Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 3 สารเสพติด

หน่วยที่ 3 สารเสพติด

Published by Nantaporn Bamrungphol, 2021-02-24 04:28:58

Description: หน่วยที่ 3 สารเสพติด

Search

Read the Text Version

สารเสพติด

ความหมายของสารเสพตดิ สารหรือยา หรือวตั ถุชนิดใดๆ ทเี่ ม่ือเสพเข้า ร่างกายจะโดยวธิ ีใดๆกแ็ ล้วแต่ จะเป็ นผลร้ายต่อร่างกาย และจิตใจของผู้เสพ มลี กั ษณะสาคญั 4 ประการ คือ

1. ผู้เสพจะเกิดความต้องการเสพท้ังทางร่างกายและจิตใจ อย่างรุนแรง 2. ต้องเพมิ่ ขนาดหรือปริมาณของสารเสพติดน้ันขึ้นเรื่อยๆ 3. ต้องตกอยู่ใต้อานาจบังคับอันเกิดจากฤทธ์ิของสารเสพ ติดน้ันๆ ทาให้หยุดไม่ได้และเกดิ อาการขาดยา เม่ือไม่ได้เสพ 4. ผู้เสพจะมสี ุขภาพร่างกายทท่ี รุดโทรมลง

พระราชบัญญัติยาเสพตดิ ให้โทษ พ.ศ.2522 แบ่งยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภทที่ 1 ยาเสพตดิ ให้โทษชนิดร้ายแรง มี เช่น เฮโรอนี ยาบ้า ยาอีหรือ ยาเลฟิ แอมเฟตามนี เอก็ ซ์ตาซี และแอลเอสดี เฮโรอนี แอมเฟตามีน ยาอี หรือ เอก็ ตาซี่

ประเภทท่ี 2 ยาเสพตดิ นามาใช้เพ่ือประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ต้องใช้ ภายใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณที จี่ าเป็ นเท่าน้ัน ได้แก่ ฝ่ิ น มอร์ฟี น โคเคน หรือโคคาอนี และเมทาโดน

ประเภท 3 เป็ นยาสาเร็จรูปที่ผลติ ขนึ้ ตามทะเบียนตารับ ทไ่ี ด้รับ อนุญาตจากกระทรวงสาธารณสุขแล้ว มจี าหน่ายตามร้าน ขายยา ได้แก่ ยาแก้ไอ หรือยาแก้ท้องเสีย เป็ นต้น

ประเภท 4 นา้ ยาเคมที ่ีนามาใช้ในการผลติ ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภท 1 ได้แก่ นา้ ยาเคมี อาซิติกคลอไรด์ เอทิลดิ นี อาซติ กิ คลอไรด์ อาซติ ิกแอนไฮไดรด์

ประเภท 5 ได้แก่ กญั ชา กระท่อม และ เห็ดขคี้ วาย ยาเสพตดิ ให้ โทษประเภทนีไ้ ม่มปี ระโยชน์ทางการแพทย์

ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ่ น มอร์ฟี น เฮโรอนี สารระเหย และยากล่อมประสาท ประเภทกระตุ้นประสาท ได้แก่ แอมเฟตามนี กระท่อม และ โคคาอนี

• ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ไดแ้ ก่ แอลเอสดี ดีเอม็ พี และ เห็ดข้ีควาย • ยาเสพติดประเภทออกฤทธ์ิผสมผสาน กล่าวคือ อาจ กดกระตุน้ หรือ หลอนประสาทไดพ้ ร้อม ๆ กนั ตวั อยา่ งเช่น กญั ชา

สาเหตุทเ่ี กดิ จากความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อยากทดลอง ความคกึ คะนอง การชักชวนของคนอื่น สาเหตทุ เี่ กดิ จากการถูกหลอกลวง

สาเหตุที่เกดิ จากความเจบ็ ป่ วย 1 คนท่ีมีอาการเจ็บป่ วยทางกาย เช่น ได้รับบาดเจ็บ รุนแรง เป็ นแผลเรื้อรัง มีความเจ็บปวดอยู่เป็ นประจา เป็ น โรคประจาตัวบางอย่าง เป็ นต้น

2. ผู้ที่มีจิตใจไม่เป็ นปกติ เช่น มีความวิตก กังวล เครียด มี ความผิดหวังในชีวิต มีความเศร้าสลด เสียใจ เป็ นต้ นให้ สภาวะจิตไม่เป็ นปกติจนเกิดการป่ วยทางจิตขนึ้ จึงพยายาม หายาหรือสิ่งเสพติดที่มีฤทธ์ิสามารถคลายความเครียดจาก ทางจติ

1.การอยู่ใกล้แหล่งขายหรือใกล้แหล่งผลติ 2.เมื่อมเี พื่อนสนิทหรือพน่ี ้องทต่ี ดิ ส่ิงเสพตดิ 3.การเลยี นแบบ 4.มีความผิดหวังในชีวิตตนเอง ผิดหวังในชีวิต ครอบครัว หรือ ผดิ หวงั ในชีวติ สังคม

ลกั ษณะทวั่ ไป ❑ตาโรย ขาดความกระปรี้กระเปร่า นา้ มูกไหล นา้ ตาไหล ริมฝี ปาก เขียวคลา้ แห้ง แตก ❑เหง่ือออกมาก กลน่ิ ตวั แรง พูดจาไม่สัมพนั ธ์กบั ความจริง ❑บริเวณแขนตามแนวเส้นโลหิต มรี ่องรอยการเสพยาโดยการฉีดให้ เห็น ❑ทท่ี ้องแขนมรี อยแผลเป็ นโดยกรีดด้วยของมคี มตามขวาง (ตดิ เหล้าแห้ง ยากล่อมประสาท ยาระงบั ประสาท)

❑ใส่แว่นตากรอบแสงเข้มเป็ นประจา เพราะม่านตาขยายและ เพื่อปิ ดนัยน์ตาสีแดงกา่ ❑มกั สวมเสื้อแขนยาวปกปิ ดรอยฉีดยา โปรดหลกี ให้พ้นจาก บุคคลทมี่ ลี กั ษณะดงั กล่าว ชีวติ จะสุขสันต์ตลอดกาล ❑มคี วามต้องการอย่างแรงกล้าทจ่ี ะเสพยาน้ันต่อไปอีกเรื่อย ๆ ❑มแี นวโน้มทจี่ ะเพมิ่ ปริมาณของส่ิงเสพตดิ มากขนึ้

การตดิ ยาทางกาย เป็ นการติดยาเสพตดิ ทผี่ ู้เสพมคี วามต้องการเสพอย่าง รุนแรง ท้งั ทางร่างกายและจติ ใจ เม่ือถึงเวลาอยากเสพแล้ว ไม่ได้เสพ จะเกดิ อาการผดิ ปกตอิ ย่างมาก ท้งั ทางร่างกายและ จิตใจ ซึ่งเรียกว่า “อาการขาดยา”

การตดิ ยาทางใจ เป็ นการติดยาเสพติดเพราะจิตใจเกดิ ความต้องการหรือ เกดิ การติดเป็ นนิสัยหากไม่ได้เสพร่างกายกจ็ ะไม่เกิดอาการ ผดิ ปกติ หรือทุรนทุรายแต่อย่างใด จะมบี ้างกเ็ พยี งเกดิ อาการ หงุดหงดิ หรือกระวนกระวาย

การป้องกนั และหลกี เลย่ี งสารเสพติด ป้องกนั ตนเอง ❖ศึกษาหาความรู้เพ่ือให้รู้เท่าทนั โทษพษิ ภัยของยาเสพตดิ ❖ไม่ทดลองใช้ยาเสพตดิ ทกุ ชนิดและปฏิเสธเม่ือถูกชักชวน ❖ระมดั ระวงั เรื่องการใช้ยา เพราะยาบางชนิดอาจทาให้เสพตดิ ได้ ❖ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์ ❖เลือกคบเพ่ือนดี ทช่ี ักชวนกนั ไปในทางสร้างสรรค์ ❖เม่ือมปี ัญหาชีวติ ควรหาหนทางแก้ไขทไี่ ม่ข้องเกย่ี วกบั ยาเสพตดิ หากแก้ไขไม่ได้ควรปรึกษาผู้ใหญ่

การป้องกนั และหลกี เลย่ี งสารเสพตดิ ครอบครัว ❖สร้างความรัก ความอบอ่นุ และความสัมพนั ธ์อนั ดรี ะหว่างสมาชิก ในครอบครัว ❖รู้และปฏิบัตติ ามบทบาทหน้าทขี่ องตนเอง ❖ดูแลสมาชิกในครอบครัวไม่ให้ข้องเกย่ี วกบั ยาเสพตดิ ❖ให้กาลงั ใจและหาทางแก้ไข หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวตดิ ยา เสพตดิ

การป้องกนั และหลกี เลย่ี งสารเสพติด ชุมชน ❖ช่วยชุมชนในการต่อต้านยาเสพติด ❖เม่ือทราบแหล่งเสพ แหล่งค้า หรือผลติ ยาเสพติด ควรแจ้ง ให้เจ้าหน้าทที่ ราบทนั ที

กฎหมายท่ีเกย่ี วข้องกบั สารเสพตดิ ประเภทของยาเสพติดและบทลงโทษตามกฎหมาย ประเภท 1 ยาเสพตดิ ให้โทษชนิดร้ายแรง เช่น เฮโรอนี ฝิ่ น ห้ามมิให้ ผ้ใู ด ผลติ จาหน่าย นาเข้า ส่งออก หรือมีไว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภท 1 เว้นแต่เพื่อประโยชน์ทางราชการตามที่ รมต.ฯ อนุญาตเป็ นหนังสือ เฉพาะราย ผู้ฝ่ าฝื นระวางโทษจาคุกต้งั แต่ 1 ปี ถงึ ประหารชีวติ แล้วแต่จานวน ยาเสพติดทจ่ี าหน่ายหรือมไี ว้ในครอบครอง

กฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกบั สารเสพตดิ ประเภท 2 ยาเสพติดให้โทษทว่ั ไป เช่น มอร์ฟี น กฎหมายห้ามมิให้ ผู้ใดผลติ นาเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 2 แต่สามารถ จาหน่ายหรือมไี ว้ในครอบครองได้เม่ือได้รับอนุญาตจากเลขาธิการ คณะกรรมการอาหารและยาหรือผ้ซู ่ึงได้รับมอบหมายหรือสาธารณสุขจังหวดั สาหรับการมไี ว้ในครอบครองทไ่ี ม่เกนิ จานวนทจ่ี าเป็ นสาหรับใช้รักษาโรค เฉพาะตวั โดยมหี นังสือรับรองของผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมไม่ต้องขอ อนุญาต ผู้ฝ่ าฝื นระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 5 ปี ถึงจาคุกตลอดชีวิตแล้วแต่ความ หนักเบาของความผดิ

กฎหมายท่เี กย่ี วข้องกบั สารเสพตดิ ประเภท 3 ยาเสพตดิ ให้โทษทมี่ ยี าเสพตดิ ประเภท 2 เป็ น ส่วนผสมอยู่ด้วย เช่น ยาแก้ไอผสมโคเคอนี กฎหมายห้ามมใิ ห้ผู้ใด ผลติ นาเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพตดิ ให้โทษประเภท 3 เว้นแต่ได้รับ อนุญาต ซึ่งต้องเป็ นร้านค้าทไี่ ด้รับอนุญาตให้ผลติ ขายนาหรือส่งเข้า ในราชอาณาจกั รประเภทยาแผนปัจจุบนั และมเี ภสัชกรประจา ตลอดเวลาทเ่ี ปิ ดทาการ ผู้ฝ่ าฝื นระวางโทษจาคุกไม่เกนิ 1 ปี ถึงจาคุก ไม่เกนิ 3 ปี

กฎหมายที่เกย่ี วข้องกบั สารเสพติด ประเภท 4 สารเคมที ใ่ี ช้ในการผลติ ยาเสพตดิ ให้โทษ ประเภท 1 หรือประเภท 2 กฎหมายห้ามมใิ ห้ผู้ใดผลติ นาเข้า หรือส่งออกหรือมไี ว้ในครอบครองซ่ึงยาเสพติดให้โทษ ประเภท 4 เว้นแต่รัฐมนตรีอนุญาต ผู้ฝ่ าฝื นระวางโทษจาคุก ต้ังแต่ 1 ปี – 10 ปี

กฎหมายทเ่ี กยี่ วข้องกบั สารเสพติด ประเภท 5 ยาเสพติดให้โทษทมี่ ไิ ด้เข้าอยู่ในประเภท 1 ถึงประเภท 4 เช่น กญั ชา พืชกระท่อม กฎหมายมใิ ห้ผู้ใดผลติ จาหน่าย นาเข้า ส่งออก หรือมไี ว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้ โทษประเภท 5 เว้นแต่รัฐมนตรีอนุญาต ผู้ฝ่ าฝื นระวางโทษ จาคุกต้ังแต่ 2 ปี – 15 ปี

• สรุป สารเสพตดิ ได้แพร่ระบาดเข้าไปถึงกล่มุ คนทกุ กล่มุ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของกล่มุ คนเหล่าน้ัน และมผี ล ต่อประเทศชาตใิ นทส่ี ุด การดาเนินงานป้องกนั สารเสพ ตดิ จึงควรให้ภูมคิ ุ้มกนั แก่กล่มุ เป้าหมาย โดยมหี ลกั การ รูปแบบกจิ กรรมเพื่อป้องกนั สารเสพตดิ ให้โทษทชี่ ัดเจน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook