Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การวิเคราะห์คุณค่าของวรรณกรรม

การวิเคราะห์คุณค่าของวรรณกรรม

Published by kruwanchaiit, 2022-12-04 15:16:38

Description: การวิเคราะห์คุณค่าของวรรณกรรม

Search

Read the Text Version

การวิเคราะหค์ ณุ คา่ ของวรรณกรรม ๑. ความหมายของการวิเคราะหว์ รรณกรรม การวิเคราะห์ หมายถึง การพจิ ารณาตรวจตรา แยกแยะและประเมินค่า ซง่ึ จะเกดิ ประโยชน์ตอ่ ผ้วู ิเคราะหใ์ นการนาไปแสดงความ คิดเหน็ อภิปรายข้อเท็จจริงให้ผอู้ นื่ ทราบ ดว้ ยว่าใครเป็นผู้แตง่ เปน็ เรอ่ื งเกี่ยวกับอะไร มปี ระโยชน์อยา่ งไร ต่อใครบา้ ง ผูว้ เิ คราะห์ มีความเห็น อยา่ งไร เรอ่ื งทอ่ี า่ นมีคณุ คา่ ด้านใดบ้างและแตล่ ะดา้ นสามารถนาไปประยุกต์ ให้เกดิ ประโยชนต์ ่อชีวิตประจาวนั อยา่ งไรบา้ ง ๒. แนวในการวเิ คราะห์วรรณกรรม การวิเคราะหว์ รรณกรรมมีหลกั เกณฑก์ ารปฏบิ ตั อิ ยา่ งกวา้ ง ทัง้ น้ีเพื่อใหค้ รอบคลมุ งานเขยี นทุกประเภท แตล่ ะประเภท ผูว้ ิเคราะห์ต้องนาแนวการวิเคราะห์ไปปรบั ใช้ ให้เหมาะสมกับงานเขยี นแตล่ ะชน้ิ งานซ่ึงมีลกั ษณะแตกตา่ งกันไป ซ่งึ ประพนธ์ เรืองณรงค์ และ คณะ (๒๕๔๕ : ๑๒๘) ไดใ้ หห้ ลกั เกณฑก์ วา้ ง ๆ ในการวิเคราะห์วรรณกรรม ดงั น้ี ๒.๑ ความเป็นมาหรือประวัตขิ องหนังสือและผ้แู ตง่ เพอ่ื ช่วยให้วเิ คราะห์ในสว่ นอื่น ๆ ๒.๒ ลักษณะคาประพนั ธ์ ๒.๓ เรอ่ื งยอ่ ๒.๔ เนอื้ เรือ่ ง ใหว้ เิ คราะหเ์ รื่องในหวั ขอ้ ต่อไปน้ีตามลาดับ โดยบางหัวข้ออาจจะมี หรอื ไม่มีกไ็ ด้ตามความจาเป็น เชน่ โครงเรือ่ ง ตวั ละคร ฉาก วิธีการแต่ง ลกั ษณะการเดนิ เรอื่ ง การใชถ้ ้อยคา สานวนในเรอ่ื งทว่ งทานองการแตง่ วิธีคิดสร้างสรรค์ ทศั นะหรือมมุ มองของผเู้ ขยี น เปน็ ต้น ๒.๕ แนวคดิ จดุ มุง่ หมาย เจตนาของผูเ้ ขยี นท่ฝี ากไวใ้ นเรื่อง ซ่งึ ต้องวเิ คราะหอ์ อกมาก ๒.๖ คุณคา่ ของวรรณกรรม โดยปกตแิ บง่ ออกเปน็ ๕ ด้านใหญ่ ๆ และกว้าง ๆ เพอ่ื ความครอบคลมุ ในทุกประเดน็ ซง่ึ ผู้วเิ คราะห์ ตอ้ งไปแยกหัวขอ้ ยอ่ ยให้สอดคลอ้ งกับลักษณะ ของหนังสอื ทจี่ ะวิเคราะหน์ น้ั ๆ ตามความเหมาะสม ๓. การวเิ คราะหค์ ณุ คา่ ของวรรณคดีและวรรณกรรม ความหมายของการวเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม การวิเคราะห์ หมายถึง การพจิ ารณาองค์ประกอบทกุ ส่วน โดยวธิ แี ยกแยะรายละเอียดต่าง ๆ ตั้งแต่ถ้อยคาสานวน การใช้คา ใช้ ประโยค ตลอดจนเน้ือเร่อื งและแนวคิด ทกุ อยา่ งทปี่ รากฏอยู่ในข้อเขียนนนั้ เมอื่ วเิ คราะหส์ ่วนประกอบไดแ้ ล้ว จงึ วจิ ารณต์ ่อไป การวิจารณ์ หมายถึง การพจิ ารณาเทคนิคหรอื กลวธิ ที แี่ สดงออกมานัน้ ให้เห็นวา่ นา่ คิด นา่ สนใจ น่าติดตาม มชี ัน้ เชงิ ยอกยอ้ นหรอื ตรงไปตรงมา องคป์ ระกอบใดมคี ณุ คา่ นา่ ชมเชย องคป์ ระกอบใดนา่ ทว้ งตงิ หรือบกพร่องอย่างไร การวิจารณส์ ง่ิ ใดจึงตอ้ งใช้ความรู้ มเี หตผุ ล มหี ลกั เกณฑ์ และมคี วามรอบคอบด้วย การวิจารณ์งานประพันธ์ หมายถงึ การพิจารณากลวิธีต่าง ๆ ทุกอยา่ งทีป่ รากฏในงานเขยี น ซึ่งผเู้ ขียนแสดงออกมาอย่างมชี น้ั เชิง โดยผวู้ ิจารณจ์ ะตอ้ งแสดงเหตผุ ลทจ่ี ะชมเชย หรอื ช้ีขอ้ บกพร่องใด ๆ ลงไป วธิ ีวิเคราะห์และวจิ ารณง์ านประพันธ์ ตามปกตแิ ลว้ เมอ่ื จะวิจารณส์ ่ิงใด จาเปน็ ต้องเรมิ่ วเิ คราะหอ์ งคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ใหเ้ ข้าใจ ชดั เจนเสียก่อนแลว้ จงึ วจิ ารณ์แสดง ความเห็นออกมาอยา่ งมเี หตผุ ล ให้นา่ คดิ น่าฟงั และ เป็นคาวิจารณท์ ี่นา่ เชอื่ ถอื ได้ การวิจารณง์ านประพันธส์ าหรบั ผเู้ รยี นทเ่ี รม่ิ ต้นฝึกหดั ใหม่ ๆ นนั้ อาจตอ้ งใช้เวลาฝกึ หดั มากสักหนอ่ ย อา่ นตวั อยา่ งงานวจิ ารณ์ของ ผู้อน่ื มาก ๆ และบอ่ ย ๆ จะช่วยได้มากทีเดยี ว เมอ่ื ตัวเราเรม่ิ ฝึกวจิ ารณ์งานเขยี นใด ๆ อาจจะวเิ คราะห์ไมด่ ี มีเหตผุ ลนอ้ ยเกนิ ไป คนอื่นเขาไม่ เห็นดว้ ย เราก็ควรย้อนกลบั มาอา่ นเขียนนั้น ๆ อกี ครง้ั แล้วพิจารณาเพมิ่ เตมิ

ขนั้ ตอนการวิเคราะห์และวิจารณ์ โดยเร่ิมตน้ ทผ่ี อู้ ่านไปอ่านงานวรรณกรรม เม่ืออา่ นแลว้ จงึ วเิ คราะหแ์ ยกแยะดอู งคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ลาดับตอ่ ไปนี้จึงวิจารณก์ ลวธิ กี าร นาเสนอ ว่านา่ สนใจหรอื ไมเ่ พียงใด แลว้ ผ้วู จิ ารณ์จึงเรียบเรียงความคิดเห็นแสดงออกมาดว้ ยวธิ พี ดู หรือเขยี นวจิ ารณอ์ ย่างมเี หตผุ ล แม้นวา่ การวิจารณจ์ ะสน้ิ สดุ แลว้ แต่ผู้อา่ นกย็ ังย้อนกลับมาสนใจงานประพนั ธช์ นิ้ เดิม แลว้ เร่มิ ตน้ วเิ คราะห์วิจารณใ์ หมไ่ ดอ้ กี ตลอดเวลา ประเดน็ ที่ใช้ในการวิเคราะห์และวจิ ารณค์ ุณค่าของงานวรรณคดีและวรรณกรรม การวเิ คราะห์และวิจารณง์ านประพันธ์เทา่ ทีพ่ บเห็นท่ัว ๆ ไป นกั วิจารณ์นิยมพจิ ารณากว้าง ๆ ๔ ประเด็น ๑) คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ คือ ความไพเราะของบทประพนั ธ์ ซงึ่ อาจทาใหผ้ อู้ า่ นเกดิ อารมณ์ ความรู้สึกและจินตนาการตามรส ความหมายของถ้อยคาและภาษาที่ผแู้ ต่งเลอื กใช้ เพอ่ื ใหม้ ีความหมายกระทบใจผอู้ ่าน ๒) คุณคา่ ด้านเนื้อหาสาระ แนวความคิดและกลวิธนี าเสนอท้งั ๒ ประเด็นนี้ จะอธิบาย และยกตวั อยา่ งประกอบพอเขา้ ใจ โดยจะ กล่าวควบกนั ไปทัง้ การวเิ คราะหแ์ ละการวจิ ารณ์ ๓) คุณคา่ ดา้ นสังคม วรรณคดแี ละวรรณกรรมจะสะทอ้ นใหเ้ หน็ สภาพของสงั คมและวรรณคดที ดี่ สี ามารถจรรโลงสงั คมได้อกี ด้วย ๔) การนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจาวนั ผ้อู า่ นสามารถนาแนวคิดและประสบการณ์จากเรอ่ื งทอ่ี ่านไปประยุกต์ใชห้ รอื แกป้ ญั หา ในชีวติ ประจาวนั ได้ ๓.๑ การพจิ ารณาคุณคา่ ด้านวรรณศิลป์ วรรณศลิ ป์เป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ซึ่งชว่ ยสง่ เสริมใหว้ รรณกรรมมคี ณุ คา่ นา่ สนใจ คาว่า “วรรณศลิ ป”์ หมายถึง ลกั ษณะดเี ด่น ทางด้านวธิ ีแตง่ การเลือกใชถ้ ้อยคา สานวน ลีลา ประโยค และความเรยี งตา่ ง ๆ ทปี่ ระณตี งดงาม หรือมีรสชาตเิ หมาะสมกบั เน้ือเรอื่ งเป็น อยา่ งดี วรรณกรรมท่ใี ชว้ รรณศิลปช์ น้ั สูงนน้ั จะทาใหค้ นอ่านไดร้ บั ผลในทางอารมณ์ความรู้สึก เช่น เกิดความสดชน่ื เบกิ บาน ขบขนั เพลิดเพลิน ขบคดิ เศรา้ โศก ปลกุ ใจ หรอื อารมณอ์ ะไร กต็ ามทผ่ี เู้ ขียนตอ้ งการสรา้ งให้เกดิ ขึ้น ในตวั ผอู้ า่ น นนั่ คือ วรรณศิลปใ์ นงานเขียน ทาให้ผ้อู ่าน เกดิ ความรสู้ กึ ในจิตใจและเกดิ จินตนาการสรา้ งภาพคิดในสมองไดด้ ี การวเิ คราะห์งานประพนั ธ์จงึ ควรพจิ ารณาวรรณศลิ ปเ์ ป็นอันดับแรกแล้วจงึ วจิ ารณว์ า่ มีคณุ ค่าหรอื น่าสนใจเพยี งใดหากงานประพันธ์ นั้นเป็นประเภทบทรอ้ ยกรอง ผู้อา่ นทจ่ี ะวเิ คราะห์วจิ ารณ์ ควรมีความรู้บางอยา่ ง เชน่ รู้บงั คับการแต่งบทรอ้ ยกรองรู้วิธใี ช้ภาษาของกวี รู้วิธี สรา้ งภาพฝันหรือความคิดของกวี เปน็ ต้น ความรดู้ ังกล่าวนี้จะชว่ ยใหเ้ ขา้ ใจบทร้อยกรองไดม้ ากข้ึนลองอา่ นบทรอ้ ยกรองงา่ ย ๆ สักเรอ่ื งหนึ่ง เพ่อื ทดลองวเิ คราะหว์ ิจารณก์ นั เรื่องวอนขอ... เมอื่ เรายงั เลก็ เป็นเด็กน้อย เคยกล่าวถอ้ ยวอนจันทราว่าใหส้ ม ขอข้าวแกง … แหวน .. ใหน้ อ้ งปองนิยม ขอเตียงตั่งนงั่ ชมดาวและเดือน เมอ่ื เหน็ ดาวลอ้ มเดอื นกลาดเกล่อื นฟา้ ชวนนอ้ งนับดาราท่ีเป็นเพือ่ น ระยับระยบิ พรบิ ตาดาวพร่าเลือน แตด่ วงเดอื นเดน่ สว่างกลางโพยม อยากตะกายวา่ ยฟ้าไปหาจนั ทร์ และใฝ่ฝันอยากเอือ้ มให้ถึงโสม เคยนึกตามใจชอบปลอบประโลม ว่าเติบใหญ่จะไดโ้ คมรตั ตกิ าล ฝนั ไปตามอารมณผ์ สมโง่ ว่าเตบิ โตจะบินไปดว้ ยใจหาญ สอยดวงดาวพราวฟ้ามาเปน็ ยาน พาเราผา่ นเมฆด้นจนถึงจนั ทร์ (บทกวีเรื่อง วอนขอ ของ กลุ ทรัพย์ รุ่งฤด)ี (โพยม = ท้องฟ้า, โสม = ดวงจันทร์, รัตติกาล = กลางคืน)

วิเคราะห์และวจิ ารณค์ ณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป์ บทรอ้ ยกรองน้ีวเิ คราะหไ์ ดว้ า่ เปน็ กลอนสภุ าพจานวน ๔ บท เนอ้ื ความกลา่ วถงึ ตวั ผเู้ ขยี น เมื่อเปน็ เด็กเคยวอนขอส่งิ ตา่ ง ๆ จากดวง จันทรแ์ ละอยากไปให้ถึงดวงจันทร์ ผู้เขียนใช้ถอ้ ยคา แสดงภาพความฝนั อย่างงา่ ย ๆ แต่ใหค้ วามรสู้ กึ น่ารกั สวยงาม เช่น ดาวล้อมเดอื น ระยบั ระยิบเดน่ สว่าง ตะกายว่ายฟา้ ดวงดาวพราวฟา้ ผา่ นเมฆ เป็นต้น ลลี าการเขยี นเชน่ นว้ี ิจารณ์ได้ว่า สรา้ งอารมณค์ นอ่านไดด้ ี ชวนใหค้ ิดถึงดวง จันทร์ ดวงดาวท่ีกลาดเกลอื่ นอยบู่ นทอ้ งฟ้ายามค่าคนื บทร้อยกรองทีใ่ ช้ถ้อยคาช่วยสรา้ งความรสู้ ึกและมีเน้ือหาสร้างสรรคจ์ นิ ตนาการไดเ้ ชน่ นี้ เรยี กว่า “วรรณศลิ ป”์ ถ้าเราเขยี นรปู ภาพได้ ลองเขียนภาพฝนั ตามจนิ ตนาการของกวไี ปดว้ ยก็ได้ ๓.๒ การวจิ ารณ์คณุ คา่ ดา้ นเนอ้ื หาสาระ แนวความคิด และกลวธิ นี าเสนอ งานประพันธท์ ม่ี คี ณุ ค่าน่าสนใจนน้ั นอกจากจะมวี ิธใี ช้ถ้อยคาภาษาและแสดงชั้นเชงิ การแต่งอยา่ งดแี ลว้ ยงั ตอ้ งวิเคราะหถ์ งึ เนอ้ื หา สาระและแนวความคดิ ทม่ี ปี ระโยชนต์ ่อคนอา่ นอกี ด้วย เน้อื หาสาระทีด่ ีนัน้ อาจเปน็ ในแง่การให้ความรู้ ใหค้ วามคดิ เหน็ คติ คาสอน ข้อเตอื นใจ ชี้ช่องใหม้ องเหน็ ความจรงิ ความดี ชท้ี างแกป้ ัญหา แนะส่ิงทคี่ วรปฏิบัตหิ รือ ส่งิ ที่ควรละเวน้ กลวิธกี ารเขียนอาจชี้แนะโดยตรงหรอื ทางออ้ มก็ ไดแ้ ล้วแต่กลวิธีของผู้เขยี น วา่ จะทาไดแ้ นบเนยี นน่าสนใจเพยี งใด ข้อทน่ี ่าสงั เกตคือ งานเขียนที่ดนี น้ั ไม่จาเป็นต้องสอนศลี ธรรมหรือคณุ ธรรมโดยตรง ผเู้ ขียนอาจใชก้ ลวธิ ีตา่ ง ๆ เพอ่ื ใหค้ นอา่ นเกิด ความคดิ ได้ดว้ ยตนเอง ดงั น้ันก่อนการวิจารณ์ คนอา่ นจึงต้องพยายามทาความเขา้ ใจ จับความหมายและสรปุ แนวความคิดทัง้ หลายของผู้เขียนให้ไดเ้ สยี กอ่ น หลกั สาคญั มอี ยู่อยา่ งหนึ่งว่า งานประพนั ธ์ทดี่ คี วรมเี น้อื หาสาระมุ่งสร้างสรรค์ มิใชม่ งุ่ ทาลาย ๓.๓ การพจิ ารณาคณุ คา่ ด้านสังคม การพจิ ารณาคณุ ค่าด้านสงั คมจากวรรณกรรม ผู้อา่ นต้องคน้ หาสาระกอ่ นวา่ ผู้เขียน ต้องการเสนอ “สาระ” อะไรใหก้ บั ผอู้ า่ นเปน็ ด้าน ดหี รือด้านเสียของสังคมและผู้อา่ น ตอ้ งพิจารณาว่า พงึ ปฏบิ ตั ิอยา่ งไร หรอื ได้แนวคดิ อะไรบา้ งจากการอา่ นวรรณกรรมนั้น วรรณกรรมทุกเร่ืองจะสะทอ้ นภาพชวี ติ และสังคม ตัวอย่างเชน่ วรรณกรรมเร่ืองนา้ พุจะสะทอ้ นภาพสงั คมวยั รนุ่ ทไี่ ปเกยี่ วข้องกับยา เสพติด จนเสยี ชีวิตในที่สดุ ๓.๔ การนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวัน งานประพนั ธ์ยอ่ มประกอบด้วยถอ้ ยคา เน้ือหาสาระและกลวธิ ีการเขียนแบบตา่ ง ๆ ซึ่งสามารถนางานประพันธ์ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนไ์ ด้ เชน่ ในแง่จดจาถอ้ ยคาสานวนไปใชเ้ พือ่ ความสนกุ สนาน ความไพเราะ ส่วนเน้อื หาสาระอาจนาไปใช้ในแงไ่ ดค้ ตขิ ้อเตอื นใจ ได้ ความคิดเหน็ ทม่ี ีประโยชน์ต่อชีวติ ครอบครัว สงั คมและประเทศชาติ การนาคณุ คา่ ของงานประพันธ์ไปใชไ้ ด้มากนอ้ ยเพยี งใดขึน้ อยู่กบั ความสามารถและประสบการณข์ องผอู้ ่าน ที่จะวิเคราะห์เพอื่ เลือก จดจา คดิ และนาไปใชต้ ามกาลังความคิดของตน ตัวอย่างแนวการวิเคราะหว์ รรณกรรมประเภทรอ้ ยกรอง การอ่านอยา่ งวิเคราะหจ์ ะสามารถแยกขอ้ ดี-ข้อเสยี และประเมนิ คา่ ของวรรณกรรมได้ ซง่ึ ผู้อา่ นควรวเิ คราะห์องค์ประกอบสาคญั ๔ ประการ คอื ๑. รูปแบบการประพนั ธ์หรือฉนั ทลักษณใ์ นการแต่ง ๒. ธรรมเนียมนยิ มในการแตง่ ๓. ความไพเราะ ๔. สาระของเนอื้ หา

๑) รปู แบบการประพันธห์ รอื ฉันทลักษณใ์ นการแต่ง ฉนั ทลกั ษณ์เป็นกฎข้อบงั คบั ในการประพันธ์ เช่น โคลงสส่ี ภุ าพบังคับวา่ ตอ้ งใช้คาทมี่ ีวรรณยุกต์เอก วรรณยกุ ต์โทตามตาแหน่งท่ี กาหนด ฉันท์กาหนดเสยี งหนกั เบา (ครุ-ลห)ุ และคาประพันธ์ทุกประเภทบังคบั การสง่ สมั ผสั ตามตาแหน่งต่าง ๆ ดงั น้ี เปน็ ตน้ ฉันทลกั ษณ์ เปน็ ระเบยี บข้อบังคบั ถ้าไม่ปฏิบัตติ ามถอื วา่ ผดิ การพจิ ารณาวรรณกรรมรอ้ ยกรองเกอื บ ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งวิเคราะห์ฉนั ทลกั ษณ์ เพราะผปู้ ระพนั ธจ์ าเปน็ ตอ้ งปฏบิ ัติตามระเบยี บอย่างเครง่ ครัดอยแู่ ล้ว ๒) ธรรมเนยี มนิยมในการแต่ง คอื กลวิธใี นการประพันธ์ที่นิยมกันว่าดีงามและถือปฏบิ ตั สิ ืบตอ่ กันมา บทประพนั ธท์ ่ีไม่ สอดคลอ้ งกับธรรมเนยี มนยิ มไม่ถอื ว่าผดิ หากแต่จะเป็นคาประพันธ์ที่ไม่งามสมบรู ณใ์ นความนยิ มของผู้อ่าน ๑. ธรรมเนียมนิยมในการแต่งและการเลอื กใช้คาประพนั ธป์ ระเภทโคลง โคลงนิยมใช้คาทม่ี นี ้าหนกั ศพั ทค์ ่อนข้างสูง บางคาเป็น ศัพท์เกา่ บางคาใชค้ าศัพทแ์ ผลง บางครงั้ ตอนเสียง คาหนา้ เปน็ เสียงอะ กวบี างคนนยิ มใชค้ าภาษาถนิ่ กลวธิ ีการแต่งโคลงท่นี ิยมว่าไพเราะสบื มาแตส่ มยั กรงุ ศรีอยุธยาจนถงึ ปัจจบุ นั มี มากมาย เชน่ นิยมสมั ผัสอกั ษร นยิ มซ้าคา ในที่บางแหง่ นิยมเสียงสูงทา้ ยวรรคสุดทา้ ย เปน็ ตน้ ๒. ธรรมเนียมนิยมในการแต่งและเลือกใชค้ าประพันธ์ประเภทฉนั ท์ นยิ มใช้ คาศพั ท์สงู ไดแ้ ก่ คาโบราณ คาบาลี-สันสกฤต คา แผลง เป็นตน้ กวีจะเลือกใชค้ าฉันทส์ าหรับเรื่องราวทเ่ี ป็นแบบแผนสูงส่งและสงา่ งาม เช่น คาบชู าพระรัตนตรยั คาบชู าพระเจา้ และบทสวด ตา่ ง ๆ สว่ นเนอื้ หาที่เป็นเรื่องราว เช่น นทิ าน กวจี ะเลอื กเรื่องสาคัญท่เี ห็นวา่ ศักดสิ์ ิทธ์ิ และสูงสง่ เชน่ เรื่องสมทุ รโฆษคาฉนั ท์ สามคั คีเภทคาฉนั ท์ เป็นตน้ นอกจากนี้ ฉันทแ์ ตล่ ะชนิด ยังมลี ักษณะเหมาะสมกบั การ พรรณนาเฉพาะเรื่องอารมณข์ องตวั ละคร และบรรยากาศอีกดว้ ย กวีไดถ้ อื เป็นธรรมเนยี มนิยมปฏบิ ตั ิสืบกนั มา เชน่ สทั ทลุ วิกกฬิ ติ ฉันท์ เหมาะสาหรับใชเ้ ป็นบทไหวค้ รูหรอื ยอพระเกยี รติ ๓. ธรรมเนยี มนิยมในการแตง่ และการเลอื กใชค้ าในการแตง่ กาพย์ การแต่งกาพย์มกั ใช้คาพ้นื ๆ ธรรมดา หากเร่ืองที่มโี ครงเรอ่ื ง เนื้อเรือ่ งที่แต่งกไ็ มส่ งู สง่ และศักดสิ์ ทิ ธเ์ิ หมือนเรื่องท่ีแตง่ เป็นคาฉนั ท์ กวสี มัยกรงุ ศรีอยุธยาแตง่ นทิ านเป็นคากลอน เช่น กาพย์เรอื่ งพระไชย สุรยิ า เปน็ ตน้ บางคร้งั กวใี ช้กาพยแ์ ละฉันท์แตง่ ปนกันในวรรณกรรม เร่อื งเดยี ว โดยเลอื กใชก้ าพย์สาหรบั บทพรรณนา สภาพเหตุการณ์ สภาพ บ้านเมือง เป็นตน้ ๔. ธรรมเนยี มนยิ มในการแตง่ รา่ ย มธี รรมเนยี มคล้ายกาพยแ์ ละโคลง แตไ่ ม่นยิ มแต่งรา่ ยท้งั เร่อื ง ใชแ้ ตง่ ประกอบกับโคลง นอกจาก ร่ายยาวทานองเทศน์เท่านัน้ ทแ่ี ตง่ ด้วยรา่ ยตลอดทัง้ เร่ือง ๕. ธรรมเนยี มนิยมในการแตง่ และการเลอื กใช้คาในการแต่งกลอน นยิ มใชค้ าพื้น ๆ ธรรมดา บางคร้งั กวพี ลกิ แพลง การใชค้ าให้ พสิ ดารเพ่ือให้กลอนมีรสชาติ เปลยี่ นแปลงไปบา้ ง เชน่ การเลน่ คา การสง่ สมั ผสั ด้วยคาตาย กลอนกลบทตา่ ง ๆ เปน็ ต้น ๓) ความไพเราะของวรรณกรรมร้อยกรอง ความไพเราะของวรรณกรรมร้อยกรองขน้ึ อยกู่ บั ปจั จยั หลายประการ ทคี่ วรพจิ ารณามดี งั น้ี ๑. การเลอื กสรรคามาใช้ เลอื กคาท่ีมีเสียงเสนาะ คือ คาท่ีจะใชแ้ ฝงลีลา จังหวะอ่อนเนิบ นม่ิ นวลหรอื เร่งเรา้ รุนแรง ตามทกี่ วตี อ้ งการร่ายทอด อารมณห์ รือบรรยากาศออกมาสผู่ อู้ า่ น ก. การใช้คาเลียนเสียงธรรมชาติ ทาใหผ้ ูอ้ า่ นเกิดความร้สู กึ เหมอื นไดย้ ินเสียงหรอื เห็นภาพ ทาใหเ้ กิดความไพเราะและสะเทือน อารมณต์ ามไปดว้ ย เช่น ตวั อยา่ ง ไผ่ซอออ้ เอยี ดเบยี ดออด ลมลอดไลเ่ ล้ียวเรยี วไผ่ ออดแอดแอดออดยอดไกว แพใบไล้น้าลาคลอง (คาหยาด – เนาวรัตน์ พงษไ์ พบลู ย)์

ข. ใชค้ าน้อยแตก่ ินความมาก เปน็ การกลา่ วอย่างกระชบั แตม่ เี จตนาจะให้ส่อื ความหมายคลุมกว้างขวางออกไปย่งิ กวา่ ที่กล่าวไว้ นัน้ เช่น ตวั อย่าง “อนั ของสูงแม้ปองตอ้ งจติ ถา้ ไมค่ ดิ ปีนปา่ ยจะไดห้ รือ” คาวา่ ของสูง มคี วามหมายตามศัพท์ หมายถึง สิง่ ทอ่ี ยสู่ ูง ๆ แตเ่ จตนาของผู้สง่ สาร มคี วามหมายกว้างออกไปอีก หมายถึง สิ่งที่สูงค่า ยิง่ คาวา่ ปนี ป่าย มคี วามหมายตามศพั ท์ หมายถึง การไตไ่ ปสทู่ ี่สูง แต่เจตนาของผูส้ ่งสาร มีความหมายกว้างออกไปอกี หมายถงึ ความ พยายาม ความมงุ่ มัน่ อดทน ตอ่ สอู้ ยา่ ง ไม่ยอ่ ทอ้ ค. การเล่นคา คอื การนาคาพ้องรูปพ้องเสยี ง มาร้อยกรองเขา้ ดว้ ยกัน จะทาใหเ้ กิดเสียงไพเราะนา่ ฟงั ถ้านามาใช้ในบทพรรณนา หรือบทครา่ ครวญ กจ็ ะทาใหเ้ กิดความสะเทือน อารมณ์ เชน่ ตวั อย่าง รอนรอนสุริยะโอ้ อัสดง เรอื่ ยเรือ่ ยลบั เมรลุ ง ค่าแลว้ รอนรอนจติ จานง นุชพ่ี เพียงแม่ (กาพยเ์ ห่เรือของเจา้ ฟา้ กงุ้ ) ง. การใชค้ าอพั ภาส คือ การซา้ คาชนิดหน่ึง โดยใชพ้ ยัญชนะซ้าเขา้ ไปขา้ งหนา้ เชน่ รกิ เปน็ ระริก ยมิ้ เปน็ ยะยิ้ม แยม้ เป็น ยะ แยม้ เช่น ตวั อยา่ ง “เพื่อชื่นชมรมณยี ก์ ับชวี ิต ที่จะคดิ ท่จี ะทาตามคิดเห็น ระเรอื่ ยเรอ่ื ยเฉอ่ื ยฉา่ ลมื ลาเคญ็ ลมื ความเป็นปรศั นีย์ขอชีวติ ” (วารีดรุ ิยางค์ ของเนาวรตั น์ พงษ์ไพบลู ย์) จ. การเลน่ เสียงวรรณยกุ ต์ คอื การนาคาทม่ี พี ยญั ชนะตน้ สระ ตวั สะกดอยา่ งเดียวกัน แตต่ ่างวรรณยกุ ต์กนั นามาเรยี งไว้ใกล้กนั ทาใหเ้ กดิ เสยี งไพเราะดจุ ดนตรี เชน่ ตวั อย่าง “สกดั ไดใดสกัดนอ้ ง แหนงนอนไพรฤา เพราะเพ่อื มาราญรอน เศิกไซร้ สละสละสมร เสมอช่อื ไม้นา นึกระกานามไม้ เหมน่ แม้นทรวงเรียม” (ลลิ ติ ตะเลงพา่ ย) ฉ. การสัมผัสอักษร - สมั ผัสสระ สัมผสั อกั ษร หมายถงึ การนาคาทม่ี ีเสยี งพยญั ชนะเดยี วกันมาเรียบเรียงไว้ใกล้กนั สมั ผสั สระ หมายถึง การสมั ผสั ของคาท่ีมเี สียงสระเดียวกนั เชน่

๒. กวีโวหารและสานวนโวหาร การใช้กวโี วหารและสานวนโวหารจะช่วยสรา้ งความไพเราะ ซ่งึ ทาใหผ้ อู้ า่ นเกิดภาพในจติ หรอื จนิ ตภาพข้นึ ผู้แตง่ อาจกลา่ วอยา่ ง ตรงไปตรงมา หรือกลา่ วเปน็ โวหารภาพพจน์ก็ได้ ซ่ึงอาจใชไ้ ด้หลายลกั ษณะ ดังน้ี ก. การเปรียบเทยี บหรอื อปุ มาอปุ ไมย อาจทาได้ ๒ วธิ คี ือ วิธีท่ี ๑ การเปรียบส่งิ หน่งึ เหมือนอกี ส่ิงหน่ึง ซึ่งจะมีคาแสดงความหมาย อย่างเดยี วกนั กบั คาว่าเหมือน ปรากฏวา่ ได้แกค่ าวา่ เสมอื น เปรยี บเหมอื น ดจุ ประดจุ ด่ังดจุ ดงั เพียง ราว เปน็ ตน้ ตัวอยา่ ง \"แมม้ ีความร้ดู ั่ง สัพทัญญู ผิบ่มีคนชู หอ่ นขึ้น\" วธิ ีท่ี ๒ การเปรียบส่ิงหน่งึ เป็นอีกสิง่ หน่ึง มักจะมีคาว่า คอื หรอื เปน็ ปรากฏ อยู่ เชน่ ตวั อย่าง “เงนิ ตราหรอื คอื กระดาษ ผสู้ รา้ งขน้ึ มาซอิ นาถ หลงใหลเปน็ ทาสอานาจเงนิ ” ข. การใชบ้ ุคลาธษิ ฐาน หมายถงึ การสมมุตสิ ่งิ ต่าง ๆ ให้มีกริ ยิ าอาการของมนษุ ย์ เชน่ ตวั อยา่ ง “มองซมิ องทะเลเห็นลมคล่ืนเหจ่ ูบหิน บางครัง้ มนั บา้ บ่นิ กระแทกหนิ ดังครนื ๆ หางนกยูงระย้าเร่ียคลอเคลียนา้ แพนดอกฉา่ ชอ้ ยช่อวรวิจติ ร” ค. การใช้สญั ลักษณ์หรือสิ่งแทนสัญลกั ษณ์ หมายถึง สิ่งหน่ึงที่ใชแ้ ทนอกี สงิ่ หนึง่ ตัวอย่าง สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ ความไรเ้ ดยี งสา ง. การกลา่ วเทจ็ (อธพิ จน)์ เป็นการเนน้ ความรสู้ ึกบางอยา่ งใหช้ ดั เจนขน้ึ ทาใหเ้ กดิ ความแปลก และเรยี กรอ้ งความสนใจได้ดี ตวั อยา่ ง “จะเอาโลกมาทาปากกา จะเอานภามาแทนกระดาษ เอานา้ หมดมหาสมุทรแทนหมกึ วาด ประกาศพระคณุ ไมพ่ อ” จ. การใชโ้ วหารปฏิพากย์ (โวหารขดั แยง้ ) คอื การนาคาทมี่ คี วามหมายขดั แยง้ กนั มาเรยี งตอ่ กนั ตวั อย่าง “ความหวานชนื่ อันขมขื่น” ๔) สาระของเน้อื หา สาระของวรรณกรรม คอื ประโยชนอ์ ันเปน็ ผลพลอยได้ท่ีไดร้ ับจากวรรณกรรม นอกเหนือจากความบนั เทงิ ใจ ๑. แนวคดิ และคา่ นยิ มจากวรรณกรรม แนวคดิ ท่ีปรากฏในวรรณกรรม หมายถึง ความคดิ สาคญั ของเรอ่ื งท่ีใหป้ ระโยชน์ ทง้ั โดยตรงและโดยอ้อมแก่มนุษยชาตแิ ละสังคม เช่น แนวคดิ เกย่ี วกับความเชือ่ เรอื่ งบญุ กรรม ความรกั ชาติ ความกตัญญกู ตเวที ความซ่อื สตั ย์ เป็นตน้ คา่ นยิ ม หมายถงึ ความรสู้ กึ ความคิด หรอื ความเชื่อของมนษุ ย์ทม่ี ตี ่อสิง่ ใดสิ่งหนึ่งท่มี นุษย์เชอ่ื ว่า มีความหมายหรอื มีความสาคญั ต่อ ตนหรอื กลมุ่ ของคน ค่านิยมจะเปน็ ตัวกาหนด พฤติกรรมแบบแผนการดาเนนิ ชีวติ ของบุคคล เชน่ คา่ นิยมเร่อื งการทาบญุ ทาทาน การชอบ ความสนกุ สนานร่นื เรงิ การนยิ มใชข้ องต่างประเทศ ความจงรกั ภกั ดีต่อชาติ ฯลฯ ๒. สาระด้านหลักฐานความเปน็ จริง เนอ้ื หาทเี่ ปน็ หลกั ฐาน ทาใหผ้ ูอ้ ่านได้ทราบความจริงเกย่ี วกับความ เปลีย่ นแปลง ทุก ๆ ทางของสังคม ค่านยิ มและทศั นะของบคุ คล ในสมัยท่ีวรรณกรรม เรือ่ งน้นั เกดิ ข้ึน เชน่ ในเสภาขนุ ช้างขุนแผนกลา่ วถึงพิธโี กนจกุ ว่า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook