Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การปลูกขมิ้นชัน

การปลูกขมิ้นชัน

Description: การปลูกขมิ้นชัน

Search

Read the Text Version

การปลกู ขมน้ิ ชนั เอกสารเผยแพร : โครงการวจิ ยั KIP 18.36 การวจิ ยั และพฒั นาพชื สมนุ ไพรและเครอ่ื งเทศ โครงการยอ ยท่ี 2.1.1 การศกึ ษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของขมิ้น : สถานวี จิ ยั ปากชอ ง นายองอาจ หาญชาญเลิศ สถานวี จิ ยั ปากชอ ง รศ.ฉลองชยั แบบประเสริฐ สถานวี จิ ยั ปากชอ ง ผศ.ยง่ิ ยง ไพสุขศานติวัฒนา คณะเกษตร สนบั สนนุ โดย : สถาบนั วจิ ยั และพฒั นาแหง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร จดั ทําเอกสารอเิ ลก็ ทรอนกิ ส โดย : สํานกั สง เสรมิ และฝก อบรม มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร สารบญั ✾ ลักษณะทั่วไป ✾ ฤดกู าลปลกู ขมน้ิ ✾ การเตรยี มหวั พนั ธขุ มน้ิ ชนั สาํ หรบั ปลกู ✾ การใสป ยุ และการกาํ จัดวชั พืช ✾ การเกบ็ เกย่ี ว ✾ สรปุ

การปลูกขมิ้นชัน ! 2 คํานาํ โครงการวจิ ยั การผลติ ขมน้ิ ชนั เรม่ิ ดําเนนิ การมาตง้ั แต พ.ศ. 2536 จนถึงปจจุบัน เนอ่ื งจาก ขม้ินชันเปนพืชท่ีคนไทยรูจักกันมาแตโบราณ โดยนาํ มาใชแ ตง สี แตง กลน่ิ อาหาร เชน แกงเหลอื ง แกงไตปลา ตลอดจนเปน สมนุ ไพรรกั ษาโรคตา งๆ เชน แผลในกระเพาะอาหาร อาการทอ งอดื ทอ งเฟอ แตยังไมมีขอมูลทางดานการเพาะปลูก คณะนักวิจัยไดศึกษาวิธีการปลูกชนิดของทอนพันธุขมิ้นชันที่ เหมาะสมในการปลูก ผลผลิตตอไร วิธีการเก็บเกี่ยวขม้ินชันเพ่ือเตรียมทําเปน ขมน้ิ แหง และศึกษา วิเคราะหตน ทนุ การผลติ ตอ ไร เพอ่ื เปน แนวทางในการกาํ หนดราคาขายสง ตอ ไป โครงการศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของขม้ินน้ี เปนโครงการยอยในโครงการ KIP 18.36 “การวิจัยและพัฒนาพืชสมุนไพรและเครื่องเทศ” ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยประเภท ข. (KURDI INITIATED PROJECTS, KIP) จากสถาบันวิจัยและพัฒนา ขอ มลู ในเอกสารเลม นไ้ี ดจ ากแปลงทดลองการ ปลูกขมิ้นชันที่สถานีวิจัยปากชอง อาํ เภอปากชอ ง จงั หวดั นครราชสมี า ขอ มลู เหลา นอ้ี าจจะยงั ไมส มบรู ณ แตอยางไรกต็ าม คณะผูวจิ ยั หวงั วาจะใชเ ปน แนวทางเริ่มตนสาํ หรบั ผสู นใจไดบ า งตามสมควร (รองศาสตราจารย นภาวรรณ นพรตั นราภรณ) ผอู าํ นวยการสถาบนั วจิ ยั และพฒั นา ผูประสานงานโครงการ ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั

การปลูกขมิ้นชัน ! 3 การปลกู ขมน้ิ ชนั ขมิ้นชัน เปนพืชที่คนไทยรูจักกันมาแตโบราณโดยนาํ มาใชแ ตง สี แตง กลน่ิ และรสของอาหาร เชน แกงเหลือง แกงไตปลา การใชใ นผลติ ภณั ฑอ าหาร ขมน้ิ ผงเปน แหลง สธี รรมชาตใิ หค วามปลอดภยั มากกวาสีสังเคราะห ตลอดจนเปน สมนุ ไพรรกั ษาโรคตา ง ๆ เชน แผลในกระเพาะอาหาร อาการทอ งอดื ทอ งเฟอ ขบั ลม ขมิ้นชันเปนพืชปลูกงายสามารถปลูกขึ้นไดทุกภาคของประเทศไทย เตบิ โตไดด ใี นทด่ี อนไมช อบ น้ําทวมขงั ปญ หาของโรคแมลงรบกวนนอ ย อายเุ กบ็ เกยี่ วประมาณ 8-9 เดอื น เกษตรกรสวนใหญจะ ปลูกขม้ินชันเปน พชื สวนครวั หลงั บา นในปรมิ าณไมม ากนกั ลกั ษณะทั่วไป แปลงปลกู ขมน้ิ ชนั สถานวี จิ ยั ปากชอ ง จ.นครราชสมี า ขมน้ิ ชนั เปนพชื ทอ่ี ยใู นวงศข งิ ขา เปน พชื ลม ลกุ อายหุ ลายป ลําตนเหนือดินเปนลําตน ท่ีเกิดจากการอัดตัวกันของกาบใบ ลาํ ตน จรงิ อยใู ตด นิ เรยี กเหงา ขมน้ิ ประกอบดว ย เหงาหลัก ใตด นิ ทเ่ี ราเรยี กวา หวั แม ซึ่งมรี ูปไขและแตกแขนงทรง กระบอกออกดา นขา งทง้ั 2 ดา น ที่เราเรียกวา แงง เนอ้ื ใน เหงามสี ีเหลืองมีกล่ินเฉพาะใบเปนใบเด่ียวเจริญออกจากเหงา ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั

การปลูกขมิ้นชัน ! 4 เรียงเปนวงซอนทับกัน ใบรปู หอก กวาง 12-15 เซนตเิ มตร ยาว 30-40 เซนตเิ มตร ชอ ดอกเจรญิ ออก จากเหงา แทรกขน้ึ ระหวา งใบ รปู ทรงกระบอก ประกอบดวยใบประดับจาํ นวนมาก มสี เี ขยี วออ น ใบ ประดับตรงปลายชอจาํ นวน 6-10 ใบ สขี าวหรอื ขาวแกมชมพเู รอ่ื ๆ ดอกสเี หลอื งออ น เกดิ ในซอกใบ ประดับเวน แตใ นซอกใบตรงปลายชอ ผลทรงกลมมี 3 พู ชอ ดอกขมน้ิ ชนั ฤดกู าลปลกู ขมน้ิ การปลูกขมิ้นชันในประเทศไทย เรม่ิ ปลกู ในชว งตน ฤดฝู นประมาณปลายเดอื นเมษายน ถงึ ตน เดือนพฤษภาคมของทุก ๆ ป และจะเก็บเกี่ยวหัวขมิ้น ในชว งฤดหู นาวหรอื ประมาณปลายเดอื นธนั วาคม ถึงมกราคม ซง่ึ ชว งนห้ี วั ขมน้ิ ชนั จะแหง สนทิ ดนิ และการเตรยี มดนิ ขม้ินชันสามารถขึ้นไดดีในดินทุกชนิด แตที่เหมาะสมควรเปนดินที่ระบายนํ้าดี น้ําไมท ว มขงั ถาเปนดินเหนยี วควรใสป ยุ หมกั หรอื ปยุ คอกอตั รา 1 ตนั /ไร เพอ่ื ปรบั ปรงุ คณุ ภาพของดนิ การเตรียมดินควรไถพรวนกอ นตน ฤดฝู น และหลงั จากพรวนดนิ ใหม ขี นาดเลก็ ลงแลว ก็ใชไถยก รองปลูกระยะระหวางแถว 75 เซนตเิ มตร ระยะระหวางตน 30 เซนตเิ มตร 75X75 แปลงปลกู ขมน้ิ ชนั แปลงปลกู ขมน้ิ ชนั ใชร ะยะปลกู ระหวา งแถว 75 เซนตเิ มตร ระยะระหวางตน 30 เซนตเิ มตร ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั

การปลูกขมิ้นชัน ! 5 การเตรียมหวั พนั ธขุ มนิ้ ชันสําหรบั ปลกู การปลูกขมน้ิ ชนั อาจใชท อ นพนั ธไุ ด 2 ลกั ษณะคอื ใชห ัวแม และใชแงง ถาปลูกโดยใชหัวแมที่มี รูปรางคลา ยรปู ไขข นาดนา้ํ หนกั ประมาณ 15-50 กรัม/หัว หวั แมน ส้ี ามารถใหผ ลผลติ ประมาณ 3,300 กิโลกรัม/ไร ที่ระยะปลูก 75x30 เซนตเิ มตร ถา ใชห วั แมข นาดเลก็ ลง จะลดลงไปตามสดั สว น ถา ปลกู ดว ยแงง ขนาด 15-30 กรัม/ชิ้น หรือ 7-10 ปลอ ง/ชิ้น จะใหผ ลผลติ นา้ํ หนกั สดประมาณ 2,800 กก./ ไร (ดตู าราง) หัวแม แงง พนั ธมุ ปี ลอ ง 7-9 ปลอง/ชน้ิ นา้ํ หนัก 15-30 กรมั /ชน้ิ ความยาว 8-12 ซม. ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั

การปลูกขมิ้นชัน ! 6 จาํ นวนและนํ้าหนกั พนั ธขุ มน้ิ ชนั ทใ่ี ชป ลกู และผลผลติ ทไ่ี ดโ ดยประมาณ ชนดิ และขนาดของหวั จาํ นวนหัวพันธุที่ใชปลูก/ไร ในระยะปลูก นา้ํ หนกั หวั พนั ธุ ผลผลติ กโิ ลกรมั /ไร (กโิ ลกรมั /ไร) พนั ธุที่ใชปลูก 75X30 เซนตเิ มตร (ชน้ิ ) (กโิ ลกรมั ) 3,300 1 . หั ว แ ม  น้ํ า ห นั ก 7,100 155 ประมาณ 15-30 กรมั / 7,100 หัว 7,100 215 2,700 2. หัวแมผาซีกนํ้าหนัก ประมาณ 15-50 กรมั / 7,100 140 2,800 ชน้ิ 3. แงง ขนาดเสน ผา ศนู ย 75 2,500 กลาง 1.5 ซม. ยาว ประมาณ 8-12 ซม. นา้ํ หนกั 15-30 กรมั /ชน้ิ 4. แงง ขนาดเสน ผา ศนู ย กลาง 1 ซม. ยาว 6-9 ซม. น้ํ าหนัก 5-10 กรมั /ชน้ิ กอนนําลงปลูกในแปลงควรแชดวยยากันราและยาฆาเพลี้ย เพื่อปองกันโรคหัวเนาและกําจัด เพล้ีย ซ่ึงอาจตดิ มากบั ทอ นพนั ธแุ ละมกั จะระบาดมากขน้ึ ในชว งปท ่ี 2-3 ของการปลกู หากมไิ ดร บั การ เอาใจใสปองกนั ใหด กี อ นปลกู โดยแชนานประมาณ 30 นาที ควรระมดั ระวงั การใชส ารเคมโี ดยสวมถงุ มือยางท่ีมีสภาพเรยี บรอ ยไมข าด และควรสวมหนา กากดว ย กอ นปลกู ขมน้ิ ชนั ควรรองกน หลมุ ดว ยปยุ สูตร 13-13-21 อตั รา 50 กก./ไร และวางทอ นพนั ธลุ งในแปลง กลบดนิ หนาประมาณ 5-10 เซนติเมตร หลงั จากนน้ั ขมน้ิ ชนั จะใชเ วลาในการงอกประมาณ 30-70 วนั หลงั ปลกู ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั

การปลูกขมิ้นชัน ! 7 การใสป ยุ และกําจดั วัชพืช ขม้ินชัน เมอ่ื เรม่ิ งอกยาวประมาณ 5-10 เซนตเิ มตร ตอ งรบี ทาํ การกําจัดวัชพืช เนอ่ื งจาก ขมิ้นชันหลังจากงอกจะเจริญเติบโตแขงกับวัชพืชไมได และใสปุยแอมโมเนยี มซลั เฟต อตั รา 50 กก./ไร เม่ือกําจัดวัชพืชครั้งที่ 2 ควรพรวนดนิ กลบโคนแถวขมน้ิ ชนั ดว ย หลงั จากนน้ั กาํ จัดวัชพืชอีก 2-3 ครง้ั ก็พอ การใหน้าํ แมวาขมิ้นชันจะเปนพืชที่ทนทานตอ สภาพแวดลอ มก็ตามในชว งตนฤดูฝน อาจทิ้งชวงไปขณะที่ ขมิ้นชันยังมีขนาดเล็กอยู อาจมอี าการเหย่ี วเฉาบา ง จงึ ควรใหน า้ํ ชลประทานใหเพียงพอสาํ หรบั ความชุม ชื้น หรืออาจใชวัตถุคลุมดินเพื่อลดการระเหยของน้ํา และเมื่อเขาสูชวงฤดูฝนไมจําเปนตอ งใหนา้ํ เลย แตตองระมัดระวังน้ําทวมขังในแปลงเปนเวลานาน ๆ ทําใหขมิ้นเนาตายได ควรเตรียมแปลงให มีทางระบายน้ําและตอ งรบี จดั การระบายนา้ํ ออกทนั ทที พ่ี บวามีนํ้าทว มขงั โรคและแมลงศัตรูพืช โรคของขม้ินชนั เกดิ จากการเนข องหวั ขมน้ิ จากนา้ํ ทว มขงั หรอื การใหน า้ํ มากเกนิ ไป หรือเกิดจาก การปลกู ซา้ํ ทเ่ี ดมิ หลาย ๆ ครง้ั ทําใหเ กดิ การสะสมโรค โรคที่พบไดแก โรคเหงา และรากเนา ซง่ึ เกดิ จาก เชื้อแบคทีเรีย โรคตนเหี่ยว และโรคใบจุด เกดิ จากเชอ้ื รา โรคเหลา นเ้ี มอ่ื เกดิ แลว รกั ษายาก จึงควร ปองกันกอนปลกู การปอ งกนั โรคท่ดี คี วรทาํ โดยการหมนุ เวยี นแปลงปลกู ทกุ ๆ ป การเกบ็ เกย่ี ว หลังจากปลูกขมิ้นชันเม่ือชวงตนฤดูฝนจนยางเขาสูฤดูหนาวประมาณปลายเดือนธันวาคม ลาํ ตนเหนือดินเริ่มแสดงอาการเหี่ยวแหงจนกระทั่งแหงสนิทจึงเริ่มทาํ การเก็บเกี่ยว การเกบ็ เกย่ี วหวั ขมน้ิ โดยใชแ รงงานคน ในการเกบ็ เกย่ี วหวั ขมน้ิ ควรใชเ ครอ่ื งมอื ทนุ แรง เชน รถแทรคเตอรต ิดผานไถอันเดียว และคน งานเดินตามเก็บหัวขม้ินชันจะชวยใหประหยัดตนทุนคาแรงงาน เนอ่ื งจากการเกบ็ เกย่ี วเปน ชว งฤดแู ลง ในสภาพดินเหนยี วดินจะแขง็ ทาํ ใหเก็บเกี่ยวยากอาจใหนาํ้ พอดนิ ชน้ื ทิ้งไว 1 สัปดาหแลวจึงเก็บเกี่ยว ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั

การปลูกขมิ้นชัน ! 8 ขม้ิน ในกรณีท่ีใชแ รงงานคนขดุ หวั ขมน้ิ ในดนิ ทไ่ี มแ ขง็ เกนิ ไป มกั จะขดุ ไดเ ฉลย่ี ประมาณ 116 กก./วัน/ คน เม่ือทําการเกบ็ เกย่ี วแลว ตอ งนาํ มาตดั แตง ราก ทาํ ความสะอาดดนิ ออกในกรณที ต่ี อ งการขมน้ิ สด อาจจะขายสว นทเ่ี ปน แงง สว นหวั แมค วรเกบ็ ไวเ ปน พนั ธปุ ลกู ในฤดกู าลตอ ไป ถา เตรยี มขมน้ิ แหง เพอ่ื นํา ไปใชทํายารกั ษาโรคนน้ั ตอ งเปน ขมน้ิ ชนั ทแ่ี กเ ตม็ ท่ี และตอ งคาํ นงึ ถงึ ความสะอาดเปน สง่ิ สาํ คญั รวมทั้ง ตองมปี รมิ าณสารสําคญั (เคอรค มู นิ ) ไมน อ ยกวา 8.64 เปอรเ ซน็ ต การเกบ็ เกย่ี วหวั ขมน้ิ ชนั การคดั เลอื กขมน้ิ ชนั สาํ หรับปลูกพืชหรือเตรียมทําเปน ขมน้ิ แหง ขมน้ิ แหง ทผ่ี า นการตากแหง ดว ยตอู บแสงอาทติ ย ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั

การปลูกขมิ้นชัน ! 9 วิธีการตองนาํ หวั ขมน้ิ ชนั ลา งดว ยนา้ํ ใหส ะอาด ตดั แตง รากออกใหห มด แลว ฝานเปน ชน้ิ บาง ๆ นําไปตากแดดในตอู บแสงอาทติ ย ทส่ี ามารถปอ งกนั ฝนุ ละอองได และเมื่อแหงสนิทแลวบรรจุถุงปดให สนทิ ขม้ินสด 5 กโิ ลกรมั จะไดข มน้ิ แหง ประมาณ 1 กิโลกรัม นอกจากการเตรยี มสาํ หรับทาํ ยารักษา โรคแลว ยังสามารถเตรยี มขมน้ิ ชนั เพอ่ื ใชใ นการแตง สี และแตง กลน่ิ ผลติ ภณั ฑอ าหารหลายชนดิ โดยการ ตมแงง ขมน้ิ ในนา้ํ เดอื ดเปน เวลา 30 นาที จะมปี รมิ าณเคอรค มู ิน 5.48 เปอรเ ซน็ ต แลวหั่นกอนอบแหง ในการตม ขมน้ิ ชนั กบั นา้ํ เดือดจะทาํ ใหประหยดั เวลาในการทาํ แหงมากกวา 2 เทา เมื่อเทียบกับวิธีการ ฝานสดแลว ตากแหง กบั แสงแดดและขมน้ิ ทไ่ี ดต อ งนาํ ไปบดเปน ผงตอ ไป สรปุ จากการปลูกขมน้ิ ชนั จนถงึ ฤดกู าลเกบ็ เกย่ี วใชเ วลาประมาณ 8-9 เดอื น เปนพืชที่ไมยากตอการ ปฏิบัติดูแลรักษา แตสิง่ หน่ึงทเี่ กษตรกรควรปฏิบัติไมค วรปลกู ซาํ้ แปลงเดมิ ตดิ ตอ กนั ควรหมนุ เวยี นสลบั กับพืชอื่นจะชวยลดความเสียหายจากโรคและแมลงศัตรูพืช และควรปรบั ใชเ ครอ่ื งจกั รกลการเกษตรใน การกําจัดวัชพืชและการเก็บเก่ียวขม้ินเพ่ือชวยลดตนทุนการผลิต ลดความเสียหายจากโรคและแมลง ศัตรูพืชและควรปรบั ใชเ ครอ่ื งจกั รกลการเกษตร ในการกําจัดวัชพืชและการเก็บเกี่ยวขมิ้นเพื่อชวยลดตน ทนุ การผลติ เกษตรกรสนใจพันธุขมิ้นโปรดติดตอ สถานวี ิจยั ปากชอง อาํ เภอปากชอ ง จงั หวดั นครราชสมี า 30130 โทรศัพท (044) 311796 หรือโทรสาร (044) 313797 ในระหวา งปลายเดอื นมกราคมถงึ ตนเดอื นพฤษภาคมทกุ ป ๐ กลบั ไปหนา กอ นน้ี ๐ หนา ถดั ไป ๐ กลบั หนา หลกั /สารบญั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook