Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมทางการศึกษา

นวัตกรรมทางการศึกษา

Published by สุทธิดา แสงมุกดา, 2022-02-25 03:25:25

Description: งานเดี่ยวชิ้นที่1 นางสุทธิดา แสงมุกดา เลขที่ 21 ห้อง 5

Search

Read the Text Version

รายงาน เรอื่ ง นวัตกรรมทางการศึกษา จัดทาโดย นางสุทธิดา แสงมุกดา เลขที่ 21 หอ้ ง 5 รหัสนักศึกษา 646550100-2 เสนอ ดร.กฤษฎาพนั ธ์ พงษบ์ รบิ ูรณ์ รายวชิ า นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ วิทยาลัยบณั ฑติ เอเชยี

ก คานา รายงานฉบับน้ีเป็นส่วนหน่ึงของวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ระดบั ประกาศนียบตั รวิชาชพี ครู วิทยาลยั บัณฑิตเอเชยี โดยมจี ุดประสงคใ์ นการศกึ ษาและรวบรวม เร่ือง นวัตกรรมทางการศึกษา ท่ีใช้บ่อยในชีวิตประจาวัน เพื่อให้ผู้อ่านได้รู้ความหมายที่ถูกต้อง รวมถึงสามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม หวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้อ่าน หรือนักเรียน นักศึกษา ท่ีกาลังหาข้อมูลเร่ืองนี้อยู่ หากมีข้อแนะนาหรือ ขอ้ ผิดพลาดประการใด ผ้จู ดั ทาขอน้อมรบั ไว้และขออภยั มา ณ ท่ีนด้ี ้วย สุทธิดา แสงมุกดา ผู้จดั ทา

สารบญั ข เร่ือง หน้า คานา ก สารบญั ข ประวตั ิ ความเป็นมาของนวตั กรรมทางการศึกษา 1 นวัตกรรมทางการศึกษา ในประเดน็ ความหมาย แนวคิดพ้ืนฐาน ประเภท ลกั ษณะ การพัฒนา ระยะของนวัตกรรม 5 นวตั กรรมทางการศึกษาในยุคปัจจุบนั 10 แหล่งอา้ งองิ 21

1 1. ประวัติ ความเป็นมาของนวตั กรรมทางการศึกษา ความเป็นมาและความหมายของนวตั กรรม “นวตั กรรม” หมายถึงความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็น การพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดมิ ท่ีมอี ยู่แล้ว ให้ทันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงขึ้น เม่ือนา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้ การทางานนน้ั ไดผ้ ลดมี ปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลสงู กว่าเดมิ ทง้ั ยังชว่ ย ประหยัดเวลาและแรงงานไดด้ ว้ ย “นวัตกรรม” (Innovation) มีรากศัพท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาส่ิงใหม่ข้ึนมา ความหมายของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีมีอยู่ แล้วมาใช้ในรูปแบบใหม่ เพื่อทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในสิ่งท่ีแตกต่างจากคนอ่ืน โดยอาศัยการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ (Change) ท่ีเกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และ ถ่ายทอดไปสู่แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดนี้ได้ถูกพัฒนาขึ้นมา ในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปท่ีการสร้างสรรค์ การ วิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนาไปสู่การได้มาซ่ึง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี (Technological Innovation) เพ่ือประโยชน์ในเชิงพาณิชย์เป็นหลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถใน การเรียนรู้และนาไปปฎบิ ัติให้เกิดผลไดจ้ ริงอีกดว้ ย (พันธอ์ุ าจ ชัยรัตน์ , Xaap.com) คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาที่ค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คาน้ี เป็นศัพท์บัญญัติของ คณะกรรมการพจิ ารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก คากรยิ าว่า innovate แปลว่า ทาใหม่ เปลี่ยนแปลงให้เกิดสิ่งใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมา พบวา่ คานี้มคี วามหมายคลาดเคล่ือน จึงเปลี่ยนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนา ส่ิงใหม่ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงเพิ่มเติมจากวิธีการท่ีทาอยู่เดิม เพ่ือให้ใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน ดังน้ันไม่ว่าวงการหรือ กิจการใด ๆ กต็ าม เมือ่ มกี ารนาเอาความเปลยี่ นแปลงใหมๆ่ เข้ามาใช้เพ่อื ปรับปรุงงานให้ดีข้ึนกว่าเดิมก็เรียกได้ ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการนั้น ๆ เช่นในวงการศึกษานาเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สาหรับผู้ท่ีกระทา หรือนาความเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ มาใช้น้ี เรียกว่าเป็น “นวัตกร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) ทอมัส ฮิวช์ (Thomas Hughes) ได้ให้ความหมายของ “นวัตกรรม” ว่า เป็นการนาวิธีการใหม่ ๆ มาปฏิบัติหลังจากได้ผ่านการทดลองหรือได้รับการพัฒนามาเป็นขั้น ๆ แล้ว เร่ิมตั้งแต่การคิดค้น (Invention) การพัฒนา (Development) ซ่ึงอาจจะเป็นไปในรูปของ โครงการทดลองปฏิบัติก่อน (Pilot Project) แล้วจึง นาไปปฏิบตั จิ ริง ซ่งึ มคี วามแตกต่างไปจากการปฏบิ ตั เิ ดิมทเี่ คยปฏบิ ัตมิ า (boonpan edt01.htm) มอร์ตัน (Morton,J.A.) ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ว่าเป็นการทาให้ใหม่ขึ้นอีกครั้ง(Renewal) ซ่ึง หมายถึง การปรับปรุงสิ่งเก่าและพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรือองค์การน้ัน ๆ นวัตกรรม ไม่ใช่การขจัดหรือล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการ ปรับปรุงเสริมแต่งและพัฒนา (boonpan edt01.htm) ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2521 : 14) ได้ให้ความหมาย “นวัตกรรม” ไว้ว่าหมายถึง วิธีการปฎิบัติใหม่ๆ ท่ีแปลกไปจากเดิมโดยอาจจะได้มาจากการคิดค้นพบวิธีการใหม่ๆ ขึ้นมาหรือมีการปรับปรุงของเก่าให้ เหมาะสมและสิ่งทั้งหลายเหล่านี้ได้รับการทดลอง พัฒนาจนเป็นที่เช่ือถือได้แล้วว่าได้ผลดีในทางปฎิบัติ ทาให้ ระบบก้าวไปสู่จุดหมายปลายทางไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพขึ้น

2 จรูญ วงศ์สายัณห์ (2520 : 37) ได้กล่าวถึงความหมายของ “นวัตกรรม” ไว้ว่า “แม้ในภาษาอังกฤษ เอง ความหมายก็ต่างกันเป็น 2 ระดับ โดยท่ัวไป นวัตกรรม หมายถึง ความพยายามใด ๆ จะเป็นผลสาเร็จ หรือไม่ มากน้อยเพียงใดก็ตามที่เป็นไปเพ่ือจะนาสิ่งใหม่ ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงวิธีการท่ีทาอยู่เดิมแล้ว กับอีก ระดับหน่งึ ซึง่ วงการวทิ ยาศาสตร์แห่งพฤติกรรม ได้พยายามศึกษาถึงที่มา ลักษณะ กรรมวิธี และผลกระทบท่ีมี อยู่ต่อกลุ่มคนท่ีเก่ียวข้อง คาว่า นวัตกรรม มักจะหมายถึง ส่ิงที่ได้นาความเปลี่ยนแปลงใหม่เข้ามาใช้ได้ ผลสาเรจ็ และแผ่กวา้ งออกไป จนกลายเปน็ การปฏิบตั อิ ยา่ งธรรมดาสามญั (บุญเกือ้ ควรหาเวช , 2543) นวัตกรรม แบง่ ออกเปน็ 3 ระยะ คือ ระยะท่ี 1 มีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation)หรือเป็นการปรุงแต่งของเก่าให้เหมาะสมกับกาลสมัย ระยะท่ี 2 พัฒนาการ (Development)มีการทดลองในแหล่งทดลองจัดทาอยู่ในลักษณะของโครงการ ทดลองปฏบิ ัตกิ อ่ น (Pilot Project) ระยะท่ี 3 การนาเอาไปปฏิบตั ิในสถานการณท์ วั่ ไป ซงึ่ จดั ว่าเป็นนวัตกรรมข้นั สมบรู ณ์ องคป์ ระกอบของนวตั กรรม 1. เปน็ สิ่งใหม่ 2. เน้นใชค้ วามรคู้ วามคิดสร้างสรรค์ 3. เป็นประโยชน์ ตอ้ งตอบได้วา่ ส่งิ ท่ีเราสร้างเปน็ อยา่ งไร 4. เป็นท่ยี อมรับ 5. มีโอกาสในการพัฒนา นวัตกรรมมี 4 ประเภท 1. product innovation : การเปล่ียนแปลงในผลิตภัณฑห์ รอื บรกิ ารของ 2. Process innovation : การเปล่ียนแปลงกระบวนการผลิตหรือกระบวน การนาเสนอผลิตภณั ฑ์ 3. Position innovation : การเปลยี่ นแปลงรูปแบบของสินค้าหรือบรกิ ารเปน็ การเปล่ยี นตาแหน่งของ ผลติ ภณั ฑ์ โดยการสร้างการรับรู้และความเข้าใจในผลติ ภณั ฑ์ต่อลูกคา้ 4. Paradigm innovation : การมงุ่ ให้เกิดนวตั กรรมที่เปล่ียนแปลงกรอบความคิด ความหมายของเทคโนโลยี ความเจริญในด้านต่างๆ ท่ีปรากฏให้เห็นอยู่ในปัจจุบัน เป็นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งต่างๆ โดยอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เม่ือศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผลแล้ว ก็นาออก เผยแพร่ใชใ้ นกิจการด้านต่างๆ ส่งผลให้เกิดการเปล่ียนแปลงพัฒนาคุณภาพ และประสิทธิภาพในกิจการต่างๆ เหล่าน้ัน และวิชาการท่ีว่าด้วยการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มาใช้ในกิจการด้านต่างๆ จึงเรียกกันว่า “วทิ ยาศาสตร์ประยุกต”์ หรือนิยมเรียกกันทัว่ ไปวา่ “เทคโนโลยี” (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยี หมายถึงการใช้เครื่องมือให้เหมาะสมกับสถานการณ์ในการแก้ปัญหา ผู้ที่นาเอา เทคโนโลยีมาใช้ เรยี กวา่ นักเทคโนโลยี (Technologist) (boonpan edt01.htm) เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ท่ีว่าดว้ ยวธิ ีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนาวิธกี าร มาปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้ สูงข้ึนเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (boonpan edt01.htm)

3 สภาเทคโนโลยที างการศกึ ษานานาชาตไิ ด้ใหค้ าจากดั ความของ เทคโนโลยีทางการศึกษา ว่าเป็นการ พัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนามาใช้ในสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้าง เสริมกระบวนการเรยี นรู้ของคนใหด้ ียิ่งข้ึน (boonpan edt01.htm) ดร.เปรื่อง กุมุท ได้กล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาว่า เป็นการขยายขอบข่ายของการใช้ส่ือการ สอน ให้กว้างขวางข้นึ ท้ังในด้านบุคคล วัสดุเครื่องมือ สถานท่ี และกิจกรรมต่างๆในกระบวนการเรียนการสอน (boonpan edt01.htm) Edgar Dale กล่าวว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา ไม่ใช่เครื่องมือ แต่เป็นแผนการหรือวิธีการทางาน อย่างเปน็ ระบบ ใหบ้ รรลุผลตามแผนการ (boonpan edt01.htm) นอกจากนี้เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเก่ียวกับโสตทัศนศึกษา ให้กว้างขวางย่ิงข้ึน ท้ังนี้ เนื่องจากโสตทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเก่ียวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดังนั้นอุปกรณ์ในสมัยก่อนมักเน้นการใช้ ประสาทสัมผัส ด้านการฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คาว่าโสตทัศนอุปกรณ์ เทคโนโลยีทางการศึกษา มี ความหมายท่กี ว้างกวา่ ซงึ่ อาจจะพจิ ารณาจาก ความคิดรวบยอดของเทคโนโลยไี ด้เป็น 2 ประการ คอื 1. ความคดิ รวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ ตามความคดิ รวบยอดนี้ เทคโนโลยที างการศึกษาหมายถึง การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของส่ิงประดิษฐ์ เช่น เคร่ืองฉายภาพยนตร์ โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้สาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เคร่ืองมือเหล่านี้ มักคานึงถึงเฉพาะการ ควบคุมให้เครื่องทางาน มักไม่คานึงถึงจิตวิทยาการเรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่างระหว่าง บุคคล และการเลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาวิชา ความหมายของเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามความคิด รวบยอดน้ี ทาให้บทบาทของเทคโนโลยีทางการศึกษาแคบลงไป คือมีเพียงวัสดุ และอุปกรณ์เท่านั้น ไม่รวมวิธีการ หรือปฏิกิริยาสัมพันธ์อ่ืน ๆ เข้าไปด้วย ซึ่งตามความหมายนี้ก็คือ “โสตทัศนศึกษา” นั่นเอง 2. ความคดิ รวบยอดทางพฤตกิ รรมศาสตร์ เป็นการนาวธิ กี ารทางจติ วทิ ยา มนษุ ยวิทยา กระบวนการกลุ่ม ภาษา การส่ือความหมาย การบริหาร เครื่องยนต์กลไก การรับรู้มาใช้ควบคู่กับผลิตกรรมทาง วิทยาศาสตร์และวิศวกรรม เพื่อให้ผู้เรียน เปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพย่ิงขึ้นมิใช่ เพียงการใช้เคร่ืองมืออุปกรณ์เท่านั้น แต่รวมถึงวิธีการทางวิทยาศาสตร์เข้าไปด้วย มิใช่วัสดุ หรือ อปุ กรณ์ แตเ่ พียงอยา่ งเดียว (boonpan edt01.htm) ในวงการศึกษาปัจจุบัน มสี ่งิ ที่เรียกว่านวตั กรรมทางการศึกษา หรือนวตั กรรมการเรยี นการสอน อย่เู ปน็ จานวน มาก บางอยา่ งเกิดขน้ึ ใหม่ บางอยา่ งมีการใชม้ าหลายสิบปีแลว้ แตก่ ็ยงั คงถือว่าเป็น นวัตกรรม เนื่องจาก นวตั กรรมเหลา่ นัน้ ยังไม่แพร่หลายเป็นท่รี จู้ ักท่วั ไป ในวงการศึกษา นวัตกรรมทางการศกึ ษาตา่ งๆ ที่กล่าวถึงกนั มากในปจั จบุ ัน E-learning ความหมาย e-Learning เป็นคาท่ีใช้เรียกเทคโนโลยีการศึกษาแบบใหม่ ที่ยังไม่มีช่ือ ภาษาไทยท่ีแน่ชัด และมีผู้นิยามความหมายไว้หลายประการ ผศ.ดร.ถนอมพร เลาหจรัสแสง ให้คานิยาม E-Learning หรอื Electronic Learning ว่า หมายถึง “การเรียนผ่านทางส่ืออิเลคทรอนิกส์ซึ่งใช้การ นาเสนอ เนื้อหาทางคอมพิวเตอร์ในรูปของส่ือมัลติมีเดียได้แก่ ข้อความอิเลคทรอนิกส์ ภาพน่ิง ภาพกราฟิก วิดีโอ ภาพเคลื่อนไหว ภาพสามมิติฯลฯ”เช่นเดียวกับ คุณธิดาทิตย์ จันค่านา ท่ีให้ความ หมายของ e-learning หมายถึงการศึกษาท่ีเรียนรู้ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยผู้เรียนรู้จะเรียนรู้ด้วยตัวเองเรียนรู้จะเป็นไปตาม ปัจจัยภายใต้ทฤษฎีแห่งการเรียนรู้สองประการคือ เรียนตามความรู้ความสามารถของผู้เรียนเอง และ

4 การตอบสนองใน ความแตกต่างระหว่างบุคคล(เวลาที่แต่ละบุคคลใช้ในการเรียนรู้)การเรียนจะกระทาผ่านส่ือ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้สอนจะนาเสนอข้อมูลความรู้ให้ผู้เรียนได้ทาการศึกษาผ่านบริการ World Wide Web หรอื เวปไซด์ โดยอาจใหม้ ีปฏสิ มั พนั ธ์ (สนทนา โต้ตอบ สง่ ขา่ วสาร) ระหวา่ งกัน จะท่ีมีการ เรียนรู้ ู้ ในสามรูปแบบคือ ผู้สอนกับ ผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียนอีกคนหน่ึง หรือผู้เรียนหนึ่งคนกับกลุ่มของผู้เรียน ปฏสิ มั พันธน์ ีส้ ามารถ กระทา ผา่ นเครอื่ งมือสองลักษณะคือ 1. ) แบบ Real-time ได้แก่การสนทนาในลักษณะของการพิมพ์ข้อความแลกเปล่ียนข่าวสารกัน หรือ ส่งในลักษณะของเสียง จากบริการของ Chat room 2. ) แบบ Non real-time ได้แก่การส่งข้อความถึงกันผ่านทางบริการ อิเลคทรอนิคเมลล์ WebBoard News-group เปน็ ตน้ ความหมายของ e-Learning ท่ีมีปรากฏอยู่ในส่วนคาถามท่ีถูกถามบ่อย (Frequently Asked Question : FAQ) ในเวป www.elearningshowcase.com ให้นิยามว่า e-Learning มีความหมาย เดียวกับ Technology-based Learning นน้ั คือการศึกษาที่อาศัยเทคโนโลยีมาเป็นส่วนประกอบที่ สาคัญ ความหมาย ของ e-Learning ครอบคลุมกวา้ งรวมไปถึงระบบโปรแกรม และขบวนการที่ ดาเนนิ การ ตลอดจนถึงการศึกษา ท่ีใช้ ้คอมพิวเตอร์เป็นหลักการศึกษาที่อาศัยWebเป็นเคร่ืองมือหลักการศึกษาจากห้องเรียนเสมือนจริง และ การศกึ ษาที่ใช้ การทางานร่วมกันของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ระบบดิจิตอล ความหมายเหล่าน้ีมาจากลักษณะ ของการส่งเนื้อหาของบทเรียนผ่านทาง อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งรวมท้ังจากในระบบอินเทอร์เน็ต ระบบ เครอื ข่ายภายใน (Intranets) การ ถา่ ยทอดผา่ นสัญญาณทีวี และการใช้ซีดีรอม อย่างไรก็ตาม e-Learning จะ มีความหมายในขอบเขต ที่แคบกว่าการศึกษาแบบทางไกล (Long distance learning) ซ่ึงจะรวมการเรียน โดยอาศยั การสง่ ขอ้ ความหรือเอกสารระหว่างกันและช้ันเรียนจะเกิดข้ึนในขณะท่ีมีการเขียนข้อความส่งถึงกัน การนิยามความหมายแก่ e-learning Technology-based learning และ Web-based Learning ยังมี ความแตกต่างกัน ตามแต่องค์กร บุคคลและกลุ่มบุคคลแต่ละแห่งจะให้ความหมาย และคาดกันว่าคาว่า e-Learning ท่ีมีการใช้มาต้ังแต่ปี คศ. 1998 ในที่สุดก็จะเปล่ียนไปเ ป็น e-Learning เหมือนอย่าง กับที่มี เปล่ียนแปลงคาเรยี กของ e-Business เมอ่ื กล่าวถึงการเรียนแบบ Online Learning หรอื Web-based Learning ซ่งึ เป็นสว่ นหนง่ึ ของ Technology-based Learning nีม่ กี ารเรียนการสอนผา่ นระบบอนิ เตอรเ์ นต อนิ ทราเนต และ เอซ็ ทราเนต (Extranet) พบว่าจะมีระดับ การจัดการท่ีแตกตา่ งกนั ออกไป Online Learning ปกตจิ ะ ประกอบด้วย บทเรียนท่มี ีข้อความและรปู ภาพ แบบฝึกหัดแบบทดสอบ และบนั ทึกการเรียน อาทิ คะแนนผลการทดสอบ (test score) และบันทึกความก้าวหนา้ ของการเรยี น(bookmarks) แต่ถ้าเปน็ Online Learning ที่สงู ขึน้ อีก ระดบั หน่ึง โปรแกรมของการเรยี นจะประกอบดว้ ยภาพเคล่ือนไหว แบบ จาลอง สื่อท่เี ป็นเสียง ภาพจากวิดโี อ กลมุ่ สนทนาทงั้ ในระดบั เดียวกันหรือในระดับผู้รู้ ผู้มีประสบการณ์ ที่ปรึกษาแบบออนไลน์ (Online Mentoring) จุดเชอ่ื มโยงไปยังเอกสารอา้ งอิงที่มีอยู่ ในบริการของเวป และการส่ือสารกบั ระบบทบี่ ันทึกผลการ เรยี น เปน็ ต้น

5 2. นวัตกรรมทางการศกึ ษา ในประเด็น ความหมาย แนวคิดพ้ืนฐาน ประเภท ลกั ษณะ การพฒั นา ระยะของนวตั กรรม นวัตกรรมทางการศึกษา Educational Innovation เป็นคาศัพท์เทคโนโลยีการศึกษาซึ่งนักการศึกษาได้ใช้คาศัพท์บัญญัติ วชิ าการ 2 ลักษณะ คือ นวัตกรรมการศึกษา และนวัตกรรมทางการศึกษา ในบทเรียนน้ี ใช้คาว่านวัตกรรม ทางการศกึ ษาด้วยเหตวุ า่ เปน็ คาทีส่ ่ือความหมายได้อย่างชัดเจนและไดร้ บั ความนยิ มใช้ในปจั จบุ ัน ความหมายของนวัตกรรมทางการศกึ ษา “นวัตกรรมทางการศกึ ษา” (Educational Innovation) หมายถงึ การนาเอาส่ิงใหม่ซ่ึงอาจจะอยู่ในรูป ของความคดิ หรือการกระทา รวมทง้ั สงิ่ ประดษิ ฐก์ ็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังท่ีจะเปลี่ยนแปลง ส่งิ ทีม่ ีอยเู่ ดมิ ให้ระบบการจดั การศึกษามปี ระสทิ ธิภาพย่ิงขึน้ ทาให้ผเู้ รยี นสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว เกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาในการเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใชว้ ีดทิ ศั น์เชงิ โตต้ อบ(Interactive Video) สื่อหลายมติ ิ (Hypermedia) และอินเตอรเ์ นต็ เหล่าน้ีเป็นตน้ นวัตกรรมทางการศึกษา หมายถึง การนาแนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือส่ิงประดิษฐ์ที่ได้รับการพัฒนา ปรับปรงุ หรือดัดแปลงให้มคี วามเหมาะสมและสอดคล้องกบั การนามาใช้ในการจัดการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่อื แกไ้ ขปัญหา เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล และกอ่ ใหเ้ กดิ ความสาเร็จสูงสุดแก่ผู้เรียน อัญชลี โพธ์ิทอง และอปั ษรศรี ปลอดเปลี่ยว (2542 : 9), อรนชุ ลมิ ตศิริ (2543 : 3) แนวคดิ พนื้ ฐานของนวตั กรรมทางการศกึ ษา ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลอย่างมาก ต่อวิธีการศึกษา ได้แก่แนวความคิดพื้นฐานทางการศึกษาที่ เปล่ียนแปลงไป อันมีผลทาให้เกิดนวัตกรรมการศึกษาท่ีสาคัญๆ พอจะสรุปได้ 4 ประการ คือ 1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) การจัดการศึกษาของไทยได้ให้ ความสาคัญในเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลเอาไว้อย่างชัดเจนซึ่งจะเห็นได้จากแผนการศึกษาของชาติ ให้ มุง่ จดั การศกึ ษาตามความถนดั ความสนใจ และความสามารถ ของแต่ละคนเป็นเกณฑ์ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจน ไดแ้ ก่ การจัดระบบหอ้ งเรียนโดยใช้อายุเป็นเกณฑ์บ้าง ใช้ความสามารถเป็นเกณฑ์บ้าง นวัตกรรมท่ีเกิดข้ึนเพ่ือ สนองแนวความคดิ พ้ืนฐานน้ี เช่น  การเรียนแบบไมแ่ บ่งช้ัน (Non-Graded School)  แบบเรียนสาเรจ็ รูป (Programmed Text Book)  เคร่ืองสอน (Teaching Machine)  การสอนเปน็ คณะ (TeamTeaching)  การจดั โรงเรียนในโรงเรียน (School within School)  เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) 2. ความพร้อม (Readiness) เดิมทีเดียวเชื่อกันว่า เด็กจะเริ่มเรียนได้ก็ต้องมีความพร้อมซึ่งเป็น พฒั นาการตามธรรมชาติ แต่ในปัจจบุ นั การวจิ ัยทางด้านจิตวทิ ยาการเรยี นรู้ ชใ้ี ห้เห็นว่าความพร้อมในการเรียน เป็นสิ่งที่สร้างข้ึนได้ ถ้าหากสามารถจัดบทเรียน ให้พอเหมาะกับระดับความสามารถของเด็กแต่ละคน วิชาท่ี เคยเชื่อกันว่ายาก และไม่เหมาะสมสาหรับเด็กเล็กก็สามารถนามาให้ศึกษาได้ นวัตกรรมที่ตอบสนอง

6 แนวความคดิ พื้นฐานนไ้ี ดแ้ ก่ ศนู ย์การเรียน การจัดโรงเรียนในโรงเรียน นวัตกรรมท่ีสนองแนวความคิดพ้ืนฐาน ดา้ นน้ี เชน่  ศูนย์การเรยี น (Learning Center)  การจัดโรงเรยี นในโรงเรยี น (School within School)  การปรบั ปรงุ การสอนสามชนั้ (Instructional Development in 3 Phases) 3. การใช้เวลาเพอ่ื การศกึ ษา แต่เดิมมาการจัดเวลาเพือ่ การสอน หรือตารางสอนมักจะจัดโดยอาศัย ความสะดวกเป็นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็นชว่ั โมง เท่ากนั ทกุ วิชา ทุกวันนอกจากนน้ั กย็ ังจัดเวลาเรียนเอาไว้ แน่นอนเป็นภาคเรียน เป็นปี ในปัจจุบันได้มีความคิดในการจัดเป็นหน่วยเวลาสอนให้สัมพันธ์กับลักษณะของ แตล่ ะวิชาซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากัน บางวิชาอาจใช้ช่วงส้ันๆ แต่สอนบ่อยครั้ง การเรียนก็ไม่จากัดอยู่แต่เฉพาะใน โรงเรยี นเทา่ นน้ั นวัตกรรมทส่ี นองแนวความคิดพ้ืนฐานด้านนี้ เช่น  การจดั ตารางสอนแบบยืดหยุ่น (Flexible Scheduling)  มหาวิทยาลัยเปิด (Open University)  แบบเรยี นสาเรจ็ รูป (Programmed Text Book)  การเรยี นทางไปรษณีย์ 4. ประสิทธิภาพในการเรียน การขยายตัวทางวิชาการ และการเปล่ียนแปลงของสังคม ทาให้มีสิ่ง ต่างๆ ท่ีคนจะต้องเรียนรู้เพิ่มขึ้นมาก แต่การจัดระบบการศึกษาในปัจจุบันยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอจึง จาเป็นต้องแสวงหาวิธีการใหม่ท่ีมีประสิทธิภาพสูงข้ึน ท้ังในด้านปัจจัยเก่ียวกับตัวผู้เรียน และปัจจัยภายนอก นวัตกรรมในดา้ นนที้ ี่เกดิ ข้ึน เช่น  มหาวิทยาลยั เปิด  การเรยี นทางวิทยุ การเรียนทางโทรทัศน์  การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสาเรจ็ รูป  ชดุ การเรยี น ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมท่ีนามาใช้ท้ังที่ผ่านมาแล้ว และท่ีจะมีในอนาคตมีหลายประเภทข้ึนอยู่กับการประยุกต์ใช้ นวตั กรรมในดา้ น ต่างๆ ซง่ึ จะขอแนะนานวตั กรรมการศกึ ษา 5 ประเภทดังน้ี 1. นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้อง ถิ่น และตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากข้ึน เน่ืองจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปล่ียนแปลงอยู่เสมอ เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก นวัตกรรมทางด้านหลักสูตรได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตรรายบุคคล หลักสูตร กจิ กรรมและประสบการณ์ และหลกั สูตรทอ้ งถ่นิ 2. นวัตกรรมการเรียนการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบ ใหม่ๆ ที่สามารถตอบสนองการเรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การพัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและ สนบั สนนุ การเรยี นการสอน 3. นวัตกรรมสื่อการสอน เน่ืองจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ เครือข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่านี้มาใช้ใน

7 การผลติ สื่อการ เรยี นการสอนใหมๆ่ จานวนมากมาย ท้ังการเรียนด้วยตนเอง การเรียนเป็นกลุ่ม และการเรียน แบบมวลชน ตลอดจนส่ือท่ใี ชเ้ พื่อสนับสนนุ การฝึกอบรมผา่ นเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ 4. นวัตกรรมทางดา้ นการประเมนิ ผล เป็นนวัตกรรมท่ีใช้เป็นเครื่องมือเพ่ือการวัดผลและประเมินผล ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ และทาได้อย่างรวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการ ประยุกตใ์ ชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอรม์ าสนบั สนนุ การวัดผล ประเมินผลของสถานศกึ ษา ครู อาจารย์ 5. นวัตกรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการ บริหาร จัดการ เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหารการศึกษา ให้มีความรวดเร็วทันเหตุการณ์ ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการ ฐานขอ้ มลู ในหนว่ ยงานสถานศึกษา การจาแนกนวตั กรรมตามประเภทของผูใ้ ช้ 1. นวัตกรรมท่เี ปน็ ส่อื สาหรับผู้สอน 2. นวัตกรรมทีเ่ ป็นส่ือสาหรบั ผ้เู รยี น จาแนกตามลกั ษณะของนวตั กรรม 1. เทคนคิ วิธกี าร 2. สือ่ การเรียนรู้จาแนกตามจุดเน้นของนวตั กรรม 1. นวตั กรรมการเรียนรู้ที่เนน้ ผลผลติ 2. นวตั กรรมการจัดการเรียนร้ทู ่เี นน้ เทคนคิ วิธกี าร และกระบวนการ 3. นวตั กรรมทเี่ น้นท้งั ผลผลติ นักการศึกษาได้แบ่งประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษาตามจุดเน้นของการพัฒนาการจัดการศึกษา หลายลักษณะ วุทธศิ กั ด์ิ โภชนกุ ูล (2550 : 8) อธบิ ายว่า นวตั กรรมทางการศึกษา แบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท คือ (1) นวตั กรรมทางด้านหลักสูตร เชน่ หลกั สูตรบูรณาการ หลักสตู รรายบคุ คล หลักสูตรกิจกรรม และประสบการณ์ หลักสูตรทอ้ งถ่นิ (2) นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เช่น การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่ม สัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต กระบวนการ สร้างความตระหนัก กระบวนการสร้างเจตคติ กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสืบสอบ กระบวนการสร้างทักษะการคิดคานวณ การสอนแบบศูนย์การเรียน การสอนแบบใช้ บทบาทสมมติ การสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง การเรียนแบบสัญญาการเรียน การเรียนเป็นคู่ การเรียนเพ่ือ รอบรู้ การเรียนแบบรว่ มมอื เป็นตน้ (3) นวัตกรรมส่ือการสอน เช่น Computer Assisted Instruction (CAI), Web-based Instruction (WBI) Web-based Training (WBT) Virtual Classroom (VC) Web Quest Web Blog บทเรียนสาเร็จรูป บทเรียนโมดูล บทเรียนออนไลน์ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ชุดการสอน จุลบท ชุดส่ือประสม วดี ิทศั น์ สไลดป์ ระกอบเสยี ง แผน่ โปร่งใส บตั รการเรยี นรู้ บตั รกจิ กรรม แบบฝึกทักษะ เกม เพลง เปน็ ตน้ (4) นวัตกรรมการประเมินผล เช่น การพัฒนาคลังข้อสอบ การลงทะเบียนผ่านทางเครือข่าย คอมพวิ เตอร์และอนิ เทอรเ์ น็ต การใช้บัตรสมาร์ทการ์ดเพ่ือการใช้บริการของสถาบันศึกษา การใช้คอมพิวเตอร์ ในการตดั เกรด (5) นวัตกรรมการบริหารจัดการ เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์ และบุคลากร ในสถานศกึ ษา ดา้ นการเงิน บัญชี พสั ดุ และครุภัณฑ์

8 มหาวิทยาลัยรงั สติ (2549 : 1) กล่าวว่า นวัตกรรมทางการศึกษาด้านการจัดการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอน สร้างหรอื พฒั นาขึ้นเพือ่ พัฒนาหรอื ปรบั ปรุงแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้ แบง่ ได้ 2 ประเภท คอื (1) กิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้หรือเทคนิควิธีสอน (Instruction) เช่น บทเรียนสาเร็จรูป ชุดการเรยี นการสอน ชุดฝึก แบบฝกึ แผนการจดั การเรียนรู้ทเ่ี น้นรปู แบบการสอน, กจิ กรรมการเรยี นรู้, หรือ กระบวนการเรียนรู้ ชุดพฒั นาคณุ ลักษณะ เป็นตน้ (2) สื่อการเรียนรู้หรือสิ่งประดิษฐ์ (Invention) เช่น ส่ือประสม วีดิทัศน์ แบบจาลอง รปู ภาพ, แผ่นโปร่งใส, แผนภาพ เกมประดิษฐห์ รอื เกมฝึกทักษะ เป็นต้น สาหรับนวัตกรรมทางการศึกษาท่ีเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน แบ่งเป็น 2 ประเภทหลัก คือ ประเภทกิจกรรมการพัฒนาการเรียนรู้และเทคนิควิธีสอน (Learning and Instruction) และประเภทสื่อการเรียนร้หู รือส่ิงประดิษฐ์ (Invention) - กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา - กระบวนการพัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษา แบ่งเปน็ 3 ขนั้ ตอนหลัก คือ (1) การประดิษฐ์คิดค้น เป็นข้ันตอนการศึกษาสภาพปัญหาและการคิดค้นเพื่อกาหนดรูปแบบ นวตั กรรมที่ใชใ้ นการปรับปรุงแกไ้ ขปญั หา โดยพิจารณาความเป็นไปได้ตามหลักการทเี่ ก่ียวข้อง (2) การสร้างและพัฒนานวัตกรรม เป็นข้ันตอนการจัดทานวัตกรรมตามรูปแบบท่ีกาหนด จากขั้นตอนที่ 1 สาหรับวิธีพัฒนานวัตกรรมอาจทาได้หลายวิธี ซ่ึงวิธีท่ีได้รับความนิยมและได้รับความเช่ือถือ คือ การทดลองเพอื่ พิสจู น์ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรมในการแก้ปญั หาหรือพัฒนาคณุ ภาพการจัดการเรยี นรู้ (3) การยอมรับและนานวัตกรรมไปใช้ เป็นข้ันตอนการยอมรับนวัตกรรมท่ีได้สร้างและ พัฒนาข้ึน และนานวัตกรรมนั้นไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์และ สภาพแวดลอ้ มปกติ นวตั กรรมทางการศึกษาที่สาคญั ของไทยในปัจจุบนั (2546) นวัตกรรม เป็นความคิดหรือการกระทาใหม่ๆ ซ่ึงนักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญในแต่ละวงการจะมีการ คิดและทาส่ิงใหม่อยู่เสมอ ดังนั้นนวัตกรรมจึงเป็นส่ิงที่เกิดขึ้นใหม่ได้เรื่อยๆ ส่ิงใดที่คิดและทามานานแล้ว กถ็ ือว่าหมด “นวัตกรรม” หมายถึงความคดิ การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็น การพัฒนาดดั แปลงมาจากของเดิมทม่ี อี ยแู่ ลว้ ใหท้ ันสมัยและใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน เม่ือนา นวัตกรรมมาใช้จะช่วยให้ การทางานนัน้ ไดผ้ ลดีมีประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลสงู กว่าเดมิ ทง้ั ยงั ช่วย ประหยัดเวลาและแรงงานไดด้ ้วย “นวตั กรรม” (Innovation) มรี ากศพั ท์มาจาก innovare ในภาษาลาติน แปลว่า ทาสิ่งใหม่ข้ึนมา ความหมาย ของนวัตกรรมในเชิงเศรษฐศาสตร์คือ การนาแนวความคิดใหม่หรือการใช้ประโยชน์จากส่ิงท่ีมีอยู่แล้วมาใช้ใน รปู แบบใหม่ เพือ่ ทาให้เกิดประโยชน์ทางเศรษฐกิจ หรือก็คือ ”การทาในสิ่งท่ีแตกต่างจากคนอ่ืน โดยอาศัยการ เปล่ียนแปลงต่าง ๆ (Change) ที่เกิดขึ้นรอบตัวเราให้กลายมาเป็นโอกาส (Opportunity) และถ่ายทอดไปสู่ แนวความคิดใหม่ท่ีทาให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและสังคม” แนวความคิดน้ีได้ถูกพัฒนาขึ้นมาในช่วงต้น ศตวรรษที่ 20 โดยจะเห็นได้จากแนวคิดของนักเศรษฐอุตสาหกรรม เช่น ผลงานของ Joseph Schumpeter ใน The Theory of Economic Development,1934 โดยจะเน้นไปท่ีการสร้างสรรค์ การวิจัยและพัฒนา ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อันจะนาไปสู่การได้มาซึ่ง นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ( Technological Innovation) เพือ่ ประโยชนใ์ นเชิงพาณชิ ยเ์ ปน็ หลัก นวัตกรรมยังหมายถึงความสามารถในการเรียนรู้และนาไป ปฎิบตั ใิ ห้เกิดผลไดจ้ รงิ อีกด้วย (พนั ธอุ์ าจ ชยั รัตน์ , Xaap.com)

9 คาว่า “นวัตกรรม” เป็นคาท่ีค่อนข้างจะใหม่ในวงการศึกษาของไทย คานี้ เป็นศัพท์บัญญัติของ คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ มาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation มาจาก คากรยิ าวา่ innovate แปลว่า ทาใหม่ เปล่ียนแปลงให้เกิดส่ิงใหม่ ในภาษาไทยเดิมใช้คาว่า “นวกรรม” ต่อมา พบวา่ คานีม้ คี วามหมายคลาดเคล่ือน จึงเปล่ียนมาใช้คาว่า นวัตกรรม (อ่านว่า นะ วัด ตะ กา) หมายถึงการนา สิ่งใหม่ๆ เข้ามาเปลี่ยนแปลงเพ่ิมเติมจากวิธีการท่ีทาอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน ดังน้ันไม่ว่าวงการหรือ กจิ การใด ๆ ก็ตาม เมือ่ มกี ารนาเอาความเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ เข้ามาใชเ้ พือ่ ปรบั ปรุงงานให้ดีขึ้นกว่าเดิมก็เรียกได้ ว่าเป็นนวัตกรรม ของวงการน้ัน ๆ เช่นในวงการศึกษานาเอามาใช้ ก็เรียกว่า “นวัตกรรมการศึกษา” (Educational Innovation) สาหรับผู้ที่กระทา หรือนาความเปล่ียนแปลงใหม่ ๆ มาใช้นี้ เรียกว่าเป็น “นวตั กร” (Innovator) (boonpan edt01.htm) เปา้ หมายของเทคโนโลยกี ารศกึ ษา 1. การขยายพิสยั ของทรัพยากรของการเรียนรู้ กลา่ วคือ แหลง่ ทรพั ยากรการเรียนรู้ มไิ ด้หมายถึงแต่เพียง ตารา ครู และอุปกรณ์การสอน ที่โรงเรียนมีอยู่เท่าน้ัน แนวคิดทางเทคโนโลยีทางการศึกษา ต้องการ ให้ผู้เรียนมีโอกาสเรียนจากแหล่งความรู้ท่ีกว้างขวางออกไปอีก แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ครอบคลุม ถงึ เร่อื งตา่ งๆ เช่น o 1.1 คน คนเป็นแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ท่ีสาคัญซึ่งได้แก่ ครู และวิทยากรอ่ืน ซ่ึงอยู่นอก โรงเรียน เชน่ เกษตรกร ตารวจ บรุ ษุ ไปรษณยี ์ เป็นตน้ o 1.2 วัสดุและเครื่องมือ ได้แก่ โสตทัศนวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น ภาพยนตร์ วิทยุ โทรทัศน์ เครอ่ื งวดิ โี อเทป ของจริงของจาลองส่งิ พิมพ์ รวมไปถงึ การใช้ส่ือมวลชนตา่ งๆ o 1.3 เทคนิค-วิธีการ แต่เดิมนั้นการเรียนการสอนส่วนมาก ใช้วิธีให้ครูเป็นคนบอกเน้ือหา แก่ ผู้เรียนปัจจุบันน้ัน เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองได้มากที่สุด ครูเป็นเพียง ผวู้ างแผนแนะแนวทางเทา่ นั้น o 1.4 สถานที่ อันได้แก่ โรงเรียน ห้องปฏิบัติการทดลอง โรงฝึกงาน ไร่นา ฟาร์ม ที่ทาการ รัฐบาล ภเู ขา แมน่ า้ ทะเล หรอื สถานที่ใด ๆ ท่ีชว่ ยเพิ่มประสบการณท์ ดี่ ีแก่ผ้เู รยี นได้ 2. การเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตบุคคล ถึงแม้นักเรียนจะล้นช้ัน และกระจัดกระจาย ยากแก่การจัด การศึกษาตามความแตกต่างระหว่างบุคคลได้ นักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้พยายามคิด หาวิธี นาเอาระบบการเรียนแบบตัวต่อตัวมาใช้ แต่แทนท่ีจะใช้ครูสอนนักเรียนทีละคน เขาก็คิด ‘แบบเรียน โปรแกรม’ ซ่ึงทาหน้าท่ีสอน ซึ่งเหมือนกับครูมาสอน นักเรียนจะเรียนด้วยตนเอง จากแบบเรียนด้วย ตนเองในรปู แบบเรยี นเป็นเล่ม หรือเคร่ืองสอนหรอื ส่ือประสมหลายๆ อย่าง จะเรียนช้าหรือเร็วก็ทาได้ ตามความสามารถของผเู้ รียนแตล่ ะคน 3. การใช้วิธีวิเคราะห์ระบบในการศึกษา การใช้วิธีระบบ ในการปฏิบัติหรือแก้ปัญหา เป็นวิธีการที่เป็น วิทยาศาสตร์ ที่เช่ือถือได้ว่าจะสามารถแก้ปัญหา หรือช่วยให้งานบรรลุเป้าหมายได้ เน่ืองจาก กระบวนการของวิธีระบบ เป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบของงานหรือของระบบ อย่างมีเหตุผล หาทางให้ส่วนตา่ ง ๆ ของระบบทางาน ประสานสมั พนั ธ์กันอย่างมปี ระสิทธิภาพ

10 4. พัฒนาเครื่องมือ-วัสดุอุปกรณ์ทางการศึกษา วัสดุและเคร่ืองมือต่างๆ ท่ีใช้ในการศึกษา หรือการเรียน การสอนปัจจุบันจะต้องมีการพัฒนา ให้มีศักยภาพ หรือขีดความสามารถในการทางานให้สูงยิ่งข้ึนไป อีก กระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา แบง่ เป็น 3 ขัน้ ตอนหลกั คอื (1) การประดิษฐ์คิดค้น เป็นข้ันตอนการศึกษาสภาพปัญหาและการคิดค้นเพื่อกาหนดรูปแบบ นวัตกรรมที่ใช้ในการปรับปรุงแก้ไขปัญหา โดยพิจารณาความเป็นไปได้ตามหลักการท่ีเก่ียวข้อง (2) การสรา้ งและพัฒนานวัตกรรม เปน็ ขัน้ ตอนการจัดทานวัตกรรมตามรูปแบบที่กาหน จากข้ันตอน ท่ี 1 สาหรับวิธีพัฒนานวัตกรรมอาจทาได้หลายวิธี ซ่ึงวิธีท่ีได้รับความนิยมและได้รับความเช่ือถือ คือ การทดลองเพื่อพสิ จู น์ประสิทธิภาพของนวัตกรรมในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนาคุณภาพการจัดการเรยี นรู้ (3) การยอมรับและนานวัตกรรมไปใช้ เป็นข้ันตอนการยอมรับนวัตกรรมที่ได้สร้างและ พัฒนาข้ึน และนานวัตกรรมน้ันไปใช้ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ในสถานการณ์และ สภาพแวดล้อมปกติ 3. นวัตกรรมทางการศกึ ษาในยุคปัจจบุ นั นวตั กรรม เปน็ ความคดิ หรือการกระทาใหม่ๆ ซ่ึงนักวิชาการหรือผู้เช่ียวชาญในแต่ละวงการจะมีการ คดิ และทาสิ่งใหม่อยู่เสมอ ดังน้ัน นวัตกรรมจึงเป็นส่ิงท่ีเกิดข้ึนใหม่ได้เร่ือยๆ สิ่งใดท่ีคิดและทามานานแล้วก็ถือ ว่าหมดความเป็นนวัตกรรมไป โดยจะมีส่ิงใหม่มาแทน ในวงการศึกษาปัจจุบัน มีส่ิงท่ีเรียกว่า นวัตกรรมทาง การศึกษา หรอื นวัตกรรมการเรียนการสอน อยู่เป็นจานวนมาก บางอย่างเกิดข้ึนใหม่ บางอย่างมีการใช้มา หลายสิบปีแลว้ แต่กย็ งั คงถือวา่ เป็นนวตั กรรม เนือ่ งจากนวัตกรรมเหล่านน้ั ยังไมแ่ พรห่ ลายเป็นที่รู้จักท่ัวไปในวง การศึกษา ประเภทของการใช้นวตั กรรมการศกึ ษาในประเทศไทย ประเภทของนวัตกรรมการศึกษาพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้มีบทบัญญัติที่ เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา มาตราท่ีสาคัญ คือ มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพ่ือการศึกษา เพ่ือให้เกิดการใช้ท่ีคุ้มค่าและเหมาะสมกับ กระบวนการเรียนรขู้ องคนไทยและในมาตรา 22 \"การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาตนเองได้และถือว่า ผเู้ รียนมีความสาคญั ท่สี ดุ กระบวนการจดั การศกึ ษาตอ้ งส่งเสรมิ ใหผ้ ู้เรยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ตามศักยภาพ\" การดาเนินการปฏิรูปการศึกษาให้สาเร็จได้ตามท่ีระบุไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ดังกล่าว จาเป็นต้องทาการศึกษาวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการศึกษาใหม่ๆ ที่จะเข้ามาช่วยแก้ไข ปัญหาทางการศกึ ษาท้งั ในรูปแบบของการศึกษาวิจัย การทดลองและการประเมินผลนวัตกรรมหรือเทคโนโลยี ท่ีนามาใช้ว่ามีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด นวัตกรรมท่ีนามาใช้ทั้งที่ผ่านมาแล้วและที่จะมีในอนาคตมี หลายประเภทข้นึ อย่กู ับการประยกุ ตใ์ ชน้ วัตกรรมในด้านตา่ งๆ ในทน่ี ี้จะขอกล่าวคอื นวัตกรรม 5 ประเภท คือ 1. นวัตกรรมทางด้านหลกั สตู ร 2. นวตั กรรมการเรยี นการสอน

11 3. นวตั กรรมสือ่ การสอน 4. นวตั กรรมการประเมินผล 5. นวัตกรรมการบริหารจดั การ 1. นวัตกรรมทางดา้ นหลักสตู ร นวัตกรรมทางด้านหลักสูตร เป็นการใช้วิธีการใหม่ๆ ในการพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมในท้องถิ่นและตอบสนองความต้องการสอนบุคคลให้มากขึ้น เน่ืองจากหลักสูตรจะต้องมีการ เปลี่ยนแปลงอยู่เสมอเพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และของโลก นอกจากน้ีการพฒั นาหลกั สูตรยังมีความจาเป็นที่จะต้องอยู่บนฐานของแนวคิดทฤษฎีและปรัชญา ทางการจัดการสัมมนาอีกด้วย การพัฒนาหลักสูตรตามหลักการและวิธีการดังกล่าวต้องอาศัยแนวคิดและ วิธีการใหม่ๆ ที่เป็นนวัตกรรมการศึกษาเข้ามาช่วยเหลือจัดการให้เป็นไปในทิศทางท่ีต้องการ นวัตกรรม ทางดา้ นหลกั สตู รในประเทศไทย ไดแ้ ก่ การพฒั นาหลักสูตรดังต่อไปน้ี 1.หลักสตู รบรู ณาการ เป็นการบูรณาการส่วนประกอบของหลักสูตรเข้าด้วยกันทางด้านวิทยาการใน สาขาต่างๆ การศึกษาทางด้านจริยธรรมและสังคม โดยมุ่งให้ผู้เรียนเป็นคนดีสามารถใช้ประโยชน์จากองค์ ความรใู้ นสาขาตา่ งๆ ใหส้ อดคล้องกบั สภาพสังคมอยา่ งมีจรยิ ธรรม 2.หลกั สูตรรายบุคคล เป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการศึกษาตามอัตภาพ เพื่อตอบสนอง แนวความคิดในการจัดการศึกษารายบุคคล ซึ่งจะต้องออกแบบระบบเพื่อรองรับความก้าวหน้าของเทคโนโลยี ด้านต่างๆ 3.หลักสูตรกิจกรรมและประสบการณ์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้น กระบวนการในการจัดกิจกรรมและ ประสบการณ์ให้กับผู้เรียนเพ่ือนาไปสู่ความสาเร็จ เช่น กิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียน ประสบการณ์การเรยี นร้จู ากการสบื ค้นดว้ ยตนเอง เป็นตน้ 4.หลักสูตรท้องถ่ิน เป็นการพัฒนาหลักสูตรท่ีต้องการกระจายการบริหารจัดการออกสู่ท้องถ่ิน เพ่ือให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมสิ่งแวดล้อมและความเป็นอยู่ของประชาชนท่ีมีอยู่ในแต่ละท้องถ่ิน แทนที่ หลักสูตรในแบบเดมิ ท่ใี ชว้ ิธกี ารรวมศนู ย์การพฒั นาอย่ใู นส่วนกลาง 2.นวตั กรรมการเรยี นการสอน เป็นการใช้วิธีระบบในการปรับปรุงและคิดค้นพัฒนาวิธีสอนแบบใหม่ๆ ท่ีสามารถตอบสนองการ เรียนรายบุคคล การสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบแก้ปัญหา การ พัฒนาวิธีสอนจาเป็นต้องอาศัยวิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน ตัวอยา่ งนวตั กรรมท่ใี ช้ในการเรยี นการสอน ได้แก่ การสอนแบบศนู ย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรียนร้รู ว่ มกัน และการเรยี นผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอนิ เทอรเ์ นต็ การวจิ ยั ในช้ันเรียน ฯลฯ 3.นวตั กรรมส่ือการสอน เนื่องจากมีความก้าวหน้าของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครือข่ายและเทคโนโลยี โทรคมนาคม ทาให้นักการศึกษาพยายามนาศักยภาพของเทคโนโลยีเหล่าน้ีมาใช้ในการผลิตสื่อการเรียนการ สอนใหม่ๆ จานวนมากมาย ทั้งการเรียนด้วยตนเองการเรียนเป็นกลุ่มและการเรียนแบบมวลชน ตลอดจนส่ือท่ี ใช้เพือ่ สนับสนุนการฝกึ อบรม ผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอรต์ ัวอยา่ ง นวตั กรรมส่อื การสอน ไดแ้ ก่ - คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน (CAI) - มลั ตมิ ีเดยี (Multimedia)

12 - การประชมุ ทางไกล (Teleconference) - ชุดการสอน (Instructional Module) - วีดีทัศน์แบบมปี ฏิสัมพันธ์ (Interactive Video) 4.นวัตกรรมทางด้านการประเมนิ ผล เป็นนวตั กรรมทใี่ ชเ้ ปน็ เคร่ืองมอื เพอื่ การวดั ผลและประเมินผลได้อย่างมีประสิทธิภาพและทาได้อย่าง รวดเร็ว รวมไปถึงการวิจัยทางการศึกษา การวิจัยสถาบัน ด้วยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มา สนับสนนุ การวัดผล ประเมินผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์ ตัวอย่าง นวตั กรรมทางดา้ นการประเมินผล ได้แก่ - การพฒั นาคลังขอ้ สอบ - การลงทะเบียนผ่านทางเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ และอนิ เตอร์เน็ต - การใช้บัตรสมารท์ การ์ด เพ่อื การใช้บริการของสถาบันศกึ ษา - การใช้คอมพวิ เตอร์ในการตัดเกรด - ฯลฯ 5.นวตั กรรมการบริหารจัดการ เป็นการใช้นวัตกรรมที่เก่ียวข้องกับการใช้สารสนเทศมาช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือการ ตัดสินใจ ของผู้บรหิ ารการศกึ ษาให้มีความรวดเรว็ ทนั เหตุการณ์ ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของโลก นวัตกรรมการศึกษาท่ีนามาใช้ทางด้านการบริหารจะเก่ียวข้องกับระบบการจัดการฐานข้อมูลใน หน่วยงานสถานศึกษา เช่น ฐานข้อมูล นักเรียน นักศึกษา ฐานข้อมูล คณะอาจารย์และบุคลากร ใน สถานศึกษา ด้านการเงิน บัญชี พัสดุ และครุภัณฑ์ ฐานข้อมูลเหล่านี้ต้องการออกระบบท่ีสมบูรณ์มีความ ปลอดภัยของข้อมลู สูง นอกจากน้ียังมีความเก่ียวข้องกับสารสนเทศภายนอกหน่วยงาน เช่น ระเบียบปฏิบัติ กฎหมาย พระราชบญั ญตั ิ ทเ่ี กีย่ วกบั การจดั การศึกษา ซึ่งจะต้องมีการอบรม เก็บรักษาและออกแบบระบบการสืบค้นที่ดี พอซ่งึ ผ้บู รหิ ารสามารถสืบคน้ ขอ้ มลู มาใช้งานได้ทันทีตลอดเวลา การใช้นวัตกรรมแต่ละด้านอาจมีการผสมผสานที่ซ้อนทับกันในบางเรื่อง ซึ่งจาเป็นต้องมีการพัฒนาร่วมกันไป พร้อมๆ กันหลายด้าน การพัฒนาฐานข้อมูลอาจต้องทาเป็นกลุ่มเพื่อให้สามารถนามาใช้ร่วมกันได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ นวัตกรรมทางการศึกษาต่างๆ ที่กล่าวถึงกันมากในปัจจบุ ัน e-Learning หมายถึง การเรียนทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Learning รูปแบบการเรียนการสอน ซ่ึงใช้การถ่ายทอดเน้ือหา(delivery methods) ผ่านทางอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็น คอมพิวเตอร์ เครือข่ายอินเทอร์เน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน์ หรือ สัญญาณดาวเทียม และใช้ รูปแบบการนาเสนอเนื้อหาสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ ซ่ึงอาจอยู่ในรูปแบบการเรียนที่เราคุ้นเคยกันมา พอสมควร เช่น คอมพิวเตอร์ช่วยสอน(Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน์ (On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียม หรืออาจอยู่ในลักษณะ ทีย่ ังไม่คอ่ ยเปน็ ทแ่ี พร่หลายนัก เช่น การเรยี นจากวิดีทศั น์ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เป็นตน้ อย่างไรก็ดี ในปัจจุบัน เม่ือกล่าวถึง e-Learning คนส่วนใหญ่จะหมายเฉพาะถึง การเรียนเนื้อหา หรือสารสนเทศซ่ึงออกแบบมาสาหรับการสอนหรือการอบรม ซ่ึงใช้เทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการถ่ายทอดเนอื้ หา และเทคโนโลยีระบบการบริหารจดั การการเรียนรู้ (Learning Management System)

13 ในการบริหารจัดการการเรียนรู้ของผู้เรียนและงานสอนด้านต่างๆ โดยผู้เรียนที่เรียนจาก e-Learning นี้ สามารถศึกษาเน้ือหาในลักษณะออนไลน์ นอกจากน้ี เนื้อหาสารสนเทศของ e-Learning จะถูกนาเสนอโดย อาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และเทคโนโลยีเชิงโต้ตอบ (Interactive Technology)จากความหมายที่คนส่วนใหญ่นิยาม e-Learning น้ัน จาเป็นต้องทาความเข้าใจให้ชัดเจนว่า e-Learningไม่ใช่เพียงแค่การสอนในลักษณะเดิม ๆ และนาเอกสารการสอนมาแปลงให้อยู่ในรูปดิจิตัล และ นาไปวางไว้บนเว็บ หรือระบบบริหารจัดการการเรียนรู้เท่านั้น แต่ครอบคลุมถึง กระบวนการในการเรียนการ สอน หรือการอบรมที่ใช้เคร่ืองมือทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือให้เกิดความยืดหยุ่นทางการเรียนรู้ (flexible learning) สนับสนุนการเรียนรู้ในลักษณะท่ีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (learner-centered) และการ เรียนในลักษณะตลอดชีวิต (life-long learning) ซึ่งอาศัยการเปล่ียนแปลงด้านกระบวนทัศน์ (paradigm shift) ของท้ังกระบวนการในการเรียนการสอนด้วย นอกจากนี้ e-Learning ไม่จาเป็นต้องเป็นการเรียน ทางไกลเสมอ คณาจารย์สามารถนาไปใช้ในลักษณะการผสมผสาน (blended) กับการสอนในชัน้ เรียนได้ ลกั ษณะสาคัญของ e-Learning ท่ีดี ควรจะประกอบไปด้วยลักษณะสาคัญ 4 ประการ ดงั น้ี 1. ทุกเวลาทุกสถานที่ (Anywhere, Anytime) หมายถึง e-Learning ควรต้องช่วยขยายโอกาสใน การเข้าถงึ เนอื้ หาการเรียนรูข้ องผู้เรียนได้จริง ในที่น้ีหมายรวมถึง การที่ผู้เรียนสามารถเรียกดูเนื้อหาตามความ สะดวกของผเู้ รียน เชน่ ผู้เรียนมีการเขา้ ถึงเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ท่เี ชอ่ื มต่อกับเครือขา่ ยได้อย่างยดื หย่นุ 2. มัลติมีเดีย (Multimedia) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนาเสนอเนื้อหาโดยใช้ประโยชน์ จากส่ือประสมเพ่ือช่วยในการประมวลผลสารสนเทศของผู้เรียนเพ่ือให้เกิดความคงทนในการจดจาและ/หรือ การเรียนรไู้ ด้ดขี ้นึ 3. การเชื่อมโยง (Non-linear) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการนาเสนอเน้ือหาในลักษณะท่ีไม่ เป็นเชิงเส้นตรง กล่าวคือ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาตามความต้องการ โดย e-Learning จะต้องจัดหาการ เชื่อมโยงที่ยืดหยุ่นแก่ผู้เรียน นอกจากนี้ยังหมายถึงการออกแบบให้ผู้เรียนสามารถเรียนได้ตามจังหวะ(pace) การเรยี นของตนเองดว้ ย เชน่ ผู้เรียนที่เรียนช้าสามารถเลือกเนื้อหาที่ต้องการเรียนซ้าได้บ่อยคร้ังผู้เรียนที่เรียน ดสี ามารถเลือกทีจ่ ะข้ามไปเรียนในเนือ้ หาท่ีต้องการไดโ้ ดยสะดวก 4. การโต้ตอบ (Interaction) หมายถึง e-Learning ควรต้องมีการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนโต้ตอบ(มี ปฏสิ มั พันธ)์ กับเนอื้ หา หรือกบั ผอู้ นื่ ได้ กล่าวคอื 1) e-Learning ควรต้องมีการออกแบบกิจกรรมซ่ึงผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับเนื้อหา (InteractiveActivities) รวมทั้งมีการจัดเตรียมแบบฝึกหัดและแบบทดสอบให้ผู้เรียนสามารถตรวจสอบความ เข้าใจดว้ ยตนเองได้ 2) e-Learning ควรต้องมีการจัดหาเคร่ืองมือในการให้ช่องทางแก่ผู้เรียนในการติดต่อสื่อสาร (Collaboration Tools) เพื่อการปรึกษา อภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็นกับผู้สอน วิทยากรผู้เช่ียวชาญ หรือเพื่อน ๆ ร่วมช้ันเรียนโดยในส่วนของการโต้ตอบนี้ จะต้องคานึงถึงการให้ผลป้อนกลับท่ีทันต่อเหตุการณ์ (ImmediateResponse) ซึ่งอาจหมายถึง การท่ีผู้สอนต้องเข้ามาตอบคาถามหรือให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียนอย่าง สม่าเสมอและทันเหตุการณ์ รวมถึง การท่ี e-Learning ควรต้องมีการออกแบบให้มีการทดสอบ การวัดผล และการประเมนิ ผล ซง่ึ สามารถให้ผลป้อนกลับโดยทันทีแก่ผู้เรียน ไม่ว่าจะอยู่ในลักษณะของแบบทดสอบก่อน เรียน (pre-test) หรอื แบบทดสอบหลงั เรยี น (posttest) กต็ าม

14 องค์ประกอบของ e-Learning (Component of e-Learning) 1. เนื้อหา (Content) เนื้อหาเป็นองค์ประกอบสาคัญท่ีสุดสาหรับ e-Learning คุณภาพของการ เรียนการสอนของ e-Learningและการที่ผู้เรียนจะบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนในลักษณะนี้หรือไม่อย่างไร ส่ิง สาคัญท่ีสุดกค็ ือ เน้ือหาการเรียนซึ่งผู้สอนได้จัดหาให้แก่ผู้เรียน ซึ่งผู้เรียนมีหน้าท่ีในการใช้เวลาส่วนใหญ่ศึกษา เนื้อหาด้วยตนเอง เพ่ือทาการปรับเปลี่ยน (convert) เน้ือหาสารสนเทศที่ผู้สอนเตรียมไว้ให้เกิดเป็นความรู้ โดยผ่านการคิดค้น วิเคราะห์อย่างมีหลักการและเหตุผลด้วยตัวของผู้เรียนเอง คาว่า “เนื้อหา” ในองค์ประกอบแรกของ e-Learning นี้ ไม่ได้จากัดเฉพาะสื่อการสอน และ/หรือ คอร์สแวร์ เท่าน้ัน แต่ยัง หมายถงึ สว่ นประกอบสาคญั อนื่ ๆ ท่ี e-Learning จาเป็นจะตอ้ งมเี พือ่ ให้เนอื้ หามคี วามสมบูรณ์ เช่น คาแนะนา การเรยี น ประกาศสาคัญตา่ ง ๆ ผลปอ้ นกลับของผ้สู อน เป็นต้น 2. ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System) องค์ประกอบที่สาคัญมาก เช่นกันสาหรับ e-Learning ได้แก่ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ ซึ่งเป็นเสมือนระบบท่ีรวบรวมเคร่ืองมือซ่ึง ออกแบบไว้เพอื่ ใหค้ วามสะดวกแกผ่ ใู้ ช้ในการจัดการกับการเรียนการสอนออนไลน์นั่นเอง ซึ่งผู้ใช้ในที่น้ี แบ่งได้ เป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ผู้สอน (instructors) ผู้เรียน (students) ผู้ช่วยสอน(course manager) และผู้ท่ีจะเข้ามา ช่วยผู้สอนในการบริหารจัดการด้านเทคนิคต่าง ๆ (network administrator)ซ่ึงเคร่ืองมือและระดับของสิทธิ ในการเขา้ ใช้ทจี่ ัดหาไว้ให้ก็จะมีความแตกต่างกันไปตามแต่การใช้งานของแต่ละกลุ่ม ตามปรกติแล้ว เครื่องมือ ที่ระบบบรหิ ารจัดการการเรียนรตู้ อ้ งจัดหาไว้ให้กับผู้ใช้ ได้แก่ พื้นท่ีและเครื่องมือสาหรับการช่วยผู้เรียนในการ เตรียมเน้ือหาบทเรยี น พืน้ ท่ีและเคร่ืองมือสาหรับการทาแบบทดสอบ แบบสอบถาม การจัดการกับแฟ้มข้อมูล ตา่ ง ๆ นอกจากน้ีระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ที่สมบูรณ์จะจัดหาเคร่ืองมือในการติดต่อสื่อสารไว้สาหรับผู้ใช้ ระบบไม่ว่าจะเป็นในลักษณะของ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) เว็บบอร์ด(Web Board) หรือ แช็ท (Chat) บางระบบกย็ ังจัดหาองคป์ ระกอบพิเศษอื่น ๆ เพ่ืออานวยความสะดวกใหก้ ับผู้ใช้ อีกมากมาย เช่น การจดั ใหผ้ ใู้ ช้สามารถเขา้ ดูคะแนนการทดสอบ ดสู ถิตกิ ารเข้าใช้งานในระบบ การอนญุ าตให้ ผใู้ ชส้ รา้ งตารางการเรียน ปฏทิ ินการเรยี น เปน็ ตน้ 3. โหมดการติดต่อส่ือสาร (Modes of Communication) องค์ประกอบสาคัญของ e-Learning ท่ี ขาดไม่ได้อีกประการหนึ่ง ก็คือ การจัดให้ผู้เรียนสามารถติดต่อส่ือสารกับผู้สอน วิทยากร ผู้เช่ียวชาญอื่น ๆ รวมท้ังผู้เรียนด้วยกัน ในลักษณะท่ีหลากหลาย และสะดวกต่อผู้ใช้ กล่าวคือ มีเคร่ืองมือที่จัดหาไว้ให้ผู้เรียน ใช้ได้มากกว่า 1 รูปแบบ รวมท้ังเคร่ืองมือนั้นจะต้องมีความสะดวกในการใช้งาน (user-friendly) ด้วย ซ่ึง เครื่องมือที่ e-Learning ควรจัดหาให้ผเู้ รยี น ได้แก่ 3.1 การประชุมทางคอมพิวเตอร์ ในท่ีน้ี หมายถึง การประชุมทางคอมพิวเตอร์ทั้งในลักษณะ ของการติดต่อสื่อสารแบบต่างเวลา(Asynchronous) เช่น การแลกเปล่ียนข้อความผ่านทางกระดานข่าว อิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื ทีร่ ู้จักกันในชือ่ ของเวบ็ บอรด์ (Web Board) เปน็ ต้น หรือในลักษณะของการติดต่อส่ือสาร แบบเวลาเดียวกัน(Synchronous) เช่น การสนทนาออนไลน์ หรือท่ีคุ้นเคยกันดีในช่ือของ แช็ท (Chat) และ ICQ หรือ ในบางระบบ อาจจัดให้มีการถ่ายทอดสัญญาณภาพและเสียงสด (Live Broadcast / Videoconference) ผ่านทางเวบ็ เปน็ ต้น ในการนาไปใช้ดาเนินกจิ กรรมการเรียนการสอน ผู้สอนสามารถเปิด สมั มนาในหัวขอ้ ท่ีเกี่ยวข้องกับเน้ือหาในคอร์ส ซึ่งอาจอยู่ในรูปของการบรรยาย การสัมภาษณ์ผู้เช่ียวชาญ การ เปิดอภิปรายออนไลน์ เปน็ ตน้ 3.2 ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นองค์ประกอบสาคัญเพ่ือให้ ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้สอนหรือผู้เรียนอื่น ๆ ในลักษณะรายบุคคล การส่งงานและผลป้อนกลับให้ ผู้เรียน ผู้สอนสามารถให้คาแนะนาปรึกษาแก่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ท้ังน้ีเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความ

15 กระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนอย่างต่อเน่ือง ท้ังนี้ผู้สอนสามารถใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ใน การใหค้ วามคิดเห็นและผลปอ้ นกลบั ทีท่ ันตอ่ เหตกุ ารณ์ 4. แบบฝึกหัด/แบบทดสอบ องค์ประกอบสุดท้ายของ e-Learning แต่ไม่ได้มีความสาคัญน้อยท่ี สดุ แต่อยา่ งใด ได้แก่ การจัดให้ผู้เรียนได้มโี อกาสในการโต้ตอบกับเน้ือหาในรูปแบบของการทาแบบฝึกหัด และ แบบทดสอบความรู้ 4.1 การจัดให้มีแบบฝึกหัดสาหรับผู้เรียน เน้ือหาที่นาเสนอจาเป็นต้องมีการจัดหาแบบฝึกหัด สาหรับผู้เรียนเพ่ือตรวจสอบความเข้าใจไว้ด้วยเสมอ ท้ังนี้เพราะ e-Learning เป็นระบบการเรียนการสอนซึ่ง เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนเป็นสาคัญ ดังน้ันผู้เรียนจึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีแบบฝึกหัดเพ่ือการ ตรวจสอบวา่ ตนเข้าใจและรอบรใู้ นเรอ่ื งทศ่ี กึ ษาดว้ ยตนเองมาแลว้ เปน็ อย่างดหี รือไม่ อย่างไร การทาแบบฝึกหัด จะทาให้ผู้เรยี นทราบได้ว่าตนนน้ั พร้อมสาหรบั การทดสอบ การประเมนิ ผลแลว้ หรอื ไม่ 4.2 การจัดให้มีแบบทดสอบผู้เรียน แบบทดสอบสามารถอยู่ในรูปของแบบทดสอบก่อนเรียน ระหวา่ งเรียน หรือหลังเรียนก็ได้ สาหรับ e-Learning แลว้ ระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ทาให้ผู้สอนสามารถ สนับสนุนการออกข้อสอบของผู้สอนได้หลากหลายลักษณะ กล่าวคือ ผู้สอนสามารถออกแบบการประเมินผล ในลักษณะของ อัตนัย ปรนัย ถูกผิด การจับคู่ ฯลฯ นอกจากนี้ยังทาให้ผู้สอนมีความสะดวกสบายในการสอบ เพราะผู้สอนสามารถที่จะจัดทาข้อสอบในลักษณะคลังข้อสอบไว้เพื่อเลือกในการนากลับมาใช้ หรือปรับปรุง แก้ไขใหม่ได้อย่างง่ายดาย นอกจากน้ีในการคานวณและตัดเกรด ระบบ e-Learning ยังสามารถช่วยให้การ ประเมินผลผู้เรยี นเป็นไปได้อย่างสะดวก เนื่องจากระบบบริหารจัดการการเรียนรู้ จะช่วยทาให้การคิดคะแนน ผู้เรยี น การตัดเกรดผู้เรียนเป็นเร่ืองง่ายขึ้นเพราะระบบจะอนุญาตให้ผู้สอนเลือกได้ว่าต้องการท่ีจะประเมินผล ผู้เรียนในลักษณะใด เช่น อิงกลุ่ม อิงเกณฑ์ หรือใช้สถิติในการคิดคานวณในลักษณะใด เช่น การใช้ค่าเฉลี่ย ค่า T-Score เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถท่ีจะแสดงผลในรูปของกราฟได้อีกด้วย ข้อได้เปรียบ และข้อจากัด ของ e-Learning (advantage of e-Learning) ประโยชน์ที่ได้รบั จากการนา e-Learning ไปใชใ้ นการเรยี นการสอนมี ดงั นี้ 1. e-Learning ชว่ ยให้การจดั การเรยี นการสอนมีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขึน้ เพราะการถ่ายทอดเน้ือหา ผ่านทางมัลติมีเดียสามารถทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนจากส่ือข้อความเพียงอย่างเดียว หรือ จากการสอนภายในห้องเรียนของผู้สอนซ่ึงเน้นการบรรยายในลักษณะ Chalk and Talk แต่เพียงอย่างเดียว โดยไม่ใช้ส่ือใด ๆ ซึ่งเม่ือเปรียบเทียบกับ e-Learning ท่ีได้รับการออกแบบและผลิตมาอย่างมีระบบ e-Learning สามารถช่วยทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากกว่า ในเวลาท่ีเร็วกว่า นอกจากนี้ยังเป็นการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเป็นศูนย์กลางได้เป็นอย่างดี เพราะผู้สอนจะสามารถ ใช้ e-Learning ในการจัดการเรยี นการสอนทีล่ ดการบรรยาย (lecture)ได้ และสามารถใช้ e-Learning ในการ จัดการเรียนการสอนที่เน้นให้ผู้เรียนได้เป็นผู้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้ด้วยตนเอง (autonomous learning) ไดด้ ีย่งิ ข้นึ 2. e-Learning ช่วยทาให้ผู้สอนสามารถตรวจสอบความก้าวหน้าพฤติกรรมการเรียนของผู้เรียนได้ อย่างละเอียดและตลอดเวลา เนื่องจาก e-Learning มีการจัดหาเคร่ืองมือที่สามารถทาให้ผู้สอนติดตามการ เรยี นของผ้เู รยี นได้ 3. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองได้ เน่ืองจากการนาเอา เทคโนโลยี Hypermedia มาประยุกต์ใช้ ซ่ึงมีลักษณะการเช่ือมโยงข้อมูลไม่ว่าจะเป็นในรูปของข้อความ ภาพนิ่ง เสียงกราฟิก วิดีโอ ภาพเคล่ือนไหว ท่ีเกี่ยวเน่ืองกันเข้าไว้ด้วยกันในลักษณะท่ีไม่เป็นเชิงเส้น ( Non-

16 Linear) ทาให้ Hypermedia สามารถนาเสนอเนื้อหาในรูปแบบใยแมงมุมได้ ดังนั้นผู้เรียนจึงสามารถเข้าถึง ขอ้ มูลใดก่อนหรอื หลงั ก็ได้ โดยไม่ต้องเรยี งตามลาดบั และเกิดความสะดวกในการเข้าถึงของผู้เรียนอีกด้วย 4. e-Learning ช่วยทาให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามจังหวะของตน (Self-paced Learning) เน่อื งจากการนาเสนอเนือ้ หาในรูปแบบของ Hypermedia เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถควบคุมการเรียนรู้ของ ตนในด้านของลาดับการเรียนได้ (Sequence) ตามพื้นฐานความรู้ ความถนัด และความสนใจของตน นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถ ทดสอบทักษะตนเองก่อนเรียนได้ทาให้สามารถช้ีชัดจุดอ่อนของตน และเลือก เนอ้ื หาให้เข้ากับรูปแบบการเรยี นของตวั เอง เชน่ การเลือกเรยี นเน้ือหาเฉพาะบางส่วนท่ีต้องการทบทวนได้ โดย ไม่ต้องเรยี นในส่วนทีเ่ ขา้ ใจแลว้ ซึ่งถอื ว่าผ้เู รียนไดร้ บั อิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง จึงทาให้ผู้เรียนได้ เรยี นรตู้ ามจังหวะของตนเอง 5. e-Learning ช่วยทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน และกับเพื่อน ๆ ได้ เนื่องจาก e-Learning มีเครื่องมือต่าง ๆ มากมาย เช่น Chat Room, Web Board, E-mail เป็นต้น ที่เอื้อต่อการ โตต้ อบ (Interaction) ท่ีหลากหลาย และไมจ่ ากัดว่าจะต้องอยู่ในสถาบันการศึกษาเดียวกัน (Global Choice) นอกจากนั้น e-Learning ท่ีออกแบบมาเป็นอย่างดีจะเอ้ือให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนกับเนื้อหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ เชน่ การออกแบบเนื้อหาในลกั ษณะเกม หรอื การจาลอง เปน็ ต้น 6. e-Learning ช่วยส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ รวมท้ังเน้ือหาท่ีมีความทันสมัย และ ตอบสนองต่อเร่ืองราวต่าง ๆ ในปัจจุบันได้อย่างทันที เพราะการที่เน้ือหาการเรียนอยู่ในรูปของข้อความ อิเล็กทรอนิกส์ (Etext) ซ่ึงได้แก่ข้อความซ่ึงได้รับการจัดเก็บ ประมวลผล นาเสนอ และเผยแพร่ทาง คอมพิวเตอร์ทาให้มีข้อได้เปรียบสื่ออื่น ๆ หลายประการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงในด้านของความสามารถในการ ปรับปรุงเนื้อหาสารสนเทศให้ทันสมัยได้ตลอดเวลา การเข้าถึงข้อมูลท่ีต้องการด้วยความสะดวกและรวดเร็ว และความคงทนของข้อมลู 7. e-Learning ทาใหเ้ กดิ รปู แบบการเรียนที่สามารถจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนในวงกว้างข้ึน เพราะผู้เรียนท่ีใช้การเรียนลักษณะ e-Learning จะไม่มีข้อจากัดในด้านการเดินทางมาศึกษาในเวลาใดเวลา หน่ึงและสถานที่ใดสถานท่ีหน่ึง ดังนั้น e-Learning จึงสามารถนาไปใช้เพ่ือสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life- Long Learning) ได้ และยิ่งไปกว่าน้ันยังสามารถนา e-Learning ไปใช้เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่ขาด โอกาสทางการศึกษาในระดับต่าง ๆ ได้เป็นอย่างดี โดยผู้เรียนไม่ว่าจะอยู่ที่ใด ในเมือง หรือในชนบทสามารถ เข้ามาศึกษาเนอ้ื หาทไ่ี ดม้ าตรฐานเท่าเทียมกนั 8. e-Learning ทาให้สามารถลดต้นทุนในการจดั การศกึ ษาน้นั ๆ ได้ ในกรณีที่มีการจัดการเรียนการ สอนสาหรับผเู้ รยี นทมี่ จี านวนมาก และเปิดกว้างให้สถาบันอ่ืน ๆ หรือบุคคลท่ัวไปเข้ามาใช้ e-Learning ได้ ซ่ึง จะพบวา่ เมื่อต้นทุนการผลิต e-Learning เทา่ เดมิ แตป่ รมิ าณผเู้ รียนมปี รมิ าณเพม่ิ มากข้ึนหรอื ขยายวงกว้างการ ใช้ (Scalability) ออกไปก็เท่ากับเป็นการลดต้นทุนทางการศึกษานั่นเอง สามารถศึกษาประโยชน์ในการลด ต้นทุนของ e-Learning ได้จากรูปท่ี 6 ด้านล่าง ซ่ึงแสดงให้เห็นว่า เมื่อจานวนของผู้เรียนท่ีเข้ามาเรียนด้วย e - Learning มีจานวนมากขึ้น ๆ อัตราการลงทุนของการศึกษาจะมากข้ึนไม่มากนักและเป็นอัตราท่ีน้อยกว่า อัตราการลงทุนเมือ่ จดั การเรียนการสอนแบบปรกติ ข้อจากดั 1. ผู้สอนท่ีนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะของสื่อเสริม โดยไม่มีการปรับเปล่ียนวิธีการสอนเลย กล่าวคือ ผู้สอนยังคงใช้แต่วิธีการบรรยายในทุกเน้ือหา และสั่งให้ผู้เรียนไปทบทวนจาก e-Learning หาก e-Learning ไม่ได้ออกแบบใหจ้ งู ใจผู้เรียนแล้ว ผเู้ รยี นคงใช้อยู่พักเดียวก็เลิกไปเพราะไม่มีแรงจูงใจใด ๆ ในการ ใช้ e-Learning กจ็ ะกลายเปน็ การลงทนุ ทไี่ ม่คุ้มค่าแต่อย่างใด

17 2. ผู้สอนจะต้องเปลี่ยนบทบาทจากการเป็นผู้ให้ (impart) เน้ือหาแก่ผู้เรียน มาเป็น (facilitator) ผู้ช่วยเหลือและให้คาแนะนาต่าง ๆ แก่ผู้เรียน พร้อมไปกับการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง จาก e-Learning ท้ังน้ี หมายรวมถึง การที่ผู้สอนควรมีความพร้อมทางด้านทักษะคอมพิวเตอร์และรับผิดชอบ ต่อการสอนมีความใสใ่ จกบั ผู้เรยี นโดยไม่ทง้ิ ผู้เรยี น 3. การลงทุนในด้านของ e-Learning ต้องครอบคลุมถึงการจัดการให้ผู้สอนและผู้เรียนสามารถ เข้าถึงเนอ้ื หาและการตดิ ต่อสือ่ สารออนไลน์ได้สะดวก สาหรับ e-Learning แล้ว ผู้สอนหรือผู้เรียนท่ีใช้รูปแบบ การเรียนในลักษณะนี้จะต้องมีส่ิงอานวยความสะดวก (facilities) ต่าง ๆ ในการเรียนท่ีพร้อมเพรียงและมี ประสิทธิภาพ เช่น ผู้สอนและผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกับผู้อื่นได้ และสามารถเรียกดูเนื้อหาโดยเฉพาะ อย่างยิ่งในลักษณะมัลติมีเดีย ได้อย่างครบถ้วน ด้วยความเร็วพอสมควร เพราะหากปราศจากข้อได้เปรียบใน การติดต่อส่ือสารและการเข้าถึงเนื้อหาได้สะดวก รวมทั้งข้อได้เปรียบสื่ออ่ืน ๆ ในลักษณะในการนาเสนอ เน้ือหา เช่น มลั ตมิ เี ดยี แลว้ นั้นผ้เู รียนและผูส้ อนก็อาจไม่เหน็ ความจาเป็นใด ๆ ท่ตี อ้ งใช้ e-Learning 4. การออกแบบ e-Learning ที่ไม่เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียน เช่น ผู้เรียนระดับอุดมศึกษาใน บ้านเราซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในวัยรุ่น e-Learning จะต้องได้รับการออกแบบตามหลักจิตวิทยาการศึกษา กล่าวคือ จะต้องเนน้ ให้มีการออกแบบให้มีกิจกรรมโต้ตอบอยูต่ ลอดเวลา ไม่วา่ จะเป็นกบั เนอ้ื หาเอง กบั ผู้เรียนอ่ืน ๆ หรือ กับผู้สอนก็ตาม นอกจากน้ันแล้ว การออกแบบการนาเสนอเน้ือหาทางคอมพิวเตอร์ นอกจากจะต้องเน้นให้ เน้ือหามีความถูกต้องชัดเจน ยังคงจะต้องเน้นให้มีความน่าสนใจ สามารถดึงดูดความสนใจของผู้เรียนได้ ตัวอย่างเช่น การออกแบบนาเสนอโดยใช้มัลติมีเดีย รวมท้ัง การนาเสนอในลักษณะ non-linear ซ่ึงผู้เรียน สามารถเลอื กทีจ่ ะเรยี นเนอื้ หาก่อนหลงั ได้ตามความต้องการ 5. ในการท่ี e-Learning จะสง่ ผลตอ่ ประสิทธผิ ลของการเรียนร้ขู องผูเ้ รยี นได้นั้น ส่ิงสาคัญได้แก่ การ ที่ผเู้ รียนจะต้องรูจ้ ักวธิ กี ารเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง (self-Learning) อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงจาเป็นที่จะต้องมี การสนับสนุน และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการสร้างวินัยในการเรียนรู้ด้วยตนเอง (selfdiscipline)รวมท้ังตระหนักถึงความสาคัญในการสร้างเสริมลักษณะนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ รู้จักวิธีการ เลือกสรรประเมิน รวบรวมสารสนเทศ รวมทั้งรู้จักการจัดระเบียบ (organize) วิเคราะห์ สังเคราะห์ และการ นาเสนอสารสนเทศตามความเขา้ ใจของตนเอง ระดับของสอ่ื สาหรับ e-Learning (Level of media for e-Learning) สาหรบั e-Learning แล้ว การถ่ายทอดเนือ้ หาสามารถแบ่งได้เป็น 3 ลกั ษณะด้วยกัน กล่าวคือ 1. ระดับเน้นข้อความออนไลน์ (Text Online) หมายถึง เนื้อหาของ e-Learning ในระดับนี้จะอยู่ ในรปู ของขอ้ ความเปน็ หลัก e-Learning ในลักษณะนี้จะเหมือนกับการสอนบนเว็บ (WBI) ซึ่งเน้นเนื้อหาที่เป็น ข้อความ ตัวอักษรเป็นหลัก ซึ่งมีข้อดี ก็คือการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายในการผลิตเนื้อหาและการบริหาร จดั การการเรียนรู้ 2. ระดับรายวิชาออนไลน์เชิงโต้ตอบและประหยัด (Low Cost Interactive Online Course) หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยู่ในรูปของตัวอักษร ภาพ เสียง และวิดีทัศน์ ท่ีผลิตขึ้นมา อย่างงา่ ย ๆ ประกอบการเรียนการสอน e-Learning ในระดบั หนงึ่ และสองน้ี ควรจะตอ้ งมีการพัฒนา LMS ท่ีดี เพอื่ ชว่ ยผใู้ ชใ้ นการสร้างและปรบั เน้อื หาใหท้ นั สมยั ได้อย่างสะดวกดว้ ยตนเอง 3. ระดับรายวิชาออนไลน์คุณภาพสูง (High Quality Online Course) หมายถึง เน้ือหาของ e-Learning ในระดับน้ีจะอยู่ในรูปของมัลติมีเดียที่มีลักษณะมืออาชีพ กล่าวคือ การผลิตต้องใช้ทีมงานในการ ผลิตที่ประกอบด้วย ผู้เชย่ี วชาญเนือ้ หา (content experts) ผเู้ ชีย่ วชาญการออกแบบการสอน (instructional designers) และ ผู้เช่ียวชาญการผลิตมลั ติมเี ดีย (multimedia experts) ซง่ึ หมายรวมถึง

18 โปรแกรมเมอร์ (programmers) นักออกแบบกราฟิก (graphic designers) และ/หรือผู้เช่ียวชาญในการผลิต แอนิเมชั่น (animation experts) e-Learning ในลักษณะน้ีจะต้องมีการใช้เคร่ืองมือ หรือโปรแกรมเฉพาะ เพ่ิมเติมสาหรับท้ังในการผลิตและเรียกดูเนื้อหาด้วย ตัวอย่างโปรแกรมในการผลิต เช่น Macromedia Flash และ ตัวอย่างโปรแกรมเรียกดูเนื้อหา เช่น โปรแกรม Macromedia Flash Player และ โปรแกรม Real Player Plusเป็นต้น ระดับของการนา e-Learning ไปใช้ในการเรียนการสอน การนา e-Learning ไปใช้ในการเรยี นการสอน สามารถทาได้ 3 ระดับ ดังน้ี 1. ใช้ e-Learning เป็นส่ือเสริม (Supplementary) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะ สื่อเสริม กล่าวคือ นอกจากเนื้อหาที่ปรากฏในลักษณะ e-Learning แล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษาเน้ือหา เดียวกันน้ีในลักษณะอ่ืน ๆ เช่น จากเอกสาร(ชีท) ประกอบการสอน จากวิดีทัศน์ (Videotape) ฯลฯ การใช้ e-Learning ในลักษณะน้ีเท่ากับว่าผู้สอนเพียงต้องการใช้ e-Learning เป็นอีกหนึ่งทางเลือกสาหรับผู้เรียนใน การเข้าถงึ เนือ้ หาเพอื่ ให้ประสบการณ์พเิ ศษเพิ่มเติมแก่ผู้เรยี นเท่าน้นั 2. ใช้ e-Learning เป็นสื่อเติม (Complementary) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะ เพ่มิ เติมจากวิธกี ารสอนในลักษณะอ่ืน ๆ เช่น นอกจากการบรรยายในห้องเรียนแล้ว ผู้สอนยังออกแบบเน้ือหา ให้ผู้เรียนเข้าไปศึกษาเนื้อหาเพ่ิมเติมจาก e-Learning โดยเน้ือหาท่ีผู้เรียนเรียนจาก e-Learning ผู้สอนไม่ จาเป็นต้องสอนซ้าอีก แต่สามารถใช้เวลาในชั้นเรียนในการอธิบายในเนื้อหาท่ีเข้าใจได้ยาก ค่อนข้างซับซ้อน หรอื เปน็ คาถามทีม่ ีความเข้าใจผดิ บอ่ ย ๆ นอกจากน้ี ยงั สามารถใช้เวลาในการทากิจกรรมทเี่ น้นให้ผู้เรียนได้เกิด การคิดวเิ คราะห์แทนได้ ในความคิดของผู้เขียนแล้วในมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของเรา เมื่อได้มีการลงทุนในการ นา e-Learning ไปใช้กับการเรียนการสอนแล้วอย่างน้อยควรต้ังวัตถุประสงค์ในลักษณะของสื่อเติม (Complementary) มากกว่าแค่เพียงเป็นสื่อเสริม(Supplementary) เพ่ือให้เกิดความคุ้มทุน นอกจากนี้อาจ ยังไม่เหมาะสมท่ีจะใช้ในลักษณะแทนท่ีผู้สอน (Replacement) ตัวอย่างการใช้ในลักษณะส่ือเติม เช่น ผู้สอน มอบหมายให้ผู้เรียนศึกษาเน้ือหาด้วยตนเองจาก e-Learning ในวัตถุประสงค์ใดวัตถุประสงค์หนึ่งก่อนหรือ หลงั การเข้าชนั้ เรียน รวมทั้ง ให้กาหนดกิจกรรมที่ทดสอบความเข้าใจของผู้เรียนในเนื้อหาดังกล่าวใน session การเรียนตามปรกติ เป็นต้น ท้ังนี้เพ่ือให้เหมาะสมกับลักษณะของผู้เรียนของเรา ซ่ึงยังต้องการคาแนะนาจาก ครูผู้สอน รวมทั้งการที่ผ้เู รยี นสว่ นใหญย่ งั ขาดการปลกู ฝังใหม้ คี วามใฝ่รูโ้ ดยธรรมชาติ 3. ใช้ e-Learning เป็นส่ือหลัก (Comprehensive Replacement) หมายถึงการนา e-Learning ไปใช้ในลักษณะแทนท่ีการบรรยายในห้องเรียน ผู้เรียนจะต้องศึกษาเนื้อหาทั้งหมดออนไลน์ และโต้ตอบกับ เพ่ือนและผู้เรียนอื่น ๆ ในชั้นเรียนผ่านทางเคร่ืองมือติดต่อส่ือสารต่าง ๆ ท่ี e- Learning จัดเตรียมไว้ ใน ปัจจุบันแนวคิดเกี่ยวกับการนา e-Learning ไปใช้ในต่างประเทศจะอยู่ในลักษณะlearning through technology ซ่ึงหมายถึง การเรียนรู้โดยมุ่งเน้นการเรียนในลักษณะมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น ผู้สอน ผู้เรียน และผู้เชี่ยวชาญอ่ืน ๆ (Collaborative Learning) โดยอาศัยเทคโนโลยีในการนาเสนอเน้ือหา และกิจกรรมต่าง ๆ ซ่ึงต้องการการโต้ตอบผ่านเคร่ืองมือสื่อสารตลอด โดยไม่เน้นทางด้านของการเรียนรู้ รายบุคคลผ่านสื่อ (courseware) มากนัก ในขณะท่ีในประเทศไทยการใช้ e-Learning ในลักษณะส่ือหลัก เช่นเดียวกับต่างประเทศนั้น จะอยู่ในวงจากัด แต่การใช้ส่วนใหญ่จะยังคงเป็นในลักษณะของ learning with technology ซ่ึงหมายถึง การใช้ e-Learning เป็นเสมือนเครื่องมือทางเลือกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความ กระตือรือร้น สนุกสนาน พรอ้ มไปกบั การเรียนรใู้ นช้ันเรียน m-Learning

19 m-Learningหรือ Mobile-Learning หลกั การกค็ อื ทาใหผ้ ู้เรียนสามารถทีจ่ ะนาเอาบทเรียนมาวางไว้ บนมือถือและเรียกดูได้ตลอดเวลาทุกที่ พร้อมทั้ง สามารถท่ีจะรับส่งข้อมูลได้เม่ือจาเป็นและมีสัญญาณจาก เครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากนั้น จะต้องสามารถทางานได้ทั้งสองทาง เปล่ียนแปลงบทเรียนส่งการบ้าน หรือวิเคราะห์คะแนนจาก แบบฝึกหัดได้เช่นกัน การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการ สอนที่อาศัยส่ือหลายๆชนิดผสมผสานกัน ตั้งแต่ด้านเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณ์ที่ เหมาะสมเพื่อสร้างรูปแบบการเรียนการสอนที่เหมาะสมสาหรับ กลุ่มเป้าหมาย Global learning บทเรียนใน รูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคล่ือนไหว ทาให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทาความเข้าใจ เป็นส่ือการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิต ระบบ Online Learning เป็นการเรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซึ่งจะนาเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และตวั อักษร ทาให้ บทเรียน มคี วามนา่ สนใจ และง่าย ตอ่ การทาความเข้าใจ เน่ืองจากผู้เรียน Online Learning สามารถเรียนรู้ทุกเรื่องราวได้ทุกท่ีทุกเวลา จึงทาให้ Online Learning เป็นสื่อการเรียนรู้ ออนไลน์ สมบูรณ์แบบท่ีสอดคล้องกับ ความต้องการและวิถีชีวิต Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน E-Learning จะเปล่ียนไปเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) เป็นผู้ฝึก (Coach) เป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) และเป็นพี่เลี้ยง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะท่ีบทบาทของผู้เรียนจะ เปล่ยี นแปลง m-Learning m-Learningหรอื Mobile-Learning หลักการก็คอื ทาใหผ้ ู้เรียนสามารถท่จี ะนาเอาบทเรียนมาวางไว้ บนมือถือและเรียกดูได้ตลอดเวลาทุกที่ พร้อมท้ัง สามารถท่ีจะรับส่งข้อมูลได้เม่ือจาเป็นและมีสัญญาณจาก เครือข่ายโทรคมนาคม นอกจากน้ัน จะต้องสามารถทางานได้ทั้งสองทาง เปล่ียนแปลงบทเรียนส่งการบ้าน หรือวิเคราะห์คะแนนจาก แบบฝึกหัดได้เช่นกัน การเรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) การเรียนการ สอนท่ีอาศัยส่ือหลายๆชนิดผสมผสานกัน ตั้งแต่ด้านเทคโนโลยี กิจกรรมการเรียนการ สอน และเหตุการณ์ท่ี เหมาะสมเพอ่ื สร้างรูปแบบการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมสาหรับ กลุ่มเป้าหมาย Global learning บทเรียนใน รูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ทาให้ น่าสนใจและง่ายต่อการทาความเข้าใจ เป็นส่ือการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการและวิถีชีวิต ระบบ Online Learning เป็นการเรียนรู้ด้วย ตนเองผ่านเทคโนโลยี Internet ซ่ึงจะนาเสนอ บทเรียน ในรูปแบบของการผสมผสานระหว่างวิดีโอ เสียง ภาพเคล่อื นไหว และตวั อักษร ทาให้ บทเรยี น มีความน่าสนใจ และงา่ ย ตอ่ การทาความเข้าใจ เนื่องจากผู้เรียน Online Learning สามารถเรียนรู้ทุกเร่ืองราวได้ทุกที่ทุกเวลา จึงทาให้ Online Learning เป็นส่ือการเรียนรู้ ออนไลน์ สมบูรณ์แบบท่ีสอดคล้องกับ ความต้องการและวิถีชีวิต Mentored learning บทบาทของผู้สอนใน E-Learning จะเปล่ียนไปเป็นผู้ให้คาแนะนา (Guide) เป็นผู้ฝึก (Coach) เป็นผู้อานวยความสะดวก (Facilitator) และเป็นพ่ีเลี้ยง (Mentor) ต่อกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน ในขณะที่บทบาทของผู้เรียนจะ เปล่ยี นแปลง ความหมายของ M – Learning การให้คาจากัดความของ Mobile Learning สามารถแยกพิจารณาได้เป็น 2 ส่วน จากราก ศัพท์ท่ี นามาประกอบกัน คอื 1. Mobile (Devices) หมายถือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หรือ โทรศัพท์มือถือ และเครื่องเล่น หรือ แสดงภาพทพ่ี กพาตดิ ตัวไปได้

20 2. Learning หมายถึงการเรยี นรู้ เป็นการเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมอนั เนือ่ งมาจากบุคคลปะทะ กับ ส่งิ แวดล้อมจงึ เกดิ ประสบการณ์ การเรยี นร้เู กิดขนึ้ ได้เม่ือมกี ารแสวงหาความรู้ การพฒั นาความรู้ ความสามารถ ของบุคคลให้มีประสิทธิภาพดีขึ้น รวมไปถึงกระบวนการสร้างความเข้าใจ และ ถ่ายทอดประสบการณ์ท่ีเป็น ประโยชน์ตอ่ บุคคล เม่ือพิจารณาจากความหมายของคาทั้งสองแล้วจะพบว่า Learning นั่นคือแก่นของM - learning เพราะเป็นการใช้เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ซ่ึงก็คล้ายกับ E – Learning ที่เป็นการใช้ เครอื ขา่ ยอินเทอร์เนต็ เพือ่ ใหเ้ กดิ การเรียนรู้ นอกจากนมี้ ผี ู้ใช้คานิยามของ M - Learning ดงั ตอ่ ไปน้ี ริว (Ryu, 2007) หัวหน้าศูนย์โมบายคอมพิวต้ิง (Centre for Mobile Computing) ท่ี มหาวทิ ยาลยั แมสซี่ เมืองโอ๊คแลนด์ ประเทศนิวซีแลนด์ ระบุว่า M- learning คือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่เกิดข้ึน เมอ่ื ผเู้ รยี นอยรู่ ะหวา่ งการเดินทาง ณ ทีใ่ ดกต็ าม และเม่ือใดกต็ าม เก็ดส์ (Geddes, 2006) ก็ให้ความหมายว่า M- learning คือการได้มาซ่ึงความรู้และทักษะผ่านทาง เทคโนโลยขี องเครื่องประเภทพกพา ณ ที่ใดกต็ าม และเม่ือใดก็ตาม ซง่ึ ส่งผลเกดิ การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม วัตสัน และไวท์ (Watson & White, 2006) ผู้เขียนรายงานเร่ือง M- learning ในการศึกษา (mLearning in Education) เน้นว่า M- learning หมายถึงการรวมกันของ 2 P คือ เป็นการเรียนจาก เคร่ือง สว่ นตัว (Personal) และเปน็ การเรียนจากเครอ่ื งที่พกพาได้ (Portable) การท%ี ดงั น้นั จะบทสรปุ ได้ว่า นวัตกรรมทางการศึกษา เป็นการนาแนวคิด วิธีการปฏิบัติ หรือส่ิงประดิษฐ์ท่ีได้รับการพัฒนาให้มี ความเหมาะสมและสอดคล้องกับการนามาใช้ในการจัดการศึกษาเพ่ือแก้ไขปัญหา เพิ่มประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล และกอ่ ใหเ้ กิดความสาเรจ็ สงู สดุ แกผ่ เู้ รียน โดยทั่วไป นวัตกรรมทางการศึกษาจัดแบ่งได้ 2 ระดับ คือ (1) ระดับหน่วยงานการศึกษา (หน่วยงานทางการศึกษา หรือ สถานศึกษา), (2) ระดับชั้นเรียน สาหรับนวัตกรรมทางการศึกษาที่เก่ียวกับ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในระดับชั้นเรียน แบ่งเป็น 2 ประเภทย่อย คือ ประเภทกิจกรรมการพัฒนาการ เรียนรู้และเทคนิควิธีสอน (Learning and Instruction) และประเภทส่ือการเรียนรู้หรือส่ิงประดิษฐ์ (Invention) ซึง่ ในปัจจบุ นั เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ีก้าวหน้าอย่าง ต่อเน่ืองส่งอิทธิพลอย่างเข้มข้นต่อการพัฒนานวัตกรรม นักการศึกษาและผู้ประกอบการทางการศึกษาจึง สรา้ งสรรค์นวตั กรรมเพือ่ ลดข้อจากัดในการเรียนรู้, สรา้ งโอกาสเข้าถึงแหล่งการเรียนรู้, และเพิ่มความสาเร็จใน การเรียนรู้ อาทิ โปรแกรมสร้างแบบทดสอบ (Online Test), โปรแกรมแปลงรูปภาพเป็นอักษร OCR (Optical Character Recognition), โปรแกรมการประชุมทางไกล (Video Conference), โปรแกรมควบคุม คอมพิวเตอร์ระยะไกล (Remote Desktop Connection), โปรแกรมจัดการเอกสารร่วมกัน (Collaboration Tools), ฯลฯ ซึ่งนวตั กรรมเหล่าน้ีลว้ นเป็นเครื่องมอื ทีช่ ว่ ยอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนอนั ทรงพลงั ทน่ี ักการศกึ ษาควรทาความรู้จักเพื่อนาไปปรับใช้ในการออกแบบนวัตกรรมทางการศึกษาและ อานวยความสะดวกในการเรียนรใู้ ห้กบั ผู้เรยี น

21 บรรณานกุ รม สคุ นธ์ สินธพานนท์. (2552). นวตั กรรมการเรยี นการสอน เพือ่ พัฒนาคณุ ภาพของเยาวชน. กรุงเทพ : เทคนิคพร้นิ ติ้ง เกริก ทว่ มกลาง. (2549). การพฒั นาสื่อ/นวัตกรรมทางการศกึ ษาเพอ่ื เล่อื นวิทยฐานะ. กรุงเทพ :สถาพรบุ๊คส์ นวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา. [ออนไลน]์ เข้าถึงได้จาก https://sites.google.com/site/ nwatkrrmkarsuksa/home/khna-phu-cad-tha (สืบคน้ วนั ท่ี 25 มกราคม 2565) นวตั กรรมการศกึ ษา. [ออนไลน]์ เข้าถึงได้จาก http://sukanya- neang.blogspot.com/2012/03/blog-post.html (สืบคน้ วนั ที่ 25 มกราคม 2565) ความหมายของ นวตั กรรมการศกึ ษาและเทคโนโลยที างการศกึ ษา. [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://info.muslimthaipost.com/main/index.php? page=sub&category=31&id=17734 (สืบค้นวนั ท่ี 25 มกราคม 2565) ส่ือ/นวัตกรรมทางการศึกษา. [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้จาก https://blog.eduzones.com/madamread/102978 (สบื ค้นวนั ท่ี 25 มกราคม 2565) นวตั กรรมทางการศึกษาทส่ี าคญั ของไทยในปจั จบุ ัน. [ออนไลน์] เขา้ ถงึ ไดจ้ าก http://www.oknation.net/blog/Apinya0936/2013/12/24/entry-3 (สบื ค้นวนั ที่ 25 มกราคม 2565) การนานวตั กรรมและเทคโนโลยีมาใช้สถานศึกษา. [ออนไลน์] เข้าถงึ ได้จาก http://suksandee. blogspot.com/2013/01/blog-post.html (สืบค้นวนั ท่ี 25 มกราคม 2565) ความหมายนวัตกรรม. [ออนไลน]์ เข้าถึงได้จาก http://salc.trang.psu.ac.th/index.php/14- 2013-06-06-06-30-05/2013-06-06-06-29-39/37-2013-06-06-06-43-27 (สืบคน้ วนั ที่ 25 มกราคม 2565) แนวความคดิ ทกี่ อ่ ใหเ้ กดิ นวัตกรรมการศึกษา. [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ได้จาก http://www.wachum.com/eBook/811201/doc3-2.html สบื ค้นวันท่ี 25 มกราคม 2565)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook