Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Published by chophakaaof58, 2021-03-20 08:47:39

Description: หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

Search

Read the Text Version

หนังสือเรยี นรายวิชาพน้ื ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ผเู้ รียบเรยี ง พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1 ดวงพร ขอ้ งเกยี่ วพันธุ์ สงวนลขิ สทิ ธติ์ ามพระราชบญั ญตั ิ ผตู้ รวจ ISBN : 978-616-7768-33-5 ดร.อมรัชญา ชินศรี ปีที่พมิ พ์ 2562 พสิ ูจน์ แสงศรี จำ� นวนที่พิมพ์ 10,000 เล่ม วศิ าล จิตต์วาริน บรรณาธกิ าร จัดพมิ พแ์ ละจ�ำหน่ายโดย ดร.กุณฑรี เพช็ รทวีพรเดช บริษัท สรา้ งสรรคส์ อ่ื เพื่อการเรียนรู้ (สสร.) จำ� กดั 1518/7 ถ.ประชาราษฎร์ 1 แขวงวงศ์สวา่ ง เขตบางซอื่ กรุงเทพฯ 10800 โทรศัพท์ : 0-2587-7972, 0-2586-0948, 0-2587-9322-26 โทรสาร : 0-2044-4472 E-mail : [email protected]

คำ� ชีแ้ จงการใชส้ อื่ การเรียนรู้ องค์ประกอบต่าง ๆ ในแตล่ ะหนว่ ยการเรียนรู้ ภาพประกอบ ชอื่ หนว่ ยการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ เปน็ ภาพประกอบท่ีเช่อื มโยง และตวั ช้วี ัด หนว่ ยการเรยี นรู้ เป็นมาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดท่ีก�ำหนด ให้สอดคล้อง ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ แผนผงั สาระการเรียนรู้ สาระสำ� คญั เปน็ การก�ำหนดบทเรียน เป็นใจความส�ำคัญของเนื้อหา ใหก้ บั ผเู้ รียน ทีท่ �ำให้ผูเ้ รียนเขา้ ใจง่าย หนา้ น�ำเข้าสูบ่ ทเรยี น กรอบเนอื้ หา เพอื่ กระตนุ้ ผเู้ รยี นใหเ้ กดิ เพ่ิมความน่าสนใจดว้ ยกรอบเนื้อหา ความสนใจก่อนการเรียนด้วย ท่ีกระชับและได้ใจความ เนอ้ื หาและภาพที่น่าสนใจ ภาพประกอบเนื้อหา เพม่ิ ความน่าสนใจ และ กระตุน้ ใหเ้ กิดการเรียนรู้

ฉลาดรู้ ฉลาดคิด รไู้ วใ้ ช่ว่า กิจกรรมพฒั นาทกั ษะ เป็นความร้เู สรมิ ทเ่ี กย่ี วข้อง เปน็ เกร็ดเสรมิ ความรู้ เป็นกจิ กรรมท่ฝี ึกกระบวนการคิด ทีเ่ ก่ียวข้องกับเนื้อหา เพื่อให้ผเู้ รยี นไดล้ งมือปฏิบัติ และแกไ้ ข กับเนอ้ื หาในรปู แบบ ในหนว่ ยการเรียนรู้ ค�ำถามและค�ำตอบ ปัญหาในชวี ติ ประจ�ำวนั ได้ ตามจดุ ประสงคข์ องแต่ละกิจกรรม คำ� ถามทา้ ยกิจกรรม คำ� ถามท้ายหน่วยการเรยี นรู้ เปน็ คำ� ถามเพอ่ื ทบทวนความรู้ เปน็ คำ� ถามพัฒนาผู้เรียน เพื่อวดั และ ความเขา้ ใจในการลงมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรม และสามารถนำ� ความรไู้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ได้ ประเมินความเขา้ ใจของผเู้ รยี น ใหส้ อดคล้องกบั หนว่ ยการเรยี นรู้ สรุปท้ายหน่วยการเรียนรู้ เป็นการสรุปเนอื้ หาของแต่ละ โครงงานบรู ณาการหน่วยการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ เพอื่ ให้ผเู้ รียน เป็นโครงงานบูรณาการดา้ น STEM เพ่ือให้ ไดท้ บทวนความรู้กอ่ นตอบค�ำถาม ผู้เรียนน�ำไปใชป้ ระโยชน์ได้ในชีวิตประจ�ำวนั

คำ� นำ� หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เล่มนี้ จัดท�ำข้ึน โดยยดึ ตามมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชวี้ ดั กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 โดยมุ่งหวัง ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้กับมีทักษะและกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วย กระบวนการสบื เสาะหาความรู้ สามารถแก้ปญั หาอยา่ งเป็นระบบ มีความคิดเปน็ เหตเุ ปน็ ผล คดิ สร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์ วิจารณ์ มีการท�ำกิจกรรมดว้ ยการลงมอื ปฏิบตั ิจรงิ ช่วยให้ผู้เรียน ได้คน้ พบความรู้ดว้ ยตนเองมากทีส่ ดุ การศึกษาหาความรู้โดยใช้กระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์ข้ันพื้นฐานทั้ง 8 ทักษะ ได้แก่ ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจ�ำแนกประเภท ทักษะการค�ำนวณ ทักษะการหาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสเปซกบั สเปซและสเปซกบั เวลา ทักษะการจดั กระทำ� และสอ่ื ความหมายขอ้ มลู ทกั ษะการลงความคดิ เหน็ ขอ้ มลู และทกั ษะการพยากรณ์ ดังนั้น การศึกษา วิทยาศาสตร์จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รู้เท่าทันเทคโนโลยีการส่ือสาร ที่เจรญิ กา้ วหน้าของวิทยาการตา่ ง ๆ อยา่ งรวดเรว็ ในโลกยคุ โลกาภวิ ตั น์ บริษัท สร้างสรรค์สื่อเพื่อการเรียนรู้ (สสร.) จ�ำกัด หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน วทิ ยาศาสตร์ ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เลม่ นี้ มีการน�ำเสนอเนือ้ หาท่สี อดคล้อง กบั กจิ กรรมบรู ณาการท่ีหลากหลาย จะเป็นเคร่ืองมือช่วยให้ครูและผู้เรียนเกิดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นการสอนตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช2551(ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) บรรลเุ ปา้ หมายดา้ นการเรยี นวทิ ยาศาสตร์ และนำ� ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ� วนั ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ บรษิ ัท สรา้ งสรรคส์ ื่อเพ่อื การเรยี นรู้ (สสร.) จำ� กดั

สารบญั หน้า หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 สงิ่ มชี วี ติ กบั สง่ิ แวดลอ้ ม 1 1. การปรับตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละ 3 แหล่งทีอ่ ยู่ 14 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิง่ มีชวี ิต 23 3. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ 31 สงิ่ ไม่มชี ีวิต 32 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 36 1. การถ่ายทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 39 ของพชื 2. การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม 47 ของสัตว์ 49 3. การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม 74 ของมนุษย์ 78 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 การเปลยี่ นแปลงของสสาร 1. การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพ 2. การเปลี่ยนแปลงทางเคมี 3. การเปลี่ยนแปลงทผี่ ันกลบั ได้ และการเปลยี่ นแปลงทผ่ี ันกลับไม่ได้

หน้า หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 นำ้� และทอ้ งฟา้ อากาศ 83 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 1. การสำ� รวจและตรวจสอบแหลง่ นำ้� ในทอ้ งถนิ่ 84 2. แนวทางการอนรุ กั ษน์ ำ�้ 88 3. วฏั จกั รของนำ�้ 91 4. การเกดิ เมฆและหมอก 97 5. การเกดิ นำ�้ คา้ งและนำ้� คา้ งแขง็ 102 6. หยาดนำ�้ ฟา้ 103 แรงลพั ธแ์ ละแรงเสยี ดทาน 109 1. แรงลพั ธ์ 110 2. แรงเสียดทาน 116 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 6 เสยี งและการไดย้ นิ 125 126 1. เสยี งกับการไดย้ ิน 134 2. เสยี งสูงและเสียงต�่ำ เสยี งดงั และเสยี งค่อย 141 3. มลพิษทางเสียง 145 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 7 ดาวและแผนทด่ี าว 146 1. ความแตกต่างของ 150 ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ 2. ปรากฏการณก์ ารขึ้นและตกของกลุ่ม 162 ดาวฤกษ์ และการใช้แผนทดี่ าว บรรณานุกรม

สง่ิ มชี ีวติ กบั ส่ิงแวดล้อม หน่วยการเรียนรู้ที่ มาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ชว้ี ดั 1 1. บรรยายโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสม กบั การดำ� รงชวี ติ ซงึ่ เปน็ ผลมาจากการปรบั ตวั ของสงิ่ มชี วี ติ ในแตล่ ะแหลง่ ทอี่ ยู่ (มฐ. ว 1.1 ป.5/1) 2. อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สง่ิ ไมม่ ชี วี ติ เพอ่ื ประโยชน์ ตอ่ การด�ำรงชวี ิต (มฐ. ว 1.1 ป.5/2) 3. เขียนโซอ่ าหารและระบบุ ทบาทหนา้ ที่ของส่ิงมีชีวติ ทเ่ี ปน็ ผผู้ ลติ และผบู้ รโิ ภคในโซอ่ าหาร (มฐ. ว 1.1 ป.5/3) 4. ตระหนักในคุณค่าของส่ิงแวดล้อมท่ีมีต่อการด�ำรงชีวิต ของสง่ิ มชี วี ติ โดยมสี ว่ นรว่ มในการดแู ลรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม (มฐ. ว 1.1 ป.5/4) หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 สงิ่ มีชีวติ กบั สิ่งแวดลอ้ ม สาระ ส�ำ คญั 1 การปรบั ตวั ของสิง่ มชี วี ติ ในแตล่ ะแหล่งทอี่ ยู่ สงิ่ มชี วี ติ ทง้ั พชื และสตั วล์ ว้ นตอ้ งปรบั ตวั ดา้ นโครงสรา้ ง และลกั ษณะใหเ้ หมาะสมกบั สง่ิ แวดลอ้ มและแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั 2 ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง เพอ่ื ใหส้ ามารถดำ� รงชวี ติ และอยรู่ อดไดใ้ นแตล่ ะแหลง่ ทอ่ี ยู่ สง่ิ มีชวี ติ กับส่ิงมีชวี ิต ส่ิงมีชีวิตจะมีความสัมพันธ์กับส่ิงมีชีวิตด้วยกันเอง และ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ติ กบั สงิ่ ไมม่ ชี วี ติ ความสมั พนั ธ์ 3 ความสมั พันธร์ ะหว่าง ของสิ่งมีชีวิตรูปแบบหน่ึง ได้แก่ การกนิ อาหารตอ่ กนั เปน็ สิ่งมีชีวิตกบั สงิ่ ไม่มชี วี ติ ทอด ๆ และถ่ายทอดพลังงานจากผู้ผลิตไปยังผู้บริโภค ในรูปแบบของโซอ่ าหารและสายใยอาหาร

สงิ่ มีชีวติ กับสง่ิ แวดลอ้ ม สิ่งมีชีวิตสามารถด�ำรงเผ่าพันธุ์ต่อไปได้ ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น การหาอาหาร การล่าเหยอื่ การสืบพันธ์ุ การเจรญิ เตบิ โต การปรบั ตัวใหเ้ ข้ากับ แหลง่ ทอี่ ยู่ซง่ึ แหลง่ ทอี่ ยแู่ ตล่ ะแหง่ จะมสี ภาพแวดลอ้ มแตกตา่ งกนั ทงั้ สภาพภมู อิ ากาศ และลักษณะภมู ิประเทศ ดงั นน้ั สง่ิ มชี วี ติ แตล่ ะชนดิ จงึ ตอ้ งปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มในแตล่ ะ แหล่งท่ีอยู่อาศยั ให้ได้ เพื่อการดำ� รงชวี ิตทย่ี ่ังยนื 2 วิทยาศาสตร์ ป.5

1 การปรบั ตัวของสง่ิ มีชวี ิตในแต่ละแหลง่ ทอ่ี ยู่ การปรบั ตวั ดา้ นโครงสรา้ งและลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ติ เปน็ การปรบั ตวั ทางกายภาพ เชน่ การปรับเปลีย่ นรปู รา่ ง สขี องล�ำตัว ลักษณะขนหรือผิวหนงั ทปี่ กคลมุ รา่ งกาย เพอ่ื ใหส้ ง่ิ มชี วี ติ อยรู่ อด สามารถหาอาหาร สบื พนั ธ์ุ เจรญิ เตบิ โต ในแหลง่ ทีอ่ ยู่ต่าง ๆ เช่น แหลง่ น�้ำ ปา่ ชายเลน บรเิ วณข้วั โลก ทะเลทราย 1.1 แหล่งนำ้� แหลง่ นำ้� คอื บรเิ วณทม่ี กี ารสะสมของนำ�้ บนผวิ โลก ซง่ึ เปน็ นำ�้ ผวิ ดนิ ทม่ี ที ง้ั นำ�้ จดื และนำ้� เคม็ แหลง่ นำ้� ผวิ ดนิ ทเี่ ปน็ นำ้� จดื ไดแ้ ก่ ทะเลสาบนำ�้ จดื แมน่ ำ้� ลำ� ธาร หว้ ย หนอง คลอง บงึ แหลง่ นำ้� ผวิ ดนิ ทเี่ ปน็ นำ�้ เคม็ ไดแ้ ก่ ทะเลสาบนำ้� เคม็ ทะเล มหาสมทุ ร แหลง่ นำ�้ แตล่ ะแหลง่ มสี ภาพแวดลอ้ มและลกั ษณะทต่ี า่ งกนั จงึ ทำ� ให้ สิ่งมีชวี ติ มกี ารปรับตัวเพอ่ื การอยูร่ อดแตกตา่ งกนั 1) การปรบั ตัวของพชื ในแหล่งน�้ำ พชื ในแหลง่ นำ�้ ตา่ งๆ ตอ้ งมกี ารปรบั ตวั ดา้ นโครงสรา้ งใหเ้ ขา้ กบั แหลง่ นำ้� ทอี่ ยอู่ าศยั เชน่ ผกั ตบชวาและบวั จะมีชอ่ งอากาศเล็ก ๆ จำ� นวนมากอย่ภู ายใน กา้ นใบและกา้ นดอก ทำ� ใหล้ ำ� ตน้ มนี ำ้� หนกั เบาและลอยนำ�้ ได้ ผกั กระเฉดมปี ลอก เปน็ ปยุ สขี าวหมุ้ ลำ� ตน้ เรยี กวา่ นวม ภายในมลี กั ษณะเปน็ รพู รนุ คลา้ ยฟองนำ�้ ซง่ึ ชว่ ย พยงุ ลำ� ต้นให้ลอยน้ำ� ได ้ ผกั ตบชวา บัว ผกั กระเฉด รปู ที่ 1.1 การปรับตัวของผักตบชวา บัว และผักกระเฉดในแหลง่ น�ำ้ วิทยาศาสตร์ ป.5 3

สัตว์ชนิดใดบ้างท่ีมีการปรับตัวด้านโครงสร้างเพ่ือให้เหมาะสม กับสภาพแวดล้อมของแหล่งน�้ำ ลองช่วยกันยกตัวอย่างนะคะ 2) การปรบั ตวั ของสตั วใ์ นแหลง่ นำ�้ สตั วท์ อี่ าศยั ในแหลง่ นำ้� ลว้ นมกี ารปรบั ตวั ดา้ นโครงสรา้ ง เพอื่ ใหอ้ ยรู่ อด ในสภาพแวดลอ้ มของแหลง่ ทอ่ี ยไู่ ด้ เชน่ ปลามรี ปู รา่ งเพรยี วยาวเพอ่ื ลดแรงตา้ น ของนำ้� และมคี รบี เพอื่ ชว่ ยในการเคลอ่ื นทใ่ี นนำ�้ สตั วส์ ะเทนิ นำ้� สะเทนิ บก เชน่ กบ ในขณะทเ่ี ปน็ ลกู ออ๊ ดอาศยั อยใู่ นนำ้� หายใจทางเหงอื ก ตอ่ มาเมอื่ มกี ารเจรญิ เตบิ โตเตม็ ทจี่ ะหายใจทางปอดและผวิ หนงั สตั วใ์ นกลมุ่ นกบางชนดิ เชน่ เปด็ หงส์ หา่ น และสตั วส์ ะเทนิ นำ�้ สะเทนิ บก จะมพี งั ผดื ยดึ ตดิ เปน็ แผน่ บางๆ ระหวา่ งนวิ้ เทา้ เพอ่ื ชว่ ยพดั โบกนำ�้ และชว่ ยในการ เคลอ่ื นทเ่ี มอื่ อยใู่ นนำ�้ ปลา กบ เป็ด รูปที่ 1.2 ปลา กบ และเปด็ เป็นสตั วท์ ่ีปรับตัวได้ดี ในแหล่งน้ำ� 1.2 ป่าชายเลน ปา่ ชายเลนคอื พนื้ ทร่ี อยตอ่ ระหวา่ งแผน่ ดนิ และทะเลทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลง สภาพแวดล้อมตลอดเวลา สภาพป่าชายเลนจะมีลักษณะของดิน ความเค็ม ของน�้ำทะเล การข้ึน-ลงของน�้ำ ซึ่งปัจจัยสิ่งแวดล้อมท่ีมีบทบาทส�ำคัญในการ ด�ำรงชวี ติ ของพชื และสัตว์ในปา่ ชายเลน คือ ระบบนิเวศทีม่ ีความเคม็ มีดนิ เลน ทม่ี อี นิ ทรยี สารจำ� นวนมาก ทำ� ใหพ้ ชื เจรญิ เตบิ โตไดด้ ี และมสี ตั วอ์ าศยั อยจู่ ำ� นวนมาก เน่อื งจากมสี ภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสม และมแี หล่งอาหารอดุ มสมบรู ณ์ 4 วิทยาศาสตร์ ป.5

1) การปรบั ตัวของพืชในป่าชายเลน บรเิ วณปา่ ชายเลนจะมนี ำ้� ทว่ มขงั ตลอด เนอื่ งจากอทิ ธพิ ลของนำ�้ ขนึ้ นำ�้ ลง สง่ ผลใหแ้ กส๊ ออกซเิ จนในอากาศไมส่ ามารถแพรก่ ระจายลงสดู่ นิ ได้ ทำ� ใหพ้ ชื และสตั ว์ ทอี่ าศยั อยบู่ รเิ วณปา่ ชายเลนมกี ารปรบั ตวั ทแี่ ตกตา่ งจากพชื และสตั วท์ อี่ ยใู่ นบรเิ วณ อื่น เช่น รากของตน้ แสมต้องการแก๊สออกซเิ จนเช่นเดียวกบั พชื ชนดิ อ่นื แต่ด้วย พนื้ ทท่ี ม่ี นี ำ�้ ทว่ มขงั ตลอด จงึ มกี ารพฒั นารากหายใจโผลพ่ น้ เหนอื ดนิ เพอ่ื รบั แกส๊ ออกซเิ จน พืชที่มีลักษณะการปรับตัวให้เข้ากับสภาพของป่าชายเลนเพ่ือการ เจริญเตบิ โตท่ีดี ไดแ้ ก่ โกงกาง ตะบูน แสม ประสัก เสม็ด ปรง รูปท่ี 1.3 รากค�ำ้ จุนของต้นโกงกาง รปู ท่ี 1.4 รากหายใจของต้นตะบูน 2) การปรับตัวของสตั ว์ในป่าชายเลน ปา่ ชายเลนเปน็ แหล่งอาหารท่ีมคี วามอุดมสมบรู ณ์ จงึ มีสตั ว์อาศยั อยู่ จำ� นวนมาก สตั วน์ ำ้� ทอ่ี าศยั อยใู่ นปา่ ชายเลน เชน่ ปแู สม หอยนางรม หอยแมลงภู่ ปลาตนี หนอนทะเล ซงึ่ มลี กั ษณะการปรับตวั ให้เข้ากับสภาพของป่าชายเลน รปู ท่ี 1.5 ปแู สมอาศยั ในรเู พอื่ ความอบอนุ่ รปู ท่ี 1.6 หอยนางรมและหอยแมลงภจู่ ะเกาะ ของรา่ งกาย ตดิ อยกู่ บั กอ้ นหนิ หรือรากคำ้� จุนของพืช วิทยาศาสตร์ ป.5 5

1.3 บรเิ วณข้วั โลก ขว้ั โลก คอื พน้ื ทที่ ง้ั หมดทถี่ กู ปกคลมุ ดว้ ยนำ�้ แขง็ และมอี ากาศหนาวเยน็ ข้ัวโลกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ดังน้ี ขวั้ โลกเหนอื เปน็ พนื้ ทก่ี วา้ งของมหาสมทุ รทนี่ ำ้� กลายเปน็ นำ�้ แขง็ และ มหี ิมะปกคลมุ ไมม่ แี ผ่นดนิ และพนั ธพ์ุ ืช ข้ัวโลกใต้ เป็นแผ่นดนิ ขนาดใหญท่ ่ถี กู ปกคลุมด้วยหิมะและน้�ำแข็ง ขว้ั โลกเปน็ บรเิ วณทมี่ สี ภาพภมู อิ ากาศหนาวเยน็ จงึ ทำ� ใหส้ ง่ิ มชี วี ติ ทอี่ าศยั อยู่ มีการปรับตัวให้เข้ากับภูมิอากาศที่หนาวเย็นตลอดปี เพ่ือความอยู่รอดในการ ด�ำรงชวี ิต รปู ที่ 1.7 สตั ว์ ในเขตหนาวจะมขี นยาว หนา เพอื่ ความอยรู่ อดในสภาพภมู อิ ากาศท่ีหนาวตลอดปี 6 วิทยาศาสตร์ ป.5

1) การปรบั ตัวของพืชบรเิ วณขัว้ โลก ป่าในเขตหนาวมีความหลากหลายทางชีวภาพไม่มากเท่ากับป่าเขต อบอุ่นและปา่ เขตรอ้ น เนอ่ื งจากมอี ากาศหนาวเยน็ จงึ มพี นั ธพ์ุ ชื ไมห่ ลากหลาย พืชบางชนิดมีความทนทานสูง บางครั้งอาจจมใต้หิมะเป็นเวลานานนับปี จึงมี โอกาสเจรญิ เตบิ โตไดอ้ กี ครงั้ ในฤดรู อ้ น หญา้ และพชื ทอ่ี ยบู่ รเิ วณขวั้ โลก เชน่ สน มอสส์ ตะไครน่ ำ้� ไลเคน มกี ารปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพภมู อิ ากาศเพอ่ื ความอยรู่ อด รูปท่ี 1.8 สนอยู่ในพ้ืนท่ีอณุ หภมู ิต่ำ� รูปที่ 1.9 มอสสจ์ ะมอี บั สปอร์ท่ีเกบ็ และปลอ่ ย สภาพอากาศหนาวเยน็ สปอรเ์ พ่ือสืบพันธุเ์ ม่อื สภาพอากาศเหมาะสม 2) การปรับตวั ของสตั วบ์ รเิ วณขวั้ โลก ขั้วโลกเหนือ มีสัตว์อาศัยอยู่ตลอดปี แต่สัตว์บางชนิดจะย้ายมา อาศัยอยู่ในฤดูที่อบอุ่น สัตว์.ในข้ัวโลกเหนือส่วนใหญ่มีขนหนา ยาว ปกคลุม ทั่วตวั และมชี ้ันผวิ หนังหนา เพอ่ื สร้างความอบอุ่นให้แกร่ ่างกาย เชน่ หมีขั้วโลก สิงโตทะเล รปู ที่ 1.10 หมขี วั้ โลก รูปที่ 1.11 สงิ โตทะเล วิทยาศาสตร์ ป.5 7

ขวั้ โลกใต้ เปน็ บรเิ วณทม่ี มี หาสมทุ รลอ้ มรอบ เปน็ แหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของ สตั วห์ ลายชนดิ ซง่ึ มกี ารปรบั ตวั โดยมขี นและไขมนั หนา เพอื่ ปอ้ งกนั ความหนาวเยน็ แตม่ ีสัตว์เพียงไมก่ ี่ชนิดท่ีอาศัยอยู่ขั้วโลกใตต้ ลอดปี เช่น เพนกวนิ แมวน�้ำ รูปท่ี 1.12 เพนกวิน รปู ท่ี 1.13 แมวนำ�้ 1.4 ทะเลทราย ทะเลทราย เปน็ บรเิ วณทก่ี วา้ งใหญ่ ปกคลมุ ดว้ ยทราย มอี ณุ หภมู ใิ นชว่ ง กลางวันและกลางคืนแตกต่างกันอย่างชัดเจน คือ มีอากาศหนาวจัดในเวลา กลางคืน และมีอากาศร้อนจัดในเวลากลางวัน บางส่วนของทะเลทรายจะถูก น้ำ� กัดเซาะเป็นแอง่ ทำ� ให้รองรบั น�ำ้ ฝนไว้ใหส้ ตั ว์ทอี่ าศัยในทะเลทรายใช้ ปัจจัย ท่สี ำ� คัญต่อการด�ำรงชวี ิตในทะเลทราย คือ นำ้� แรธ่ าตุ ความเค็ม และสารอินทรยี ์บางชนิดเปน็ ปัจจยั ท่ที �ำใหท้ ะเลทราย ไม่เหมาะกับการด�ำรงชีวิต ท�ำให้พบจ�ำนวนชนิดของส่ิงมีชีวิตค่อนข้างน้อย สิ่งมีชีวิตในทะเลทรายจึงต้องปรับตัว เพ่ือให้สามารถด�ำรงชีวิตอยู่ได้ 8 วิทยาศาสตร์ ป.5

1) การปรบั ตวั ของพชื ในทะเลทราย พืชในทะเลทรายมีการปรับตัวเพื่อความอยู่รอดในสภาพแห้งแล้ง 3 ลกั ษณะ ได้แก่ การปรับตวั ดว้ ยการเก็บน�ำ้ ไว้ในลำ� ต้น หรือมรี ากหยั่งลกึ ในดิน เพอื่ หาน�้ำ การปรบั ตวั ดว้ ยการลดรปู ของใบใหม้ ขี นาดเลก็ ลง หรอื มสี ารคลา้ ยขผ้ี ง้ึ เคลอื บผวิ ใบเพอื่ ลดการคายนำ้� และการปรบั ตวั ดว้ ยการผลติ เมลด็ ทที่ นทานตอ่ ความแหง้ แลง้ รูปที่ 1.14 ตน้ กระบองเพชรและตน้ อากาเวเ่ ปลยี่ นใบเป็นหนามเพอื่ ลดการสูญเสียนำ้� รูปท่ี 1.15 ต้นเชิงเทียนลดขนาดของใบให้มีขนาดเล็กลงเพ่ือลดการคายน้�ำ รูปที่ 1.16 ต้นนารามีรากขนาดใหญ่หย่ังลึกลงดินเพ่ือดูดน�้ำ 9 วิทยาศาสตร์ ป.5

2) การปรบั ตวั ของสตั วใ์ นทะเลทราย สตั วใ์ นทะเลทรายสว่ นใหญม่ กี ารปรบั พฤตกิ รรมและกระบวนการทาง สรรี วทิ ยาเพ่ือความอยู่รอดในสภาพอุณหภูมิสูงและการขาดแคลนน้�ำ สัตว์ใน ทะเลทรายมี 2 ประเภท ดังนี้ 2.1) สตั วท์ มี่ กี ารปรบั ตวั โดยการจำ� ศลี ตลอดชว่ งเวลาทอ่ี ากาศรอ้ นจดั และออกหากนิ เมอ่ื ฝนตกหรอื ออกหากนิ ในเวลากลางคนื เชน่ กระรอกทะเลทราย สนุ ัขจ้ิงจอกทะเลทราย รปู ที่ 1.17 กระรอกทะเลทรายจะจำ� ศลี รปู ท่ี 1.18 สนุ ขั จิ้งจอกทะเลทรายจำ� ศลี ในชว่ งเวลาท่ีแลง้ จัด ในเวลากลางวนั และออกหากนิ ในเวลากลางคนื 2.2) สัตว์ท่ีมีการปรับตัวทางสรีระเพื่อให้มีชีวิตรอดในสภาพอากาศท่ี เปล่ียนแปลงอย่างรุนแรงระหว่างกลางวันและกลางคืน หรือมีการปรับตัวทาง สรีระเพื่อปอ้ งกนั อนั ตราย เช่น อูฐ ก้ิงก่าหนาม รปู ท่ี 1.19 อฐู มีหนอกเพอื่ สะสมไขมนั รปู ท่ี 1.20 กง้ิ กา่ หนามพรางตวั เพอ่ื ปอ้ งกนั อนั ตราย 10 วิทยาศาสตร์ ป.5

ท้งั พืชและสัตว์เป็นสิ่งมีชีวติ ที่ต้องแสวงหาทางรอด เพอ่ื ทจ่ี ะสบื ทอดสายพนั ธข์ุ องตวั เอง ดงั นน้ั การปรบั ตวั เพื่อให้เข้ากับแหล่งท่อี ยู่จงึ เป็นสิ่งจำ�เปน็ รไู้ วใ้ ช่ว่า การปรบั ตัวของสิง่ มีชีวิตในสิง่ แวดล้อม สภาพแวดล้อมของแต่ละแหล่งที่อยู่มีความแตกต่างกัน ส่ิงมีชีวิต จึงต้องมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับแหล่งที่อยู่นั้นๆ เพื่อความอยู่รอด ดงั น้ี 1. การปรับตัวด้านรูปรา่ ง สผี ิว หรอื โครงสร้างของรา่ งกายใหก้ ลมกลืน ไปกับสภาพแวดล้อมของแหล่งที่อยู่ เช่น จิ้งจกเปลี่ยนสีผิวให้ คลา้ ยสขี องผนังเพอ่ื ดกั จับแมลง 2. การปรบั ตวั ดา้ นหนา้ ทข่ี องอวยั วะตา่ งๆ เชน่ ตน้ กระบองเพชรเปลย่ี นใบ เปน็ หนามเพอื่ ลดการสูญเสียนำ้ � 3. การปรบั ตวั ดา้ นพฤตกิ รรมเพอ่ื หาอาหาร การสบื พนั ธ์ุ หรอื การอพยพ เพอ่ื ความอยรู่ อด เชน่ การจำ�ศลี ของกบในฤดรู อ้ น และหมจี ำ�ศลี ใน ฤดหู นาว โดยการเคลอ่ื นไหวรา่ งกายใหน้ อ้ ยทส่ี ดุ เพอ่ื ลดการใชพ้ ลงั งาน การอพยพของนกในแหล่งที่อยู่ที่มีอากาศหนาวมายังแหล่งท่ีอยู่ท่ี อากาศอบอุน่ เพ่ือหาอาหารและผสมพันธุ์ วิทยาศาสตร์ ป.5 11

กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะท่ี 1 การปรบั ตวั ของสงิ่ มชี วี ติ ทอ่ี ยใู่ กลแ้ หลง่ นำ้ � จดุ ประสงค์ สำ�รวจและอธิบายโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีมีการปรับตัว ให้เหมาะสมกับการดำ�รงชวี ติ ในแหล่งนำ้ �หรอื บรเิ วณใกล้แหล่งนำ้ �ได้ วสั ดุ อปุ กรณ์ 1. เครื่องเขียน 2. สมุดบันทึก วิธีทำ� ให้นักเรียนสำ�รวจสิ่งมีชีวิตทั้งสัตว์และพืชท่ีอาศัยอยู่บริเวณแหล่งนำ้ � ใกลโ้ รงเรยี นมาอยา่ งละ 2 ชนดิ และบนั ทกึ ผลลงในตาราง (ดงั ตวั อยา่ งในตาราง) ตวั อย่างการบนั ทกึ ผล ชอื่ พชื หรอื สัตว์ วาดภาพประกอบ การปรับโครงสรา้ งและลกั ษณะ ตัวอย่าง เทา้ มพี งั ผดื เปน็ แผน่ บางๆ ชว่ ยในการยดึ เกาะ กบ และการเคลอื่ นทไ่ี ปขา้ งหนา้ ใหน้ ักเรียนบนั ทึกลงในสมดุ ? คำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. สง่ิ มชี วี ติ ทน่ี กั เรยี นสำ�รวจพบใกลแ้ หลง่ นำ้ �แตล่ ะชนดิ มกี ารปรบั ตวั ใหเ้ หมาะสม กบั สภาพแวดล้อมอย่างไร ยกตัวอย่างมา 2 ตวั อย่าง 2. นักเรียนพบสัตว์ในกลุ่มสัตว์เล้ือยคลานบ้างหรือไม่ ถ้าพบ สัตว์ในกลุ่มนี้ มีการปรับตวั อย่างไร จงยกตวั อย่าง 3. พืชในบรเิ วณแหล่งนำ้ �ท่ีนกั เรียนสำ�รวจมกี ารปรับตัวอยา่ งไร 12 วิทยาศาสตร์ ป.5

กจิ กรรมพฒั นาทกั ษะท่ี 2 การปรบั ตวั ของสงิ่ มชี วี ติ ในแตล่ ะแหลง่ ทอ่ี ยู่ จุดประสงค์ อธิบายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตท่ีมีการปรับตัวให้เหมาะสม กบั การดำ�รงชีวิตในแต่ละแหลง่ ท่ีอยู่ วธิ ที ำ� ให้นักเรียนเขียนอธิบายการปรับโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิต ในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ลงในตารางบันทึกผลโดยบนั ทกึ ลงในสมดุ ตวั อย่างการบนั ทึกผล สงิ่ มีชีวติ แหล่งที่อยู่อาศัย การปรับโครงสรา้ งและลักษณะ 1. อูฐ ให้นักเรียนบันทึกลงในสมุด 2. เพนกวิน 3. ต้นโกงกาง 4. เป็ด 5. ปลา 6. หมขี ว้ั โลก 7. ต้นกระบองเพชร 8. ปแู สม ? คำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม 1. ลักษณะสำ�คัญของส่ิงมีชีวิตที่ต้องอาศัยอยู่บริเวณป่าชายเลน ทะเลทราย และบริเวณขวั้ โลกมคี วามเหมอื นหรือแตกตา่ งกนั อย่างไร จงอธิบาย 2. การปรบั ตัวของส่งิ มีชวี ติ มคี วามสำ�คญั อย่างไร วิทยาศาสตร์ ป.5 13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook