Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อเสนอโครงการวิจัย

ข้อเสนอโครงการวิจัย

Published by Kawisara Nakaew, 2018-10-24 01:13:28

Description: ข้อเสนอโครงการวิจัย

Search

Read the Text Version

ข้อเสนอโครงการวจิ ยั (Research proposal)เรื่อง การพฒั นาความสามรถด้านการเขยี นสรุปความด้วยการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคดิ ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หวั ป้ อมนอก) จงั หวดั สงขลา นางสาวพมิ ภรณี ยกย่อง รหัสนักศึกษา 5806510042 นางสาวกวสิ รา ณะแก้ว รหสั นักศึกษา 5806510056 สาขาวชิ าภาษาไทย คณะศึกษาศาสตร์และศิลปะศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่

11. ช่ือเร่ืองวจิ ัย เร่ือง การพฒั นาความสามรถดา้ นการเขียนสรุปความดว้ ยการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงัความคิด ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หวั ป้ อมนอก) จงั หวดั สงขลา2. คณะผู้วจิ ัยนางสาวพมิ ภรณี ยกยอ่ ง รหสั นกั ศึกษา 5806510042 เบอร์โทรศพั ท์ 095-0196252นางสาวกวสิ รา ณะแกว้ รหสั นกั ศึกษา 5806510056 เบอร์โทรศพั ท์ 096-40855013. ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา ประเทศไทยมีภาษาไทยเป็ นภาษาประจาชาติเป็ นวฒั นธรรมเอกลกั ษณ์และมรดกที่คนไทยทุกคนภาคภูมิใจและยงั มีความสาคญั กบั วถิ ีชีวิตของคนไทยเป็ นอยา่ งมากสาหรับการติดต่อสื่อสารให้มีความรู้ความเข้าใจตรงกัน การส่ือความหมายถ่ายทอดความรู้ความคิดความเชื่อและประสบการณ์ตา่ งๆใชเ้ ป็นเคร่ืองมือพ้ืนฐานในการศึกษาวชิ าอื่นๆดว้ ยความสาคญั ดงั กล่าวคนไทยจึงจาเป็ นตอ้ งศึกษาภาษาไทยเพื่อใหม้ ีความรู้ทกั ษะความเขา้ ใจในภาษาไทยอยา่ งถูกตอ้ ง สามารถนาความรู้ทางภาษาไปใชไ้ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพการท่ีคนเราจะมีความรู้ความสามารถดงั กล่าวไดน้ ้นัจะตอ้ งไดร้ ับการฝึกฝนทกั ษะอยา่ งเพียงพอและตอ้ งเริ่มฝึ กฝนไปต้งั แต่ในวยั เด็ก กรมวิชาการ (2545: 7) ดงั น้นั คนไทยทุกคนจึงจาเป็นตอ้ งรู้จกั ใชภ้ าษาไทยเป็นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสาร อีกท้งั ตอ้ งช่วยกนั อนุรักษแ์ ละพฒั นาภาษาไทยใหด้ ารงอยคู่ ูก่ บั ความเป็นเอกราชของชาติตลอดไป (วรรณี โสมประยรู , 2547 : คานา) นอกจากน้ีการสอนวิชาภาษาไทยเป็ นปัจจยั อย่างหน่ึงที่มีความสาคญั ต่อการศึกษาเพ่ือพฒั นาตนเองและในการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนน้นั ครูเป็ นผทู้ ี่มีบทบาทสาคญัในการสอนให้นักเรียนใชภ้ าษาไทยในการส่ือสารไดถ้ ูกตอ้ งเพ่ือพฒั นาความรู้ความสามารถตามศกั ยภาพของแตล่ ะบุคคล ภาษาไทยเป็ นเอกลกั ษณ์ของชาติเป็ นสมบตั ิทางวฒั นธรรมอนั ก่อใหเ้ กิดความเป็ นเอกภาพและเสริมสร้างบุคลิกภาพของคนในชาติให้มีความเป็ นไทย เป็ นเคร่ืองมือในการติดต่อส่ือสารเพ่ือสร้างความเข้าใจและความสัมพนั ธ์ท่ีดีต่อกัน ทาให้สามารถประกอบกิจธุระ การงานและดารงชีวิตร่วมกนั ในสังคมประชาธิปไตยได้อยา่ งสันติสุข และเป็ นเครื่องมือในการแสวงหาความรู้ ประสบการณ์จากแหล่งขอ้ มูลสารสนเทศต่างๆ เพ่ือพฒั นาความรู้ พฒั นากระบวนการคิดวิเคราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรค์ให้ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนาไปใช้ในการพฒั นาอาชีพให้มีความมนั่ คงทางเศรษฐกิจ

2นอกจากน้ียงั เป็ นส่ือแสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรุษดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และสุนทรียภาพ เป็ นสมบตั ิล้าค่าควร แก่การเรียนรู้ อนุรักษ์ และสืบสานใหค้ งอยคู่ ูช่ าติไทยตลอดไป การสอนภาษาไทยในระดบั ประถมศึกษา มุ่งใหผ้ เู้ รียนมีทกั ษะท้งั 4 ดา้ นคือ การฟังการพดูการอ่านและการเขียน อย่างสัมพนั ธ์กนั เรียนรู้เรื่องต่าง ๆ อยา่ งมีประสิทธิภาพ จากคาอธิบายของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551การใชภ้ าษาเป็ นทกั ษะที่ผใู้ ชภ้ าษาตอ้ งฝึ กฝนให้เกิดความชานาญ ไม่ว่าจะเป็ นการอ่าน การเขียน การพูดการฟังและการดูส่ือต่าง ๆ ผูใ้ ช้ภาษาตอ้ งใช้ภาษาให้ถูกตอ้ งตามหลักเกณฑ์ของภาษาในการสื่อสารให้มีประสิทธิภาพและใช้คล่องแคล่วใช้ภาษาในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีเหตุมีผลและใช้ภาษาอย่างมีคุณธรรม และมีมารยาท การพฒั นาทกั ษะท้งั 4 น้ีเป็ นเร่ืองท่ีสาคญั แต่การเขียนสรุปความน้นั สาคญั ที่สุด การเขียนเป็ นการแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกและความตอ้ งการของผูส้ ่งสารออกไปเป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรเพ่ือให้ผูร้ ับสารสามารถอ่านเขา้ ใจไดร้ ับทราบความรู้ความคิด ความรู้สึก และความตอ้ งการเหล่าน้นั การถ่ายทอดโดยวิธีบอกเล่าปากต่อปาก หรือท่ีเรียกวา่ \" มุขปาฐะ \" อาจทาใหส้ ารตกหล่นหรือคลาดเคลื่อนไดง้ ่ายลายลกั ษณ์อกั ษรหรือท่ีตวั หนงั สือ ท่ีแทจ้ ริงคือเคร่ืองหมายที่ใชแ้ ทนคาพูดนนั่ เอง ในการเขียนภาษาไทย มีแบบแผนท่ีตอ้ งการรักษา มีถอ้ ยคาสานวนท่ีตอ้ งใชเ้ ฉพาะ และต้องเขียนใหแ้ จ่มแจง้ เพราะผอู้ ่านไม่สามารถไต่ถามผเู้ ขียนไดเ้ มื่ออ่านไม่เขา้ ใจผทู้ ี่จะเขียนใหไ้ ดด้ ี ตอ้ งใช้ถ้อยคาให้เหมาะสมกบผูร้ ับสาร โดยพิจารณาวาผูร้ ับสารสามารถรับสารท่ีส่งมาได้มากน้อยเพยี งใด การเขียนสรุปความเป็นทกั ษะที่มีความสาคญั ในการติดตอ่ สื่อสาร การทางาน การศึกษาหาความรู้ จึงสมควรที่จะปรับปรุงพฒั นาใหด้ ีข้ึนโดยครูผสู้ อน เพราะครูผสู้ อนน้นั มีบทบาทสาคญั ในการจดั การเรียนรู้ การพฒั นาทกั ษะดา้ นการเขียนให้มีประสิทธิภาพน้ันนับเป็ นภาระงานสอนท่ีสาคญั ของครู ครูจึงควรตอ้ งพฒั นาวิธีการจดั การเรียนรู้ดว้ ยการนานวตั กรรมทางการศึกษามาใช้ประกอบการเรียนการสอนเพ่ือใหบ้ รรลุผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายท่ีต้งั ไว้ สรวีย์ เคียนสันเทียะ (2545 : 1) ท่ีไดก้ ล่าวถึงความสาคญั ของการเขียนสรุปความวา่ การเขียนสรุปความมีความจาเป็ นต่อผเู้ รียนในการเรียนและการดารงชีวิตประจาวนั มกั เกี่ยวขอ้ งกบการวเิ คราะห์เรื่องราวท่ีไดย้ ินไดฟ้ ังเพ่ือประโยชน์ในการสื่อสารกบั บุคคลอ่ืน เน่ืองจากการส่ือสารในปัจจุบนั ตอ้ งการความรวดเร็วภาษาที่ใช้เขียนจึงตอ้ งมีความกระชบั แต่มีใจความ บนั ลือ พฤกษะวนั(2535 : 73) ที่ไดศ้ ึกษาปัญหาการสรุปความมีสาเหตุจากวิธีสอน ครูส่วนมากจะแนะนาให้อ่านขอ้ ความแลว้ ขีดเส้นใตใ้ จความสาคญั แลว้ รวมเป็ นวิธีการดงั กล่าวทาให้นกั เรียนขาดทกั ษะการใช้

3ภาษา การเรียบเรียงขอ้ ความและการลาดบั เร่ืองราวจึงไม่สามารถเขียนสรุปความได้ สุพิศ กล่ินบุบผา (2545 : 5) ไดศ้ ึกษาปัญหาที่ทาให้นกั เรียนมีความสามารถทางการเขียนต่าพบวา่ เกิดจาก สาเหตุ3 ประการ คือ สาเหตุจากตวั นกั เรียน พบวา นกั เรียนส่วนใหญ่ไม่ชอบทกั ษะการเขียน ไม่สนใจและไมม่ ีความคิดที่จะเขียน สาเหตุจากครูผสู้ อน พบวา่ ครูผสู้ อนขาดเทคนิคการสอน หรือขาดวิธีกระตุน้ใหน้ กั เรียนอยากเขียน ตวั ผสู้ อนเองขาดทกั ษะทางการเขียนและสาเหตุจากสื่อและวธิ ีสอน พบวา ครูใชส้ ื่อการสอนนอ้ ยและใชว้ ธิ ีสอนแบบเดิม ๆ คือ ใหน้ กั เรียน อา่ น ดูตวั อยา่ งแลว้ ปฏิบตั ิตาม การแก้ไขปัญหาดังกล่าวเป็ นหน้าท่ีโดยตรงของครู ครูควรนานวตั กรรมทางการศึกษาประเภทเทคนิคและวธิ ีการใหม่ ๆ มาจดั การเรียนรู้ การพฒั นาทกั ษะการเขียนดว้ ยแผนผงั ความคิดเป็นการถ่ายทอดความคิด หรือขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีมีอยใู่ นสมองลงกระดาษ โดยการใชภ้ าพ สี เส้น และการโยงใยแทนการจดยอแบบเดิมที่เป็ นบรรทดั ๆ เรียงจากบนลงล่างขณะเดียวกนั ก็ช่วยเป็ นส่ือนาขอ้ มูลจากภายนอก เช่น หนงั สือ คาบรรยาย การประชุม ส่งเขา้ สมองให้เก็บรักษาไวไ้ ดด้ ีกวาเดิมช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรคไ์ ดง้ ่ายเขา้ เปิ ดโอกาสให้สมองใหเ้ ชื่อมโยงต่อขอ้ มูลหรือ ความคิดตา่ ง ๆ เขา้ หากนไดง้ ่ายกวา่ ส่วนขอ้ ดีของการใชแ้ ผนผงั ความคิดในการเรียนการสอนน้นั สุพิศ กล่ินบุบผา (2545 : 9) กล่าวถึงแผนผงั ความคิดวา่ แผนผงั ความคิดช่วยประหยดั เวลาในการเรียนรู้เก่ียวกบการจดั กลุ่มเน้ือหา การปรับปรุงการระลึกการสร้างสมความคิดสร้างสรรค์ มีคุณค่าอยา่ งยงิ่ สาหรับการคิดไตร่ตรองและการเรียนรู้ แผนผงั ความคิดใช้ไดก้ บั ผเู้ รียนทุกระดบั อายุและทุกวิชา วุฒิชยัประสารสอย ( 2543 : 10-13) กล่าวถึงวาการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิด ช่วยให้ครูและผเู้ รียนร่วมกนั วเิ คราะห์สาระการเรียนรู้จนเกิดความกระจ่างในความคิดและสร้างขอ้ สรุปจากเน้ือหาโดยสร้างออกมาในรูปของความสัมพนั ธ์ความหมาย หรือแผนภูมิเน้ือหาหรือผงั สร้างความคิดรวบยอด ในรูปแบบของแผนภูมิกราฟิ กชนิดต่าง ๆ กบ จุติมา นาควรรณ ( 2544 : 109) ท่ีทาการวจิ ยัเร่ืองผลของการเขียนโดยใช้เทคนิคระดมสมองและแผนผงั ความคิดต่อความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 และพบวา่ นกั เรียนท่ีไดร้ ับการสอนเขียนโดยใช้เทคนิคระดมสมองและแผนผงั ความคิด คะแนนความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรคส์ ูงกวานกั เรียนที่ไดร้ ับการสอนตามปกติ อย่างมีนยั สาคญั ท่ีระดบั ่่ 0.05 Tony Buzan (1991 : 17)กล่าวถึงธรรมชาติของ แผนผงั ความคิด น้นั เช่ือมโยงอยา่ งแนบเนียนกบั การทางานของหวั คิด และยงั สามารถนาไปใชก้ บั แทบทุกกิจกรรมท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ความคิด การฟ้ื นความจาการวางแผนหรือการใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ อมรรัตน์ วศิ วแสวงสุข (2543 : 6) ใหท้ ศั นะวาการสรุปความหรือความคิดในรูปของแผนภูมิความหมาย เป็ นเคา้ โครงเรื่อง ก็จะเป็ นการฝึ กให้นกั เรียนเขียนสรุปใจความไดอ้ ีกทาง

4 จะเห็นไดว้ าสภาพการจดั การเรียนการสอนในทกั ษะการเขียนสรุปความเท่าที่ผา่ นมาแมว้ า่มีการใชเ้ ทคนิคที่วิธีการต่างๆหลากหลายวิธีมาใชส้ อน แต่ก็ยงั มีผลสะทอ้ นให้เห็นวา่ ผเู้ รียนยงั ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของการเขียนสรุปความ ผูเ้ รียนไม่สามารถจับประเด็นสาคัญและสาระสาคญั ของเร่ืองได้ ด้วยเหตุดงั กล่าวผูว้ ิจยั จึงสนใจที่จะพฒั นาการทกั ษะด้านการเขียนสรุปความ เพราะทกั ษะการเขียนสรุปความน้นั เป็ นทกั ษะที่ควรไดร้ ับการฝึ กฝนต้งั แต่ยงั เด็ก โดยเร่ิมจากการฝึกสรุปความจากเร่ืองท่ีง่ายไปสู่เรื่องท่ียากข้ึนตามลาดบั และเม่ือผเู้ รียนมีพ้ืนฐานดา้ นการเขียนสรุปความต้งั แต่ยงั เด็ก ก็ยอมสามารถพฒั นาไปสู่ทกั ษะการเขียนสรุปความข้นั สูงต่อไปได้ และเม่ือนกั เรียนมีความสารถในการเขียนสรุปใจความสาคญั ไดแ้ ลว้ ยอ่ มส่งผลใหม้ ีทกั ษะดา้ นการเขียนดีข้ึนผเู้ รียนสามารถถ่ายทอความคิด อารมณ์ความรู้สึกประสบการณ์และจินตนาการออกมาในรูปแบบของการเขียนได้4. วตั ถุประสงค์และสมมตฐิ าน 4.1 วตั ถุประสงค์การวจิ ัย 4.1.1 เพื่อพฒั นาการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดการเขียนสรุปความของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1 โรงเรียนเทศบาล5 (วดั หวั ป้ อมนอก)ใหม้ ีประสิทธิภาพ 4.1.2 เพ่ือเปรียบเทียบความสามารถดา้ นการเขียนสรุปความของนกั เรียนช้นัมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเทศบาล5 (วดั หวั ป้ อมนอก) ท้งั ก่อนเรียนและหลงั เรียน 4.2 สมมตฐิ านการวจิ ัย 4.2.1 แบบฝึกการเขียนสรุปความสาหรับนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 ท่ีพฒั นาข้ึนมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 4.2.2 ผลสัมฤทธ์ิการเขียนสรุปความของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โดยการใช้แบบฝึกการเขียนยอ่ ความหลงั เรียนสูงกวา่ ก่อนเรียน 5. นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การเขียนสรุปความ หมายถึง การเขียนเฉพาะเน้ือหาสาคญั ของเรื่องท่ีอ่านซ่ึงเป็ นเร่ือง ประเภทบนั เทิงคดี สารคดี บทร้อยกรอง โดยใหไ้ ดใ้ จความที่สมบูรณ์ที่สุดดว้ ยสานวนของตนเอง และถูกตอ้ งตามหลกั การใชภ้ าษา

5 2. วธิ ีการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิด หมายถึง กระบวนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ในข้นั สอน 7 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายเร่ืองเพ่ือเลือกแผนผงั ความคิด 2. ครูและนกั เรียนร่วมกนั อภิปรายอีกคร้ังเพื่อเขียนชื่อเร่ืองหรือคาสาคญั 3. นกั เรียนเขียนโครงร่างรูปแบบตา่ งๆ ลอ้ มคาสาคญั หรือชื่อเรื่อง 4. ครูใชค้ าถามกระตุน้ ให้นกั เรียนหาใจความสาคญั ของเรื่องท่ีอา่ น 5. นกั เรียนเขียนใจความสาคญั ของเร่ืองและเขียนโครงร่างลอ้ มรอบแลว้ โยงเส้นจากคาสาคญั หรือชื่อเรื่องมายงั ใจความสาคญั 6. นกั เรียนเขียนใจความสนบั สนุนและเขียนโครงร่างลอ้ มรอบ พร้อมท้งั โยงเส้นจากใจความสาคญั มายงั ใจความสนบั สนุน 7. นกั เรียนเขียนสรุปใความสาคญั ข้นั สรุป นกั เรียนสรุปสาระสาคญั ของเร่ืองอีกคร้ังหน่ึง 3. ความสามารถในการเขียนสรุปความ หมายถึง คะแนนความสามารถในการเขียนสรุปเน้ือเร่ืองให้ได้ใจความสมบูรณ์ เขียนประโยคและเขียนสะกดคาได้ถูกตอ้ งจากเรื่องประเภทบนั เทิงคดี สารคดี บทร้อยกรอง ของนกั เรียนท่ีไดจ้ ากการทาแบบทดสอบวดั ความสามารถในการเขียนสรุปความก่อนและหลงั วธิ ีการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดท่ีผวู้ ิจยั สร้างข้ึน 4. ความสามารถในการสร้างแผนผงั ความคิด หมายถึง คะแนนความสามารถในการสร้างแผนผงั ความคิดแบบข้นั บนั ได แบบจาแนกประเภทและแบบก้างปลา จากงานเขียนประเภทบนั เทิงคดี สารคดีและบทร้อยกรอง ของนกั เรียนที่ไดจ้ ากการทาแบบทดสอบวดั ความสามารถในการเขียนสรุปความที่ผวู้ จิ ยั สร้างข้ึน 5. ความคิดเห็นของนกั เรียน หมายถึง ความรู้สึกของนกั เรียนที่มีต่อวธี ีการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดในดา้ นการจดั การเรียนรู้ บรรยากาศในการเรียนรู้ ประโยชน์ที่ไดร้ ับท่ีไดจ้ ากการตอบแบบสอบถามความคิดเห็นท่ีผวู้ จิ ยั สร้างข้ึน 6. นกั เรียน หมายถึง ผเู้ รียนที่กาลงั ศึกษาอยู่ในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หวั ป้ อมนอก)6. ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ 1. นกั เรียนไดพ้ ฒั นาความสามรถดา้ นการเขียนสรุปความและนกั เรียนมีความสนใจและมีเจตคติท่ีดีต่อการเรียนทาใหผ้ ลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน 2. ครูผสู้ นใจไดพ้ ฒั นารูปแบบการจดั การเรียนรู้ภาษาไทยโดยใชแ้ ผนผงั ความคิด

67. ผลงานวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้องและเอกสารอ้างองิ 7.1 ทฤษฎแี ละเอกสารทเี่ กยี่ วข้อง จากการศึกษาวิจยั เร่ืองการพฒั นาความสามารถดา้ นการเขียนสรุปความของนกั เรียนช้นัมธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หัวป้ อมนอก) ผูว้ ิจยั ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจยั ที่เกี่ยวขอ้ ง และนาเสนอดงั น้ี 1. เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2544 2. เอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การเรียนการสอนภาษาไทย 3. เอกสารที่เก่ียวกบั การอ่านและการเขียน 4. การเขียนสรุปความ 5. งานวจิ ยั ท่ีเก่ียวขอ้ งเอกสารทเ่ี กยี่ วข้องกบั หลกั สูตรการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544 หลกั การ เพื่อให้การจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานเป็ นไปตามแนวนโยบายการจดั การศึกษาของประเทศจึงกาหนดหลกั การของหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานไวด้ งั น้ี 1. เป็ นการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มุ่งเนน้ ความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล 2. เป็ นการศึกษาเพื่อปวงชน ท่ีประชาชนทุกคนจะไดร้ ับการศึกษาอยา่ งเสมอภาคและเท่าเทียมกนั โดยสังคมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา 3. ส่งเสริมให้ผเู้ รียน ได้พฒั นาและเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ืองตลอดชีวิต โดยถือว่าผเู้ รียนมีความสาคญั ท่ีสุด สามารถพฒั นาตามธรรมชาติ และเตม็ ศกั ยภาพ 4. เป็นหลกั สูตรท่ีมีโครงสร้างยดื หยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระ เวลา และการจดั การเรียนรู้ 5. เป็ นหลกั สูตรท่ีจดั การศึกษาไดท้ ุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ได้

7 จุดหมาย หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐานมุ่งพฒั นาคนไทยให้เป็ นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ เป็ นคนดี มีปัญญามีความสุข และมีความเป็นไทย มีศกั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกาหนดจุดหมายข้ึนซ่ึงถือวา่ เป็นมาตรฐานการเรียนรู้ใหผ้ เู้ รียนเกิดคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคด์ งั ต่อไปน้ี 1. เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั ในตนเอง ปฏิบตั ิตามหลกั ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนบั ถือ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมอนั พงึ ประสงค์ 2. มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู้ ใฝ่ เรียน รักการอ่าน รักการเขียน และรักการคน้ ควา้ 3. มีความรู้อนั เป็ นสากล รู้เท่าทนั การเปลี่ยนแปลงและความเจริญกา้ วหนา้ ทางวิทยาการมีทกั ษะและศกั ยภาพในการจดั การ การสื่อสารและการใชเ้ ทคโนโลยีปรับวิธีการคิด วิธีการทางานไดเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ 4. มีทกั ษะกระบวนการ โดยเฉพาะทางคณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะการคิด การสร้างปัญหาและทกั ษะในการดาเนินชีวติ 5. รักการออกกาลงั กาย ดูแลตนเองใหม้ ีสุขภาพและบุคลิกภาพที่ดี 6. มีประสิทธิภาพในการผลิตและบริโภค ทีค่านิยมเป็ นผผู้ ลิตมากกวา่ เป็ นผผู้ ลิตมากกวา่เป็นผบู้ ริโภค 7. เขา้ ใจในประวตั ิศาสตร์ของชาติไทย ภูมิใจในความเป็ นไทย เป็ นพลเมืองดี ยดึ มนั่ ในวถิ ีชีวติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยเ์ ป็นประมุข 8. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปวฒั นธรรมประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทยทรัพยากรธรรมชาติและพฒั นาส่ิงแวดลอ้ ม 9. รักประเทศชาติและทอ้ งถ่ิน มุง่ ทาประโยชน์และสร้างส่ิงที่ดีงามใหส้ ังคม โครงสร้าง เพื่อใหก้ ารจดั การศึกษาเป็ นไปตามหลกั การ จุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีกาหนดไว้ให้สถานศึกษาและผูท้ ี่เก่ียวข้องมีแนวปฏิบัติในการจัดหลักสูตรสถานศึกษาจึงได้กาหนดโครงสร้างของหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ดงั น้ี

8 1. ระดบั ช่วงช้นั กาหนดหลกั สูตรเป็น 4 ช่วงช้นั ตามระดบั พฒั นาการของผเู้ รียน ดงั น้ี ช่วงช้นั ท่ี 1 ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1-3 ช่วงช้นั ท่ี 2 ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4-6 ช่วงช้นั ที่ 3 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1-3 ช่วงช้นั ที่ 4 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6 2. สาระการเรียนรู้ กาหนดสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรซ่ึงประกอบด้วยองค์ความรู้ ทกั ษะหรือกระบวนการเรียนรู้และคุณลกั ษณะหรือคา่ นิยม คุณธรรมจริยธรรมผเู้ รียนเป็น 8 กลุ่ม ดงั น้ี 2.1 ภาษาไทย 2.2 คณิตศาสตร์ 2.3 วทิ ยาศาสตร์ 2.4 สังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 2.5 สุขศึกษาและพลศึกษา 2.6 ศิลปะ 2.7 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.8 ภาษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้ท้งั 8 กลุ่มน้ีเป็ นพ้ืนฐานสาคญั ท่ีผเู้ รียนทุกคนตอ้ งเรียนรู้โดยอาจจดั เป็ น 2กลุ่ม คือ กลุ่มแรก ประกอบดว้ ย ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสังคมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม เป็นสาระการเรียนรู้ท่ีสถานศึกษาตอ้ งใชเ้ ป็นหลกั ในการจดั การเรียนการสอนเพ่ือสร้างพ้ืนฐานการคิด และเป็ นกลยุทธ์ในการแกป้ ัญหาและวิกฤตของชาติ กลุ่มท่ี 2 ประกอบด้วย สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีและภาษาต่างประเทศ เป็ นสาระการเรียนรู้ท่ีเสริมสร้างพ้นื ฐานความเป็นมนุษยแ์ ละศกั ยภาพในการคิดและการทางานอยา่ งสร้างสรรค์ เรื่องสิ่งแวดลอ้ มศึกษา หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานกาหนดสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ไวใ้ นสาระการเรียนรู้กลุ่มต่าง โดยเฉพาะกลุ่มวิทยาศาสตร์ กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและ

9วฒั นธรรม กลุ่มสุขศึกษาและพลศึกษาและกลุ่มภาษาต่างประเทศอื่นๆ สามารถเลือกจดั การเรียนรู้ไดต้ ามความเหมาะสม หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐานกาหนดสาระการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มไวเ้ ฉพาะส่วนที่จาเป็ นในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนทุกคนเท่าน้นั สาหรับส่วนที่ตอบสนองความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รียนแต่ละคนน้นั สถานศึกษาสามารถกาหนดเพ่ิมข้ึนไดโ้ ดยใหส้ อดคลอ้ งและสนองตอบศกั ยภาพของผเู้ รียนแต่ละคน 3. กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน เป็นกิจกรรมที่จดั ให้ผเู้ รียนไดพ้ ฒั นาความสามารถของตนเองตามศกั ยภาพ มุ่งเนน้ เพ่ิมเติมจากกิจกรรมที่ไดจ้ ดั การเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ท้งั 8 กลุ่ม การเขา้ ร่วมปฏิบตั ิกิจกรรมท่ีเหมาะสมร่วมกับผูอ้ ่ืนอย่างมีความสุขกบั กิจกรรมที่เลือกด้วยตนเองตามความถนัดและความสนใจอยา่ งแทจ้ ริง การพฒั นาท่ีสาคญั ไดแ้ ก่ การพฒั นาองคร์ วมของความเป็ นมนุษยใ์ หค้ รบทุกดา้ น ท้งั ร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม โดยอาจจดั เป็ นแนวทางหน่ึงที่จะสนองนโยบายในการสร้างเยาวชนของชาติใหเ้ ป็ นผมู้ ีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินยั และมีคุณภาพ เพื่อพฒั นาองคร์ วมของความเป็นมนุษยท์ ่ีสมบรู ณ์ ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคมซ่ึงสถานศึกษาจะตอ้ งดาเนินการอยา่ งมีเป้ าหมาย มีรูปแบบและวธิ ีการท่ีเหมาะสม กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนแบ่งเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 1.1 กิจกรรมแนะแนว เป็ นกิจกรรมท่ีส่งเสริมและพฒั นาความสามารถของผูเ้ รียนให้เหมาะสมความแตกต่างระหว่างบุคคล สามารถคน้ พบและพฒั นาศกั ยภาพของตน เสริมสร้างทกั ษะชีวิต วุฒิภาวะทางอารมณ์ การเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา และการสร้างสัมพนั ธภาพท่ีดี ซ่ึงผูส้ อนทุกคนตอ้ งทาหน้าที่แนะแนวให้คาปรึกษาดา้ นชีวิต การศึกษาต่อและการพฒั นาตนเองสู่โลกอาชีพและการมีงานทา 1.2 กิจกรรมนกั เรียน เป็ นกิจกรรมท่ีผูเ้ รียนเป็ นผูป้ ฏิบตั ิดว้ ยตนเองอย่างครบวงจนต้งั แต่ศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบตั ิตามแผน ประเมิน และปรับปรุงการทางาน โดยเนน้ การทางานร่วมกนั เป็นกลุ่ม เช่น ลูกเสือ เนตรนารี ยวุ กาชาด และผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ เป็นตน้ 4. มาตรฐานการเรียนรู้ หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานกาหนดมาตรฐานการเรียนรู้ตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มท่ีเป็ นขอ้ กาหนดคุณภาพผูเ้ รียนดา้ นความรู้ ทกั ษะกระบวนการ คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยม

10ของแต่ละกลุ่มเพ่ือใช้เป็ นจุดมุ่งหมายในการพฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ซ่ึงกาหนดเป็น 2 ลกั ษณะ คือ 4.1 มาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เป็ นมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เม่ือผูเ้ รียนเรียนจบการศึกษาข้นัพ้ืนฐาน 4.2 มาจรฐานการเรียนรู้ในช่วงช้นั เป็ นมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ เมื่อผูเ้ รียนเรียนจบในแต่ละช่วงช้นัคือ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 3 และ 6 และช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 3 และ 6 มาตรฐานการเรียนรู้ในหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐานกาหนดไวเ้ ฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้ที่จาเป็ นสาหรับพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนทุกคนเท่าน้นั สาหรับมาตรฐานการเรียนรู้ที่สอดคลอ้ งกบัสภาพปัญหาในชุมชนและสงั คม ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคเ์ พื่อเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ ตลอดจนมาตรฐานการเรียนรู้ท่ีเข้มข้ึนตามความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผเู้ รียนใหส้ ถานศึกษาพฒั นาเพิ่มเติมได้ 5. เวลาเรียน หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐานกาหนดเวลาในการจดั การเรียนรู้และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนไว้ ดงั น้ี ช่วงช้นั ที่ 1 ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1-3 มีเวลาเรียนประมาณปี ละ 800-1000 ชว่ั โมง โดยเฉล่ียวนั ละ 4-5 ชวั่ โมง ช่วงช้นั ที่ 2 ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4-6 มีเวลาเรียนประมาณปี ละ 800-1000 ชวั่ โมง โดยเฉล่ียวนั ละ4-5 ชว่ั โมง ช่วงช้นั ท่ี 3 ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 1-3 มีเวลาเรียนประมาณปี ละ 1000-1200 ชัว่ โมง โดยเฉลี่ยวนั ละ 5-6 ชว่ั โมง ช่วงช้นั ที่ 4 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6 มีเวลาเรียนประมาณปี ละไม่น้อยกว่า 1200 ชวั่ โมงโดยเฉลี่ยวนั ละไมน่ อ้ ยกวา่ 6 ชว่ั โมง

11 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ของวชิ าภาษาไทย สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การศึกษาข้นั พ้นื ฐานวชิ าภาษาไทย มีรายละเอียด ดงั ตอ่ ไปน้ีกระทรวงศึกษาธิการ (2545 : 12)สาระการเรียนรู้ที่ มาตรฐานการเรียนรู้1. การอา่ น - มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอ่านและสร้างความรู้และความคิด ไปใชต้ ดั สินใจแกป้ ัญหาและสร้างวิสัยทศั น์ในการดาเนินชีวิต และมี นิสัยรักการอ่าน2. การเขียน - มาตรฐาน ท 2.1 ใชก้ ระบวนการเขียน เขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆ เขียนรายงานข้อมูล สารสนเทศและรายงานการศึกษาคน้ ควา้ อยา่ งมีประสิทธิภาพ3. การฟัง การดู และ - มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟังและดูอยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดการพดู แสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อยา่ งมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด ความรู้สึกในโอกาสต่างๆ อย่างมี วจิ ารณญาณและสร้างสรรค์4. หลกั การใชภ้ าษา - มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทย การ เปล่ียนแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และ รักษาไทยเป็นสมบตั ิของชาติ - มาตรฐาน ท 4.2 สามารถใชภ้ าษาแสวงหาความรู้ เสริมสร้าง ลักษณะนิสัย บุคลิกภาพ และความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับ วฒั นธรรม อาชีพ สังคมและชีวติ ประจาวนั5. วรรณคดีและ - มาตรฐาน ท 5.1 เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรม วรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่ และนามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ จริง

12 แนวการจัดการเรียนรู้ในแต่ละช่วงช้ัน 1. ช่วงช้นั ท่ี 1 ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 1-3 การจดั การเรียนรู้ตอ้ งสนองตอบต่อความสนใจของผเู้ รียน โดยคานึงถึงหลกั จิตวิทยาพฒั นาการ และจิตวิทยาการเรียนรู้ ท้งั น้ีในแต่ละคาบเวลาเรียนน้นั ไม่ควรใชเ้ วลานานเกินความสนใจของผูเ้ รียน สถานศึกษาตอ้ งจดั การเรียนรู้ให้ครบทุกกลุ่มสาระในลกั ษณะบูรณาการที่มีภาษาไทยและคณิตศาสตร์เป็ นหลกั เนน้ การเรียนรู้ตามสภาพจริงมีความสนุกสนานไดป้ ฏิบตั ิจริง เพื่อพฒั นาความเป็ นมนุษย์ ทกั ษะพ้ืนฐานการติดต่อสื่อสารในการคิดคานวณ การคิดวเิ คราะห์พฒั นาลกั ษณะนิสยั และสุนทรียภาพ 2. ช่วงช้นั ท่ี 2 ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 4-6 การจดั การเรียนรู้มีลกั ษณะคลา้ ยกบั ช่วงช้นั ท่ี 1แต่จะเปิ ดโอกาสให้ผเู้ รียนไดเ้ ลือกเรียนในส่ิงท่ีตนสนใจ มุ่งเนน้ ทกั ษะการทางานเป็ นกลุ่ม การสอนแบบบูรณาการ โครงงาน การใหห้ วั ขอ้ เรื่องในการจดั การเรียนการสอนเพื่อมุ่งให้ผเู้ รียนเกิดทกั ษะในการคิด การคน้ ควา้ แสวงหาความรู้ สร้างความรู้ดว้ ยตนเอง สามารถสร้างสรรคผ์ ลงานแลว้ นาไปแลกเปล่ียนเรียนรู้กบั ผอู้ ่ืน 3. ช่วงช้นั ท่ี 3 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 1-3 การจดั การเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ท่ีมีหลกั การทฤษฎีท่ียาก ซบั ซ้อน อาจจดั แยกเฉพาะและควรเนน้ การจดั การเรียนรู้แบบโครงงานมากข้ึน เพ่ือมุ่งใหผ้ เู้ รียนเกิดความคิด ความเขา้ ใจ และรู้จกั ตนเองในดา้ นความสามารถ ความถนดั เพ่ือเตรียมตวั เขา้ สู่อาชีพสถานศึกษาตอ้ งจดั บรรยากาศการเรียนรู้ใหเ้ หมาะสม 4. ช่วงช้นั ที่ 4 ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 4-6 การจดั การเรียนรู้เริ่มเนน้ เขา้ สู่เฉพาะทางมากข้ึนมุ่งเนน้ ความสามารถ ความคิดระดบั สูง ความถนดั และความตอ้ งการของผเู้ รียนท้งั ในดา้ นอาชีพการศึกษาเฉพาะทาง ตลอดจนการศึกษาตอ่ กระทรวงศึกษาธิการ (2545 : 22-23) สื่อการเรียนรู้ การจดั การศึกษาตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และหลักสูตรสถานศึกษามุ่งเน้นส่งเสริมให้ผเู้ รียนเรียนรู้ดว้ ยตนเอง เรียนรู้อยา่ งต่อเรื่องตลอดชีวิต และใช้เวลาอย่างสร้างสรรค์รวมท้งั มีความยืดหยุ่นสนองความต้องการของผูเ้ รียน ชุมชน สังคมและประเทศชาติ ผูเ้ รียนสามารถเรียนรู้ไดท้ ุกเวลา ทุกสถานที่และเรียนรู้ไดจ้ ากสื่อสารการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทุกประเภท รวมท้งั จากเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีอยใู่ นทอ้ งถ่ิน ชุมชนและแหล่งอื่นๆ เน้นส่ือท่ีผเู้ รียนและผสู้ อนใช้ศึกษาคน้ ควา้ หาความรู้ดว้ ยตนเอง ผเู้ รียนผสู้ อนสามารถจดั ทาและพฒั นาส่ือการเรียนรู้ข้ึนเองหรือนาส่ือต่างๆ ท่ีมีอยรู่ อบตวั และในระบบสารสนเทศมาใชใ้ นการเรียนรู้โดยใชว้ จิ ารณญาณในการเลือกใชส้ ื่อและแหล่งความรู้

13 ลกั ษณะของสื่อการเรียนรู้ท่ีจะนามาใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ ควรมีความหลากหลาย ท้งั ส่ือธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และส่ืออ่ืนๆ ซ่ึงช่วยส่งเสริมให้การเรียนรู้เป็ นไปอย่างมีคุณค่าน่าสนใจ ชวนคิด ชวนติดตาม เขา้ ใจไดง้ ่ายและรวดเร็วข้ึนรวมท้งั กระตุน้ ให้ผเู้ รียนรู้จกั วิธีแสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรู้อยา่ งกวา้ งขวาง ลึกซ้ึงและต่อเนื่องตลอดเวลา เพ่ือใหก้ ารใชส้ ื่อการเรี ยนรู้เป็ นไปตามแนวการจัดการเรียนรู้และพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยนรู้อย่างแท้จริ งสถานศึกษา หน่วยงานที่เก่ียวขอ้ ง และผูม้ ีหน้าที่จดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐานควรดาเนินการ ดงั น้ีกระทรวงศึกษาธิการ (2545 : 23-24) 1. จดั ทาและจดั หาส่ิงที่มีอยใู่ นทอ้ งถิ่นมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นสื่อการเรียนรู้ 2. ศึกษาคน้ ควา้ วิจยั เพื่อพฒั นาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกบั กระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน 3. จดั ทาและจดั หาสื่อการเรียนรู้สาหรับการศึกษาของผเู้ รียนและสาหรับเสริมความรู้ของผสู้ อน 4. ศึกษาวิธีการเลือกและการใช้สื่อการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมและหลากหลายเพ่ือให้สอดคลอ้ งกบั วิธีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน 5. ศึกษาวธิ ีการคิดวเิ คราะห์และประเมินคุณภาพมาตรฐานสื่อการเรียนรู้ท่ีจดั ข้ึนเองและที่เลือกนามาใชป้ ระกอบการเรียนรู้ โดยมีการวิเคราะห์และประเมินสื่อการเรียนรู้ที่ใชอ้ ย่นู ้นั อย่างสม่าเสมอ 6. จดั หาหรือจดั ให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนยส์ ่ืออากรเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาคน้ ควา้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ และพฒั นาสื่อการเรียนรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง 7. จดั ใหม้ ีเครือขา่ ยการเรียนรู้ เพื่อเชื่อมโยงและแลกเปล่ียนการเรียนรู้ระหวา่ งสถานศึกษาทอ้ งถิ่น ชุมชน และสังคมอื่น 8. จดั ให้มีการกากบั ติดตาม และประเมินผลการดาเนินงานเก่ียวกบั สื่อและใช้ส่ือการเรี ยนรู้เป็ นระยะๆ จากท่ีไดก้ ล่าวมาโดยสรุปวา่ หลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2544 ไดเ้ นน้ ความเป็ นไทยควบคู่กับความเป็ นสากล เป็ นการศึกษาเพ่ือปวงชน ส่งเสริมให้ผูเ้ รียนได้พฒั นาและเรียนรู้ดว้ ยตนเองอยา่ งต่อเนื่องตลอดชีวติ เป็ นหลกั สูตรท่ีมีโครงสร้างยืดหยนุ่ ท้งั ดา้ นสาระ เวลา

14และการจดั การเรียนรู้และเป็ นหลกั สูตรท่ีจดั การศึกษาไดท้ ุกรูปแบบ ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้ าหมายสามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้และประสบการณ์ได้เอกสารทเ่ี กยี่ วข้องกบั การจัดการเรียนการสอนภาษาไทย หลกั การสอนภาษาไทย วรรณี โสมประยรู (2547 : 193-195) ไดก้ ล่าวถึงหลกั การท่ีสาคญั ในการสอนภาษาไทยในระดบั มธั ยมศึกษา มีดงั น้ี 1. การสอนภาษาไทยควรนาจุดประสงค์ทว่ั ไปสอดแทรกทุกคร้ังที่มีการเรียนการสอนเพราะจุดประสงคท์ ว่ั ไปเป็ นจุดประสงค์หลกั ที่ตอ้ งการให้เกิดข้ึนกบั ผูเ้ รียนตลอดเวลาท่ีจดั การเรียนการสอนภาษาไทยใหแ้ ก่เดก็ 2. การสอนภาษาไทยควรคานึงถึงความพร้อมของผเู้ รียน ซ่ึงมี 3 ลกั ษณะ ดงั น้ี 2.1 ความพร้อมในการเรียนซ่ึงจดั วา่ เป็นความพร้อมก่อนเริ่มเรียน 2.2 ความพร้อมก่อนเร่ิมวชิ าซ่ึงจดั วา่ เป็นความพร้อมก่อนท่ีจะเริ่มตน้ วิชาภาษาไทยโดยเฉพาะ เช่น เด็กควรมีความพร้อมทางดา้ นการฟัง การพดู การอ่านและการเขียน เป็นตน้ 2.3 ความพร้อมก่อนเร่ิมเรียนบทใหม่ 3. เน่ืองจากทกั ษะทางภาษาซ่ึงไดแ้ ก่ ทกั ษะการฟัง ทกั ษะการพดู ทกั ษะการอ่านและทกั ษะการเขียน มีความสัมพนั ธ์กันอย่างใกล้ชิด แต่ละทักษะก็มีพฒั นาการที่เชื่อมโยงกันและมีความสาคญั ต่อการเรียนรู้ของเด็กมธั ยมศึกษาเป็ นอย่างยิ่ง ดังน้นั การสอนภาษาไทยในระดับมธั ยมศึกษามุ่งที่จะพฒั นาทกั ษะการฟัง การพดู การอา่ นและการเขียนเป็ นประการสาคญั กิจกรรมการเรียนการสอนจึงควรเนน้ วธิ ีฝึกทกั ษะมากกวา่ การเรียนรู้หลกั ภาษาไทย 4. การสอนภาษาไทยควรสอนทกั ษะการฟัง การพดู การอ่านและการเขียนใหส้ ัมพนั ธ์กนัโดยอาศยั หลกั การบูรณาการเป็นส่วนสาคญั ในการเชื่อมโยง 5. การสอนภาษาไทยควรสอนใหส้ มั พนั ธ์กบั กลุ่มประสบการณ์อื่นๆ 6. การสอนภาษาไทยควรให้นกั เรียนมีส่วนร่วมในบทเรียนมากๆ เนื่องจากการสอนภาษาไทยในระดบั มธั ยมศึกษาเนน้ การฝึ กทกั ษะ ซ่ึงทกั ษะท่ีจะเกิดข้ึนไดต้ อ้ งอาศยั การฝึ กฝนและใชส้ ื่อการเรียนประกอบ 7. ตอ้ งเนน้ ใหน้ กั เรียนรู้จกั คิด ตดั สินใจ และแกป้ ัญหาตวั เองอยเู่ สมอ

15 8. ควรสอดแทรกคุณธรรมและใหร้ ู้จกั การทางานร่วมกนั เพ่ือให้นกั เรียนมีมนุษยส์ ัมพนั ธ์ท่ีดีและสามารถทางานร่วมกนั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 9. ควรมีวธิ ีสอนหลายๆ วธิ ีผสมผสานกนั ตามรูปแบบท่ีเหมาะสม รวมท้งั ควรคานึงถึงวยัและความสามารถของเดก็ ดว้ ย 10. ครูจะตอ้ งรักษาและศรัทธาต่อภาษาไทย เพราะบุคลิกลกั ษณะของครูจะสะทอ้ นใหเ้ ด็กไดเ้ ห็นและรู้สึกรักและศรัทธาวชิ าภาษาไทยตามไปดว้ ย 11. ในการสอนเน้ือหา ควรใชห้ ลกั การเลือกเน้ือหาหรือมีทกั ษะ ดงั น้ี 11.1 ควรสอนเร่ืองท่ีง่ายไปสู่เร่ืองที่ยาก 11.2 ควรสอนเรื่องที่อยใู่ กลต้ วั ไปสู่เรื่องท่ีอยไู่ กลตวั 11.3 ควรสอนเรื่องที่เป็นรูปธรรมไปสู่นามธรรม 11.4 ควรสอนเร่ืองท่ีตอ้ งรับผดิ ชอบนอ้ ยไปสู่เรื่องท่ีตอ้ งรับผดิ ชอบมาก 11.5 ควรสอนเรื่องท่ีเกี่ยวกบั ประสบการณ์เดิมไปสู่เร่ืองที่เกี่ยวกบั ประสบการณ์ 12. เน่ืองจากวชิ าภาษาไทยเป็นวชิ าประเภททกั ษะและมีกระบวนการเรียนแตกต่างจากวิชาอ่ืนมาก ในการวดั ผลจาเป็นตอ้ งวดั ทกั ษะท้งั ส่ีใหค้ รบทุกดา้ น ท้งั ดา้ นความรู้ เจตคติและทกั ษะโดยครูใชว้ ธิ ีวดั ผลหลายๆ วธิ ีตามความเหมาะสม อยา่ งไรก็ตาม การสอนภาษาไทยจะบรรลุผลอยา่ งมีประสิทธิภาพน้นั ครูผสู้ อนจาเป็ นตอ้ งมีการวางแผนเอาไวล้ ่วงหนา้ แลว้ ปฏิบตั ิตามแผนการสอนน้นั อยา่ งเหมาะสม วรรณี โสมประยูร (2547 : 71-78) ไดก้ ล่าววา่ หลกั จิตวทิ ยาการศึกษาเป็ นปัจจยั พ้ืนฐานและมีอิทธิพลสาคญั ในการส่งเสริมการเรียนรู้ซ่ึงสัมพนั ธ์และเกี่ยวขอ้ งกับตวั ผูเ้ รียน รวมท้ังกระบวนการและสภาพการเรียนการสอน เพื่อได้นาปัจจยั เหล่าน้ีไปประยุกต์ใช้ในการเตรียมวางแผน และจดั กิจกรรมการเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลตามความมุ่งหมายของหลกั สูตร หลกั จิตวทิ ยาการศึกษาที่ครูผสู้ อนควรทราบและคานึงถึง มีดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคล (Individual difference) โดยทว่ั ไปบุคคลจะมีความแตกต่างกนั ใน 5 ดา้ น คือดา้ นร่างกาย ดา้ นจิตใจและอารมณ์ ดา้ นสังคม ดา้ นสติปัญญาและดา้ นความถนดัองคป์ ระกอบเหล่าน้ีมีผลทาให้ความสามารถทางภาษาหรือผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนทางภาษาขิงเด็กแตกตา่ งกนั ได้ ดงั น้นั เม่ือครูทราบภูมิหลงั ของเดเกแต่ละคนก็จะช่วยให้จดั สภาพการเรียนการสอนปรับปรุงแกไ้ ขหรือส่งเสริมความสามารถทางภาษาของเดก็ แต่ละคนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งยงิ่ ข้ึน

16 2. ความพร้อม (Readiness) หมายถึง สภาพความสมบูรณ์ของบุคคลท่ีจะเรียนรู้ส่ิงหน่ึงส่ิงใดไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลท่ีควรจะเป็ น ความพร้อมข้ึนอยู่กบั วุฒิภาวะและความสนใจหรือแรงจูงใจ ครูควรศึกษาความพร้อมทางภาษาของเด็ก โดยการสังเกต สารวจหรือทดสอบ เมื่อทราบถึงความพร้อมก็จะได้จดั กิจกรรมการเรียนการสอน ส่ือหรืออุปกรณ์ และบรรยากาศเหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกบั ความพร้อมของเดก็ 3. ความตอ้ งการ (Need) หมายถึง สิ่งจาเป็ นท่ีบุคคลจะตอ้ งได้รับเพื่อการดารงชีวิตที่สมบูรณ์ในการจดั หลกั สูตรและการเรียนการสอนถา้ สามารถจดั ให้สนองความตอ้ งการของเด็กไดม้ ากเท่าที่ควรกจ็ ะทาใหเ้ ด็กเกิดการเรียนรู้ท่ีดี 4. กระบวนการเรียนรู้ (Learning process) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางดา้ นความรู้ ทศั นคติ การปฏิบตั ิและทกั ษะ อนั เป็นผลเน่ืองจากท่ีบุคคลไดร้ ับประสบการณ์ทางตรงและทางออ้ ม ซ่ึงพฤติกรรมการเรียนรู้ควรเป็นพฤติกรรมที่คงทนถาวร ครูผสู้ อนควรทราบถึงหลกั หรือกฎการเรียนรู้ที่สาคญั ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 4.1 กฎแห่งการฝึก (The Law of exercise) ภาษาไทยเป็ นวิชาประเภททกั ษะดงั น้นัจึงตอ้ งใชภ้ าษาไดอ้ ยา่ งคล่องแคล่ว และชานาญในทุกๆ ทกั ษะ เพ่ือให้เกิดทกั ษะดงั กล่าว จึงควรทราบกฎแห่งการฝึกของธอร์นไดต์ (Thorndike) ซ่ึงมีใจความวา่ ถา้ ไดม้ ีการฝึ กหรือกระทาซ้าๆอยู่เสมอ จะทาใหส้ ิ่งเร้าและการตอบสนองมีความสมั พนั ธ์กนั อยา่ งมง่ั คงข้ึน และการเรียนรู้ก็จะคงอยู่ตอ่ ไป ดงั น้นั ครูจึงควรหาโอกาสใหน้ กั เรียนไดใ้ ชท้ กั ษะทางภาษาอยเู่ ป็นประจาจนเป็นนิสัย 4.2 การเรียนรู้โดยการกระทา (Learning by Doing) ซ่ึง John Dewey ไดก้ ล่าววา่คนเราเรียนรู้ไดด้ ว้ ยการกระทาและดว้ ยอุปกรณ์การสอนที่มีประสิทธิภาพ ดงั น้นั ครูควรเลือกใช้วธิ ีสอนหรือกิจกรรมโดยเนน้ การกระทาหลายๆ แบบและมีอุปกรณ์การสอนอยา่ งครบถว้ น 4.3 การเรียนรู้โดยมีจุดมุ่งหมาย (Purposeful learning) จุดหมายของผเู้ รียนคือสิ่งท่ีผเู้ รียนตอ้ งการหรือส่ิงท่ีผเู้ รียนมุ่งหวงั ดงั น้นั ในการสอนครูจึงควรต้งั จุดหมายหรือจุดประสงคไ์ ว้ใหแ้ น่นอนแลว้ จดั กิจกรรมตา่ งๆใหก้ ารสอนดาเนินไปตามจุดมุ่งหมายที่ต้งั ไว้ 5. การจูงใจ (Motivation) หมายถึง การสร้างพลงั หรือแรงผลกั ดนั ท่ีไปกระตุน้ ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมอยา่ งใดอย่างหน่ึงจนบรรลุผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายท่ีตอ้ งการ ในการเรียนการสอนครูจึงจาเป็ นตอ้ งสร้างแรงจูงใจใหแ้ ก่นกั เรียนอยเู่ สมอเพื่อให้นกั เรียนสนใจอาจจะใชว้ ธิ ีการพดู เร้าใจ สนทนา ซกั ถาม ทายปัญหา ร้องเพลง เล่านิทานหรือใชว้ สั ดุอุปกรณ์ต่างๆเป็ นการนาให้นกั เรียนพร้อมที่จะเขา้ สู่บทเรียนต่อไป

17 6. การเสริมแรง (Reinforecement) หมายถึง การทาใหบ้ ุคคลเกิดความพงึ พอใจ หลงั จากที่ได้แสดงพฤติกรรมการเรียนรู้เสร็จสิ้นลง เพ่ือช่วยให้พฤติกรรมการเรียนรู้ที่เกิดข้ึนน้ีน้ันมีแนวโนม้ ท่ีจะเกิดข้ึนอีกและเพิ่มความคงทนถาวรยงิ่ ข้ึน กล่าวคือ เมื่อนกั เรียนกระทาพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงคแ์ ลว้ ครูกจ็ ะตอ้ งใหแ้ รงเสริมดว้ ยจึงจะช่วยใหก้ ารเรียนรู้น้นั มีประสิทธิภาพมากท่ีสุด 7. เจตคติ (Attitude) หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดท่ีอยภู่ ายในเป็ นกระบวนการทางดา้ นจิตใจท่ีมีผลต่อการตดั สินใจของคนเราในการที่จะเลือกกระทาหรือไม่เลือกกระทาสิ่งใดส่ิงหน่ึง ซ่ึงเจตคติเหล่าน้ีจะทาให้บุคคลยอมรับเอาความรู้หรือประสบการณ์เขา้ ไวใ้ ห้ใชเ้ ป็ นประโยชน์แก่ตนเองเจคติเหล่าน้ีจะช่วยบุคคลยอมรับเอาความรู้หรือประสบการณ์เขา้ ไวใ้ ห้เป็ นประโยชน์แก่ตนเอง เจคติเป็ นส่ิงที่จดั หาเพิ่มเติมได้ สร้างข้ึนใหม่ไดแ้ ละสามารถปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงได้ ในการเรียนการสอนน้นั ครูจาเป็ นตอ้ งสร้างเจคติที่ดีให้กบั เด็กเสมอ เพราะจะช่วยให้เด็กอยากเรียนและอยากจะรู้มากข้ึน เจตคติที่ดีน้นั จะเป็ นตวั เชื่อมโยงระหวา่ งความรู้กบั การปฏิบตั ิเขา้ ดว้ ยกนั โดยเจคติจะช่วยใหโ้ นม้ นา้ วจิตใจ หรือจงู ใจใหน้ กั เรียนนาความรู้หรือประสบการณ์ที่ไดร้ ับไปปฏิบตั ิให้เกิดประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ไดต้ ามเจตนารมณ์ของบทเรียนและหลกั สูตร สรุปในการนาหลกั จิตวิทยามาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนภาษาไทยควรคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคล ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความพร้อมในการเรียนของนกั เรียน รูปแบบการเรียนรู้โดยเนน้ การฝึกปฏิบตั ิบอ่ ยๆ และเป็นการเรียนรู้อยา่ งมีจุดหมาย ครูควรใชเ้ ทคนิควธิ ีการหลากหลายในการนาเขา้ สู่บทเรียน ตลอดจนมีการเสริมกาลงั ใจ และสร้างเจคติที่ถูกตอ้ งให้แก่เด็กท้งั น้ีเพ่อื ใหก้ ระบวนการเรียนการสอนภาษาไทยบรรลุผลตามจุดมุง่ หมายของหลกั สูตร การพฒั นาทกั ษะการเขียน การเขียนนบั วา่ เป็ นเครื่องมือสาคญั ในการถ่ายทอดมรดกทางวฒั นธรรมของชาติ การเขียนจึงเป็นสื่อท่ีช่วยใหบ้ ุคคลสามารถถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดของตนไปสู่คนอื่นใหเ้ ขา้ ใจไดต้ รงกนั พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน (2546 : 203) ไดใ้ หค้ วามหมาย การเขียน หมายถึง ขีดใหเ้ ป็นตวั หนงั สือ หรือเลข ขีดใหเ้ ป็นเส้นหรือรูปต่างๆ วาด แต่งหนงั สือ วรรณี โสมประยูร (2547 : 139-141) ไดใ้ ห้ความหมายของการเขียนไวว้ ่า การเขียนหมายถึง การถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดและความตอ้ งการของบุคคลออกมาเป็ นสัญลกั ษณ์หรือตวั อกั ษรเพื่อสื่อความหมายให้ผอู้ ื่นเขา้ ใจได้ เพราะ การเขียนเป็ นทกั ษะการส่งออกตามหลกั ของภาษาศิลป์ และไดก้ ล่าวถึงจุดมุง่ หมายของการสอนไวด้ งั น้ี

18 1. เพื่อคดั ลายมือหรือเขียนได้ถูกตอ้ งตามลกั ษณะตวั อกั ษรให้เป็ นระเบียบชดั เจนหรือเขา้ ใจง่าย 2. เพื่อเป็นการฝึกทกั ษะการเขียนใหพ้ ฒั นางอกงามข้ึนตามควรแก่วยั 3. เพอื่ ใหม้ ีทกั ษะการเขียนสะกดคาถูกตามอกั ขรวิธี เขียนวรรคตอนถูกตอ้ งและเขียนได้ถูกตอ้ ง 4. เพ่ือใหร้ ู้จกั เลือกภาษาเขียนที่ดี มีคุณภาพเหมาะสมกบั บุคคลและโอกาส 5. เพื่อให้สามารถรวบรวมและลาดบั ความคิดแลว้ จดบนั ทึก สรุปและยอ่ ใจความเรื่องท่ีอา่ นหรือฟังได้ 6. เพ่ือให้สามารถสังเกตจดจาและเลือกเฟ้ นถอ้ ยคาหรือสานวนโวหารให้ถูกตอ้ งตามหลกั ภาษาและส่ือความหมายไดต้ รงตามที่ตอ้ งการ 7. เพ่ือให้มีทกั ษะการเขียนประเภทต่างๆและสามารถนาหลกั การเขียนไปใช้ให้เกิดประโยชนใ์ นชีวติ ประจาวนั 8. เพื่อเป็ นการใชเ้ วลาวา่ งให้เป็ นประโยชน์ดว้ ยการเขียนตามที่ตนเองสนใจและมีความถนดั 9. เพ่ือให้เห็นความสาคญั และคุณค่าของการเขียนวา่ มีประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพการศึกษาหาความรู้อ่ืนๆ ความหมายการเขียนสรุปความ การเขียนสรุปความเป็ นการเขียนสรุปเฉพาะประเด็นสาคญั ของเรื่องท่ีอ่านจะตอ้ งสามารถเก็บใจความสาคญั ของเร่ืองหรือหาประเด็นหลกั ของเร่ืองให้ได้สาระว่า ใคร ทาอะไร ที่ไหนเม่ือไร ทาไม อยา่ งไร และเน้ือหาสาคญั ดงั กล่าวมาเรียบเรียงใหม่ใหส้ ละสลวย ให้ เป็ นสรุปความที่ดีให้จงได้ นกั วชิ าการหลายท่านไดใ้ หค้ วามหมายการเขียนสรุปความไว้ ดงั น้ี ขนิษฐา แสงภกั ด์ิ(2540 : 7) นฤมล ม่วงไทย (2543 : 8) จุไรรัตน์ ลกั ษณะศิริ (2548 : 229) สรวีย์ เคียนสันเทียะ(2545 : 9) ให้ความหมายของการเขียนสรุปความไวท้ านองเดียวกนั ว่าการเขียนสรุปความหมายถึง การเขียนเฉพาะประเดน็ สาคญั ของเรื่องโดยผา่ นกระบวนการคิดใคร่ครวญอยา่ งมีเหตุผลเพอ่ื ใหไ้ ดใ้ จความกะทดั รัด และสละสลวยดว้ ยสานวนของผเู้ ขียนเอง สมาคมนกั เขียน (The Writers’s Workshop. 2005: 23) ใหค้ วามหมายของการเขียน สรุปความ ไวว้ า การเขียนสรุปความ คือการเขียนเน้ือเรื่องซ้าใหม่อีกคร้ังหน่ึงดว้ ยสานวนของ ตนเอง

19การเขียนสรุปความมีหลายชนิดแตกตา่ งกนั ไปตามความสามารถในการเขียนอธิบายหรือวเิ คราะห์ของผเู้ ขียน ซ่ึงอาจมีความยาวหลายหนา้ กระดาษหรืออาจมีความยาวเพียง หน่ึง หรือสองประโยคLynda Behan and Lioyd Dewitt (2005: 84) กล่าววา การเขียนสรุปความ เป็ นการสะทอ้ นความเขา้ ใจของผอู้ ่านจากงานเขียนต่าง ๆ โดยผา่ นการสังเคราะห์ แลว้ เขียนดว้ ยถอ้ ยคาท่ีกระชบั รัดกุมดว้ ยสานวนภาษาของผูเ้ ขียนเองหรือจะกล่าววาการเขียนสรุปความก็คือการจบั ประเด็นหรือจุดสาคญั ของเรื่องท่ีอ่านเพ่ือบุคคลที่ไม่ไดอ้ า่ นตน้ ฉบบั สรุปไดว้ า่ การเขียนสรุปความเป็นการเขียนเฉพาะเน้ือหาสาคญั ของเร่ืองที่อ่านหรือฟังให้ไดใ้ จความครบสมบูรณ์ที่สุดดว้ ยภาษาสานวนของตนเอง ความสาคญั การเขยี นสรุปความ การเขียนสรุปความเป็ นทกั ษะที่มีความสาคญั ในการติดต่อส่ือสารเพราะจะช่วยให้ จดจาเรื่องราวหรือประเด็นสาคญั จากส่ิงที่ฟังหรืออ่านไดด้ ว้ ยการถ่ายทอดออกมาเป็ นลาย ลกั ษณ์อกั ษรซ่ึงตอ้ งมีท้งั กระบวนการทางความคิดและความสามารถในการใชภ้ าษาดงั ที่ บนั ลือ พฤกษะวนั(2535 : 79) กล่าววา การเขียนสรุปความจะอานวยประโยชน์ให้ผเู้ รียนนาไปใชใ้ นการอ่านและคน้ ควา้ รายงาน และเป็ นปัจจยั สาคญั ในความสาเร็จ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั กุหลาบ มลั ลิ กะมาส และวพิ ุธ โสภวงศ์ (2538 : 77 ; อา้ งถึงใน ขนิษฐา แสงภกั ดี. 2540 : 23) กล่าวถึง ความสาคญั ของการเขียนสรุปความวา่ มีความสาคญั และจาเป็ นต่อนกั เรียน เพราะในการเรียน และการดารงชีวิตประวนั มกั จะเกี่ยวขอ้ งกบั การคิด การวิเคราะห์ เรื่องราวที่ไดย้ นิ ไดฟ้ ังเพ่ือประโยชน์ในการสื่ อสารกบับุคลอ่ืน เนื่องจากการสื่อสารในชีวติ ประจาวนั ตอ้ งการความรวดเร็วภาษาท่ีใชเ้ ขียนจึงตอ้ งมีความกระชบั แตม่ ีใจความสมบูรณ์ท่ีสุด นอกจากน้นั การเขียนสรุปความยงั สามารถทาใหม้ นุษยป์ ระสบความสาเร็จในชีวติ ท้งั ในการศึกษาเล่าเรียนและการประกอบอาชีพส่วน พริ้มเพรา หนั ตรา (2541 :79) กล่าววา่ การเขียนสรุปความเป็ นทกั ษะการใช้ภาษาที่มีความสาคญั และจาเป็ นในการส่ือสารเพราะจะช่วยใหจ้ ดจาสาระสาคญั จากสิ่งที่ได้ ฟังและอ่าน การใชภ้ าษาเพ่ือเขียนสรุปความให้ไดด้ ีน้นั ตอ้ งอาศยั การฝึกฝนอยา่ งถูกหลกั เกณฑ์ จึงจะทาใหก้ ารเขียนสรุปความมีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึน ความหมายการจัดการเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิด สมศกั ด์ิ สินธุระเวชญ์ (2542 : 125) ไดก้ ล่าววาแผนผงั ความคิดเป็ นการนาทฤษฎีทางสมองไปใชใ้ หเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งเต็มท่ีแผนผงั ความคิดเป็ นการทางานร่วมกนั ของสมองดา้ นซา้ ยและดา้ นขวาสมองดา้ นซา้ ยจะทาหนา้ ท่ีในการวเิ คราะห์คาสัญลกั ษณ์ตรรกวิทยาสมองดา้ นขวาทาหนา้ ที่ในการสงั เคราะห์รูปแบบสีรูปร่าง

20 สมศกั ด์ิ ภู่วิภาดาวรรธน์ (2544 : 51) ได้ให้ความหมายวาแผนผงั ความคิดเป็ นผงัความสัมพนั ธ์ทางความหมายเป็ นยทุ ธวธิ ีที่ออกแบบมาเพ่ือแสดงขอ้ มูลโดยอาศัยกราฟิ ก ดว้ ยการจัดประเภทย่อยๆที่สัมพันธ์เก่ียวโยงกับมโนทัศน์หลักของเร่ืองหรื อเป็ นการจัดหมวดหมู่ความสมั พนั ธ์โดยอาศยั แผนภูมิเขา้ ช่วยใหเ้ ห็นไดช้ ดั เจนกรมวชิ าการ กระทรวงศึกษาธิการ (2545 : 14) ให้ความหมายของแผนผงั ความคิดวาเป็ นการฝึ กให้ผเู้ รียนจดั กลุ่มความคิดรวบยอดของตนเพ่ือให้เห็นภาพรวมของความคิดเห็นความสัมพนั ธ์ ของความคิดรวบยอดเป็นภาพสามารถเกบ็ ไวใ้ นหน่วยความจาไดง้ ่าย 7.2 งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วข้อง กัณหา คาหอมกุล ( 2548 : 111-112) ทาการวจิ ยั เชิงทดลองพฒั นาความสามารถในการเขียนสรุปความของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ดว้ ยวิธีการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดเพ่อื เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนสรุปความของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ก่อนและหลงั วิธีการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิด เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้าง แผนผงัความคิดของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 และ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนกั เรียนที่มี ต่อจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดกลุ่มตวั อยา่ งท่ีใชใ้ นการวจิ ยั คือ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ที่ 6จานวน 30 คน โรงเรียนวดั หนองพนั เทา อาเภอสองพี่นอ้ ง จงั หวดั สุพรรณบุรี เก็บขอ้ มูล โดยใช้แบบทดสอบวดั ความสามารถในการเขียนสรุปความและสร้างแผนผงั ความคิด แบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อวธิ ีการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดผลของการวิจยั พบวานกั เรียนช้นัประถมศึกษาปี ที่ 6 ที่ไดร้ ับการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิด มีความสามารถในการเขียน จารุฬี แสงอรุณ ( 2559 ) ทาการศึกษาการพฒั นาความสามารถด้านการเขียนสรุปความของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 5 ดว้ ยการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดเพื่อพฒั นาแผนการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบแผนผงั ความคิดดารเขียนสรุปความสาหรับนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่5 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 เพื่อศึกษาค่าดชั นีประสิทธิผลของการเรียนดว้ ยการจดักิจกรรมการเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดสรุปความ เปรียบเทียบความสามารถดา้ นการเขียนสรุปความของนกั เรียนประถมศึกษาปี ท่ี 5 ระหว่างก่อนเรียนและหลงั เรียนดว้ ยการจดั กิจกรรมการเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดการเขียนสรุปความ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนกั เรียนท่ีมีต่อการจดักิจกรรมการเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิดของกลุ่มเป้ าหมายเป็ นนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5 ปีการศึกษา 2557 จานวน 16 คน เคร่ืองมือท่ีใชใ้ นการวิจยั ไดแ้ ก่ แผนการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงัความคิด แบบทดสอบความสามารถในการเขียนสรุปความ แบบสอบถามความพึงพอใจของ

21นกั เรียน สถิติท่ีใชว้ เิ คราะห์ขอ้ มูลไดแ้ ก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานและการทดสอบใช้ T-TEST กาญจนา มงคลสิงห์ (2548 : 85-86) ไดท้ าการศึกษาเก่ียวกบการใช้แผนที่ความคิดเพ่ือสร้างเสริมทกั ษะการเขียนภาษาองั กฤษของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่5โรงเรียนบา้ นออนกลางอาเภอแม่ออน จงั หวดั เชียงใหม่ จานวน30 คนจากการวิจยั พบวาหลงั จากที่นกั เรียนเรียนโดยใช้แผนที่ความคิดเพ่ือสร้างเสริมทกั ษะการเขียนภาษาองั กฤษนกั เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เขียนโดยเฉลี่ยผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 50 ไดค้ ่าเฉลี่ยเท่ากบั 57.06 สัมฤทธ์ิ บุญนิยม (2548 : 120-121) ทาการวิจยั เชิงทดลองเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนเร่ืองพืชและสัตว์ ของนกั เรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 ที่สอนดว้ ยวิธีสอนโดยใช้แผน ที่ความคิดกบวิธีสอนตามคู่มือครู เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เร่ืองพืชและสัตว์ ของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6 ท่ีสอนดว้ ยวธิ ีการสอนโดยใชแ้ ผนที่ความคิดกบั วิธีสอนตามคู่มือครู เพอ่ื ศึกษาความสามารถในการสร้างแผนท่ีความคิดของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 6ท่ีสอนดว้ ยวธิ ีการสอนโดยใชแ้ ผนท่ีความคิด และเพ่ือศึกษาความคิดเห็นของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 6 ที่มีต่อวิธีสอนโดยใช้แผนท่ีความคิดกบั วิธีสอนตามคู่มือครู กลุ่มตวั อย่างคือนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6 จานวน 42 คน ของโรงเรียนวดั หนองกบ อาเภอบา้ นโป่ ง จงั หวดั ราชบุรี เก็บขอ้ มูลโดยใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิการเร่ืองพืชและสัตวแ์ ละแบบสอบถาม ความคิดเห็นของนักเรียนท่ีมีต่อวิธีการสอนโดยใช้แผนที่ความคิดและสอนตามคู่มือครู ผลการวิจยั พบว่าผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน เรื่องพืชและสัตวข์ องนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 ท่ีสอนดว้ ยวิธีสอนโดยใช้แผนที่ความคิดและวิธีการสอนตามคู่มือครูแตกต่างกนั อยนู่ ยั สาคญั ทางสถิติที่ระดบั 0.01โดยนกั เรียนที่สอนโดยใชแ้ ผนที่ความคิดมีคะแนนผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนสูงกวา่ นกั เรียนที่สอนดว้ ยวิธีสอนตามคู่มือครูนกั เรียนช้นั ประถมศึกษา ปี ท่ี 6 เห็น ดว้ ยต่อวิธีการสอนโดยใชแ้ ผนท่ีความคิด และวธิ ีสอนตามคู่มือครูในภาพรวมนกั เรียนเห็นดว้ ย มากตอ่ วธิ ีการสอนท้งั สองวธิ ี จาเนียร เลก็ สุมา (2552 : 117-118) ทาการวิจยั เชิงทดลองการพฒั นาความสามารถในการอ่านจบั ใจความจากนิทานส่งเสริมคุณธรรมของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 2 ดว้ ยการจดั การเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิคการสร้างแผนที่ความคิด เพอ่ื เปรียบเทียบความสามารถในการอ่านจบั ใจความจากนิทานส่งเสริมคุณธรรมของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่2 ก่อนและหลงั การ จดั การเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิคการสร้างแผนที่ความคิด เพื่อศึกษาความสามารถในการสร้างแผนท่ี ความคิดของนกั เรียนและเพอ่ื ศึกษาความคิดเห็นของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 2 ดว้ ยการ จดั การเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิคการสร้างแผนที่ความคิด กลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการวจิ ยั คือ นกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ที่

222โรงเรียนวดั ทพั ยายทา้ ว สังกดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษานครปฐมเขต 1 ปี การศึกษา 2551จานวน 14 คน เก็บขอ้ มูลโดยใชแ้ บบทดสอบวดั ความสามารถในการอ่านจบั ใจความของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 2 แบบสอบถามความคิดเห็นท่ีมีต่อการจดั การเรียนรู้ โดยใชเ้ ทคนิคการสร้างแผนท่ีความคิดผลของการวิจยั พบวาความสามารถในการอ่านจับใจความของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 2 ก่อนและหลงั การจดั การเรียนรู้โดยใชเ้ ทคนิคสร้างแผนที่ความคิดแตกต่างกนัอยา่ งมีนยั สาคญั ทางสถิติ7.3 กรอบแนวคดิตวั แปรตน้ ตวั แปรตามการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงั ความคิด 1. ความสามารถดา้ นการเขียนสรุปความ 2. ความพงึ พอใจของนกั เรียน8. ขอบเขตของการวจิ ัย8.1 ขอบเขตดา้ นประชากร ประชากรท่ีใช้ในการวิจยั คร้ังน้ีได้แก่ นักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ 1โรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หวั ป้ อมนอก) จงั หวดั สงขลา8.2 ขอบเขตตวั แปร ตวั แปรตน้ ความสามารถการเขียนสรุปความดว้ ยการจดั การเรียนรู้แบบแผนผงัความคิด ตวั แปรตาม การพฒั นาความสามารถ8.3 ขอบเขตเชิงพ้ืนที่ โรงเรียนเทศบาล 5 (วดั หวั ป้ อมนอก) ต้งั อยถู่ นนริมทางรถไฟ ตาบลบ่อยาง อาเภอเมืองสงขลาจงั หวดั สงขลา มีเน้ือท่ี 6 ไร่ 3 งาน9. ระเบยี บวธิ ีวจิ ัย9.1 ประชากรและตวั อยา่ งนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี1 โรงเรียนเทศบาล5 (วดั หวั ป้ อมนอก) จงั หวดั สงขลา

23 9.2 เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั แบบทดสอบก่อน-หลงั เรียน แบบทดสอบวดั ความสามารถในการเขียนสรุปความและสร้างแผนผงั ความคิด 9.3 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผวู้ จิ ยั ทาการทดสอบก่อนเรียนดว้ ยแบบทดสอบวดั ความสามารถในการเขียนสรุปความและเก็บคะแนนท่ีไดจ้ ากการเขียนสรุปความและดาเนินการจดั การเรียนรู้ตามแบบแผนการจดั การเรียนรู้10. ระยะเวลาทาการวจิ ัยและแผนการดาเนินโครงการ คณะผจู้ ดั ทาไดว้ างแผนการดาเนินงานวิจยั 4 เดือน นบั ต้งั แต่เร่ิมทาวจิ ยั คือ เดือนกนั ยายนถึง เดือนธนั วาคม 2561แผนการดาเนินงานกจิ กรรม/ ข้นั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา 4 เดอื น (เดอื นสิงหาคม 2561 ถึงเดือนธันวาคม 2561 ) 12341. ศึกษาข้อมูลและจดั ทารายงานวจิ ยั บทที่ 1-32. สร้างเครื่องมือการวจิ ยั3. ส่งรายงานความกา้ วหนา้ พร้อมท้งั เสนอผูท้ รงคุณวุฒิ ตรวจสอบเครื่องมือการวิจยั ผ่านสานักวิจัยและพฒั นา

24แผนการดาเนินงานกิจกรรม/ข้นั ตอนการดาเนินงาน ระยะเวลา 4 เดือน (เดือนสิงหาคม 2561 ถึงเดือนพฤศจิกายน 2561) 12344. เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล แ ล ะวเิ คราะห์ขอ้ มลู5. จดั ทารายงานวจิ ยั ฉบบั ร่าง6. ส่งรายงานวิจยั ฉบบั ร่างไปยงัผูท้ รงคุณวุฒิผ่านสานักวิจยั และพฒั นา7.จดั ทารายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ์8. ส่งรายงานวจิ ยั ฉบบั สมบรู ณ์บรรณานุกรมกรรณิการ์ พลยทุ ธ์ิ. การศึกษาผลสมั ฤทธ์ิในการเขียนเชิงสร้างสรรคโ์ ดยใชแ้ บบฝึกการเขียนเชิง สร้างสรรค์เป็ นสื่อสาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5 โรงเรียนวดั ลาดปลาเคา้ . วทิ ยานิพนธ์ปริญญามหาบณั ฑิต สาขาวชิ าการสอนภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ , 2544ขนิษฐา แสงภกั ดี. การใชแ้ บบพฒั นาทกั ษะการเขียนสรุปความจากบทร้อยแกว้ ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 โรงเรียนบา้ นหมอ้ พฒั นากุล. วทิ ยานิพนธ์มหาบณั ฑิต สาขาวิชาการสอน ภาษาไทย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์,2540ดวงใจ ทยั อุบล. ทกั ษะการเขียนภาษาไทย. กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์,2543ดุษิต พรหมชนะ. การใชก้ ระบวนการสร้างผงั ความคิดเพอื่ ส่งเสริมความสามารถในการคิดและ

25 สร้างองคค์ วามรู้ของนกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี3 โรงเรียนปรินส์รอแยลส์วทิ ยาลยั จงั หวดั เชี ยงใหม่ .วิทยานิ พนธ์ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่,2546บนั ลือ พฤกษะวนั . พฒั นาทกั ษะการเขียนเชิงสร้างสรรค.์ กรุงเทพมหานคร : สานกั พมิ พไ์ ทยวฒั น พานิชย,์ 2535


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook