Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01 กฤษดา-เศรษฐศาสตร์-บรูไน

01 กฤษดา-เศรษฐศาสตร์-บรูไน

Published by กฤษดา จันปาม, 2020-02-13 01:13:21

Description: 01 กฤษดา-เศรษฐศาสตร์-บรูไน

Search

Read the Text Version

เรอ่ื ง ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศบรูไน เสนอ ครจู ันทนา ลยั วรรณา จดั ทาโดย นายกฤษดา จนั ปาม เลขท่ี 1 ปวช.2/1 คอมธรุ กจิ รายงานเล่มน้เี ป็นสว่ นหน่ึงของวชิ าเศรษฐศาสตรเ์ บ้ืองต้น 2200-1001 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบุรี

คานา มีเนอื้ หาเก่ยี วกบั เรื่อง ประเทศบรไู น ผู้จัดทาได้พยายามค้นควา้ ขอ้ มูลเก่ียวกับข้อมลู ของประเทศใน บรไู น เมอื งหลวง ดอกไม้ ภาษา ชดุ ประชากร การเมืองการปกครอง ศาสนาและความเช่ือ อาหาร เทศกาล แผนที่ และสกลุ เงิน ของประเทศไว้อย่างละเอียด ซึ่งรายงานฉบับนีเ้ ปน็ ส่วนหน่ึงของวิชา การสบื ค้น ขอ้ มูลทางอินเตอรเ์ นต็ กฤษดา จันปาม

สารบญั เรอ่ื ง หนา้ คานา ก สารบญั ข เมืองหลวง 1 อาหารประจาชาติ 2 ดอกไมป้ ระจาชาติ 3 สกุลเงิน 4 ภาษาประจาชาติ 5 ศาสนาและความเช่อื 6-7 การเมืองการปกครอง 8-9 เทศกาลสาคัญของบรูไน 10 ชดุ ประจาชาติ 11 แผนที่ของบรไู น 12 บรรณานุกรม 13

เมืองหลวง บนั ดารเ์ สรีเบกาวนั เปน็ เมืองหลวงและเมืองท่าทสี่ าคญั ของประเทศบรูไน อยู่ในเขตการปกครอง บรไู น-มอู ารา มีประชากรประมาณ 60000 คน เดิมชื่อวา่ เมืองบรูไน ภายหลงั เม่อื บรไู นพันจากการ คุ้มครองของอังกฤษแล้ว จงึ เปลยี่ นชอ่ื มาเป็น บนั ดาร์เสรเี บกาวนั

อาหารประจาชาติ อัมบยู ัต มลี กั ษณะเด่นคอื เหนยี วข้นคล้ายข้าวต้มหรอื โจ๊ก ไมม่ ีรสชาติ มีแป้งสาคเู ป็นสว่ นผสมหลัก วิธที าน จะใช้แทง่ ไม้ไผ่ 2 ขาซงึ่ เรียกวา่ chandas มว้ นแป้งรอบ ๆ แลว้ จุ่มในซอสผลไมเ้ ปร้ยี วท่ี เรียกว่า cacah หรือซอสทีเ่ รียกวา่ cencalu ซึง่ ทาจากกะปทิ านคู่กบั เคร่ืองเคียงอกี 2-3 ชนดิ เช่น เนอ้ื ห่อใบตองย่าง เนอ้ื ทอด เปน็ ตน้ การรับประทานอัมบยู ัตใหไ้ ด้รสชาตติ อ้ งทานรอ้ น ๆ และกลนื โดยไมต่ ้องเคย้ี ว

ดอกไมป้ ระจาชาติ ดอกซมิ ปอร์ ดอกไมป้ ระจาชาติบรไู น กค็ ือ ดอกซิมปอร์ หรือที่ร้จู กั กนั ในช่ือ ดอกสา้ นชะวา ดอกไม้ประจาทอ้ งถิน่ บรไู น ทม่ี ีกลบี ขนาดใหญ่สีเหลือง หากบานเตม็ ท่แี ลว้ กลีบดอกจะมีลกั ษณะ คลา้ ยร่ม พบเห็นได้ตามแม่นา้ ทั่วไปของบรไู น มีสรรพคุณชว่ ยรกั ษาบาดแผล หากใครแวะไปเยือน บรูไน จะพบเหน็ ไดจ้ ากธนบตั รใบละ 1 ดอลลาร์ ของประเทศบรูไน และในงานศลิ ปะพน้ื เมืองอีกดว้ ย

สกลุ เงนิ สกุลเงินของบรูไน-ดอลลารบ์ รไู น เงนิ ดอลลารบ์ รูไนมีค่าเทา่ กบั เงนิ ดอลลาร์สงิ คโปร์ โดยทางการประเทศบรไู นมกี ารออกธนบัตรท่มี ี มูลค่า 1,5,10,100,500,1000 และ 10,000 ดอลลาร์ มอี ัตราแลกเปล่ยี นราว 1.3 BND ต่อดอลลารส์ หรัฐหรือราว 1 BND ตอ่ 25 บาทไทย

ภาษาประจาชาติ ภาษามลายูบรไู น เป็นภาษาประจาชาติของประเทศบรูไนและเปน็ ภาษากลางในพืน้ ทบ่ี างส่วน ของมาเลเซียตะวันออก ภาษานไ้ี มใ่ ชภ่ าษาราชการของบรูไน (ซง่ึ ใช้ภาษามลายูมาตรฐานเปน็ ภาษา ราชการ) แต่มีบทบาทสาคัญในสังคมและกาลังแทนท่ีภาษาของชนกลมุ่ น้อยภาษาอ่ืน ๆ ภาษามลายู บรไู นมีผู้พดู ประมาณ 266,000 คน[1] พบในบรไู นประมาณ 215,000 คน (พ.ศ. 2527) ในบริเวณเมอื ง หลวงและตามแนวชายฝั่ง พบในประเทศมาเลเซยี ประมาณ 51,000 คน (พ.ศ. 2543) ในบริเวณ ชายฝง่ั ทางตอนเหนือ เบอไลต์บน และบริเวณแมน่ ้าตเู ตาของรัฐซาราวกั และในรัฐซาบะฮ์ ภาษามลายูบรไู นจัดอยูใ่ นตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน กลุ่มภาษามาเลโย-โปลนิ เี ซีย สาขามาเล โย-ซุมบาวา สาขายอ่ ยมาเลยกิ เชน่ เดยี วกบั ภาษามาเลเซยี และภาษาอนิ โดนีเซีย แตเ่ นอื่ งจากไดร้ บั อทิ ธิพลจากภาษาเกอดายันซึ่งเปน็ ภาษาของชนพนื้ เมืองกลุ่มหนึ่งในบรไู น จงึ มีคาศัพทห์ ลายคาที่ แตกต่างไปจากภาษามลายูมาตรฐาน

ศาสนาและความเชอ่ื ประเทศบรไู นมศี าสนาอสิ ลามเป็นศาสนาประจาชาติ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวมลายมู ุสลิม ทงั้ น้ีก่อนการเข้ามาของศาสนาอิสลาม ผคู้ นในดินแดนนมี้ ีความเชอ่ื ในสงิ่ ลลี้ ับเหนอื ธรรมชาติ มีการ บชู ายญั ดว้ ยสัตวท์ ่ีมีชีวิต ปัจจบุ นั บรไู นมีชาวมลายมู ุสลมิ นับถอื ศาสนาอสิ ลามนิกายซนุ นี (Sunni) ราว รอ้ ยละ 67 มีผ้นู บั ถอื พระพทุ ธศาสนาราวรอ้ ยละ 13 และผูน้ บั ถือศาสนาคริสต์ราวรอ้ ยละ 10 แมว้ า่ ศาสนาอสิ ลามจะเป็นศาสนาประจาชาติ แตช่ าวบรไู นสามารถเลอื กนับถอื ศาสนาใดกไ็ ดอ้ ยา่ งเสรี ขณะเดยี วกันนอกจากวันสาคญั ทางศาสนาอิสลามจะเปน็ วันหยดุ ราชการแลว้ วันคริสต์มาสของครสิ ต์ ศาสนายงั ถอื เป็นวันหยุดราชการด้วยเช่นกัน แต่อยา่ งไรกต็ ามเราไม่อาจปฏิเสธได้ว่าศาสนาอสิ ลาม ยังคงเป็นศาสนาท่ีมีบทบาทสงู ทสี่ ดุ ในบรไู น ถือเป็นส่วนหนึง่ ของปรชั ญาแห่งชาติ มอี ิทธิพลตอ่ การ ปกครอง กฏหมาย การศกึ ษา สถาปัตยกรรม และเทศกาลสาคญั ต่าง ดงั น้ันในหวั ขอ้ ความเชอื่ และ ศาสนาในบรไู นน้ีจงึ มงุ่ กล่าวถงึ ศาสนาอสิ ลาม เพือ่ ขยายความถึงการเข้ามาเผยแผแ่ ละอิทธิพลทย่ี ังคง อยู่ในปจั จุบนั ตามลาดับดงั ต่อไปนี้ การเขา้ มาและการเผยแพร่ศาสนา ศาสนาอสิ ลามเข้าสู่ดนิ แดนแห่งนีใ้ นปีใดไม่เปน็ ทแี่ น่ชดั หากแตจ่ ากบันทกึ ของจนี ในปคี .ศ.977 ชใ้ี ห้เห็นว่ากษตั ริยบ์ รไู นสง่ คณะทตู ไปยงั จีน โดยมีผนู้ าคณะเป็นมสุ ลิม นอกจากน้ีบันทกึ ของเขาจูกวั ไดบ้ รรยายว่า“ชาวจีนใช้เวลา 30-45 วนั เดนิ ทางจากแผ่นดินใหญม่ ายังบรูไน และตลอดครสิ ต์ศตวรรษ ที่ 15 ชาวจีนจานวนมากตั้งถิ่นฐานตลอดแนวชายฝง่ั แมน่ า้ คินาบาตันกันในบอร์เนียวเหนือ น้องสาว ของอองซมั ปิง ผปู้ กครองชาวจนี ไดแ้ ตง่ งานกับสลุ ต่านมฮุ ัมมัด(ค.ศ.1362-1402) เป็นสุลตา่ นองคแ์ รกที่ ยอมรับศาสนาอสิ ลามเขา้ สรู่ าชวงศ์บรไู น เปล่ียนพระนามจาก อะวงั อะลัก เบอตาตาร์ เป็นสุลต่าน มฮุ ัมหมัดชาห”์ จากบันทึกดงั กล่าวช้ใี หเ้ ห็นว่าศาสนาอิสลามอาจเข้าสูด่ นิ แดนแห่งนี้ตงั้ แตค่ รสิ ต์ศตวรรษท่ี 10 แต่มีหลักฐานชัดเจนเปน็ บันทกึ ของชาวจีนดงั ทีก่ ล่าวมาวา่ ในช่วงครสิ ต์ศตวรรษท่ี 15 ผ้ปู กครองได้ เปลย่ี นมารบั นบั ถอื ศาสนาอิสลามทั้งยังเปล่ยี นพระนามตามรูปแบบชาวมสุ ลิม ดว้ ยเหตนุ จี้ ึงทาใหบ้ รูไน ถกู เรยี กว่าเปน็ ประเทศ “ราชวงศแ์ ห่งอิสลามมาเลย์” มีองคส์ ุลต่านเปน็ ประมุขและปกครองดว้ ยระบบ การปกครองแบบอิสลาม ในช่วงนีเ้ ปน็ ช่วงท่เี รยี กว่า “ชว่ งแห่งสันตภิ าพและความสงบสุข” ประเทศน้ี จงึ ไดช้ ่อื วา่ “บรูไนดารุสซาลาม” อิทธิพลศาสนาอสิ ลามในปัจจบุ นั

1. เพ่อื ผลติ นกั ศึกษาทมี่ คี วามสามารถด้านวิชาครุศาสตร์อสิ ลามและอิสลามศกึ ษา 2. เพือ่ ปรับปรุงมาตรฐานการศกึ ษาศาสนาในประเทศ ภายใต้รปู แบบ อะหลิซุนฮฺ วลั ญา มาอะฮ และมซั ฮับชาฟีอีย์ ทัง้ ยงปรบั ปรงุ วิถีการดาเนินชวี ิตโดยยึดแนวความคดิ มลายู อิสลาม พระมหากษตั ริย์ 3. เพือ่ สนับสนนุ ใหม้ อี งคก์ รการวิจัยทางดา้ นอสิ ลามศึกษา สถาบนั ดงั กลา่ วสามารถแบ่งออกได้ เปน็ 3 แผนก คือ แผนกชารีอะฮุ แผนกอุศูลดุ ดนี (Usuluddin Studies) และแผนกภาษาอาหรบั เมอื่ สาเรจ็ การศกึ ษาสามารถเขา้ ศกึ ษาตอ่ ได้ท่ีมหาวิทยาลัยอลั -อัซฮรั ประเทศอยี ิปต์ ใน 3 คณะ คอื คณะ ชารีอะฮฺ อุศูลดุ ดนี และภาษาอาหรบั แตใ่ นปจั จุบนั สุลต่านฮัจญี ฮสั ซานัล โบลเกียห์ ไดท้ รงเหน็ ชอบ ใหม้ ีการเรยี นอิสลามศกึ ษาทงั้ ในระดบั ปรญิ ญาตรแี ละปรญิ ญาโท

การเมืองการปกครอง รฐั ธรรมนญู ปจั จุบนั ซึ่งแกไ้ ขล่าสุดเมอ่ื 1 มกราคม พ.ศ. 2527 กาหนดใหส้ ุลตา่ นทรงเป็น อธิปตั ย์ คือเปน็ ท้งั ประมุข นายกรฐั มนตรี และรัฐมนตรวี ่าการกระทรวงกลาโหม นายกรัฐมนตรีจะตอ้ ง เป็นชาวบรูไนเชอื้ สายมลายตู ั้งแต่กาเนิด และจะต้องเป็นมุสลมิ นิกายซนุ นีย่ ์ นอกจากน้ี บรไู นไมม่ สี ภา ทไ่ี ด้รบั เลือกจากประชาชน นโยบายหลักของบรไู น ไดแ้ ก่การสรา้ งความเป็นปกึ แผน่ ภายในชาติ และดารงความเป็นอิสระ ของประเทศ ทัง้ นี้ บรไู นมีทตี่ ัง้ ทถ่ี กู โอบลอ้ มโดยมาเลเซีย และมีอินโดนเี ซยี ซึง่ เป็นประเทศมุสลิมขนาด ใหญ่อยู่ทางใต้ บรูไนมคี วามสัมพนั ธ์ใกล้ชิดกับสงิ คโปร์ เนอื่ งจากมเี งือ่ นไขคล้ายคลึงกนั หลายประการ อาทิ เป็นประเทศเลก็ และมีอาณาเขตติดกบั ประเทศมุสลิมขนาดใหญ่ นับจากการพยายามยึดอานาจเม่ือปี พ.ศ. 2505 รัฐบาลได้ประกาศกฎอยั การศกึ ส่งผลให้ไม่มี การเลอื กตง้ั รวมท้ังบทบาทพรรคการเมอื งไดถ้ กู จากัดอย่างมาก จนปัจจบุ นั พรรคการเมือง ไดแ้ ก่ Parti Perpaduan Kebangsaan Brunei (PPKB) และ Parti Kesedaran Rakyat (PAKAR) ไมม่ ี บทบาทมากนกั เนื่องจากรฐั บาลควบคุมด้วยมาตรการตา่ ง ๆ อาทิ กฎหมายความม่ันคง ภายในประเทศ (Internal Security Act (ISA)) หา้ มการชมุ นุมทางการเมือง และสามารถถอดถอน การจดทะเบียนเป็นพรรคการเมอื งได้ ตลอดจนห้ามขา้ ราชการ (ซ่งึ มเี ป็นจานวนกว่าครึ่งของประชากร บรไู นทง้ั หมด) เปน็ สมาชกิ พรรคการเมอื ง นอกจากน้ี รฐั บาลเห็นวา่ พรรคการเมืองไมม่ ีความจาเปน็ เน่ืองจากประชาชนสามารถแสดงความคิดเหน็ หรือขอความช่วยเหลือจากข้าราชการของสลุ ต่านได้อยู่ แล้ว

เมอ่ื เดอื นกันยายน พ.ศ. 2547 ไดม้ ีการจัดการประชุมของสภาเปน็ ครง้ั แรก ต้ังแต่บรไู นประกาศ เอกราช

เทศกาลสาคญั ของบรูไน เมาลดิ เทศกาลเมาลดิ เป็นคานามเกี่ยวกบั เวลาและสถานท่ีซึ่งจะแปลความหมายเปน็ เวลา หรอื สถานที่นน้ั ยอ่ มข้นึ อยู่กับสว่ นขยายภายในประโยค ดงั นนั้ เมาลดิ หมายถงึ สถานที่เกดิ ของท่านน บีอย่างแนน่ อน นกั วชิ าการตา่ งมีความเหน็ ตรงกันวา่ นบมี ุฮมั หมัด เกดิ ในวันจันทร์เดือน รอบอี ลุ เอาวัล ปชี ้าง เพราะท่าน อิมามมสุ ลิมได้บันทึกหะดีษไว้ในหนังสอื ซอ่ เฮยี หของทา่ นจาก อบกี อตา ดะฮรฎิฯ วา่ ท่านร่อซูลศอ็ ลลลั ลอฮอุ ะลยั ฮวิ ะซัลลัม ถกู ถามเกยี่ วกบั การถอื ศีลอดในวันจนั ทร์ ทา่ น กล่าวว่า “น่นั คือวนั ทฉี่ นั เกดิ วันที่ฉันได้รบั การแตง่ ต้ังให้เปน็ นบี และเปน็ วนั ที่อลั กรอุ านได้ถกู ประทาน มายงั ฉัน” แตจ่ ะตรงกับวนั ท่เี ท่าไหร่นั้น นกั วชิ าการมีความเห็นแตกตา่ งกนั ท่านอิบนุอสิ หาก ผู้บันทึก ชีวประวตั ิของท่านนบคี นแรกมีความเหน็ วา่ ทา่ นนบีมุฮัมหมดั เกิดในวนั ที่ 12 เดอื นรอบอี ุลเอาวัล ทา่ นอบิ นุฮิชาม ไดร้ ายงานอยใู่ นหนังสือชวี ประวตั ขิ องท่านนบมี ฮุ มั หมดั ฮารรี ายอฯ บรูไน เทศกาลฮารีรายอฯ บรไู น สุลตา่ นเปิดพระราชวังใหป้ ระชาชนถวายพระพร สมเด็จพระราชาธิบดฮี ัสซานลั โบลเกียห์ สุลต่านแห่งบรไู นและพระชายาพรอ้ มดว้ ยพระราชวงศอ์ ่นื ๆ ทรงเปดิ ใหป้ ระชาชนเข้าถวายพระพรเนื่องในเทศกาลฉลองวันฮารรี ายอ อดี ลิ ฟิตรี โดยมปี ระชาชน นบั พันตลอดจนนักทอ่ งเท่ียวตา่ งชาติเดินทางเข้าเย่ียมชมพระราชวังและจบั มอื แลกเปลย่ี นทักทายกนั เนอื่ งในเทศการฮารรี ายอ ตัวเลขลา่ สุดท่ีประชาชนเข้าถวายพระพรและเย่ียมชมพระราชวงั ตลอดท้งั 3 วนั ของเทศกาลฮารีรายอมีมากกว่า 100,000 คนแลว้ สมเดจ็ พระราชาธบิ ดแี ละพระราชวงศท์ รงมพี ระ ราชปฏสิ ันถารและจบั มือกับประชาชนท่ีเขา้ ถวายพระพรและเย่ยี มชมพระราชวัง นอกจากประชาชน ชาวบรไู นที่เขา้ ถวาย พระพรแลว้ ยงั มคี ณะผู้แทนจากสิงคโปร์ นกั การทตู และชุมชนธุรกิจชาวจีนอกี ด้วย ฮารีรายออดี ิลฟิตรี เทศกาลฮารรี ายออดี ิลฟติ รี เป็นงานฉลองหลังจากการถอื ศลี อดในเดอื น รอมฏอน ซง่ึ เปน็ งานเฉลิมฉลองที่สาคญั ในรอบปีของชาวมุสลิม

ชุดประจาชาติ ชดุ ประจาชาติของบรไู นคล้ายกบั ชุดประจาชาตขิ องผ้ชู ายประเทศมาเลเซีย เรียกวา่ บาจู มลายู สว่ น ชุดของผหู้ ญิงเรยี กวา่ บาจูกุรงุ แตผ่ ้หู ญิงบรูไนจะแต่งกายดว้ ยเสื้อผ้าทม่ี ีสสี ันสดใส โดยมากมกั จะเปน็ เส้ือผ้าทค่ี ลุมร่างกาย ต้ังแตศ่ ีรษะจรดเทา้ ส่วนผู้ชายจะแต่งกายด้วยเส้ือแขนยาว ตัวเส้ือยาวถงึ เขา่ นงุ่ กางเกง ขายาวแล้วนงุ่ โสร่ง เป็นการสะท้อนวัฒนธรรมสงั คม แบบอนุรักษน์ ิยม เพราะบรไู นเป็น ประเทศมุสสมิ จึงตอ้ งแตง่ กายมดิ ชดิ และสุภาพเรียบรอ้ ย

แผนท่ขี องบรไู น

บรรณานกุ รม http://www.ethnologue.com/ www.ayutthaya.go.th https://sites.google.com › site › taewantaewan9 › meuxng-hlwng https://sites.google.com › site › foodofasean › prathes-bruni https://sites.google.com › site › xaseiynasean61 › skul-ngein-khxng-bruni https://th.wikipedia.org › wiki https://www.sac.or.th › databases › southeastasia › subject https://www.iam-tour.com › country_info https://sites.google.com › site › mnmasean › chud-praca-chati-bruni http://www.dooasia.com/info-brunei/


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook