้ ที่จะผดิ แต่ท้งั หมดกย็ งั คงตอ้ งอยใู่ นกรอบท่ีสงั คมตอ้ งการหรือยอมรับได้ ไมใ่ ช่วา่ เก่งจริง คดิ อะไรใหม่ๆ ไดเ้ สมอมีความคิดสร้างสรรค์ แต่ไม่เป็นท่ียอมรบั ของสงั คม ซ่ึงเร่ืองของ Education 4.0 มนั ฟังดูเหมือนง่ายมากเพราะมนั มีปัจจยั หลกั ๆ แค่ 3 ปัจจยั คอื1.Internet

เครื่องมือสาคญั สาหรับการคน้ หาความรู้ ผมเองจะเขยี นบทความน้ีกอ็ าศยั Internet น่ีล่ะครบั เป็นแหล่งขอ้ มูลท่ีสาคญั ดงั น้นั ทางสถาบนั การศกึ ษาคงตอ้ งสนบั สนุนให้นกั เรียนนกั ศึกษาเขา้ ถึง Internet ไดง้ ่ายมากกว่ามอง Internet เป็นผรู้ ้ายแลว้ กลวั ว่านกั เรียนนกั ศึกษาจะใช้ Internet ไปในทางที่ไม่ดีเลยไม่สนบั สนุนโครงสร้างพ้ืนฐานเหลา่ น้ีในสถาบนั2.ความคดิ สร้างสรรค์หลายๆ ท่านชอบพูดนะครบั วา่ เร่ืองของความคดิ สร้างสรรค์ มนั เป็นพรสวรรคไ์ ม่ใช่พรแสวงเรียนรู้กนั ไม่ได้เพราะคิดกนั แบบน้ีเราถึงไม่สามารถสร้างอะไรใหม่ข้นึ มาได้ หลกั สูตรการเรียนการสอนควรจะเปิ ดโอกาสให้นกั เรียนนกั ศกึ ษากลา้ ท่ีจะคดิ นอกกรอบหรือต่อยอดจากตารา3.การปฏิสัมพันธ์กบั สังคมเพอ่ื ท่ีจะสามารถตอบสนองความตอ้ งการของสงั คมและทางานร่วมกนั ในสงั คมได้ จุดน้ีไม่ใช่เพอ่ื ความตอ้ งการของตลาดแลว้ นะครบั (สงสยั คราวหน้าตอ้ งมาเขยี นเรื่อง Marketing 4.0) ทางสถาบนั การศกึ ษาเองควรมีกจิ กรรมใหน้ กั เรียนนกั ศกึ ษาไดเ้ ขา้ ร่วมเป็นประจา มีการสนบั สนุนการทางานแบบเป็นกลุม่ มากกวา่งานเด่ียวถาปัจจยั ท้งั 3 ขอ้ ทาไดด้ ี Education 4.0 กจ็ ะสามารถสร้างและพฒั นาคน ให้สามารถคน้ หาความรู้ต่างๆ มาปะติดปะต่อและประยกุ ตเ์ ขา้ กบั งานท่ีทา สามารถต่อยอดและพฒั นาสิ่งใหม่ๆ ได้ มีเพอื่ นฝงู มีคอนเนคชนั่ซ่ึงท้งั หมดกค็ อื คณุ สมบตั ิหลกั ๆ ของบุคลากรท่ีตลาดแรงงานในยคุ Industry 4.0 ตอ้ งการ ผมกต็ อ้ งขอฝากไปถงึ ผมู้ ีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั การศึกษาในบา้ นเราที่ตอนน้ีมุ่งแต่จะตอบสนอง AEC ซ่ึงผมกค็ ิดวา่ มนั กส็ าคญั แต่เรากต็ อ้ งเตรียมพร้อมในเรื่องของ Industry 4.0 ดว้ ย ช่วยกนั เปล่ียนการเรียนการสอนในบา้ นเรา จากระบบการท่องจาและการเคารพอาจารย์ โดยการที่ไม่แสดงความคดิ เห็นที่แตกต่าง มาเป็นระบบที่สอนให้นอ้ งๆได้หดั คดิ หดั ทา สามารถท่ีจะโตต้ อบดว้ ยเหตุผลกบั อาจารยไ์ ด้ แต่กย็ งั คงตอ้ งมีกรอบใหเ้ ขา้ ใจถงึ การอยรู่ ่วมในสงั คมดว้ ย นอ้ งๆ จะไดม้ ีโอกาสสร้างนวตั กรรมแขง่ ขนั กบั ชาติอน่ื ๆ ไดม้ ากกว่าน้ี ซ่ึงทางแอพพลแิ คดเองกม็ ีความยนิ ดีที่จะสนบั สนุนกิจกรรมต่างๆ ท่ีจะช่วยใหน้ อ้ งๆ ไดม้ ีโอกาสแสดงความสามารถความคิดสร้างสรรค์ อยา่ งเช่น กิจกรรมประกวดการออกแบบดว้ ย SolidWorks โดยติดตามรบั ขา่ วสารไดท้ ่ี Facebookfanpage: Solidworksthaiสืบเนื่องจาก การเขา้ ถึงเน้ือหาความรู้มีลกั ษณะเปิ ด Open Education Resource เขา้ ถึงไดง้ ่าย ยงิ่ ในยคุ สมาร์ทโฟน Mobile Education การเขา้ ถงึ ยง่ิ สะดวกมากยง่ิ ข้ึน การแสวงหาความรู้จึงทาไดเ้ ร็ว

เด็ก เยาวชนยคุ ใหม่ มีลกั ษณะเป็น ชนพ้ืนเมืองดิจิทลั Digital native การเรียนการสอนแบบเกา่ ในห้องเรียน ท่ีท่องบ่นเน้ือหา ตามแผนการสอน ตามกรอบหลกั สูตร หรือทาโจทย์ ทาขอ้ สอบแบบเดิมจึงไม่เหมาะกบั การศกึ ษายคุ ใหม่ การศึกษายคุ ใหม่ Next Generation Education ตอ้ งเนน้ แสวงหา เรียนรู้ไดเ้ อง อยา่ งทา้ ทายสร้างสรรคค์ วามรู้ใหม่ ต่อยอดความรู้เดิม คดิ และประยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ให้เกิดประโยชนไ์ ด้ เหมาะกบั ตนเองสงั คม ตามสถานะการณ์ การจดั การศกึ ษา 4.0 จึงตอ้ งนาเอาหลกั การ เกยี่ วกบั ยคุ สมยั ใหม่ ที่ตรงความสนใจของ ชนพ้นื เมืองดิจิทลั ที่มีชวี ติ ในโลกไซเบอร์ ซ่ึงประกอบดว้ ย การจดั การศึกษาที่กอ่ ให้เกดิ การทางานร่วมกนั บนไซเบอร์ โดยใชข้ ีดความสามารถของระบบเช่ือมโยงทางฟิ สิคลั กบั ไซเบอร์ ที่มีอุปกรณส์ มาร์ทสมยั ใหม่ช่วย เช่น สมาร์ทโฟน แท็บเบลต็ ฯลฯ ตอ้ งรู้จกั ใชเ้ คร่ืองมือสมยั ใหม่เพอ่ื การแสวงหาเรียนรู้จากความรู้อนั มหึมาบนคลาวด์ โดยการใช้เคร่ืองมือท่ีสมาร์ทสมยั ใหม่เชื่อมโยงสิ่งต่างๆเขา้ ดว้ ยกนั การจดั การศกึ ษายคุ ใหม่ตอ้ งใชเ้ ครื่องทุ่นแรงทาเร่ืองยากใหเ้ ขา้ ใจไดง้ ่ายข้ึน และเรียนรู้ไดเ้ ร็วLearning curve สร้างกจิ กรรมใหม่ๆบนไซเบอร์ โดยมีเครื่องมือทางดิจิทลั และเทคโนโลยเี กิดใหม่ IoT เป็นสิ่งทุ่นแรงเหมือนเครื่องจกั รกลช่วยใหเ้ รียนรู้ในส่ิงท่ียาก และสูงข้นึ ใชร้ ูปแบบเสมือนจริง Virtualization ให้ผเู้ รียนใชร้ ูปแบบการใชเ้ ช่ือมต่อบนคลาวดแ์ บบเสมือนจริงเครื่องมือการเรียนรู้แบบใหม่ๆ เป็นการให้ผเู้ รียนมีส่วนร่วมแสดงออกในความคิดเห็น Socratic method การจดั การศึกษาให้มีรูปแบบการบริการ Service oriented และเขา้ ถึงไดใ้ นรูปแบบ real timeตลอดเวลา ทงั่ ถึง ทุกที่ ทุกเวลา Ubiquitous การศกึ ษาตอ้ งไม่เนน้ กรอบการเรียนรู้ แต่เนน้ การต่อยอดองคค์ วามรู้ สร้างความรู้ใหม่ ไม่อยใู่ นกรอบหลกั สูตรแบบเดิม เป็นการเรียนรู้ตามความตอ้ งการมากข้นึ การศกึ ษา 4.0 จะมีผลกระทบกบั โรงเรียนแบบเก่า ทร่ี ะบบการศึกษากาลงั กลบั ดา้ นจากดา้ นโรงเรียนมาสู่ผเู้ รียน การรับบริการการศกึ ษาดา้ นต่างๆบนไซเบอร์ทาไดง้ า่ ยข้นึ ผเู้ รียนเลือกจากที่ต่างๆได้ง่าย และตรงกบั โมเดลชาวพ้นื เมืองดิจิทลั โมเดลการจดั การศึกษาจะเปล่ยี นไป เหมือน การฟังเพลง เมื่อกอ่ นตอ้ งซ้ือเทป ซีดี หรือผเู้ รียนตอ้ งจ่ายคา่ เล่าเรียน แต่การศึกษาแบบใหม่ การเขา้ ถงึ บริการกจิ กรรมการเรียนรู้บนไซเบอร์ จะเหมือนการฟังเพลงบนยทู ูปโดยไม่ตอ้ งจ่ายเงนิ ซ้ือเทปซีดี เพียงการเขา้ ถึง บนคลาวด์ ในโลกไซเบอร์ตัวอย่างการสร้างนวัตกรรมห้องเรียน i-SCALE

ดว้ ยเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมที่กา้ วหนา้ ไปอยา่ งรวดเร็วในปัจจุบนั การเรียนการสอนท่ีเนน้ การท่องจาเพยี งอยา่ งเดียวน้นั อาจไม่เพียงพอต่อการพฒั นาบณั ฑิตท่ีมีคุณภาพที่จะเป็นกาลงั สาคญั ในการพฒั นาประเทศในวนั ขา้ งหนา้ แต่จะทาอยา่ งไรให้บุคลากรและบณั ฑิตเหลา่ น้นั มีคณุ สมบตั ิพร้อมท้งั ความรู้ ทกั ษะความสามารถ ซ่ึงกจ็ ะตอ้ งอาศยั อาจารยผ์ สู้ อน สถาบนั การศกึ ษา รวมถึงอปุ กรณ์การเรียนการสอนท่ีทนั สมยัคณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั จึงไดเ้ ริ่มพฒั นาการเรียนการสอนแบบ Chula EngineeringEducation 4.0 พร้อมสร้างห้องเรียน i-SCALE (i-Student-Centered Active Learning Experience)ห้องเรียนแนวใหม่ท่ีส่งเสริมศกั ยภาพของผเู้ รียนไดเ้ ป็นอยา่ งดี ศ.ดร.บณั ฑิต เอือ้ อาภรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั ช้ใี ห้เห็นว่า “การเรียนการสอนของไทยในอดีตมีลกั ษณะการถ่ายโอนความรู้ในทิศทางเดียวจากผสู้ อนสู่ผเู้ รียน หรือเรียกวา่การศกึ ษาระบบ 1.0 และ 2.0 แตเ่ ริ่มเปลีย่ นแปลงไปดว้ ยอทิ ธิพลของอนิ เทอร์เน็ต จนนาไปสู่การศึกษาระบบ3.0ในปัจจุบนั ท่ีผเู้ รียนตอ้ งเรียนรู้จากแหล่งต่างๆ แต่ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์ ตอ้ งการพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ที่จะสามารถผลติ บุคลากรในแบบเกง่ คดิ และเก่งคน ผา่ นศาสตร์การคิดเชิงออกแบบ (DesignThinking) จึงไดพ้ ฒั นาการเรียนการสอนระบบ 4.0 หรือ Chula Engineering Education 4.0 ข้ึนมา”ศ.ดร.บณั ฑิต อธิบายเพิ่มเตมิ วา่ “เพอื่ ให้การสอนระบบ 4.0 เปี่ ยมประสิทธิภาพยง่ิ ข้ึน จาเป็นตอ้ งมีอปุ กรณ์และสภาพแวดลอ้ มท่ีมาส่งเสริมการเรียนการสอนใหเ้ ขม้ ขน้ ข้ึน จึงไดร้ ับการสนบั สนุนจากบริษทั เชฟรอนประเทศไทยสารวจและผลติ จากดั และเอกชนรายอืน่ ๆ ดว้ ยการมอบทุนรายละกว่า 2,580,000 บาท เพื่อพฒั นาพฒั นาห้องเรียน i-SCALE น้ีข้ึน” นายไพโรจน์ กวียานันท์ ประธานกรรมการบริหาร เชฟรอนประเทศไทย กลา่ วว่า “เชฟรอนเองเลง็ เห็นว่าการให้การสนบั สนุนดา้ นการศึกษาน้นั เป็นส่วนสาคญั ในการพฒั นาบุคลากรท่ีมีคุณภาพให้กบัประเทศ เราจึงให้การสนบั สนุนคณะวิศวกรรมศาสตร์ในการจดั ทาโครงการ i-SCALE เพื่อปรับปรุงระบบหอ้ งเรียนให้เป็นแบบStudent-Centered Active Learning หรือแบบที่มีผเู้ รียนเป็นศนู ยก์ ลาง นบั เป็นหน่ึงตวั อยา่ งความต้งั ใจของเราในการสนบั สนุนการพฒั นา ‘พลงั คน’ ท่ีไม่ไดม้ ีเพียงแคท่ กั ษะหรือความรู้เฉพาะดา้ น แต่ตอ้ งมีความสามารถในการสืบคน้ ขอ้ มูล การคิด วเิ คราะห์ แกป้ ัญหา และทางานเป็นทีม ปัจจุบนั โลกกา้ วไกลไปอยา่ งรวดเร็ว เทคโนโลยตี ่างๆ ถกู พฒั นาออกมามากมาย การจะเพ่ิมขดี ความสามารถในการแข่งขนั น้นั นอกจากจะตอ้ งกา้ วทนั เทคโนโลยแี ลว้ ยงั ตอ้ งการทกั ษะดา้ นการคดิ วิเคราะห์ และการประยกุ ต์เพื่อใหเ้ ทคโนโลยนี ้นั เหมาะสมและเป็นประโยชนท์ ่ีสุดซ่ึงเราเชื่อวา่ หอ้ งเรียนเสริมสร้างอจั ฉริยะน้ีจะสามารถตอบสนองการพฒั นาบุคลากรที่มีความสามารถรอบดา้ นใหก้ บั ประเทศไดเ้ ป็นอยา่ งดี”

หอ้ งเรียน i-SCALE เป็นลกั ษณะหอ้ งเรียนยคุ ใหม่ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นจุดศูนยก์ ลาง ประกอบดว้ ยโต๊ะเรียนท่ีจดั รูปแบบง่าย สามารถปรบั ให้มีการเรียนรู้เป็นกลมุ่ เลก็ หรือใหญ่ตามความตอ้ งการ เพื่อก่อใหเ้ กดิปฏิสมั พนั ธก์ ารเรียนรู้ระหว่างผเู้ รียนนิสิตในกลมุ่ จอแสดงผลท่ีใหผ้ สู้ อนและผเู้ รียนสามารถทาการส่ือสารแบบ 2 ทาง เพื่อแลกเปลีย่ นผลงาน สร้างแรงกระตุน้ และส่งเสริมกลไกการเรียนรู้ร่วมกนั และระบบเช่ือมต่ออนิ เตอร์เน็ตที่ทาใหก้ ารสืบคน้ ความรู้จากภายนอกเป็นไปไดง้ า่ ย ด้านนายวรพรต หลัน นสิ ิตช้ันปี ที่ 2 คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ภาคอากาศยานและอวกาศ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั เลา่ ใหฟ้ ังถึงประสบการณก์ ารใชห้ ้องเรียน i-SCALE วา่ “ห้องเรียนน้ีกเ็ ป็นหอ้ งเรียนที่แปลกใหม่ ถา้ สมมุติเราเขยี นข้ึนกระดานหนา้ ห้อง ปกติมนั ค่อนขา้ งที่จะเห็นยาก ถา้ มีจอรอบห้องแบบน้ี เวลามองมนั กม็ องไดง้ ่ายข้ึน โดยรวมผมคอ่ นขา้ งชอบเรียนแบบน้ีมากกวา่ เพราะว่ามนั ง่ายต่อการเรียน การสื่อสารก็งา่ ย ลาโพงกระจายไดย้ นิ ทวั่ ถึงหมด หากมีวดี ีโอกส็ ามารถแสดงไดเ้ ลย เขา้ ใจง่าย สะดวกกว่า” ส่วน นางสาวเพชรฟ้า วงศ์งามเลศิ นสิ ิตช้ันปี ที่ 2 คณะวิศวะกรรมศาสตร์ ภาควิชานาโนเทคโนโลยีจฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั บอกว่า “ปกติเราจะมองเพียงแค่กระดานที่เดียว แต่อนั น้ีจะมองไปทางไหนกไ็ ด้ มีกระดานอยทู่ วั่ หอ้ ง จะนงั่ เรียนจุดไหนกไ็ ดต้ ามจุดที่มีทีวี จะทาให้เราเรียนไดด้ ีข้ึน เพราะเราโฟกสั มากข้ึนแมว้ ่าเราจะหนั ไปคยุ กบั เพ่ือนฝั่งขวา กย็ งั มองเห็นจอท่ีอาจารยส์ อนท่ีฝั่งขวาปกติจะมีจอเดียวใหญ่ๆ แลว้ เดก็กจ็ ะเยอะ ถา้ ไดน้ ง่ั ดา้ นหลงั ๆ กแ็ ทบมองไม่เห็นจอ ฟังไม่รู้เรื่อง แต่อนั น้ีห้องเลก็ จอเยอะ แลว้ อาจารยก์ ม็ ีไมค์เลยทาใหต้ ้งั ใจเรียนมากข้ึนอีก มีจอประจาไม่ตอ้ งแยง่ กนั ดู สะดวกมากค่ะ” นายศุภณฐั แสงชัยทิพย์ นสิ ิตช้ันปี ท่ี 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ บอกว่า “หอ้ งเรียนแบบน้ีทาใหเ้ ราได้มีโอกาสแสดงความคดิ เห็นกบั เพือ่ นในกลมุ่ เพอ่ื นาเสนอโครงการต่างๆ ดีกว่าหอ้ งเรียนสมยั กอ่ น ท่ีเป็นแถวๆ การสอนของอาจารยเ์ น้ือหากจ็ ะไม่เยอะมาก ส่วนใหญ่จะให้นิสิตประชุมกนั แสดงความคดิ เห็นกนัมากกวา่ จาไดใ้ ชค้ วามคิดเยอะๆ ดว้ ย หอ้ งเรียนแบบน้ีช่วยใหก้ ลา้ แสดงออกในการแสดงความคดิ เห็นต่างๆรวมไปถึงการพรีเซนตง์ าน อยา่ งท่ีเห็นว่าจะมีคอมพิวเตอร์เป็นจออยทู่ ุกโตะ๊ ทุกกล่มุ ซ่ึงสะดวกในการท่ีเราจะใชค้ อมฯ มากๆ เมื่อกลุ่มน้ีพรีเซนตง์ าน มนั กส็ ามารถข้นึ จอให้ทุกกลมุ่ เห็นพร้อมกนั หมดเลย”ดว้ ยการศึกษาระบบ 4.0 และศนู ยก์ ารเรียนรู้ i-SCALE น่าจะเป็นอีกหน่ึงตวั อยา่ งความพยายามในการพฒั นาบุคลากรของไทยให้มีศกั ยภาพ เตรียมพร้อมสาหรบั การเติบโตและการพฒั นาของโลกในหลายๆ ดา้ นโดยเฉพาะวิศวกรรมที่ ณ วนั น้ียงั คงตอ้ งการบุคลากรท่ีมีความรู้ความสามารถอีกเป็นจานวนมากEducation 4.0

Innovation Society ในโลกปัจจุบนั เทคโนโลยเี จริญรุดหนา้ อยา่ งรวดเร็วอยา่ งไม่เคย เป็นมาก่อน เศรษฐกิจและสงั คมขบั เคล่ือนและแขง่ ขนั กนั ดว้ ย นวตั กรรม วศิ วกรมีบทบาทสาคญั ในการสรรคส์ ร้างคาตอบแก่ ปัญหาท้งั ดา้ นเศรษฐกจิ สงั คมและสิ่งแวดลอ้ มChula Engineering วศิ วฯ จุฬาฯ ถอื เอาการผลิตบณั ฑิตที่มีคณุ ภาพเพ่อื ไปช้ีนาการ พฒั นาสงั คมเป็นพนั ธกิจอนั ดบั หน่ึง วิศวฯ จุฬาฯ ที่ในการกา้ วสู่ ศตวรรษที่ 2 เรียกตวั เองว่า Chula Engineering ไดน้ ารากฐานอนั ยาวนานในแนวคิดการผลติ บณั ฑิตวศิ วกร บูรณาการเขา้ กบั นวตั กรรมการเรียนการสอนระดบั โลก ไดน้ ามาสู่กระบวนการผลติ บณั ฑิตที่เรียกวา่ Chula Engineering Education 4.0

Chula Engineering Education 4.0 องคป์ ระกอบของบณั ฑิตวิศวกรที่จะไดร้ ับบ่มเพาะจาก Chula Engineering Education 4.0 ไดแ้ ก่พร้อมกับวิชาชีพวศิ วกรยคุ นี้ พร้อมรับวิชาชีพยุคหน้า ความรู้ ทกั ษะ และแนวคดิ ท้งั หมดน้ีจาเป็นเพื่อเตรียมความพร้อม แกน่ กั เรียนมธั ยมท่ีเขา้ มา ให้พร้อมกบั วิชาชีพวิศวกรยคุ น้ีที่ตอ้ ง ทางานในสิ่งแวดลอ้ มท่ีเป็นพหุสาขาและพหุวฒั นธรรม ยง่ิ ไปกวา่ น้นั กบั สงั คมยคุ หนา้ ที่บุคคลจะมีแนวโนม้ ปรบั เปลี่ยนอาชีพไป อยา่ งต่อเนื่องในช่วงชีวติ ยงั เป็นที่ยอมรบั วา่ ความรู้และ ความสามารถท่ีเรียกวา่ การคิดเป็นระบบอยา่ งวิศวฯ น้ี จะเป็น ประโยชนแ์ ก่บณั ฑิตวิศวฯจุฬาฯ ท้งั เม่ือจบการศกึ ษาและในภายภาค หนา้

นวตั กรรมการคิดในห้องเรียน Chula Engineering Educationupdated: 26 พ.ย. 2557 เวลา 13:20:25 น.ประชาชาติธุรกจิ ออนไลน์หลงั จากคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั เปิ ดตวั นวตั กรรมการเรียนการสอนรูปแบบใหม่ที่เรียกวา่ \"การศึกษาระบบ 4.0 หรือ Chula Engineering Education 4.0\" อยา่ งเป็นทางการ จนทาให้เกิดการปฏิวตั ิการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ที่ไม่เพียงจะทาใหห้ ลายคนกล่าวขานถงึหากยงั ทาใหห้ ลายคนอยากรู้ดว้ ยว่า \"การศึกษาระบบ 4.0 หรือ Chula Engineering Education 4.0\" น้นั มีรายละเอียดเป็นอยา่ งไร\"ศ.ดร.บณั ฑิต เอ้ืออาภรณ์\" คณบดีคณะวศิ วกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั บอกวา่ การศกึ ษาระบบ4.0 หรือ Chula Engineering Education 4.0 ใชใ้ นการเรียนการสอนภายในคณะวศิ วะ จุฬาฯ มาต้งั แตต่ น้ ปีการศึกษา 2557 เป็นการเรียนการสอนที่มุ่งพฒั นาศกั ยภาพผสู้ อน เปิ ดโลกทศั นผ์ เู้ รียนไดร้ ู้จริงทาจริง เพือ่เป็นจุดเร่ิมตน้ ในการสร้างนวตั กรรม\"การเรียนการสอนของไทยในอดีตมีลกั ษณะการถ่ายโอนความรู้ในทิศทางเดียวจากผสู้ อนสู่ผเู้ รียน หรือเรียกวา่ การศึกษาระบบ 1.0 และ 2.0 แต่เริ่มเปลย่ี นแปลงไปดว้ ยอทิ ธิพลของอนิ เทอร์เนต็ จนนาไปสู่การศึกษาระบบ 3.0 ในปัจจุบนั ที่ผเู้ รียนตอ้ งเรียนรู้จากแหล่งต่าง ๆ แต่ทางคณะวิศวะ จุฬาฯ ตอ้ งการพฒั นารูปแบบการเรียนรู้ท่ีจะสามารถผลติ บุคลากรในแบบเก่งคิดและเก่งคน ผา่ นศาสตร์การคดิ เชิงออกแบบ

(Design Thinking) จึงไดพ้ ฒั นาการเรียนการสอนระบบ 4.0 หรือ Chula Engineering Education 4.0 ข้นึ มา\"\"การศึกษาระบบ 4.0 จะมุ่งเนน้ สร้างทกั ษะการฝึ กฝนจากประสบการณ์ เพมิ่ ประสิทธิผลสูงสุดในเชิงธุรกิจพร้อมเติมเต็มความตอ้ งการของมนุษยแ์ ละสงั คมอยา่ งตรงจุด จึงมีการริเร่ิมรายวชิ า Creative Design forCommunity ซ่ึงจดั สอนคร้ังแรกในภาคการศกึ ษาตน้ ปี การศึกษา 2557\"\"เปิ ดรบั นิสิตปี ที่ 2-4 โดยรายวชิ าน้ี นิสิตมีโอกาสทาโปรเจก็ ตจ์ ริง โดยไดร้ บั โจทยจ์ ริงจากองคก์ รและผเู้ ชี่ยวชาญจากภายนอก ท้งั หมดเป็นโปรเจก็ ตเ์ ชิงปัญหาสงั คม ท้งั ยงั เชิญวทิ ยากรภายนอกผเู้ ช่ียวชาญดา้ นกระบวนการคดิ เชิงออกแบบมาร่วมสอนและใหค้ าแนะนาต่าง ๆ ในรายวิชาอีกดว้ ย ซ่ึงการเรียนการสอนรูปแบบดงั กลา่ วจะถกู นามาใชก้ บั นิสิตทุกช้นั ปี ในอนาคต\"\"ศ.ดร.บณั ฑิต\" อธิบายเพ่มิ เติมว่า เพอ่ื ให้การสอนระบบ 4.0 เปี่ ยมประสิทธิภาพยง่ิ ข้นึ จาเป็นตอ้ งมีอปุ กรณ์และสภาพแวดลอ้ มที่มาส่งเสริมการเรียนการสอนใหเ้ ขม้ ขน้ ข้ึน จึงไดร้ บั การสนบั สนุนจากเชฟรอนประเทศไทยสารวจและผลติ , ปตท.สารวจและผลติ ปิ โตรเลยี ม, พที ีที โกบอล เคมิคอล และปูนซีเมนตไ์ ทย ดว้ ยการมอบทุนรายละกวา่ 2,580,000 บาท เพ่ือพฒั นาพฒั นาศูนยก์ ารเรียนรู้ i-SCALE\"ศนู ยก์ ารเรียนรู้ i-SCALE เป็นลกั ษณะหอ้ งเรียนยคุ ใหม่ที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นจุดศนู ยก์ ลาง ประกอบดว้ ยโต๊ะเรียนที่จดั รูปแบบงา่ ย สามารถปรับใหม้ ีการเรียนรู้เป็นกลมุ่ เลก็ หรือใหญต่ ามความตอ้ งการ เพื่อกอ่ ให้เกดิปฏิสมั พนั ธก์ ารเรียนรู้ระหว่างผเู้ รียนนิสิตในกลมุ่ , จอแสดงผลที่ใหผ้ สู้ อนและผเู้ รียนสามารถทาการส่ือสารแบบ 2 ทาง เพ่ือแลกเปล่ยี นผลงาน สร้างแรงกระตุน้ และส่งเสริมกลไกการเรียนรู้ร่วมกนั \"ท้งั ยงั จดั บรรยากาศหอ้ งเรียนดว้ ยการตกแต่งใหม้ ีสีสนั สดใส ทนั สมยั เพอื่ กระตุน้ พลงั ความคิดสร้างสรรคใ์ ห้พวกเขาเกดิ กระบวนการคิด และมีทกั ษะปฏบิ ตั ิเป็นเลิศดว้ ยการพฒั นาศนู ย์ i-DESIGN WORKSPACEข้นึ มารองรบั\"หลงั จากนิสิตผา่ นหอ้ งการเรียนรู้จนทาให้พวกเขามีความคิดในการสร้างนวตั กรรมใหม่ ๆ ผ่านศนู ยก์ ารเรียนรู้ i-SCALE แลว้ ศูนย์ i-DESIGN WORKSPACE ยงั เป็นพ้นื ท่ีความคิดที่ทาใหเ้ ขาเหลา่ น้นั ลงมือปฏิบตั ิจริง โดยบรรยากาศภายในจะเป็นแบบ Engineering Playground มีบรรยากาศสีสนั สดใส มีอปุ กรณ์การนาเสนอ และระบบสื่อสารท่ีพร้อมใหน้ ิสิตทาโครงงานต่าง ๆ รองรบั การทา Digital Prototyping ไปจนถึงRapid Prototyping พ้นื ท่ีทาโครงงานที่ทาใหบ้ ณั ฑิตกา้ วจากการผลติ สิ่งประดิษฐส์ ู่การฝึกฝนความรู้และทกั ษะเพื่อการผลติ นวตั กรรมต่อไป\"

นบั วา่ เป็นระบบการเรียนรู้เพือ่ ให้นิสิตคดิ เป็นและทาเป็น สรา้ งความพร้อมในการกา้ วสู่ความเป็นสากลภายใตแ้ นวคิดท่ีวา่ \"Foundation towards Innovation\"


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook