Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เงินได้พีงประเมิน ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน สื่ออบรม

เงินได้พีงประเมิน ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน สื่ออบรม

Published by T.chatrudee_chic, 2018-03-24 04:34:27

Description: เงินได้พีงประเมิน ค่าใช้จ่าย ค่าลดหย่อน สื่ออบรม

Keywords: ครูฉัตรฤดี

Search

Read the Text Version

ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดาตามประมวลรัษฎากร 1

เงินไดพ้ งึ ประเมิน• เงนิ ได้พงึ ประเมนิ แบ่งออกเป็ น 8 ประเภท (มาตรา 40) : 1) เงนิ ได้เนอื่ งจากการจ้างแรงงาน 2) เงนิ ได้เนื่องจากรับทางานให้ 3) ค่าแห่งก๊ดู วลิ ล์ ค่าแห่งลขิ สิทธ์ิ หรือสิทธิอย่างอน่ื (เรียกว่า “ค่าสิทธิ”) 4) เงนิ ได้จากการลงทุน เช่น ดอกเบยี้ เงนิ ปันผล กาไรจากการขายทรัพย์สิน 5) เงนิ ได้จากการให้เช่าทรัพย์สิน 6) เงนิ ได้จากวชิ าชีพอสิ ระ เช่น ประกอบโรคศิลป, วชิ ากฎหมาย, วศิ วกรรม, สถาปัตยกรรม, การบัญชี, ประณตี ศิลปกรรม 7) เงนิ ได้จากการรับเหมา 8) เงนิ ได้นอกจากทร่ี ะบุไว้ใน (1)-(7)• จานวนเงนิ ค่าภาษอี ากรท่จี ่ายสาหรับผู้เสียภาษี โดยผู้จ่ายเงนิ ได้หรือผู้อน่ื ออกแทนให้ ไม่ว่า ในทอดใดหรือในปี ใด จะคดิ ว่าเป็ นเงนิ ได้ลาดบั เดยี วกนั และในปี เดยี วกนั กบั เงนิ ได้ท่เี สีย ภาษนี ้นั 2

ประโยชนใ์ นการแบ่งประเภทเงินได้  กาหนดจานวนและวิธีการหกั คา่ ใชจ้ ่าย  กาหนดวิธีการคานวณภาษี  กาหนดหนา้ ท่ีในการเสียภาษีเงินไดบ้ ุคคลแบบธรรมดาคร่ึงปี  การคานวณภาษีเงินไดข้ องผมู้ ีคูส่ มรส  การหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย 3

ค่าใช้จ่าย• จานวนค่าใช้จ่ายที่สามารถนามาหักออกจากเงนิ ได้พงึ ประเมนิ ในการคานวณภาษี (มาตรา 42ทวิ - มาตรา 46) น้นั แตกต่างกนั ไปขึน้ อยู่กบั ประเภทของเงนิ ได้ :ประเภทเงนิ ได้ ค่าใช้จ่าย1 และ 2 รวมกนั 50% แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท3 เฉพาะค่าสิทธิ 50% แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท4-5 เช่น การเช่าบ้าน หกั ตามความจาเป็ นและสมควร หรือ 30%6 หักตามความจาเป็ นและสมควร หรือ 60% กรณปี ระกอบโรค ศิลป และ 30% กรณวี ชิ าชีพอสิ ระอน่ื7 หักตามความจาเป็ นและสมควร หรือ 70%8 หกั ตามความจาเป็ นและสมควร หรือ 40-85% 4

การหกั ค่าใชจ้ ่ายสาหรับเงินไดป้ ระเภท 1 และ 2 กรณีสามีภรรยา - ต่างฝ่ ายต่างมีเงินได้ ความเป็นสามีภรรยามีอยตู่ ลอดปี ภาษี - ต่างฝ่ ายตา่ งหกั ค่าใชจ้ ่ายได้ 50% แต่ไม่เกิน 100,000 บาท 5

การหกั ค่าใชจ้ ่ายสาหรับเงินไดป้ ระเภท 1 และ 2ตวั อยา่ ง สามี ภรรยา รวมคานวณ 100,000 200,000 300,000 เงินไดป้ ระเภทท่ี 1 (50,000) (100,000) (150,000) หกั ค่าใชจ้ ่าย 50,000 100,000 150,000 6

การหกั ค่าใชจ้ ่ายตามจาเป็นและสมควร รายจ่ายท่ีจะนามาหกั เป็นค่าใชจ้ ่ายตอ้ งมีลกั ษณะดงั น้ี - คา่ ใชจ้ ่ายตามปกติเกี่ยวขอ้ งและจาเป็นตอ่ การประกอบธุรกิจแต่ละ ประเภท - จานวนเหมาะสม - ไม่เป็นรายจ่ายท่ีกฎหมายหา้ มไม่ใหห้ กั เป็นรายจ่าย - ตอ้ งมีหลกั ฐานพร้อมใหต้ รวจสอบ - หากหลกั ฐานที่นามาพิสูจนป์ รากฎรายจ่ายท่ีหกั ไดน้ อ้ ยกวา่ อตั ราค่าใชจ้ ่ายท่ี กาหนดไว้ ใหถ้ ือวา่ มีคา่ ใชจ้ ่ายเท่าหลกั ฐานท่ีนามาพิสูจน์ 7

ค่าลดหย่อน• ค่าลดหย่อน หมายถงึ การท่ยี อมให้หักเงินจานวนหนึง่ ออกจากเงินได้พงึ ประเมินสาหรับค่าลดหย่อนตาม เศรษฐกจิ , การเมือง, หรือเหตผุ ลอน่ื เพอื่ บรรเทาภาระภาษีให้แก่ผ้เู สียภาษี• ตัวอย่างเช่น  ค่าลดหย่อนส่วนบุคคล 60,000 บาท  ค่าลดหย่อนสาหรับคู่สมรส 60,000 บาท  ค่าลดหย่อนสาหรับบุตร จานวน 3 คน คนละ 30,000 บาท  ค่าลดหย่อนเพอ่ื เลยี้ งดูบุพการี คนละ 30,000 บาท  ค่าลดหย่อนเบีย้ ประกนั ชีวิต หักค่าลดหย่อนได้สูงสุด 100,000 บาท  ค่าลดหย่อนเงนิ สะสมทีจ่ ่ายเข้ากองทุนประกนั สังคมที่ 5% ของเงินเดือน แต่ไม่เกนิ 750 บาทต่อ เดือน 8

ค่าลดหยอ่ น (ต่อ) เงนิ สะสมทจ่ี ่ายเข้ากองทุนสารองเลยี้ งชีพ ไม่ตา่ กว่าร้อยละ 15 ของเงนิ เดือนหรือค่าจ้าง นามาหักได้ ตามจานวนทจ่ี ่ายจริง แต่ไม่เกนิ 500,000 บาท ดอกเบีย้ จากการสินเช่ือเพอ่ื ท่ีอยู่อาศัย ตามจานวนทีจ่ ่ายจริง แต่ไม่เกนิ 100,000 บาท เงนิ บริจาคเข้าองค์การหรือสถานสาธารณกุศล สถานพยาบาล หรือสถานศึกษาตามจานวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกนิ ร้อยละ 10 ของเงินทเี่ หลอื 9

การหกั ค่าลดหยอ่ น - ค่าลดหยอ่ นสาหรับคู่สมรส 60,000 บาท o ตอ้ งเป็นสามีหรือภรรยาชอบดว้ ยกฎหมาย (จดทะเบียนสมรสระหวา่ งปี สามารถหกั ได)้ o ตอ้ งไม่มีเงินไดพ้ ึงประเมิน หรือมีแต่ไม่ไดแ้ ยกคานวณ 10

การหกั ค่าลดหยอ่ น - ค่าลดหยอ่ นสาหรับบุตรจานวน 3 คน คนละ 15,000 บาท o บุตรชอบดว้ ยกฎหมายหรือบุตรบุญธรรม o ผเู้ ยาว์ (ยงั ไม่บรรลนุ ิติภาวะ) หรือ o ผทู้ ่ีศาลส่ังให้เป็ นคนไร้ความสามารถหรือเสมือนไร้ความสามารถอนั อย่ใู น ความอุปการะเล้ียงดู หรือ o บรรลุนิติภาวะแต่ไม่เกิน 25 ปี และยงั ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย หรื อช้ัน อุดมศึกษา (ระดบั อนุปริญญา หรือปริญญาตรีข้ึนไป) o นบั จานวนบุตรเฉพาะบุตรที่มีชีวิตอย่ตู ามลาดบั อายสุ ูงสุด โดยนบั รวมบุตรที่ ไม่อยใู่ นเกณฑไ์ ดร้ ับการลดหยอ่ นดว้ ย 11

การหกั ค่าลดหยอ่ น - เพ่อื เล้ียงดบู ุพการี คนละ 30,000 บาท o อายุ 60 ปี ข้ึนไป o มีรายไดไ้ ม่เพียงพอแก่การยงั ชีพ (มีเงินไดพ้ ึงประเมินในปี ท่ีหักลดหย่อนไม่ เกิน 30,000 บาท) o อยใู่ นความอุปการะเล้ียงดูของผมู้ ีเงินได้ (ผมู้ ีเงินไดต้ อ้ งมีหลกั ฐานรับรองการ อุปการะเล้ียงดจู ากบิดามารดาที่ผมู้ ีเงินไดใ้ ชส้ ิทธิหกั ลดหยอ่ น) 12

การหกั ค่าลดหยอ่ น - เบ้ียประกนั ชีวติ สูงสุดไม่เกิน 10,000 บาท o กรมธรรมม์ ีกาหนดระยะเวลา 10 ปี ข้ึนไป o ผรู้ ับประกนั ภยั ประกอบกิจการประกนั ชีวิตในราชอาณาจกั ร เบ้ียประกนั ชีวิตส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาทต่อปี ไดร้ ับยกเวน้ ตามกฎกระทรวงฉบับที่ 126 ข้อ 2 (61) ทาให้เท่ากับว่าหักได้รวมกันไม่เกิน 100,000 บาทตอ่ ปี 13

การหกั ค่าลดหยอ่ น - เงินสะสมที่จ่ายเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ ตามจานวนท่ีจ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10,000 บาท เงินสะสมในอตั ราไม่เกินร้อยละ 15 ของค่าจา้ ง เฉพาะส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ ไม่เกิน 490,000 บาทต่อปี ไดร้ ับยกเวน้ ตามกฎกระทรวงฉบบั ที่ 126 ขอ้ 2 (35) ทา ใหเ้ ท่ากบั วา่ หกั ไดร้ วมกนั ไม่เกิน 500,000 บาทตอ่ ปี 14

การหกั ค่าลดหยอ่ น - ดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ที่ผมู้ ีเงินไดจ้ ่ายใหแ้ ก่ธนาคารหรือสถาบนั การเงินอ่ืน สาหรับการ กยู้ มื เงินเพื่อซ้ือ เช่าซ้ือ หรือสร้างอาคารอยอู่ าศยั (รวมถึงอาคารพร้อมที่ดิน) โดย จานองอาคารท่ีซ้ือหรือสร้างเป็นประกนั การกยู้ มื น้นั ตามจานวนท่ีจ่ายจริงแต่ไม่ เกิน 10,000 บาท ดอกเบ้ียส่วนที่เกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 90,000 บาทตอ่ ปี ไดร้ ับยกเวน้ ตาม กฎกระทรวงฉบบั ที่ 126 ขอ้ 2 (53) ทาใหเ้ ท่ากบั วา่ หกั ไดร้ วมกนั ไม่เกิน 100,000 บาทต่อปี 15

การหกั ค่าลดหยอ่ น - ภาษีผมู้ ีเงินไดไ้ ม่เป็นผอู้ ยใู่ นประเทศไทย o หกั ลดหยอ่ นไดเ้ ฉพาะสามีภรรยา บุตร และบุพการีท่ีอยใู่ นประเทศไทย - ภาษีหา้ งหุน้ ส่วนสามญั หรือคณะบุคคลท่ีไม่ใช่บุคคล o หกั ค่าลดหยอ่ นสาหรับผมู้ ีเงินไดไ้ ดแ้ ก่ ผเู้ ป็นหุน้ ส่วนหรือบุคคลในคณะแต่ละ คนที่อยใู่ นประเทศไทย คนละ 30,000บาท แตร่ วมกนั ตอ้ งไม่เกิน 60,000 บาท 16


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook