Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม

คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม

Published by สนง.พมจ.ชลบุรี, 2022-02-10 06:41:12

Description: หมวดหมู่ : สาระน่ารู้
ชื่อหนังสือ : คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม
ชื่อหน่วยงานเจ้าของ : สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ปีที่จัดพิมพ์ : 2559
จำนวน(หน้า) : 130 หน้า

Search

Read the Text Version

คำ�ศัพทน์ า่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 85 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า 127 สวัสดิการโดยรัฐที่เกิดจากการกระจายอำ�นาจจาก ทศิ ทางและ ส่วนกลางสู่ท้องถิ่น เป็นรูปแบบการจัดสวัสดิการร่วม รูปแบบการจัด สวัสดิการท้องถนิ่ ระหว่างรัฐบาลกลางกับรัฐบาลท้องถ่ิน โดยใช้แผน  สวัสดกิ ารสังคม โครงการ กิจกรรมด้านสวัสดิการสังคมท่ีตอบสนองกับ ของประเทศไทย  ความต้องการของแต่ละท้องถิน่ 2548 128 ระบบการจัดทำ�บริการ โดยรัฐเป็นฝ่ายแบกรับความ ฐานข้อมูลการเมือง รับผิดชอบจัดสวัสดิการครอบคลุมทุกอย่างให้กับ การปกครองสถาบนั สวัสดกิ ารนิยม ประชาชน ภายใตร้ ะบบสวสั ดกิ ารดงั กลา่ ว รฐั มภี าระดา้ น พระปกเกลา้ ค่าใช้จ่ายสูงมาก ทำ�ให้ต้องจัดเก็บภาษีจากประชาชน http://wiki.ac.th ในอัตราสูงเช่นกัน เพื่อนำ�มาเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดทำ� บริการต่างๆ สนองความต้องการของประชาชนในทาง ปฏิบัติ สวัสดิการนิยมจะมีความหมายกว้างขวางเพียงใด  ครอบคลุมบริการประเภทใดบ้างนั้นขน้ึ อยู่กบั วิธกี ารของ แต่ละประเทศ 129 สวสั ดกิ ารทเ่ี ปดิ โอกาสใหป้ ระชาสงั คมไดเ้ ขา้ มารบั ผดิ ชอบ รองศาสตรจ์ ารย ์ สวัสดิการสังคมของประชาชน องค์กรการกุศล อาสา ดร.กติ ิพฒั น์ สมัคร ชุมชน ตลอดจนภาคเศรษฐกิจและธุรกิจพาณิชย์ นนทปทั มะดุล  สวสั ดกิ ารพหลุ กั ษณ์ ในตลาดเสรีเข้ามาจัดบริการ โดยท่ีรัฐก็ไม่ได้ยุติการ คณะสังคม จัดการโดยเด็ดขาด ทวา่ เขา้ มาดแู ลในระดบั ทีเ่ หมาะสม สงเคราะห์ศาสตร์  มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ 2550 130 การสร้างหลักประกันผ่านช่องทางของวัฒนธรรมให้กับ ทิศทางและรปู แบบ คนในชุมชน เป็นสวัสดิการที่เกิดขึ้นจากฐานคิดด้าน การจดั สวสั ดกิ าร สวสั ดกิ ารพืน้ ถิน่ ประเพณี ด้านวัฒนธรรมเฉพาะถิ่น ด้านภูมิปัญญา สงั คม ชาวบ้าน ด้านศาสนา ด้านจิตวิญญาณ ด้านอ่ืนๆ เช่น  ของประเทศไทย  กองบุญขา้ ว กองทนุ กาชาดในศาสนาอสิ ลาม เป็นตน้ 2548

86 คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 131 ระบบการจัดบริการทางสังคมซึ่งเก่ียวกับการป้องกัน  พระราชบัญญตั ิ การแก้ไขปัญหา การพัฒนาและการส่งเสริมความมั่นคง สง่ เสริมการจัด สวัสดกิ ารสังคม ทางสังคม เพื่อตอบสนองความจำ�เป็นขั้นพ้ืนฐาน สวสั ดิการสังคม  (Social Welfare)  ของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีและพึ่งพาตนเอง พ.ศ.2546 ได้อย่างทั่วถึง เหมาะสม เป็นธรรมและให้เป็นไป แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ   ตามมาตรฐาน ทั้งด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย  ฉบบั ที่ 2  ที่อยู่อาศัย การทำ�งาน และการมีรายได้ นันทนาการ  พ.ศ.2550 กระบวนการยุติธรรม และการบริหารทางสังคมทั่วไป  โดยคำ�นึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิที่ประชาชน ต้องได้รับ และการมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคม ทุกระดบั การปฏิบัติงาน ซ่ึงเป็นระบบรวบรวมวิถีแนวทางในการ Edmand a. Smith  แก้ไขปัญหาทางสังคมและเศรษฐกิจ ซ่ึงจะสะท้อน and  ให้เห็นค่านิยมในสังคมและใช้ความรู้ ความชำ�นาญท่ี Nathan E.Cohen ได้ปฏบิ ตั มิ าในการแก้ปญั หาต่างๆ  การปฏิบัติจัดทำ�ท้ังหลาย ไม่ว่าโดยส่วนราชการหรือ Encyclopedia เอกชน เป็นการปฏิบัติจัดทำ�เพ่ือช่วยเหลือบุคคล  Britannica ครอบครัว กลุ่มคน และชุมชน ให้มีมาตรฐานการ ครองชีพอันดี มีสุขภาพและสังคมที่น่าพอใจ โดยมุ่งให้ สามารถช่วยเหลือตนเองได้ และช่วยเหลือผู้อ่ืนในสังคม เดียวกนั ต่อไป ระบบของบริการสังคมและสถาบันที่จัดข้ึนอย่างมี องคก์ าร ระเบียบ เพ่อื ช่วยให้บุคคลแต่ละคนและกล่มุ มีมาตรฐาน สหประชาชาติ ของชวี ติ และสขุ ภาพอนามยั ในระดบั ทน่ี า่ พอใจ ตลอดจน มีสัมพันธภาพส่วนตัว และสัมพันธภาพทางสังคมที่เปิด โอกาสใหแ้ ตล่ ะคนและกลมุ่ มคี วามสามารถในการพฒั นา ตนเองและกลุ่ม ให้สอดคล้องกับความต้องการของ ครอบครวั และชุมชนดว้ ย

คำ�ศัพทน์ ่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 87 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า การดำ�เนินการทุกอย่างทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อ สุวรรณ รน่ื ยศ ช่วยเหลือเกื้อกูลเพ่ือนมนุษย์ หรือกลุ่มชนท่ีรวมกันเป็น สงั คม เปน็ ชาต ิ ผทู้ ไ่ี มส่ ามารถชว่ ยตนเองไดใ้ หม้ คี วามสขุ   ทง้ั ทางกายและจติ ใจ ใหม้ ปี จั จยั อนั จ�ำ เปน็ แกก่ ารด�ำ รงชพี   คอื อาหาร เครอ่ื งนงุ่ หม่  ทอ่ี ยอู่ าศยั  ยารกั ษาโรค ตลอดจน การบำ�บัดโรคภัยไข้เจ็บ การศึกษาอบรมตามสมควรแก่ อัตภาพ และความรู้ท่ีจะทำ�มาหาเลี้ยงชีพโดยสุจริต เพื่อ ความสงบเรียบรอ้ ยและความเป็นปกึ แผ่นของสงั คม สถาบันท่ีให้การช่วยเหลือบุคคล ครอบครัว กลุ่ม  จงจติ ต์ ชุมชน เพื่อให้บุคคลเหล่านี้ได้มีมาตรฐานการครองชีพ โศภณคณาภรณ์ อันดี มีสุขภาพอนามัยอันดีมีสัมพันธภาพทางสังคม ท่ีดีกับบุคคลอื่น ดำ�เนินงานท้ังรัฐบาลและเอกชน ความเป็นอยู่ของประชาชนทั่วไปทุกด้าน เก่ียวข้อง เรณ ู โชตดิ ิลก กับเศรษฐกิจสังคมและพัฒนาบุคคลและกลุ่มต่างๆ  พ้ื น ฐ า น ใ น เ รื่ อ ง ส วั ส ดิ ก า ร สั ง ค ม   จ ะ ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย  หลักประกันรายได้ขั้นต่ำ� มีการหาบ้านช่องที่พักอาศัย ของประชาชน มีบริการในเรื่องของประชาชน และ มีระบบประกันสังคม ดำ�เนินงานทั้งรัฐบาลและเอกชน  ตามนโยบายหรือโครงการต่างๆ เพ่ือให้ประชาชนได้ รับบริการ เพ่ือท่ีสามารถจะช่วยเหลือตนเองและผู้อื่น ในสงั คมตอ่ ไปได้ กิจกรรมท่ีรัฐและเอกชนทุกระดับจัดให้มีขึ้น ท้ังโดยที่ วิจติ ร ระวิวงศ์ เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ เพอ่ื ประกนั ความเปน็ อยู่ ท่ีดีของประชาชนโดยอาศัยผู้ปฏิบัติที่มีความรู้จากหลาย สาขา

88 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทีม่ า การดำ�เนินงานเพ่ือสงเคราะห์ช่วยเหลือผู้ทุกข์ยาก ประมูล จันทรจ�ำ นง เดือดร้อน รวมทั้งการป้องกัน ขจัดบรรเทาแก้ไขปัญหา สังคมต่างๆ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ ของบุคคลแต่ละคน กลุ่มชน และชุมชนให้ดีขึ้น ฉะน้ัน งานสวัสดิการสังคมจึงเป็นงานที่มีขอบเขตกว้างขวาง  เก่ียวข้องกับการดำ�รงชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน ในสังคม และหมายรวมถึงการดำ�เนินงานที่สำ�คัญ มากมายสาขา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ได้แก่ การศึกษา  การสาธารณสุข การจัดหาที่อยู่อาศัยให้กับประชาชน  การแรงงาน การประกันสังคม และการจัดบริการสังคม ประเภทตา่ งๆ กจิ กรรมทง้ั หลายทง้ั ปวงทห่ี นว่ ยงานรฐั บาลหรอื หนว่ ยงาน กรมประชาสงเคราะห์ เอกชนจัดข้ึนอย่างมีระเบียบ เพื่อป้องกันขจัดปัดเป่า หรือแก้ปัญหาสังคมต่างๆ หรือเพ่ือปรับปรุงชีวิตความ เป็นอยู่ของบุคคลของแต่ละคน กลุ่มชน หรือชุมชน ให้ดีขึ้น ในการจัดบริการหรือกิจกรรมตามนัยน้ี ซึ่งอาจ เป็นบริการหรือกิจกรรมที่หน่วยงานอ่ืนจัดขึ้นเอง หรือสนับสนุนให้หน่วยงานอ่ืนจัดข้ึนก็ตามจำ�เป็นต้อง อาศัยตามหลักวิชาและทักษะของนักวิชาชีพหลายสาขา ร่วมกันดำ�เนินงานแบบสหวิชาชีพ เช่น แพทย์ พยาบาล  นักกฎหมาย นักการศึกษา วิศวกร นักการศาสนา และ นกั สงั คมสงเคราะห์ เป็นตน้ เป็นความพยายามส่งเสริมให้ประชาชนมีมาตรฐาน จอห์น เทอรเ์ นอร์ ความเป็นอยู่ท่ีมั่นคงโดยครอบคลุมพ้ืนฐานท่ีม่ันคง  (John  Turner)  ครอบคลุมการบริการกับบุคคลและชุมชนในลักษณะ การพัฒนาสังคมและการเสริมสร้างให้บุคคลสามารถ เผชิญกับสภาพปัญหาทางร่างกายจิตใจ เศรษฐกิจและ สังคม ตลอดจนการพยายามขจัดสภาวะท่ีพ่ึงตนเอง ไมไ่ ดข้ องประชาชน ใหห้ มดไป

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 89 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า กิจกรรมต่างๆ ท่ีจัดต้ังข้ึนโดยหน่วยงานท้ังของรัฐบาล Encyclopedia  และอาสาสมัครเพ่ือมุ่งป้องกันและขจัดปัญหาสังคม  of Social Work หรือปรับปรุงความเป็นอยู่ท่ีดีของบุคคล กลุ่มและชุมชน  กิจกรรมดังกล่าวน้ีใช้บุคลากรนักวิชาชีพท่ีเก่ียวข้องอย่าง มากมาย อาทิ แพทย์ พยาบาล นักกฎหมาย นักการ ศึกษา วิศวกร นักบริหาร นักสังคมสงเคราะห์ ตลอดจน ผู้ช่วยนกั วชิ าชพี ในสาขาตา่ งๆ  (paraprofessional)  ระเบียบ นโยบาย ผลประโยชน์และบริการ ซ่ึงจะทำ�ให้ ไฟรดแ์ ลนเดอร์ การดำ�เนินการจัดบริการต่างๆ เป็นไปได้โดยสอดคล้อง และแอพท์ กับความต้องการของสังคม เป็นที่ยอมรับกันว่า  (Friedlander  สวัสดิการสังคมเป็นบริการพ้ืนฐานท่ีมีความสำ�คัญทำ�ให้ and Apte)  เกิดการเปล่ียนแปลงท่ีรวดเร็วและถาวร เปลี่ยนแปลง จากสภาวะที่เคยยากลำ�บากไปสู่สิ่งท่ีคาดหวังดีกว่า รวมไปถึงความอุดมสมบรู ณ์ในท่สี ุด สถาบันหนึ่งในสังคม ในขณะท่ีทุกสังคมมักจะประกอบ เฟเดอรโิ ก  ด้วยอย่างน้อย 5 สถาบันหลัก ได้แก่ (1) สถาบัน (Federico)  ครอบครัว (2) สถาบันการศึกษา (3) สถาบันศาสนา  (4) สถาบันการเมือง และ (5) สถาบันเศรษฐกิจ  สวัสดิการสังคมนับเป็นสวัสดิการท่ี 6 ท่ีมีหน้าที่สำ�คัญ อย่างเด่นชัดทางสังคม และมีความสัมพันธ์อย่างแยก ไม่ออกทง้ั สถาบันทั้ง 5 ขา้ งตน้

90 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า กิจกรรมท่ีรัฐบาลและเอกชนทุกระดับจัดให้มีขึ้นท้ังที่ รศ.วจิ ติ ร ระววิ งศ์ เปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ เพอ่ื ประกนั ความเปน็ อยู่ ท่ีดีของประชาชน โดยอาศัยผู้ปฏิบัติงานท่ีมีความรู้ จากหลายสาขา ไม่เฉพาะแต่นักสังคมสงเคราะห์เท่านั้น  ท้ังน้ีจุดศูนย์กลางของงานสวัสดิการสังคมคือประชาชน  โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อความเป็นอยู่ท่ีดีและมีหลักประกัน  งานสวัสดิการสังคมไม่เพียงแต่จะช่วยเหลือหรือแก้ไข ปัญหาแก่บุคคลที่ประสบความเดือดร้อนเท่านั้น แต่ยัง กินความรวมถึงมาตรการป้องกัน และส่งเสริมสวัสดิการ ของสังคมให้ดีขึ้นด้วย ประการท่ีสำ�คัญ สวัสดิการสังคม ถือเป็นส่วนหน่ึงของงานพัฒนาสังคม สวัสดิการสังคม มีความเก่ียวข้องกับการพัฒนาสังคมในฐานะท่ีเป็น เป้าหมายหน่ึงของการพัฒนาสังคม ดังน้ัน สวัสดิการ สังคมยังหมายถึงการกำ�หนดนโยบายสังคมโดยรัฐ ที่จะมีผลต่อความเป็นอยู่ที่ดีของประชาชนโดยมี องค์ประกอบท่ีสำ�คัญ 3 ประการ ได้แก่ (1) การประกัน สังคม (2) การประชาสงเคราะห์ (3) บริการสังคม เป็นเรื่องของทุกคนในสังคม เพราะคำ�ว่า สวัสดิการหรือ รศ.วันทนยี  ์ สวัสดิภาพมีความหมายในแง่การกินดีอยู่ดี (Social  วาสิกะสนิ well-being) ของทุกคน ไม่เฉพาะผู้ยากไร้เท่าน้ัน  คนทุกคนท่ีเกิดมาในโลกนี้ตามปฏิญญาสากลของ องค์การสหประชาชาติในเร่ืองสิทธิท่ีทุกคนจะต้องได้รับ  และเปน็ หนา้ ทข่ี องรฐั ทจ่ี ะตอ้ งจดั บรกิ ารตา่ งๆ ไวใ้ ห ้ และ ความต้องการขั้นพ้ืนฐานก็เป็นสิ่งท่ีทุกคนรู้ว่าหมายถึง  อาหาร เส้ือผ้า ท่ีอยู่อาศัย และยารักษาโรค เป็นปัจจัย ขั้นพ้ืนฐานท่ีรัฐจะต้องจัดหาที่อยู่อาศัย ให้กับประชาชน  โดยจัดให้ประชาชนได้มีงานทำ�เพื่อให้มีเงินสำ�หรับซ้ือ เส้ือผ้า ท่ีอยู่อาศัย ยารักษาโรค จัดให้มีสถานพยาบาล สำ�หรับประชาชน เมื่อเจ็บป่วยไม่ว่าประชาชนคนนั้นจะ อาศยั อยู่ในเมืองใหญ่ หรือในชนบททีห่ ่างไกล

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 91 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่ีมา 132 สวัสดกิ ารข้นั ต�ำ่  ท่ที �ำ ใหช้ ีวติ อย่ไู ดส้ มกับความเป็นมนุษย์ แผนยุทธศาสตร์ เป็นสวัสดิการท่ีรัฐมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบทั้ง สวสั ดกิ ารสงั คมไทย  การเงินและการกำ�หนดกฎระเบียบ เน้นการสร้าง ฉบบั ที่ 2 สวสั ดิการถว้ นหน้า  ระบบการคุ้มครองและป้องกัน (more active) ต้องเป็น พ.ศ.2555-2559 (Welfare for All)  แบบถ้วนหน้าจริงๆ เม่ือมีผู้หลุดลอดจากระบบการ คณะกรรมการ คมุ้ ครอง จงึ หยบิ ยน่ื การชว่ ยเหลอื แบบใหเ้ ปลา่  (passive)  ส่งเสรมิ การจดั เป็น targeting ถ้าส่วนที่เป็นถ้วนหน้าดีพอ ส่วนท่เี ป็น  สวสั ดกิ ารสังคม targeting จะมีเพียงเล็กน้อย ระบบสวัสดิการจะมีอยู่ แห่งชาต ิ ไมว่ า่ เศรษฐกจิ จะดหี รือไม ่ 133 เป็นระบบสังคมและเศรษฐกิจ ซ่ึงมีลักษณะ คือสังคม วิถีพเี ดีย เปน็ เจา้ ของปจั จยั การผลติ  และการจดั การเศรษฐกจิ แบบ http://th.wikipedia. สังคมนิยม ร่วมมือ ตลอดจนทฤษฎีและขบวนการทางการเมือง org ซึ่งมุ่งสถาปนาระบบ ดังกล่าว “สังคมเป็นเจ้าของ” อาจ หมายถึง การประกอบการสหกรณ์ การเป็นเจ้าของร่วม  รัฐเป็นเจ้าของพลเมืองเป็นเจ้าของความเสมอภาค  พลเมืองเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ หรือที่กล่าวมารวมกัน มี ความผนั แปรของสงั คมนยิ มจ�ำ นวนมาก และไมม่ นี ยิ ามใด ครอบคลุมท้ังหมด ความผันแปรเหล่าน้ีแตกต่างกันใน ประเภทของการเป็นเจ้าของในสังคมท่ีส่งเสริม ระดับ ที่พึ่งพาตลาดหรือการวางแผน วิธีการจัดระเบียบการ จัดการภายในสถาบันการผลิต และบทบาทของรัฐ ในการสร้างสงั คมนิยม

92 คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า ระบอบการปกครองหนึ่ง ท่ีรวมอำ�นาจไว้ที่ศูนย์กลาง https://www. ของประเทศ คือคณะรัฐบาลและประมุขของประเทศ  l3nr.org2posts เป็นระบอบการปกครองที่ไม่มีกษัตริย์เป็นประมุข จึงมี 2367593 ลักษณะเป็นสาธารณรัฐเสมอ ทรัพย์สินส่วนใหญ่รัฐบาล จะเป็นผู้รวบรวมไว้ และแจกจ่ายให้ประชาชนอย่าง เท่าเทียมกันที่สุด เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหาความเหล่ือมล้ำ� ทางสังคมและความไมเ่ ท่าเทยี ม 134 การผนึกกำ�ลังจากภาคส่วนต่างๆ ในสังคมสร้างสรรค์ แผนยุทธศาสตร์ สวัสดิการสังคมขึ้นในหลายรูปแบบ มีการจัดการโดย สวัสดิการสงั คมไทย  สังคมสวสั ดกิ าร  หลายสถาบัน และสร้างความร่วมมือจากหลายฝ่ายให้ ฉบบั ท ี่ 2 (Welfare � เข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตสวัสดิการอย่างกว้างขวาง  พ.ศ.2555-2559 Society)  ครอบคลุม โดยแต่ละรูปแบบและแต่ละสถาบัน มีความ (คณะกรรมการ เปน็ อสิ ระตอ่ กนั  ภายใตค้ วามรบั ผดิ ชอบและการดแู ลของ สง่ เสริมการจดั สังคมโดยรวม (การกระจายรายได้ด้วยสังคมสวัสดิการ  สวัสดิการสังคม สภาทปี่ รึกษาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาต)ิ   แห่งชาต)ิ   135 ศาสตร์และศิลป์ทางวิชาชีพในการป้องกัน แก้ไข ฟ้ืนฟู  แผนยุทธศาสตร์ และพัฒนาบุคคล กลุ่ม ชุมชน ท้ังท่ีประสบและไม่ สวัสดกิ ารสงั คมไทย  สังคมสงเคราะห์ ประสบปัญหาความเดือดร้อน ให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ี ฉบบั ท่ี 2 (Social Work)  ทางสังคมเพ่ือช่วยเหลือตนเอง ครอบครัว และชุมชน  พ.ศ.2555-2559 ตลอดจนปรับตนเองให้เข้ากับสภาพแวดล้อมเพื่อชีวิต (คณะกรรมการ ความเป็นอยู่ที่ดใี นสังคมตอ่ ไป ส่งเสริมการจัด สวัสดิการสังคม แห่งชาต)ิ  

คำ�ศัพท์น่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 93 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า “วิชาชีพสังคมสงเคราะห์” ส่งเสริม สนับสนุนการ สมาพนั ธ์ เปล่ียนแปลงทางสังคมการแก้ไขปัญหาความสัมพันธ์ นกั สังคมสงเคราะห์ ของมนุษย์ กระตุ้นเสริมพลังและส่งเสริมเสรีภาพของ นานาชาต,ิ ประชาชนให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น โดยใช้ทฤษฎี http://gotoknow. ท่ีเก่ียวกับพฤติกรรมมนุษย์และระบบทางสังคม งาน org/blog/osopa/ สังคมสงเคราะห์เช่ือมระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อมโดยรอบ  234101 รากฐานสำ�คัญคือ หลักสิทธิมนุษยชนและหลักความ ยุตธิ รรมในสังคม เป็นวิชาชีพที่ใช้วิชาการในการปฏิบัติงานจริงกับกลุ่ม ระพพี รรณ ค�ำ หอม เป้าหมายทางสังคม เพื่อให้เกิดบริการทางสังคมที่ ตอบสนองความต้องการของคนทุกคน สังคมทุกระดับ ภายใต้หลักการสิทธิมนุษยชน ความเป็นธรรมทาง สังคม โดยมุ่งการเสริมพลังอำ�นาจ อันจะนำ�ไปสู่การ พัฒนาตนเองและการพัฒนาสังคมแบบย่ังยืนท้ังใน ระดับประเทศและระดบั สากล เป็นวิชาชีพอย่างหน่ึงซึ่งให้บริการแก่ประชาชน โดย Helen I. Clarke มีวัตถุประสงค์ท่ีจะช่วยเหลือประชาชน ซึ่งอาจจะเป็น บุคคลเดียว กลุ่มคน หรือชุมชน โดยช่วยแก้ปัญหาท่ีเขา ประสบอยู่ บริการดังกล่าวเป็นบริการขององค์การหรือ สถาบันที่เก่ียวข้องกับงานสังคมสงเคราะห์โดยตรงและ โดยอ้อม เช่น สถานสงเคราะห์ โรงพยาบาล โรงเรียน  ศนู ย์บริการตา่ งๆ เป็นตน้ ศาสตร์และศิลป์ของการจัดหาบริการเพ่ือส่งเสริมความ ยพุ า วงศ์ไชย สามารถของบุคคลให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ของตน ในสังคมอย่างมีประสิทธิภาพและดำ�รงชีพอยู่ได้อย่าง เปน็ สุข

94 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่มี า การนำ�ความรู้ความเข้าใจศาสตร์ต่างๆ ท่ีเก่ียวข้อง ศรีทับทมิ   กับมนุษย์และสังคม เช่น พฤติกรรมศาสตร์และ พานชิ พนั ธ์ สังคมศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในการทำ�ความเข้าใจกระจ่าง ชัดในปัญหาความเดือดร้อนของมนุษย์และสังคม ผนวก ทัศนยี  ์ เข้ากับองค์ความรู้ในกระบวนการช่วยเหลือมนุษย์และ ลกั ขณาภิชนชัช สังคมด้วยระเบียบวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผสมผสาน กับทัศนคติ หลักการ และวัตถุประสงค์ของการให้ความ ช่วยเหลือ เพ่ือให้มนุษย์ท้ังท่ีเป็นบุคคล กลุ่ม ชุมชน  และสังคม สามารถช่วยเหลือและพึ่งพาตนเองได้ มีการ เปลี่ยนแปลงทีด่ ีข้นึ  และมคี ุณภาพชวี ิตทสี่ งู ข้นึ ศิลป์ของการนำ�เอาทรัพยากรต่างๆรวมท้ังทุนทรัพย์  Joseph Anderson วัสดุอุปกรณ์ บุคลากร และบริการสังคมต่างๆ ในชุมชน มาช่วยบุคคลแต่ละคน กลุ่มชน และชุมชนโดยใช้ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Method) เพื่อช่วย ให้บุคคล กลุ่มชน และชุมชนเหล่านั้น รู้จักช่วยตนเอง ให้มากที่สุดเท่าที่จะทำ�ได้ ท้ังน้ีเพราะยึดหลักและ ความเชอ่ื วา่  คนเราทกุ คนยอ่ มมคี วามสามารถ (Capacity)  หรือสมรรถภาพ (Potentiality) ในตัวโดยจะสามารถ ประสบผลส�ำ เรจ็  3 ประการ คอื   1. สามารถปฏิบัติหน้าท่ีของตนเองได้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม 2. สามารถมีความสัมพันธ์ท่ีดีและปรับตนเองให้เข้า กับสมาชิกในครอบครัว กลุ่ม และชุมชน ตลอดจน สงั คมไดด้ ี 3. มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน (Better Quality of Life)  ป ร ะ ส บ ค ว า ม สุ ข   ค ว า ม ม่ั น ค ง   ป ล อ ด ภั ย   แ ล ะ เสถียรภาพท่ดี ขี น้ึ

คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 95 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทีม่ า อาชีพอย่างหน่ึงเก่ียวกับการให้บริการแก่ประชาชน  Max Siporin เพ่ือช่วยเหลือไม่ว่าเขาเหล่าน้ันจะอยู่ในฐานะเช่นใด  ให้ได้รับความพึงพอใจในมาตรฐานการดำ�รงชีวิต  มีความสัมพันธ์อันดีกับคนอื่นๆ ตามความสามารถและ ตามอัตภาพของเขา วิธีการทางสังคมเพื่อช่วยเหลือ ป้องกัน และแก้ปัญหา โซเฟีย ท.ี  บวิ ทริน ของบุคคลและของสังคม เพ่ือให้บุคคลเหล่าน้ันกระทำ� (Zofia T.Butryn)  หน้าท่ีในสังคมต่อไปได้ เป็นวิชาชีพให้บริการแก่มนุษย์ ซึ่งต้องอาศัยศิลปะและวิธีการแบบวิทยาศาสตร์ในการ ปฏบิ ตั งิ าน วิชาชีพแห่งการให้ความช่วยเหลือ โดยมีจุดมุ่งหมายอยู่ รศ.นันทนยี ์ ไชยสุต ที่การส่งเสริมสวัสดิภาพของมนุษย์ ผ่านการป้องกันและ ขจัดปัญหาความเดือดร้อนต่างๆ ให้หมดสิ้นไปรวมทั้ง เกี่ยวข้องกับปัญหาในด้านชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์ อย่างกว้างขวาง การจัดให้มีมาตรการต่างๆ เพ่ือป้องกันและแก้ไขปัญหา ศ.นวลนาฎ  ความเดือดร้อนของประชาชนเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่ม  อมาตยกุล หรือท้ังชุมชน โดยใช้ทฤษฎีของการสังคมสงเคราะห์ เป็นแนวทางปฏิบัติ ผู้ท่ีปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ หรือ ท่ีเรียกว่า “นักสังคมสงเคราะห์” จะต้องปฏิบัติงานนี้ โดยใช้หลักวิชาชีพ หรือนัยหนึ่งโดยใช้หลักวิธีการ และ กระบวนการของนักสังคมสงเคราะห์ ไม่ใช่เพียงแต่หยิบ ย่ืนสิ่งที่ผู้ท่ีมีปัญหาต้องการก็เป็นอันว่าได้ให้บริการทาง สังคมสงเคราะห์แล้ว

96 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า วิชาชีพหน่ึง วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ ถือกำ�เนิดขึ้นมา จงจติ ต ์ เพื่อช่วยเหลือมนุษย์ให้มีชีวิตและความเป็นอยู่อย่าง โศภณคณาภรณ์ สมศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ และช่วยสังคมให้มี ลักษณะที่จะเอื้ออำ�นวยให้มนุษย์เจริญงอกงาม สามารถ เป็นพลังทางเศรษฐกิจและสังคมให้แก่ประเทศชาติได้ อย่างมีประสิทธภิ าพ งานท่ีส่งเสริมความสามารถของบุคคลให้อยู่ในสังคมได้ นภิ า สวุ รรณแสง  อย่างผาสุกตามอัตภาพของแตล่ ะบุคคล ตุมรสนุ ทร การช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ให้เขาสามารถช่วยตนเองได้  รศ.ดร. ศรที ับทมิ   สามารถปฏิบัติหน้าท่ีในสังคมได้ดีและสามารถมีชีวิตอยู่ พานชิ พันธ์, 2529 ในสังคมอย่างเปน็ ปกตสิ ุข เป็นท้ังวิชาชีพ กระบวนการ วิธีการ และการปฏิบัติงาน พระเทพเวที  หรือการกระทำ�ซึ่งต้องอาศัยทั้งศาสตร์และศิลปะ  (ประยุทธ์ ปยุตโต)  ซง่ึ สรปุ ไดว้ า่ สงั คมสงเคราะหเ์ ปน็ วธิ กี ารทใ่ี ชเ้ ปน็ เครอ่ื งมอื ในการจัดการบริการทางสังคมประเภทต่างๆ โดยตรง ใหแ้ ก่บคุ คล กลมุ่  และชุมชน ซง่ึ ประสบปัญหาเดือดรอ้ น และอน่ื ๆ จนไมส่ ามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได ้ ในระยะแรก จำ�เป็นต้องอาศัยความช่วยเหลือจากนักสังคมสงเคราะห์ ซ่ึงมีความรู้ ทัศนคติ และประสบการณ์หรือทักษะใน ง า น สั ง ค ม ส ง เ ค ร า ะ ห์ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี   โ ด ย ที่ นั ก สั ง ค ม สงเคราะห์จะใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ใช้ความสามารถ หรือศักยภาพของเขาเองช่วยให้เขาสามารถปฏิบัติหน้าท่ี ทางสังคมของตนเองได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม  สามารถปรับตัวเองให้เข้ากับสมาชิกในครอบครัว กลุ่ม  และชุมชน ตลอดจนสังคมได้ด้วยดี มีคุณภาพที่ดี มคี วามมั่นคงปลอดภยั และเสถยี รภาพ

คำ�ศัพท์น่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 97 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา ความมุ่งหมายของสังคมสงเคราะห์ ไม่ใช่เป็นเพียงเอา ผศ.ดร.นงลัฏษณ ์ อะไรไปให้เขา ไม่ใช่เอาบริการไปให้เขา เอาทรัพย์สิน เทพสวัสด,ิ์  2529 เงินทองไปให้ แต่หมายถึงทำ�ให้สังคมรวมใจกัน ผนึก ยึดเหนี่ยวกันไว้ให้ได้ ถ้ามองในแง่น้ี หน้าที่ของเรา  จึงไม่ใช่เป็นเพียงเอาอะไรไปหยิบยื่นให้ การทำ�งาน สังคมสงเคราะห์จึงทำ�ให้สังคมมี บูรณาการ (Social  Integration) ไมเ่ กดิ การแตกแยกระหว่างคนในสังคม เป็นศาสตร์และศิลป และเป็นวิชาชีพในการช่วยเหลือ Herbert Hewitt  ผู้ประสบความทุกข์ยาก ให้มีความสามารถในการแก้ไข Stroup (1965:8)  ปัญหาของตัวเองต่อไป เพื่อบรรเทาความต้องการและ ศาสตราจารย์ ปัญหาท้ังของบุคคล กลุ่มชน และชุมชน โดยมีจุดมุ่ง ทางสังคมและ หมาย คือ ช่วยเขาเพ่ือช่วยตัวเองได้ องค์ประกอบสำ�คัญ มนุษย์วิทยาแหง่   ของคำ�ว่าสงั คมสงเคราะห ์ ก็คงจะได้แก่  Briiklyn College  อา้ งใน  • เปน็ ศาสตร์ จงจิตต์ • เปน็ ศลิ ป์ โศภณคณาภรณ ์ : • เป็นงานท่ีเป็นวิชาชีพโดยนักสังคมสงเคราะห์เป็น 2527:3 ผู้ปฏิบตั งิ าน • เป็นงานทต่ี ้องใชท้ รัพยากรในชุมชน • เป็นงานท่ีเก่ียวข้องกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับ ส่งิ แวดลอ้ ม • เป็นงานท่ีช่วยให้บุคคล กลุ่ม และชุมชน สามารถ ท�ำ หน้าท่ที างสงั คมไดด้ ้วยดี

98 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทีม่ า ศิลปะของการนำ�เอาทรัพยากรต่างๆ มาใช้สนองความ รศ.นนั ทนยี  ์ ไชยสตุ ,  ต้องการของบุคคล กลุ่มชน และชุมชน โดนใช้วิธีการ 2525 ตามหลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ ซึ่งจะ ช่วยให้บุคคลเหล่าน้ีช่วยตัวเองได้ ตามความหมายน้ี ในแง่ของศิลปะ หมายถึง การรู้จักสร้างสัมพันธ์ คือ  นักสังคมสงเคราะห์จะต้องมีศิลปะท่ีจะสร้างความ สั ม พั น ธ์ กั บ ผู้ ที่ มี ปั ญ ห า   ส่ ว น ก า ร ใ ช้ ห ลั ก วิ ช า ท า ง วิทยาศาสตร์ หมายถึงต้องใช้หลักตรรกะ ต้องมีเหตุผล  ในการวบรวมข้อเท็จจริงเก่ยี วกับปัญหาและตัวผ้มู ีปัญหา  มีการวิเคราะห์ มีการวางแผนในการช่วยเหลือ และ ลงมือให้การช่วยเหลือตามข้ันตอนที่วางเอาไว้ นอกจาก น้นั จะต้องมีการติดตามผลและประเมนิ ผลดว้ ย การจัดให้มีมาตรการต่างๆ เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหา Werner Boehm  ความเดือดร้อนของประชาชนเป็นรายบุคคล เป็นกลุ่ม  (1985)  หรือทั้งชุมชน โดยใช้ทฤษฎีของการสังคมสงเคราะห์ เป็นแนวปฏิบัติ ผู้ที่ปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ หรือ ที่เรียกว่า นักสังคมสงเคราะห์ จะต้องปฏิบัติงานนี้ โดยใช้หลักวิชาชีพ หรือนัยหน่ึงโดยใช้หลักการ วิธีการ  และกระบวนการของการสังคมสงเคราะห์ ไม่ใช่เพียงแต่ หยิบย่ืนสิ่งที่ผู้ที่มีปัญหาต้องการก็เป็นอันว่าได้ให้บริการ สงั คมสงเคราะห์แล้ว

คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 99 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า การส่งเสริมการปฏิบัติหน้าท่ีทางสังคมของบุคคลแต่ละ Water A.  คนและกลุ่ม โดยใช้กิจกรรมซึ่งมีจุดเน้นอยู่ที่ความ Frielander  สัมพันธ์ทางสังคม อันประกอบกันขึ้นจากปฏิสัมพันธ์ (1980)  ระหว่างบุคคลและส่งิ แวดล้อม กิจกรรมเหล่าน้อี าจจัดได้ เป็น 3 กลุ่ม คือ การฟ้ืนฟูความสามารถท่ีบกพร่องไป  การใช้ทรัพยากรของบุคคลและสังคม และการป้องกัน การท�ำ หน้าทีท่ างสงั คมที่เสยี ไป บริการทางวิชาชีพท่ีอาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์ Robert C. Crouch  และทักษะในด้านมนุษย์สัมพันธ์ เพ่ือช่วยเหลือ (1979)  ปัจเจกบุคคล กลุ่มหรือชุมชน ให้มีความพอใจแล มอี ิสระในตนเอง เป็นงานท่ีพยายามให้ความช่วยเหลือผู้ซ่ึงไม่สามารถ โครงการ ช่วยตนเองได้ และเป็นงานท่ีพยายามจะทำ�ให้มนุษย์ พัฒนาหลักสูตร มีอิสระในตนเองให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ คือ  สังคมสงเคราะห์ สามารถชว่ ยตนเองไดโ้ ดยไมต่ ้องพง่ึ ผูอ้ ืน่ ในระดบั ปรญิ ญาตรี ของมหาวิทยาลยั เวอิ รจ์ เิ นยี   สหรฐั อเมรกิ า  อ้างใน  Social Work  Process โดย  Beulah Roberts  Compton  และ Brurt Gala- way 1979

100 คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา สังคมสงเคราะห์เก่ียวข้องกับปฏิสัมพันธ์ระหว่างคน  Max Siporin  และสถาบันของสังคม อยู่ท่ีมีผลต่อความสามารถ (1975 : 3 )  ของคนในการทำ�งานต่างๆ ของชีวิตให้สำ�เร็จ และการ อา้ งใน จงจติ ต ์ บรรลุซึ่งความใฝ่ฝันและคุณค่าต่างๆ รวมท้ังการลด โศภณคณาภรณ ์ ความกดดันต่างๆ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนและสถาบัน อา้ งแลว้  : 3  สังคมเกิดข้ึนในบริบทของสังคม ดังน้ันวัตถุประสงค์ ของสังคมสงเคราะห์จึงอาจแบ่งได้เป็น 3 ประการ คือ  เพ่ือส่งเสริมการแก้ไขปัญหา การจัดการปัญหา และการ พฒั นาความสามารถของคน เพอ่ื สง่ เสรมิ การด�ำ เนนิ งาน ของระบบต่างๆ อันมีประสิทธิภาพ และเพื่อเชื่อมโยง ประชาชนกับระบบที่จัดหาทรัพยากร บริการ และให้ โอกาสแก่คน วิธีการทางสังคมเพ่ือช่วยเหลือ ป้องกัน และแก้ปัญหา Arthur E. Fink  ของบุคคลและสังคม เพ่อื ให้บุคคลเหล่าน้นั กระทำ�หน้าท่ี (1974)  ในสังคมต่อไปได้ เป็นบริการแก่มนุษย์ซึ่งต้องอาศัย ศลิ ปแ์ ละวธิ ีการแบบวทิ ยาศาสตรใ์ นการปฏิบตั งิ าน ความมีศิลป์ในการใช้ทรัพยากร ตลอดจนความคิด Rex A. Skidmore  วิเคราะห์อย่างมีเหตุผล เพ่อื ให้เกิดผลดีแก่การให้บริการ (1964:8)  ช่วยบรรเทาปัญหาความเดือดร้อน และทำ�ให้เกิดการ ตอบสนองความต้องการของบุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน  และนักสังคมสงเคราะห์สามารถใช้วิธีการตามหลัก ทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือที่จะให้ผู้รับบริการหรือกลุ่ม เปา้ หมายสามารถช่วยตนเองได้

คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 101 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่มี า 136 ศิลป์ วิทยาศาสตร์ และวิชาชีพ ในการช่วยเหลือมนุษย์  Bertha C.  โดยเน้นให้รู้จักป้องกันและแก้ไขปัญหาของตนเอง  Reynolds สูญเสยี  � ปัญหาครอบครัว ปัญหาของกลุ่มและชุมชน รวมท้ังช่วย (1935)  (Loss)  ให้คนในชุมชนมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน สามารถมีชีวิต อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข ซึ่งในการน้ีจำ�เป็น ต้องอาศัยวิธีการสังคมสงเคราะห์หลายวิธีประกอบ กันอันได้แก่วิธีการสังคมสงเคราะห์เฉพาะราย วิธีการ สังคมสงเคราะห์กลุ่มชน การจัดระเบียบชุมชน การวิจัย  และการบรหิ ารงานสงั คมสงเคราะห์ เป็นงานที่ช่วยเหลือคนในการปรับตัวให้สอดคล้อง Mary Richmond กับครอบครัว กลุ่ม และชุมชน  กระบวนการพัฒนา (1922)  บุคลิกภาพของคน โดยการปรับปรุงความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลด้วยกัน และระหว่างบุคคลกับส่ิงแวดล้อม ทางสงั คม รปู แบบทป่ี รากฏในขณะนน้ั คอื  องคก์ รการกศุ ล  (Charity Organization Society)  สภาพการณ์ที่บุคคลต้องแยกจาก สูญหาย หรือต้อง ดร.ศิริรตั น์ จ�ำ ปีเรอื ง ปราศจากบางสิ่งบางอย่างท่ีเคยมีอยู่ในชีวิต อาจเกิดขึ้น ทันทีทันใดหรือค่อยเป็นค่อยไป คาดการณ์ได้ หรือไม่ สามารถคาดการณ์ได้ และอาจทำ�ให้เกิดความชอกช้ำ�  เจบ็ ปวดอย่างมากหรอื เพยี งเลก็ น้อย ดังน้ี 1. มกี ารแยกจากหรอื ปราศจากบางสง่ิ บางอยา่ งทเ่ี คยมอี ยู่ 2. มีการเปลี่ยนแปลงหลายประการท่ีทำ�ให้บุคคลไม่ สามารถบรรลุเปา้ หมาย 3. บุคคลรับรู้ถึงคุณค่าของสิ่งท่ีสูญเสียหรือคาดว่ากำ�ลัง จะสูญเสีย 4. ประสบการณ์สูญเสียในอดีตมีผลต่อการแสดงออกใน ปัจจุบัน

102 คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า 137 คำ�ว่า “อารยสถาปัตย์” มาจากคำ�ว่า สถาปัตยกรรม  กฤษนะ ละไล (การออกแบบก่อสร้าง) กับคำ�ว่า อารยะ (ความเจริญ www.komchad กา้ วหนา้ ) แปลความไดว้ า่  “การออกแบบทเ่ี จรญิ กา้ วหนา้ luek.net/detail/ อารยสถาปัตย์ ตามยุคสมัยหรือตามความจำ�เป็นของทุกคนในสังคม”  20140811/ (Universal design)  แตถ่ า้ แปลโดยยดึ หลกั ภาษาองั กฤษทว่ี า่  Friendly Design  189934.html อาจหมายถงึ  “การออกแบบบา้ นเรอื น ตกึ อาคาร สถานท่ี  รวมถึงสิ่งของเคร่ืองใช้ ตลอดจนบริการสาธารณะต่างๆ  ใหเ้ ปน็ มติ รกบั ทกุ คน” โดยเปา้ หมายส�ำ คญั อยทู่  ่ี “เพอ่ื ให้ ทุกคน ทุกเพศ ทุกสภาพร่างกาย สามารถเข้าถึง และใช้ ประโยชน์ได้ โดยสะดวก ทันสมัย เป็นธรรม ท่ัวถึง เท่า เทยี ม”

คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 103 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่ีมา 138 เป็นทางเลือกกระทำ�สิ่งต่างๆ ที่เห็นว่าเป็นสิ่งที่ควร ศุภรตั น์ รตั นมุขย์ กระทำ� และเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมโดยไม่หวังผล มหาวทิ ยาลยั อาสาสมคั ร ตอบแทนเป็นเงินทอง และการกระทำ�น้ีไม่ใช่ภาระงาน ธรรมศาสตร์ (Volunteer)  ที่ตอ้ งทำ�ตามหน้าที ่ องคป์ ระกอบส�ำ คัญ 4 ประการ 1. การเลือก (Choose) อันเป็นการเน้นที่เจตจำ�นงท่ี อิสระท่จี ะกระท�ำ หรือไม่กระท�ำ ในสิ่งใดๆ  2. ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม   ( S o c i a l  Responsibility) หมายถึงการกระทำ�ท่ีมุ่งมั่นเป็น ประโยชน์ต่อผู้อื่น ซ่ึงอาจเป็นได้ทั้ง บุคคล กลุ่มคน  หรือสงั คมส่วนรวม 3. โดยไม่หวังผลตอบแทนเป็นเงินทอง (Without  Monetary Profit) หมายถึงไม่ได้หวังผลรายได้ทาง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ   แ ต่ อ า จ รั บ เ ป็ น ร า ง วั ล ห รื อ ค่ า ใช้ จ่ า ย ทดแทนที่ตนเองได้ใช้จ่ายไป แต่อย่างไรก็ตามก็ไม่ อาจเทยี บได้กับค่าของสิง่ ทีไ่ ด้กระท�ำ ลงไป 4. ไ ม่ ใช่ ภ า ร ะ ง า น ที่ ต้ อ ง ทำ � ต า ม ห น้ า ท่ี   ( B e y o n d  Basic Obligations) หมายถึง ส่ิงที่ทำ�นั้นอยู่เหนือ นอกความจำ�เป็น หรือสิ่งท่ีถูกคาดหวังว่าจะต้องทำ� ตามภาระหน้าท่ี เช่น งานตามหน้าท่ีประจำ�ที่ได้รับ ค่าจ้าง การดูแลครอบครัวตนเอง ความรับผิดชอบ ในฐานะพลเมือง (เช่น การไปลงคะแนนเสียง เลอื กตง้ั ) ฯลฯ

104 คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา การเลือกกระทำ�สิ่งต่างๆ ที่เห็นว่าเป็นส่ิงท่ีควรกระทำ� ปฏิญญา และเป็นความรับผิดชอบต่อสังคมไทยโดยไม่หวังผล อาสาสมคั รไทย  ตอบแทนเป็นเงินทอง และการกระทำ�น้ีไม่ใช่ภาระงาน (2544)  ทต่ี ้องท�ำ ตามหนา้ ท่ี 139 บคุ คลทท่ี ำ�ประโยชน์เพือ่ สงั คมดว้ ยความสมคั รใจ ไดแ้ ก่ ระเบยี บกระทรวง การพัฒนาสังคม อาสาสมคั ร� 1. อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ และความมั่นคง พัฒนาสังคม� จังหวดั ของมนษุ ย ์ วา่ ด้วย และความมนั่ คง� อาสาสมคั รพฒั นา ของมนษุ ย์ 2. อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์  สังคมและความ กรุงเทพมหานคร ซ่งึ ปฏิบัติงานด้านการพัฒนาสังคม มัน่ คงของมนุษย์  และความม่ันคงของมนุษย ์ ในพ้นื ทกี่ รงุ เทพมหานคร 3. อาสาสมัครพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ พ.ศ.2557 อน่ื ๆ ตามท่ีมี ประกาศก�ำ หนดอาสาสมคั รพฒั นาสงั คมและความมน่ั คง ของมนุษย์ ใช้ชื่อย่อว่า“อพม.” มีชื่อเรียกเป็นภาษา อังกฤษว่า “Social Development And Human  Security Volunteer” ชื่อยอ่ ภาษาอังกฤษ “SDHSV” 140 บุคคลซ่ึงอาสาเข้ามาช่วยเหลือสังคมด้วยความสมัครใจ  ระเบยี บ เสียสละ เพื่อช่วยเหลือผู้อ่ืนและสังคม รวมทั้งการ ส�ำ นกั นายกรัฐมนตร ี อาสาสมัคร� เข้าร่วมกิจกรรมเก่ียวกับการป้องกันแก้ไขปัญหาและ ว่าดว้ ยการสง่ เสริม เพ่ือสงั คม พัฒนาสงั คมโดยไมห่ วังค่าตอบแทน ประชาสังคม เพ่ือการพฒั นา  พ.ศ.2551

คำ�ศัพทน์ า่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 105 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 141 หน่วยงานของรัฐท่ีดำ�เนินงานด้านการจัดสวัสดิการ พระราชบัญญัติ สังคม องค์กรสาธารณประโยชน์ และองค์กรสวัสดิการ ส่งเสรมิ การจัด องค์การ� ชุมชน สวสั ดิการสังคม  สวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 ซง่ึ แก้ไขเพิ่มเตมิ   (ฉบับท่ ี 2)  พ.ศ.2550 142 กลุ่มคนท่ีมีระบบการจัดการที่สมาชิกของชุมชนจัดตั้งข้ึน  พระราชกฤษฎกี า  เพ่ือดำ�เนินการร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประโยชน์ จัดต้ังสถาบันพฒั นา องคก์ รชุมชน ในการประกอบอาชีพ พัฒนาอาชีพ เพิ่มรายได้ พัฒนา องคก์ รชุมชน  ท่ีอยู่อาศัยและสิ่งแวดล้อม หรือพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ (องคก์ ารมหาชน)  ของสมาชกิ ในกล่มุ พ.ศ.2543 143 มูลนิธิ สมาคม องค์กรเอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์  ระเบยี บกรมพัฒนา เครือข่ายภาคเอกชน ภาคธุรกิจ ภาคประชาสังคม  สงั คมและสวัสดิการ  องค์กร� องค์กรชุมชน ที่มีวัตถุประสงค์ในการจัดสวัสดิการสังคม  ว่าดว้ ยเกณฑก์ าร พฒั นาเอกชน โดยไม่หวังผลกำ�ไร รวมทั้งกลุ่มหรือคณะบุคคลจำ�นวน  ใหเ้ งินอดุ หนนุ แก่ ไม่น้อยกว่า 5 คน และองค์กรที่มิใช่ของส่วนราชการ  องค์กรพฒั นาเอกชน หรอื หนว่ ยงานอนื่ ของรัฐ เพ่อื ความร่วมมือ ด้านสังคม  พ.ศ.2558 144 องค์กรซ่ึงรวมตัวกันของประชาชนในชุมชน โดย คู่มอื การรบั รองเป็น ประชาชนจดั ตง้ั ขน้ึ เอง หรอื จากการแนะน�ำ หรอื สนบั สนนุ องค์กรสวสั ดกิ าร องค์กร� ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน หรือองคก์ รพัฒนาเอกชน ชมุ ชน ภาคประชาชน

106 คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งที่มา 145 องค์กรที่ไม่ใช่หน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจะมีสถานะเป็น ระเบียบ นิติบุคคลหรือไม่ ซ่ึงจัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ด้าน สำ�นกั นายกรัฐมนตร ี องคก์ ร พัฒนาสังคมและไม่แสวงหากำ�ไรมาแบ่งปันกัน เช่น  ว่าด้วยการสง่ เสรมิ ภาคประชาสงั คม องค์การหรือสถานสาธารณกุศลท่จี ัดต้งั ข้นึ ตามกฎหมาย  และพัฒนาองคก์ ร องค์กรพัฒนาเอกชน องค์กรภาคประชาชน องค์กร ภาคประชาสงั คม สาธารณประโยชน์ และพลังพลเมือง แต่ไม่รวมถึง พ.ศ.2558 นิติบุคคล องค์กร หรือคณะบุคคลท่ีจัดต้ังหรือดำ�เนิน ก า ร โ ด ย พ ร ร ค ก า ร เ มื อ ง   ห รื อ ดำ � เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ใ น ลักษณะการแสวงหาอำ�นาจรัฐ หรือเอื้อประโยชน์ต่อ พรรคการเมอื ง 146 องค์กรภาคเอกชนที่ได้รับการรับรองให้ดำ�เนินงานด้าน พระราชบัญญตั ิ การจัดสวสั ดกิ ารสงั คมตามพระราชบญั ญัติน้ี สง่ เสริมการจดั องคก์ ร� สวัสดกิ ารสงั คม  สาธารณประโยชน์ พ.ศ.2546 แกไ้ ขเพมิ่ เติม  (ฉบบั ที ่ 2 )  พ.ศ.2550 147 องค์กรภาคประชาชนที่จัดตั้งข้ึนโดยมีวัตถุประสงค์ พระราชบญั ญัติ ในการจัดสวัสดิการสังคมให้แก่สมาชิกในชุมชน หรือ สง่ เสรมิ การจดั องค์กร� ปฏิบัติงานด้านการจัดสวัสดิการสังคมของเครือข่าย สวสั ดิการสงั คม  สวสั ดิการชมุ ชน องค์กรสวัสดิการชุมชน และได้รับการรับรองให้ดำ�เนิน พ.ศ.2546 งานด้านการจัดสวสั ดิการสังคมตามพระราชบัญญัตนิ ี้ ซง่ึ แกไ้ ขเพิม่ เติม  (ฉบับท ่ี 2)  พ.ศ.2550

คำ�ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 107 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา 148 คณะบุคคลซ่ึงมีการจัดโครงสร้าง โดยสมคบกันตั้งแต่  พระราชบัญญตั ิ 3 คนขึ้นไป ไม่ว่าจะเป็นการถาวรหรือช่ัวระยะเวลา ป้องกันและปราบ องคก์ ร หน่ึง และไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างที่ชัดเจน มีการกำ�หนด ปรามการคา้ มนษุ ย์  อาชญากรรม บทบาทของสมาชิกอย่างแน่นอนหรือมีความต่อเนื่อง พ.ศ.2551 ของสมาชิกภาพหรือไม่ ทั้งนี้ โดยมีวัตถุประสงค์ท่ีจะ 149 กระทำ�ความผิดฐานใดฐานหนึ่งหรือหลายฐาน ที่มี อัตราโทษจำ�คุกข้ันสูงตั้งแต่ 4 ปีขึ้นไป หรือกระทำ� อพยพ � ความผิดตามที่กำ�หนดไว้ในพระราชบัญญัตินี้ เพื่อ (Evacuate)  แสวงหาผลประโยชนท์ างทรพั ยส์ นิ หรอื ผลประโยชนอ์ น่ื ใด อันมิชอบดว้ ยกฎหมาย ไมว่ ่าโดยทางตรงหรอื ทางอ้อม การโยกย้ายถ่ินฐาน, การย้ายครอบครัวจากถ่ินหนึ่งไป http://dict.longdo. อยอู่ กี ถน่ิ หนง่ึ , ยกพวกย้ายถิ่นจากถิน่ เดิมไป com วันท ่ี 26 เมษายน  2559

108 คำ�ศัพทน์ ่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม ภาคผนวก หน่วยงานของกระทรวงการพัฒนาสงั คมและความม่นั คงของมนุษย์ � ท่นี ำ�เสนอขอ้ มูลคำ�ศพั ท์น่ารเู้ กีย่ วกบั งานพัฒนาสงั คม ประกอบด้วย 1. ส�ำนกั งานปลัดกระทรวง 2. กรมพัฒนาสงั คมและสวัสดกิ าร 3. กรมกจิ การเด็กและเยาวชน 4. กรมกิจการสตรีและสถาบนั ครอบครัว 5. กรมสง่ เสรมิ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ 6. กรมกิจการผู้สงู อายุ 7. สถาบนั พฒั นาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)  8. สำ� นกั งานธนานเุ คราะห์

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 109 เอกสารอ้างองิ กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนษุ ย์ พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมการจดั สวสั ดกิ ารสงั คม  พ.ศ.2546 (ซง่ึ แก้ไขเพมิ่ เตมิ โดยพระราชบญั ญัตสิ ง่ เสรมิ การจัดสวัสดกิ ารสังคม (ฉบบั ท่ ี 2) พ.ศ.2550) . กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์เทพเพ็ญวานิสย,์  2554. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนุษย์ รวบรวมคำ� ส�ำคัญในงานพฒั นาสงั คม สวัสดกิ าร สงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย.์ กรงุ เทพฯ : สำ� นกั มาตรฐานการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนษุ ย ์ สมพ.02/2546, 2546. กระทรวงการพัฒนาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ รวมกฎหมายในภารกจิ กระทรวงการพฒั นาสังคม และความม่ันคงของมนษุ ย.์ กรงุ เทพฯ : ส�ำนักพมิ พ์คณะรัฐมนตรีและราชกจิ จานุเบกษา, 2557. การคุ้มครองเดก็  เข้าถึงวันท ่ี 14 มีนาคม 2559 http://www.uniect.org/thailand/tha/protection. html. การตง้ั ครรภไ์ ม่พงึ ประสงค์ เขา้ ถึงวนั ที่ 18 มนี าคม 2559 http://www.thaigoodiew.com/ node/50843 คณะกรรมการสง่ เสรมิ การจดั สวสั ดิการสังคมแห่งชาต ิ แผนยทุ ธศาสตรส์ วสั ดกิ ารสังคมไทย ฉบบั ที่สอง  (พ.ศ.2555-2559) กรุงเทพฯ : โรงพมิ พเ์ ทพเพ็ญวานสิ ย,์  2558. คณะพัฒนาสังคมและส่ิงแวดล้อม สถาบันบัณฑติ พัฒนบริหารศาสตร์ กรุงเทพฯ, 2548 รตมิ า คชนันท์ วิเคราะหจ์ ุดต่าง ประชารัฐ-ประชานคิ ม หนงั สือพิมพข์ า่ วสด, วันท่ี 23 กนั ยายน 2558 สถาบนั พัฒนาองค์กรชมุ ชน (องค์การมหาชน) คู่มอื การด�ำเนนิ งานสวัสดิการชุมชน พ.ศ.2558  กรงุ เทพฯ : 2558. สาละวินนิวสอ์ อนไลน์ ชวี ิตเลือกเกดิ ไมไ่ ด้ของคนไร้สัญชาต ิ เข้าถงึ วันที ่ 16 มีนาคม 2559  http://salweenew.org/home/?p=499 สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพืน้ ฐาน เขา้ ถึงวันท ี่ 18 มีนาคม 2559 http://sportact.obec. go.th/stucouncil/detailstucoun.pdf. สิริพรรณ นกสวน สวสั ด ี และคณะ คำ� และแนวคดิ ในประชาธิปไตยใหม่. กรุงเทพฯ, 2557. เสรี พงศ์พศิ  100 รอ้ ยคำ� ที่ควรร้.ู  กรงุ เทพฯ : เจริญวทิ ย์การพิมพ,์  2547

110 คำ�ศัพท์น่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม ส�ำนกั งานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร (ร่าง) พระราชบัญญตั ิส่งเสรมิ วิสาหกิจเพือ่ สงั คม  พ.ศ.....  กรุงเทพฯ : ส�ำนกั พิมพส์ �ำนกั งานเลขาธิการราษฎร, 2558. กระทรวงการพฒั นาสังคมและความม่นั คงของมนษุ ย ์ ทศิ ทางและรปู แบบการจดั สวัสดกิ ารสงั คมของ ประเทศไทย. กรุงเทพฯ : หา้ งหุน้ สว่ นจำ� กัดเทพเพญ็ วานสิ ย์, 2549. ครอบครัวเดย่ี ว ครอบครวั ขยาย เข้าถงึ วันท ่ี 22  เมษายน 2559 http://www.owt.go.th/wota/ mod ulers//website/upload เดก็ ถกู ทอดทง้ิ  เขา้ ถงึ วันท่ี 25 เมษายน 2559 http://www.karrus.in.th/blogs/1365639 เครอื ข่าย เข้าถึงวันท ่ี 22 เมษายน 2559 http://poon.opp.go.th/researchoi.php ประชานยิ ม เข้าถึงวนั ที่ 25 เมษายน 2559 http://thaipublica.org ผไู้ รท้ อี่ ย่อู าศัย เข้าถึงวนั ท ่ี 26 เมษายน 2559 http://humanset.org แรงงานข้ามชาต ิ เขา้ ถงึ วันที่ 25 เมษายน 2559 http://statelersperson.com แรงงานนอกระบบ เขา้ ถงึ วันท ่ี 24 เมษายน 2559  http://www.homenetthailand.org    ลภี้ ยั  เขา้ ถึงวนั ที่ 26 พฤษภาคม 2559 http://dictionary.sanook.com สวัสดิการนิยม เข้าถึงวันที ่ 21 เมษายน 2559 http://wiki.kpi.ac.th สวัสดกิ ารกระแสหลัก เข้าถงึ วันท ่ี 22 เมษายน 2559 

คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 111 ผจู้ ัดทำ� คำ�ศพั ทน์ า่ รู้เกีย่ วกับงานพฒั นาสังคม ที่ปรึกษา ปลดั กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ย์ รองปลดั กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมนั่ คงของมนษุ ย์ 1. นายไมตร ี  อินทสุ ุต ที่ปรึกษาวชิ าการพฒั นาสังคม 2. นายวทิ ศั น์  เตชะบุญ ผอู้ ำ� นวยการกองวชิ าการ 3. นายชนิ ชัย  ชเ้ี จริญ 4. นายจรี ะศกั ดิ ์  ศรีพรหมมา ผู้จดั ทำ�  1. นางสาวพรประภา  สินธุนาวา ผอู้ �ำนวยการกลุ่มการพัฒนามาตรฐานทางสังคม 2. นายกนก  คมุ้ ประวตั ิ นกั พฒั นาสงั คมช�ำนาญการ 3. นางจไุ รรตั น ์  พละเลศิ นักพฒั นาสงั คมชำ� นาญการ 4. นางสปุ รียา  หิรัญพรรณ นกั สังคมสงเคราะห์ชำ� นาญการ 5. นางสาวรวีนาฎ  โพธิท์ อง นักพัฒนาสงั คมช�ำนาญการ 6. นางสาวณิญาพัณณ์  อมรวรรณรตั น์ นกั พัฒนาสงั คม   7. นางสาวนันทกา  จอดกลาง นกั สังคมสงเคราะห์ 8. นายฐติ พิ งศ์  ชาโต นกั วิเคราะหแ์ ละประมวลผลด้านมาตรฐาน 9. นางสาวนงนุช  สงวงษ์ นกั วิเคราะห์และประมวลผลด้านมาตรฐาน 10. นางสาวมนตศ์ ริ  ิ  จนิ ตรัตน์ นักวเิ คราะหแ์ ละประมวลผลด้านดชั นี

112 คำ�ศัพทน์ ่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม Note .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

คำ�ศัพท์น่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 113 Note .................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................................

¡ÃзÃǧ¡ÒþѲ¹ÒÊѧ¤ÁáÅФÇÒÁÁÑ蹤§¢Í§Á¹ØÉ Ministry of Social Development and Human Security www.m-society.go.th


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook