Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต

ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต

Published by chophakaaof58, 2021-03-20 08:55:07

Description: ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต

Search

Read the Text Version

ใบความรู้ เร่อื ง ความสมั พันธข์ องสงิ่ มชี ีวิตกับสง่ิ มชี วี ติ 1.ความสัมพนั ธแ์ บบไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน เป็นความสัมพนั ธ์ท่ตี ่างฝ่ายตา่ งได้ประโยชน์ เชน่ ผีเสื้อ กับดอกไม้ มดดากบั เพลยี้ นกเอย้ี งกับควาย เปน็ ตน้ 2.ความสมั พนั ธแ์ บบอิงอาศัย เปน็ ความสมั พนั ธ์ท่ีฝ่ายหนึ่งไดร้ ับประโยชน์แตข่ ณะเดยี วกันอีกฝ่าย หนงึ่ ก็ไมไ่ ด้เสียประโยชนอ์ ะไร เชน่ นกแร้งกบั เสอื ตน้ ไม้ใหญ่กบั พลดู า่ ง ปลาฉลามกับเหาฉลาม นกกระรอก และสัตวอ์ ่ืนๆ ท่ีอาศัยทารังอยู่บนต้นไม้ เป็นตน้ 3. ความสัมพนั ธแ์ บบเหยอ่ื กบั ผลู้ า่ เปน็ ความสมั พันธท์ ฝ่ี ่ายหนงึ่ ไดป้ ระโยชนแ์ ต่อกี ฝ่ายหนง่ึ เสีย ประโยชน์ เชน่ กวางเปน็ เหยื่อของเสือ หนเู ป็นเหยื่อของงู หนอนเปน็ เหย่ือของนก เป็นตน้

4. ความสมั พนั ธแ์ บบพ่ึงพากนั เป็นความสัมพนั ธ์ท่ีทัง้ สองฝา่ ยต้องอาศัยอยู่ร่วมกัน ไม่สามารถ แยกจากกนั ไดแ้ ละต่างฝา่ ยตา่ งได้รบั ประโยชน์จากการอยรู่ ่วมกัน เชน่ รากับสาหรา่ ยทีอ่ ยู่ร่วมกัน เป็นไลเคน โดยสาหรา่ ยจะอาศยั เสน้ ใยของราช่วยยึดเกาะ พรางแสง และอุ้มนา้ ให้เกดิ ความช้นื ในขณะทร่ี าจะอาศัยอาหารทีไ่ ดจ้ ากการสังเคราะหด์ ้วยแสงของสาหรา่ ยเพ่อื การดารงชวี ติ และ ปลวกกบั โปรโตซวั ในลาไส้ ชอื่ trichonympha ปลวกกิน ไมไ้ ด้ แตต่ ัวมนั เองกย็ ่อยเซลลโู ลสไมไ่ ด้ ดงั น้ัน โปรโตซัวทีอ่ ยู่ในลาไส้ จงึ ยอ่ ยเซลลโู ลสในไม้ท่ีปลวกกินแทนให้ เป็นตน้ 5. ความสัมพนั ธ์แบบปรสติ เป็นความสัมพันธ์ทฝี่ ่ายปรสติ ไดป้ ระโยชน์ ส่วนฝ่ายทถี่ กู เกาะกนิ นัน้ เสียประโยชน์ โดยมีท้งั แบบปรสิตภายนอก เชน่ ตน้ กาฝากแย่งอาหารตน้ ไม้ใหญ่ เหาเกาะกิน อยูบ่ นศรี ษะคนเรา ราเกาะกินบนหลงั ด้วง แมลง เป็นต้น และแบบปรสิตภายใน เชน่ พวก พยาธใิ นลาไส้ หรอื ปรสติ ท่ีก่อใหเ้ กดิ มะเร็ง เป็นตน้ แหลง่ ขอ้ มูล http://www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?mul_content_id=20296

ช้ินงานท่ี 9 ใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่อื งชวี ิตที่สมั พันธ์ คาช้แี จง ให้นักเรียนโยงเส้นจบั คูส่ ิ่งมชี วี ิตทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั กบั รูปแบบของความสมั พันธ์ ของส่ิงมีชีวิตให้ถกู ต้อง 1. ผเี ส้ือกบั ดอกไม้ ความสมั พนั ธแ์ บบปรสิต 2. ไลเคนกบั สาหรา่ ย ความสัมพนั ธแ์ บบลา่ เหยอื่ 3. กล้วยไมก้ บั ตน้ ไม้ ความสมั พนั ธ์แบบไดป้ ระโยชน์รว่ มกนั 4. กบกบั แมลง 5. กาฝากกบั ต้นไม้ ความสมั พันธ์แบบพึง่ พากัน ความสมั พันธแ์ บบอิงอาศยั ช่อื ........................................................................ เลขที่........ ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท.ี่ ........................

ชนิ้ งานท่ี 10 ใบกจิ กรรมที่ 2 เรอ่ื ง ความสัมพันธข์ อง 2 ชวี ิต คาชี้แจง ให้นกั เรียนสงั เกตภาพความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ติ กบั ส่งิ มีชีวติ ท่กี าหนดให้ จากนน้ั เขยี นระบลุ ักษณะความสัมพันธ์ของสิ่งมชี วี ติ และเขยี นเคร่อื งหมาย ลงใน หน้าคาตอบท่ี ถกู ตอ้ ง _______ เป็นผู้ไดร้ ับประโยชน์ _______ เปน็ ผู้ไดร้ ับประโยชน์ มีความสัมพันธ์แบบ พึง่ พากนั อิงอาศยั ______ เป็นผู้ลา่ ______ เป็นเหยอื่ มคี วามสัมพนั ธ์แบบ ล่าเหยือ่ ปรสิต _______ เปน็ ผูไ้ ดร้ บั ประโยชน์ _______ เป็นผไู้ ม่ไดป้ ระโยชนแ์ ละไมเ่ สีย ประโยชน์ มีความสัมพนั ธแ์ บบ พึ่งพากนั อิงอาศัย _______ และ ______ ตา่ งได้ประโยชน์ ร่วมกนั มคี วามสัมพนั ธแ์ บบ องิ อาศัย ไดป้ ระโยชนร์ ว่ มกัน ชอ่ื ........................................................................เลขที.่ ....................ชน้ั ประถมศึกษาปีท่.ี ....................... ชอ่ื ........................................................................เลขท่.ี ....................ชน้ั ประถมศึกษาปีท่.ี .......................

ใบกจิ กรรมท่ี 3 ชนิ้ งานท่ี 11 เรอ่ื ง สิ่งมีชีวิตทเี่ กีย่ วพันธก์ นั 1010 คาชีแ้ จง ให้นักเรียนวาดภาพและระบายสแี สดงความสัมพนั ธส์ ิ่งมชี วี ติ กบั สงิ่ มีชวี ิตทน่ี กั เรียนรู้จัก แล้วเขียนบรรยายความสัมพันธข์ องสง่ิ มีชวี ิต ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………… แบบทดสอบก่อนเรียน/หลงั เรียน ชอ่ื ........................................................เลขท.่ี ....................ช้ันประถมศึกษาปีท.ี่ ..................

หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรอื่ ง ชวี ิตสมั พนั ธ์ ******************************************************************************* คาชแี้ จง ให้นักเรียนเลือกคาตอบทถ่ี กู ต้องทส่ี ุดเพียงคาเดยี ว 1. สามี ภรรยา ชาวตา่ งชาติ มผี มสีทอง ตาสฟี า้ ผวิ สีขาว หากมีลกู ข้อใดน่าจะถูกต้อง ก. ลูกมีตาสดี า ข. ลกู มตี าสีฟา้ ค. ลกู มผี มสดี า ง. ลกู มผี วิ สดี า 2. ลกั ษณะในข้อใดไมส่ ามารถถา่ ยทอดจากพอ่ แม่สู่ลูกได้ ก. ความสงู ข. เสียงพูด ค. สผี ิว ง. สีขน 3. นักเรยี นควรมีรปู ร่างหนา้ ตาเหมอื นใครมากท่ีสุด ก. พอ่ แม่ ข. ลุง ป้า ค. ตา ยาย ง. ปู่ ย่า 4. ถ้าลกู มีลักษณะไม่เหมอื นพอ่ แม่ ลกู ควรมลี กั ษณะเหมอื นใคร ก. ญาติ ข. เพื่อนสนิท ค. คณุ ครู ง. ตา ยาย 5. พ่อควรมลี กั ษณะเหมอื นใคร ก. ตา ข. ปู่ ค.ยาย ง. นา้ 6. สาเหตุในข้อใดท่ีทาให้สัตวบ์ างชนดิ เกดิ การสูญพันธ์มุ ากทสี่ ดุ ก. สัตวอ์ าศัยอยูใ่ นป่าทึบทาให้ขาดแหลง่ อาหาร ข. สัตวอ์ าศัยอยู่รว่ มกัน ทาใหข้ าดอากาศหายใจ ค. สตั วไ์ ม่สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กับส่ิงแวดลอ้ มได้ ง. สัตว์อาศยั อยู่รวมกนั เป็นฝูง ทาให้หลบศตั รลู าบาก 7. ตน้ กระบองเพชรทเ่ี จรญิ เตบิ โตในทะเลทรายมกี ารปรับตัวอย่างไรเพ่ือให้สามารถดารงชีวิตอยู่ได้ ก. เปลีย่ นดอกใหม้ ขี นาดใหญ่ขึ้นเพื่อรบั แสงแดด ข. เปลีย่ นใบเป็นหนามเพือ่ ลดการคายน้า

ค. เปลีย่ นรากใหเ้ จริญข้ึนเหนือพื้นดินเพ่อื รับอากาศไดเ้ พ่ิมข้นึ ง. เปลย่ี นลาตน้ เป็นสีเขียวเพื่อลาเลียงน้าได้มากข้ึน 8. สง่ิ มชี ีวติ ใดมกี ารพรางตวั เพ่อื หลบศตั รู ก. ผงึ้ ข. ยงุ ค. มด ง. หนอน 9. ยรี าฟมลี ักษณะใดทีเ่ หมาะกบั การกนิ ยอดไม้สงู ๆได้ ก. มีขายาว ข. มคี อยาว ค. มเี ขาเลก็ ๆบนหัว ง. มลี ายพรางตัว 10. ข้อใดไม่ใชก่ ารปรับตัวของพืช ก. ตาลึงมมี ือเกาะ ข. มะม่วงมีผลทีก่ ินได้ ค. ผกั กะเฉดมีนวมหมุ้ ท่ีลาตน้ ง.โกงกางมีรากค้าจุนทีแ่ ข็งแรง 11. ตั๊กแตนใบไม้สเี ขียว มีรปู รา่ งเหมือนใบไม้ สตั วช์ นดิ นีม้ ีการปรบั ตวั เขา้ กบั สิ่งแวดล้อมเพ่อื อะไร ก. เพอ่ื ผสมพนั ธุ์ ข. ดงึ ดดู เพศตรงข้าม ค. พรางตวั หลบภัย ง. ลอกคราบใหใ้ หญข่ น้ึ 12.สาเหตสุ าคัญทท่ี าใหส้ ตั วโ์ บราณสญู พันธุ์ ก. กินอาหารมากไป ข. เกดิ ภัยพบิ ตั ิ ค. เกดิ การยา้ ยถน่ิ ง. เกิดการกินกันเอง 13. หลักฐานใดทีบ่ อกให้คนรู้ว่าเคยมีไดโนเสารอ์ าศยั อยใู่ นโลก ก. มีหนังสือบันทกึ ไว้ ข. มีคนเคยพบเห็นไดโนเสาร์ที่มีชีวติ ค. มีการขดุ พบซากฟอสซลิ ของไดโนเสาร์ ง. ถูกทุกขอ้ 14. บรอนโทซอรัส เป็นสัตว์โบราณมีขนาดใหญ่ หัวเล็ก ฟันไม่แหลมคม กัดกินพืชเป็นอาหาร นา่ จะเกี่ยวข้องกับสัตว์ใดในปัจจบุ ัน ก. เสอื ข. สิงโต ค. หมาป่า ง. ววั

15. พยาธใิ นตัวคนมคี วามสมั พันธแ์ บบใด ข. แบบปรสิต ก. แบบองิ อาศัย ง. แบบไดป้ ระโยน์รว่ มกนั ค. แบบเหยอ่ื กบั ผูล้ า่ 16. ข้อใดเป็นความสมั พนั ธ์แบบฝา่ ยหนึง่ ไดป้ ระโยชน์ ฝ่ายหนึ่งไมเ่ สียประโยชน์ ก. กล้วยไม้เกาะตามตน้ ไมใ้ หญ่ ข. สงิ โตจับกวางกินเปน็ อาหาร ค. เหบ็ ดูดเลือดสนุ ขั ง.รากบั สาหร่าย 17. สิง่ มชี วี ิตใดไม่ไดม้ คี วามสมั พนั ธ์แบบปรสติ ง.หมดั ก. เหบ็ ข. ผึง้ ค. เหา 18.ความสมั พนั ธ์ทส่ี ตั ว์ใหญ่กนิ สตั ว์เลก็ เปน็ อาหารเป็นความสมั พนั ธแ์ บบใด ก. แบบไดป้ ระโยชน์รว่ มกัน ข. แบบปรสิต ค. แบบอิงอาศัย ง. แบบเหย่ือกบั ผ้ลู า่ 19. ความสมั พนั ธ์แบบใดต่างจากพวก ข.จิ้งจกกับแมลง ก. ควายกับนกเอยี้ ง ง. งูกับกบ ค. นกกบั หนอน 20. “เมอ่ื มีฝงู กวางเขา้ มาใกล้ เสือหลบซุ่มอยู่ตามพงหญ้าหรืพุม่ ไม้ เพ่อื ดกั ขยา้ กวาง” จากข้อความน้ี ขอ้ ใดกล่าวถงึ ความสัมพันธ์ของสง่ิ มชี วี ติ ไดถ้ ูกตอ้ ง ก. พงหญา้ หรอื พุม่ ไมเ้ ป็นทอ่ี ยูข่ องกวาง ข. พงหญา้ หรือพมุ่ ไมเ้ ป็นแหล่งอาหาร ค. พงหญ้าหรือพุม่ ไมเ้ ปน็ ทพ่ี รางตัวของเสอื เพื่อล่าเหยื่อ ง. พงหญ้าหรือพมุ่ ไม้เป็นท่ีหลบภัยของกวาง

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น/หลังเรียน หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่ือง ชวี ิตสมั พันธ์ 1. ข. ลกู มตี าสีฟา้ 2. ข. เสียงพูด 3. ก. พอ่ แม่ 4. ง. ตา ยาย 5. ข. ปู่ 6. ค. สตั ว์ไมส่ ามารถปรับตัวใหเ้ ขา้ กบั สิง่ แวดลอ้ มได้ 7. ข. เปล่ยี นใบเป็นหนามเพื่อลดการคายนา้ 8. ง. หนอน 9. ข. มคี อยาว 10. ข. มะมว่ งมผี ลที่กินได้ 11. ค. พรางตัวหลบภยั 12. ข. เกดิ ภยั พิบัติ 13. ค. มีการขุดพบซากฟอสซิลของไดโนเสาร์ 14. ง. วัว 15. ข. แบบปรสิต 16. ก. กล้วยไมเ้ กาะตามต้นไมใ้ หญ่ 17. ข. ผงึ้ 18. ง. แบบเหย่อื กบั ผู้ลา่ 19. ก. ควายกับนกเอ้ียง 20. ค.พงหญา้ หรอื พุ่มไมเ้ ป็นที่พรางตวั ของเสอื เพื่อลา่ เหย่อื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook