Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม

คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม

Published by สนง.พมจ.ชลบุรี, 2022-02-10 06:41:12

Description: หมวดหมู่ : สาระน่ารู้
ชื่อหนังสือ : คำศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม
ชื่อหน่วยงานเจ้าของ : สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ปีที่จัดพิมพ์ : 2559
จำนวน(หน้า) : 130 หน้า

Search

Read the Text Version

คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 35 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งที่มา 44 น. สถาบันพื้นฐานของสังคมท่ีประกอบด้วย สามี  พจนานกุ รมฉบบั ภรรยา และหมายความรวมถึงลูกด้วย ราชบณั ฑติ ยสถาน ครอบครวั พ.ศ.2542 45 บุคคลตั้งแต่สองคนขึ้นไปดำ�เนินชีวิตร่วมกันอย่างมี (รา่ ง) นโยบาย จุดหมายมีสัมพันธภาพท่ีดีต่อกัน สามารถดำ�รงชีวิต และยทุ ธศาสตร์ ครอบครวั เข้มแข็ง อยู่ได้ด้วยการพ่ึงพาตนเองพร้อมที่จะเกื้อกูลสังคมและ การพฒั นาสถาบัน คนรอบข้าง ปรับตัวได้ในสภาวการณ์ที่เปล่ียนแปลง ครอบครัว  ไม่สั่นคลอนกับปัญหาหรืออุปสรรคเมื่อเผชิญปัญหา พ.ศ.2558-2564 กส็ ามารถร่วมกนั แก้ไขจนลุลว่ งไปไดด้ ว้ ยดี

36 คำ�ศัพทน์ ่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 46 ประกอบด้วย เครือญาติต้ังแต่ 3 ช่ัวคนข้ึนไป ท่ีมีความ กรมกจิ การสตรแี ละ สัมพันธ์กันโดยการเกิดหรือการแต่งงานมาอยู่ร่วมกัน  สถาบันครอบครัว ครอบครวั ขยาย แบ่งเป็น 3 รปู แบบ www.dwf.go.th (extended family)  1. ครอบครัวขยายญาติพี่น้อง (kinship group) คือ  ครอบครัวท่ีอยู่รวมกันต้ังแต่ ปู่ย่า ตายาย พ่อแม่  และญาติพ่ีน้องท่ีใกล้ชิดกัน ซึ่งอาจมีลักษณะพิเศษ ของการอยรู่ ่วมกนั  ดังนี้ ก .   ค ร อ บ ค รั ว ข ย า ย ท า ง ฝ่ า ย ช า ย   ( p a t r i l o p a l )  ครอบครัวที่มีผู้ชายเป็นใหญ่ ได้แก่ ปู่ บิดา หรือ ญาตทิ อ่ี าศยั เปน็ ญาตขิ องฝา่ ยชาย ข. ครอบครัวขยายทางฝ่ายหญิง (matrilopal)  ญาติที่อาศัยเป็นฝ่ายหญิง ฝ่ายหญิงอาจมีอำ�นาจ เป็นหัวหน้าครอบครัว เช่น ชนชาวเขาบางเผ่า  หรือต่อไปฝ่ายชายมอบอำ�นาจให้เป็นหัวหน้า ครอบครัวภายหลังญาติฝ่ายหญิงเสียชีวิตแล้ว ก็ได้ 2. ครอบครัวขยายรวมเผ่าพันธ์ุ (sib) เป็นครอบครัว ที่คนหมู่ชนเผ่าเดียวกัน (consanguineal group)  อยู่รวมกัน มีความคิดเห็นร่วมกัน แบ่งปันกัน โดยมี หัวหน้าครอบครัวเพียงคนเดียวเป็นผู้ดูแลรับผิดชอบ ความเปน็ อย่ขู องสมาชกิ  เชน่  ครอบครวั พวกยปิ ซี 3. ครอบครัวขยายรวมกลุ่ม (clan) ประกอบด้วยหลาย ครอบครัวมาอยู่รวมกัน (compromise group)  หัวหน้าครอบครัวเป็นเสมือนหัวหน้าหมู่บ้านเป็น ผู้รับผิดชอบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนการเลือกคู่ครอง ให้กับสมาชิกในครอบครัว คนทั้งหมู่บ้านอยู่ร่วมกัน  เช่น ครอบครัวจีนโบราณ (Ancient Chinese)  ครอบครัวชาวยิว (Hebrews) หรือครอบครัวโรมานซ์  (Romans) ในสมัยแรกเรมิ่ ของยุโรปและอเมริกา

คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 37 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 47 ประกอบดว้ ย สาม ี ภรรยา และลกู ทอ่ี าศยั อยใู่ นครวั เรอื น กรมกจิ การสตรีและ เดียวกันตามลำ�พัง หาเล้ียงครอบครัวด้วยตนเอง  สถาบนั ครอบครวั ครอบครัวเด่ยี ว ครอบครวั ส่วนใหญใ่ นซกี โลกต่างๆ มี 2 รูปแบบ  www.dwf.go.th (nuclear family)  1.  ครอบครัวเดี่ยวชายเป็นหัวหน้าครอบครัว  (patriarchal) ผู้ชายจะมีหน้าที่รับผิดชอบดูแล ครอบครวั  และมีอำ�นาจในการตัดสินใจ 2.  ครอบครัวเด่ียวหญิงเป็นหัวหน้าครอบครัว  (matriarchal) ผู้หญิงมีหน้าที่รับผิดชอบเศรษฐกิจ ของครอบครัว และมีอำ�นาจในการตัดสินใจปัญหา ต่างๆ  48 ครอบครัวท่ีพ่อแม่วัยทำ�งานทิ้งลูกไว้ให้ ปู่ย่าตายาย บทสมั ภาษณ์ เล้ียง ส่วนพ่อแม่ออกไปทำ�งานในเมืองใหญ่ นานๆ  รศ.ดร.นิพนธ์  ครอบครวั ฟนั หลอ จะไดก้ ลับมาเยยี่ มลูก พัวพงศกร นกั วชิ าการเกยี รตคิ ณุ จากสถาบันเพอ่ื การ พัฒนาประเทศไทย  (TDRI)  เรอ่ื ง เกษตรกรรม รปู แบบใหม่ ในอนาคต ในโอกาส ครบรอบ 72 ป ี มหาวทิ ยาลัย เกษตรศาสตร์  รายงานโดย ส�ำ นักขา่ วไทย  4 กพ.58

38 คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า 49 กลุ่มบุคคลท่ีมีความผูกพันกันทางอารมณ์และจิตใจใน ส�ำ นักงานคณะ การดำ�เนินชีวิตร่วมกันอย่างมีจุดหมายในบรรยากาศที่ กรรมการพฒั นา ครอบครวั อบอ่นุ สงบสขุ ดว้ ยการท�ำ หนา้ ทข่ี องครอบครวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม เศรษฐกจิ และสังคม และมีสัมพันธภาพท่ีดีต่อกันสามารถดำ�รงชีวิตอยู่ใน แห่งชาต ิ สังคมได้อย่างมั่นคงโดยแยกออกเป็น 3 องค์ประกอบ  (รา่ ง) นโยบาย คือ บทบาทหน้าท่ีของครอบครัว สัมพันธภาพใน และยุทธศาสตร์ ครอบครัว และการพง่ึ พิงตนเองของครอบครวั การพัฒนา สถาบนั ครอบครัว  พ.ศ.2558-2564 50 บุคคลทีร่ ับเด็กไวอ้ ุปการะเล้ียงดูอยา่ งบุตร พระราชบญั ญตั ิ ค้มุ ครองเดก็   ครอบครัวอุปถัมภ์ พ.ศ.2546 (Foster family)  ครอบครัวทดแทนช่ัวคราวให้กับเด็กในสถานสงเคราะห์  ศูนยอ์ ำ�นวยการ เด็กกำ�พร้า เด็กถูกทอดท้ิง ซ่ึงมีผู้เลี้ยงดูไว้ในครอบครัว  รับเด็ก อายุต้ังแต่แรกเกิดถึง 18 ปีบริบูรณ์ เพื่อเป็นการส่งเสริม เป็นบตุ รบุญธรรม  และสนับสนุนให้เด็กได้เจริญเติบโตอยู่ในครอบครัว www.prachinburi. แทนการเล้ียงดูเดก็ ไว้ในสถานสงเคราะห์ m-society.go.th

คำ�ศัพทน์ ่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 39 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า 51 การเชื่อมโยงของกลุ่มของคนหรือกลุ่มองค์กรที่สมัครใจ กองส่งเสริมและ ที่จะแลกเปล่ียนข่าวสารร่วมกัน โดยมีการจัดระเบียบ พฒั นาเครือขา่ ย สท. เครือขา่ ย โครงสร้างของคนในเครือข่ายด้วยความเป็นอิสระ  http:// (Network)  เท่าเทียม ภายใต้พื้นฐานของความเคารพสิทธิ เช่ือถือ  oppn.opp.go.th/ เอ้ืออาทรซึ่งกันและกัน  resesearch01.php ประเดน็ ส�ำ คัญของคำ�นยิ ามข้างต้น คือ • ความสัมพันธ์ของสมาชิกในเครือข่ายต้องเป็นไปโดย สมัครใจ • กิจกรรมท่ีทำ�ในเครือข่ายต้องมีลักษณะเท่าเทียมหรือ แลกเปลย่ี นซ่งึ กนั และกนั   • การเป็นสมาชิก เครือข่ายต้องไม่มีผลกระทบต่อ ความเป็นอิสระหรือความเป็นตัวของตัวเองของคน หรอื องคก์ รน้นั ๆ  52 เป็นลักษณะของการประสานงานระหว่างตัวแสดงต่างๆ  สริ พิ รรณ  ในพื้นที่ประชาสังคม การมองกลุ่ม NGO องค์การ นกสวน สวัสดี ภาคประชาชน หรือขบวนการทางสังคม ในลักษณะ และคณะ เครือขา่ ยสังคม ของเครือข่ายเป็นความพยายามท่ีจะเน้นยำ้�ในเร่ืองของ พฤศจกิ ายน 2557 (Social Network)  การประสานงานและการส่ือสารระหว่างภาคส่วนต่างๆ  ท่ีมี “ความร่วมมือและพึ่งพาอาศัย” ในแนวราบ  (horizontal) ซ่ึงเป็นความสัมพันธ์ในระดับเดียวกัน หรือเท่าเทียมกัน ไม่มีสายการบังคับบัญชาหรือลำ�ดับ ขั้นต่ำ�สูงแบบแนวดิ่ง (vertical) โดยลักษณะของการ ทำ�งานแบบเครือขา่ ยจะมีลักษณะร่วมกนั  3 ประการ  1. สมาชิก กลุ่ม หรือองค์กร มีจำ�นวนมากหลากหลาย  ไม่ถูกจำ�กดั อย่ทู กี่ ล่มุ ใดกลมุ่ หนึ่ง 2. การรวมกลุ่มระหว่างกันมีลักษณะชั่วคราวแปรผัน ตามวัตถปุ ระสงค์หรือเป้าหมายท่ีมีร่วมกนั

40 คำ�ศัพทน์ า่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา 3. แต่ละกลุ่มหรือองค์กรจะมีทรัพยากรท่ีแตกต่างกัน  การร่วมมือเป็นเครือข่ายทำ�ให้เกิดการแลกเปล่ียน ทรพั ยากรและการพ่ึงพาอาศัยกนั 53 กลุ่มองค์กรชุมชนที่มีการรวมตัวกันโดยมีวัตถุประสงค์ พระราชกฤษฎกี า  ที่จะกระทำ�กิจการอย่างหน่ึงอย่างใด เพื่อประโยชน์ของ จัดตงั้ สถาบันพัฒนา เครือขา่ ยองคก์ ร องค์กรชุมชนในกลมุ่ นน้ั องคก์ รชมุ ชน  ชมุ ชน (องค์การมหาชน)  พ.ศ.2543 และทแ่ี ก้ไขเพิม่ เตมิ   (ฉบบั ท ี่ 2)  พ.ศ.2556 54 องค์กรที่เกิดจากการรวมตัวขององค์กรสวัสดิการชุมชน พระราชบญั ญัติ มากกว่าหนึ่งองค์กรเพ่ือร่วมมือ ประสานงาน และเชื่อม สง่ เสรมิ การจัด เครือขา่ ยองค์กร โยงในการจัดสวสั ดกิ ารสังคมขององคก์ รสวสั ดิการชุมชน สวสั ดิการสังคม  สวสั ดกิ ารชมุ ชน ในทกุ ระดบั พ.ศ.2546 แก้ไข เพมิ่ เติม (ฉบับท ี่ 2)  พ.ศ.2550 55 ระบบการจัดบริการเพ่ือช่วยเหลือประชาชน ผู้ยากจน  แผนยุทธศาสตร์ ผู้ด้อยโอกาส รวมทั้งผู้ได้รับการเส่ียงภัยต่างๆ ให้ สวัสดกิ ารสังคมไทย  สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ได้อย่างมั่นคง โดยได้รับสิทธิ ฉบบั ที่ 2 โครงขา่ ยการ พ้ืนฐานเท่าเทียมกับประชาชนทั่วไป การดำ�เนินงาน พ.ศ.2555-2559 คุ้มครองทางสังคม  ทางด้านโครงข่ายความคุ้มครองทางสังคมนี้ภาครัฐ  (คณะกรรมการ หรอื  โครงขา่ ยความ� ภาคเอกชน และภาคประชาชนมีบทบาทในการบริการ ส่งเสริมการจดั ปลอดภยั ทางสงั คม หรือช่วยเหลือดังกล่าว การประกันภัยต่างๆ ของ สวัสดกิ ารสังคม (Social Safety � ประชาชน การจดั สวสั ดิการชมุ ชนของประชาชน ฯลฯ แหง่ ชาติ)  Nets) 

คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 41 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทีม่ า เป็นส่วนหน่ึงของระบบการคุ้มครองทางสังคม (Social  สำ�นกั งานคณะ Protection) โดยมุ่งเน้นเป็นพิเศษไปที่ผู้ด้อยโอกาส  กรรมการพัฒนาการ คนยากจน และผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากความเสี่ยง เศรษฐกจิ และสงั คม ต่างๆ ให้ได้รับบริการข้ันพื้นฐานท่ีจะช่วยให้สามารถ แห่งชาติ ดำ�รงชีวิตได้ตามอัตภาพ ได้รับการยกเว้น คุ้มครอง  ช่วยเหลือ และพัฒนาให้หลุดพ้นจากสภาวะความ ย า ก ลำ � บ า ก   แ ล ะ ส า ม า ร ถ พึ่ ง พ า ต น เ อ ง ไ ด้ อ ย่ า ง ต่ อ เ น่ื อ ง ใ น ร ะ ย ะ ย า ว   โ ด ย บ ริ ก า ร ส วั ส ดิ ก า ร ต่ า ง ๆ  ครอบคลุม 3 ด้านหลัก ได้แก่ บริการสังคม การช่วย เหลือทางสังคม และการประกันสังคม ทั้งที่เป็นการ ดำ�เนินงานโดยภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชน ท้ัง ในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ท้ังนี้ กลุ่มเป้าหมายท่ีอยู่ในการคุ้มครองของโครงข่าย ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ท า ง สั ง ค ม ฯ   ดั ง ก ล่ า ว   ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย  ค น ย า ก จ น   ผู้ ด้ อ ย โ อ ก า ส ป ร ะ เ ภ ท ต่ า ง ๆ   เช่ น  คนพิการยากไร้ ผู้สูงอายุที่ยากจน และ ขาดคนเลี้ยงดู  เด็ก/เยาวชน/สตรี ที่อยู่ในภาวะยากลำ�บาก ฯลฯ ผู้ท่ี ได้รับผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจและสังคม เช่น  คนตกงาน ผู้ติดสารเสพติด ผู้ติดเชื้อเอดส์ ฯลฯ และ ผู้ท่ีได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติต่างๆ รวมถึงความ เสี่ยงต่อความยากจนและเป็นผู้ด้อยโอกาสด้วย เช่น  เด็กในครอบครัวติดเช้ือเอดส์ แรงงานท่ีอยู่ในสถาน ประกอบการที่มีแนวโน้มเลิกกิจการ แรงงานนอกระบบ ทีข่ าดความมัน่ คงทางรายได้ ฯลฯ

42 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งที่มา กลไกทง้ั ในระบบและนอกระบบ (Formal and Informal)  ธนาคารโลก ซึ่งจะคุ้มครองประชาชนต่อสู้กับผลท่ีตามมาจากความ ยากจนในแง่นโยบายของโครงข่ายความคุ้มครองฯ คือ  การมีส่วนเข้าไปเก่ียวข้องในเบ้ืองต้นตามเป้าหมาย ของกิจกรรม/โครงการ ของภาคในระบบ เพื่อจัดหาให้ หรือส่ิงท่ีจะทดแทนรายได้ อาจได้แก่ กิจกรรมการ ช่วยเหลือในรูปตัวเงิน ส่ิงของ การให้เปล่า การพัฒนา กลุ่มเป้าหมายหลัก และอ่ืนๆ นอกจากนี้ยังรวมถึง  กลไกท่ีจะทำ�ให้เกิดความม่ันใจว่าผู้รับจะเข้าถึงบริการ จำ�เป็นท่ีรัฐจัดให้ อาทิ ใบรับรองในการมีสิทธิที่จะเรียน ทุ น ก า ร ศึ ก ษ า   ก า ร ย ก เ ว้ น ค่ า รั ก ษ า พ ย า บ า ล   ฯ ล ฯ  ในสว่ นของการจดั โครงขา่ ยความคมุ้ ครอง ภาคนอกระบบ ก็มีความสำ�คัญ โดยเฉพาะในเร่ืองความมั่นคงของ ครวั เรอื น และควรพจิ ารณาก�ำ หนดในกลไกของภาคปกติ ดว้ ย อาท ิ การชว่ ยเหลอื ทางการเงนิ ระหวา่ งครวั เรอื นนน้ั มีความสำ�คัญในหลายๆ ภูมิภาค การแลกเปลี่ยน แรงงาน ฯลฯ โดยมากแลว้  โครงขา่ ยฯ ม ี 2 บทบาท คอื 1. บทบาทเดมิ  คอื  การจดั สรรรายได ้ และทรพั ยากรใหม่ แก่ผู้มีความจำ�เป็นในสังคม การช่วยเหลือแก่กลุ่ม ดังกล่าวเพื่อป้องกันผลกระทบในระยะสั้นของ ความยากจน 2. บทบาทใหม่ คือ การช่วยเหลือครัวเรือนจัดการกับ ความเสี่ยง โครงข่ายความคุ้มครอง ยังเป็นทางเลือก สำ�หรับคนยากจน อันนำ�ไปสู่การเข้าร่วมกิจกรรม ที่จะเป็นการเพ่ิมศักยภาพของผู้ยากจน ลดความ ต้องการลง และหนจี ากความยากจนในระยะยาว

คำ�ศัพท์น่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 43 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา ระบบการจัดบริการเพ่ือช่วยเหลือประชาชนผู้ยากจน  แผนพฒั นางาน คนด้อยโอกาส รวมทั้งผู้ได้รับการเสี่ยงภัยต่างๆ ให้ สวัสดิการสังคม สามารถดำ�รงชีวิตอยู่ได้อย่างม่ันคง โดยได้รับสิทธิ และสังคมสงเคราะห์ พ้ืนฐานเท่าเทียมกับประชาชนท่ัวไป การดำ�เนินงาน แหง่ ชาต ิ ทางด้านโครงข่ายการคุ้มครองทางสังคมนี้ ภาครัฐ  ฉบับท่ ี 4  ภาคเอกชนและภาคประชาชนมีบทบาทในการบริการ (2545-2549)  หรือชว่ ยเหลอื ดังกลา่ ว 56 เงินท่ีรัฐบาลอุดหนุนแก่เด็กแรกเกิดสัญชาติไทย ที่เกิด ระเบียบกรมกจิ การ ระหว่างวันท่ี 1 ตุลาคม 2558 ถึง 30 กันยายน 2559  เดก็ และเยาวชน เงนิ อดุ หนุนเพือ่ การ และทเ่ี กดิ ระหวา่ งวนั ท ่ี 1 ตลุ าคม 2559 ถงึ  30 กนั ยายน  ว่าดว้ ยหลักเกณฑ์ เลย้ี งดูเด็กแรกเกดิ 2560 และอยู่ในครัวเรือนยากจนและครัวเรือนท่ีเส่ียง การจ่ายเงินอุดหนุน ต่อความยากจนที่มีการรับรองสถานะของครัวเรือน เพื่อการเลย้ี งดูเด็ก เรียบร้อย เป็นสวัสดิการพ้ืนฐานท่ีรัฐบาลส่งผ่านไปยัง แรกเกิด พ.ศ.2558 มารดา หรือผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กแรกเกิด โดยให้ และมตคิ ณะรฐั มนตรี เงินอุดหนุนเพอ่ื ชว่ ยแบง่ เบาภาระคา่ ใชจ้ า่ ยในการเลย้ี งดู เมอ่ื วนั ท ่ี 22 มนี าคม  เด็กแรกเกิด เดือนละ 600 บาท ต่อคน เป็นระยะ 2559 เวลา 36 เดือน (เด็กท่เี กิดปีงบประมาณ 2559 จะได้รับ เงิน 400 บาท ไปจนถึงเดือน ก.ย. 2559 เม่อื ถึงเดือน  ต.ค. 2559 จะเรม่ิ จา่ ย 600 บาท เปน็ ตน้ ไป ไมจ่ า่ ยยอ้ น หลงั  และเดก็ ทเ่ี กดิ ปงี บประมาณ 2560 จะไดร้ บั เงนิ  600  บาท ตง้ั แตเ่ ดอื นทเ่ี กดิ เปน็ ตน้ ไป)

44 คำ�ศัพท์น่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 57 การรู้จักเอาใจใส่เป็นธุระและเข้าร่วมในเรื่องของ ส�ำ นกั งาน ส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ต่อประเทศ มีความสำ�นึกและ คณะกรรมการวิจยั จติ อาสา ยึดม่ันในระบบคุณธรรม และจริยธรรมที่ดีงาม ละอาย แห่งชาติ ต่อส่ิงที่ผิด เน้นความเรียบร้อย ประหยัดและมีความ www.nitade.lpru. สมดุลระหว่างมนุษยก์ บั ธรรมชาติ ac.th ผู้ที่มีจิตใจที่เป็นผู้ให้ เช่น ให้ส่ิงของให้เงิน ให้ความ ประวติ ร  ช่วยเหลือด้วยกำ�ลังแรงกาย แรงสมอง ซ่ึงเป็นการ พิสุทธิโสภณ, 2552 เสียสละส่ิงท่ีตนเองมี แม้กระท่ังเวลาเพื่อเผื่อแผ่ให้กับ ส่วนรวมอีกท้ัง ยังช่วยลด “อัตตา” หรือความเป็นตัว เป็นตนของตนเองลงไดบ้ ้าง จิ ต ที่ พ ร้ อ ม จ ะ ส ล ะ เว ล า แร ง ง า น ส ติ ปั ญ ญ า เ พื่ อ ศนู ยค์ ณุ ธรรม,  สาธารณประโยชน์เป็นจิตที่มีความสุขเมื่อได้ทำ�ความดี 2550, หนา้  41 อนั เกดิ จากพนื้ ฐานความคิด 4 ประการหลกั  ได้แก่ 1. เป็นการบ�ำ เพญ็ ประโยชนต์ อ่ สว่ นรวมมใิ ชเ่ พอื่ สว่ นตัว 2. เป็นการทำ�ทเี่ ป็นไปโดยความสมคั รใจ 3. เป็นการกระทำ�ท่ีไม่มุ่งหวังผลตอบแทนในรูปสินจ้าง รางวัล 4. เป็นการอุทิศกำ�ลังกาย กำ�ลังใจและเวลาให้ส่วนรวม ไมใ่ ชอ่ ทุ ิศก�ำ ลังทรัพยแ์ ตเ่ พียงอย่างเดยี ว

คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 45 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า 58 กลมุ่ ทม่ี พี นั ธะเกย่ี วขอ้ งกนั  และทแ่ี สดงเอกลกั ษณอ์ อกมา สารานุกรมไทย โดยการผูกพันลักษณะการของเช้ือชาติ และสัญชาติเข้า สำ�หรบั เยาวชนฯ/ ชาติพันธุ ์ ด้วยกัน ถ้าจะใช้ให้ถูกต้องจะมีความหมายเฉพาะใช้กับ เล่มท ่ี 23/เรือ่ งท่ี 5  (ethnos)  กลุ่มที่มีพันธะทางเช้ือชาติและทางวัฒนธรรมประสาน ชาตพิ นั ธ/์ุ กนั เขา้ จนสมาชกิ ของกลมุ่ เองไมร่ สู้ กึ ถงึ พนั ธะของทง้ั สองนี้  ความหมาย  59 และคนภายนอกท่ีไม่มีความเช่ียวชาญ จะไม่แลเห็นถึง ชาติพันธุ์ ความแตกต่างกัน ชาวเล มี 2 ความหมาย มูลนธิ ิ 60 1. คนที่อาศัยอยู่ริมทะเล ประกอบอาชีพประมง หรือ สืบนาคะเสถียร หากินอยู่กับทะเล ชนกลมุ่ นอ้ ย 2. กลุ่มชาติพันธ์ุท่ีพูดภาษาออสโตรนีเชียน ซึ่งอาศัย อยู่ตามชายฝั่ง หรือเดินทางเร่ร่อนตามเกาะแก่ง ของทะเลอันดามันทางตอนใต้ของประเทศไทย  ประกอบด้วย 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มมอแกน กลุ่ม มอแกลน และกลุม่ อรู กั ลาโว้ย น. ชนตา่ งเผา่ หรอื ตา่ งเชอ้ื ชาตทิ อ่ี ยอู่ าศยั รวมกนั กบั ชนเผา่ พจนานกุ รมฉบับ อน่ื  หรือเชื้อชาตอิ ื่นท่มี ีจำ�นวนมากกวา่ ราชบณั ฑิตยสถาน  พ.ศ.2542

46 คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า 61 กลุ่มประชาชนที่รวมตัวกันโดยมีผลประโยชน์และ พระราชบัญญัติ  วัตถุประสงค์ร่วมกัน เพื่อช่วยเหลือและสนับสนุนกัน  สภาองค์กรชุมชน  ชมุ ชน � หรอื ท�ำ กจิ กรรมอนั ชอบดว้ ยกฎหมายและศลี ธรรมรว่ มกนั   พ.ศ.2551 (Community)  หรือดำ�เนินการอื่นอันเป็นประโยชน์ร่วมกันของสมาชิก  มีการดำ�เนินการอย่างต่อเนื่อง และมีระบบบริหาร จดั การและการแสดงเจตนาแทนกลุ่มได้ กลุ่มคนท่ีมีวิถีชีวิตเก่ียวพันกัน และมีการติดต่อส่ือสาร พระราชบัญญตั ิ ระหว่างกันอย่างเป็นปกติและต่อเนื่อง โดยเหตุที่อยู่ ส่งเสรมิ การจดั ในอาณาบริเวณเดียวกัน หรือมีอาชีพเดียวกัน หรือ สวัสดิการสงั คม ประกอบกิจกรรมที่มีวัตถุประสงค์ร่วมกัน หรือมี พ.ศ.2546 และ วัฒนธรรม ความเช่ือ หรอื ความสนใจร่วมกนั พระราชกฤษฎกี า  จดั ต้งั สถาบันพัฒนา องค์กรชมุ ชน  (องคก์ ารมหาชน)  พ.ศ.2543 ชุมชนคือการกระทำ�ที่เต็มเป่ียมไปด้วยความร่วมมือ  ชมุ ชนในแนวคิดทาง ร่วมใจ ความรู้สึกเป็นเจ้าของเป็นสังคมที่รู้จักกัน มนษุ ยน์ ิยม (1950)  อ ย่ า ง ใ ก ล้ ชิ ด ส นิ ท ส น ม   แ น ว คิ ด ส ะ ท้ อ น ใ ห้ เ ห็ น ถึ ง การเรียกร้องต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมสมัยใหม่  การขยายตัวของเมือง ประชากร ฯลฯ ท่ีก่อให้เกิด สภาวะความแตกแยก ความวิตกกังวล ความโดดเดี่ยว  ความเงียบเหงา ไม่สนใจใยดี หรือรู้สึกไม่รับผิดชอบต่อ เร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนกับบุคคลอื่นๆ ท่ีอยู่รอบข้าง โดยสรุป แล้วแนวคิดเก่ียวกับชุมชนทางมนุษย์นิยมนี้มีลักษณะท่ี น่าสนใจ คอื • ไม่ได้ให้ความสนใจหรือความสำ�คัญกับอาณาบริเวณ ทางภมู ศิ าสตร์

คำ�ศัพท์น่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 47 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า • เน้นความสัมพันธร์ ะหวา่ งเพ่ือนมนุษย์ • เป็นลักษณะนำ�เสนอลักษณะชุมชนที่ควรจะเป็น ชมุ ชนทดี่ ีหรือชุมชนในอดุ มคตนิ ัน่ เอง ในภาษาไทยคำ�ว่า “ชุมชน” ซ่ึงโดยท่ัวไป หมายถึง  รวบรวมคำ�ส�ำ คัญ กลุ่มคนท่ีอาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันหรือกลุ่มคนที่มี ในงานพัฒนาสงั คม  ประโยชน์ร่วมกัน แต่ถ้าพิจารณาให้ลึกซ้ึงแล้ว  สวสั ดิการสังคม ความหมายของคำ�ว่า ชุมชน ไม่มีความหมายท่ีแน่นอน และความมน่ั คง ตายตัว สามารถพิจารณาได้หลายแง่มุมทั้งที่เป็น ของมนุษย ์ รปู ธรรมและนามธรรม ไดแ้ ก่ สมพ. 02/2546 1. แนวคิดมนุษย์นิยม (Humanistic perspective)  ชุมชนมีความหมายในเรื่องการก่อให้เกิดมิตรภาพ  ความเอื้ออาทร ความมั่นคง และความผูกพัน โดย ให้ความสำ�คัญของชุมชนที่เน้นความสัมพันธ์ระหว่าง เรื่องมนุษย์ โดยไม่สนใจกับอาณาบริเวณ ซึ่งเป็นการ เสนอลักษณะชมุ ชนในอุดมคติ 2. ชุมชนในฐานะหน่วยทางสังคม (Community as  a social system unit) ชุมชนเป็นระบบย่อยที่มี ศักยภาพในการจัดให้มีส่ิงต่างๆ ท่ีตอบสนองความ ต้องการของคนท้ังทางกายภาพ จิตใจ และสังคม  หรือเป็นเครือข่ายของการปฏิบัติสัมพันธ์ของคน  ซ่ึ ง ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย   ส ถ า น ภ า พ   บ ท บ า ท   ก ลุ่ ม ค น  และสถาบัน มีความสัมพันธ์ทั้งในแนวตั้งและใน แนวนอน 3. ชุ ม ช น ใ น แ น ว คิ ด เ ชิ ง ร ะ บ บ นิ เ ว ศ น์   ค น แ ล ะ สิ่ ง แวดล้อมมีความสัมพันธ์กันในลักษณะของการ แลกเปลี่ยนและมีอิทธิพลซ่ึงกันและกันตลอดเวลา  โดยจะเกี่ยวข้องกันในการกระทำ�ที่มีทิศทางอย่างใด อยา่ งหนงึ่

48 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่มี า • ความรสู้ กึ เปน็ ชมุ ชนเดยี วกนั  (Sense of community)  คอื  กลมุ่ คนนน้ั รสู้ กึ เปน็ พวกเดยี วกนั ซง่ึ อาจอยรู่ วมกนั มานาน ย้ายมาจากท่ีเดียวกัน มีความรู้สึกไม่พอใจ เม่ือคนอื่นว่ากล่าวหรือพูดถึงในแง่ไม่ดี หรือมีความ รูส้ กึ ภาคภมู ใิ จในชมุ ชนตวั เอง • การมีสายใยสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในชุมชน  (Common ties) มีแรงยึดเหน่ียวระบบความสัมพันธ์ ในการอย่รู ว่ มกัน • มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน (Social interaction)  มกี ารตดิ ตอ่ สมั พันธ์ ทำ�กิจกรรมตา่ งๆ ร่วมกัน • การอยู่อาศัยในท่ีเดียวกัน (Living in the same  location) มกี ารก�ำ หนดอาณาบรเิ วณทอ่ี ยอู่ าศยั รว่ มกนั ชัดเจนจากพ้นื ที่อื่น • การมีผลประโยชน์ร่วมกัน (Having common  interest) มีสิ่งต่างๆ ในชุมชนท่ีใช้ประโยชน์ร่วมกัน  เชน่  ถนน สนามเด็กเลน่  โรงเรียน ฯลฯ ชุมชนในฐานะหน่วยทางภูมิศาสตร์ (Community as a  ชมุ ชนในแนวคิด Territorial Unit) การมองชุมชนในมิติน้ีมีความสำ�คัญ สังคมวทิ ยา คือ ทำ�ให้ชุมชนมีลักษณะเป็นรูปธรรมมีหลักแหล่งท่ีต้ัง แน่นอนและสมาชิกสามารถระบุที่อยู่ของตนเองได้ โดย พิจารณาจาก • อาณาบริเวณทางภูมิศาสตร์มีอิทธิพลต่อชุมชน  สภาพทางภูมิศาสตร์จะเป็นตัวกำ�หนดสถานที่ตั้ง และศักยภาพในการเจริญเติบโตของชุมชน กล่าวคือ  ชุมชนมักจะเกิดขึ้นในบริเวณท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ หรือท่ีซ่ึงมีการคมนาคมสะดวก เหมาะ แกก่ ารตงั้ ถิ่นฐานอย่างถาวร

คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 49 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 62 • ชุมชนมีอิทธิพลต่ออาณาบริเวณทางภูมิศาสตร์ แม้ว่า ตัวแปรเก่ียวกับอาณาบริเวณทางภูมิศาสตร์จะมี ชมุ ชนท้องถิ่น อิทธิพลต่อสถานท่ีต้ังและต่ออัตราการเจริญเติบโต จดั การตนเอง ของชุมชน (Growth Dynamics of Community)  แต่การปรับตัวของคนต่ออาณาบริเวณทางภูมิศาสตร์ ของชุมชนก็ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรม และ Technical  Khow-how ดงั นน้ั มนษุ ยเ์ องมสี ว่ นรว่ มในการกระท�ำ ต่อสภาวะแวดล้อมของตน ไม่ว่าจะโดยทางบวกหรือ ทางลบ เช่น การปรับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพให้ สอดคล้องกับความต้องการและความจำ�เป็นของตน โดยปรับปรุงแก้ไขสร้างที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับ สภาพภูมิอากาศ หรอื การท�ำ ลายสงิ่ แวดลอ้ ม ชุมชนในฐานะหน่วยทางสังคม (Community as a  รวบรวมคำ�สำ�คญั Social system Unit) ชมุ ชนเปน็ ระดบั ยอ่ ย ทม่ี ศี กั ยภาพ ในงานพฒั นาสังคม  ในการจัดให้มีสิ่งต่างๆ ท่ีตอบสนองความต้องการ สวัสดกิ ารสงั คม ของคน ทั้งกายภาพ จิตใจ และสังคม ซึ่งในระดับ และความมนั่ คง ครอบครัว กลุ่มเครือญาติก็เล็กเกินไป ไม่มีสถาบัน ของมนษุ ย ์ ทางสังคมท่ีสมบูรณ์เพื่อตอบสนองความต้องการ สมพ. 02/2546 ของมนุษย์ ส่วนระบบท่ีใหญ่กว่าน้ี เช่น กลไกของรัฐ เข้าไม่ถึงอารมณ์ความรู้สึกของคนจึงไม่สามารถ ตอบสนองความต้องการท้งั ทางกายทางใจได้ ชุมชนท้องถิ่นมีจิตสำ�นึก สาธารณะ รู้เป้าหมาย เชื่อม่ัน สถาบันพฒั นา วิถีและพลังชุมชน มีความสามารถในการจัดการชุมชน องค์กรชมุ ชน และจัดความสัมพันธ์กับภาคี ใช้แผนการจัดการความรู้  (องค์การมหาชน)  และทุนชุมชนแก้ไขปัญหา และพัฒนาตนเองทุกด้าน อย่างเป็นระบบ เพ่ือการเปล่ียนแปลงเชิงโครงสร้างและ การพฒั นาอย่างยั่งยนื

50 คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา 63 ความเหล่ือมล้ำ�ระหว่างผู้หญิงและผู้ชาย และเด็กผู้หญิง พจนานกุ รม และเด็กผู้ชาย ในด้านการเข้าถึงและใช้ทรัพยากร การ ด้านการส่งเสริม ช่องวา่ งระหวา่ ง เข้าถึงการศึกษา สุขภาพอนามัย การได้รับบริการต่างๆ  ความเสมอภาค หญิงและชาย  และการมีอ�ำ นาจในสิทธิพลเมอื ง หญงิ ชาย  (Gender-Gap)  (http://www. gender.go.th)  64 เป็นนโยบายทางสังคมเพ่ือบูรณาการสร้างหลักประกัน แผนยทุ ธศาสตร์ รายได้และการเข้าถึงบริการทางสังคมสำ�หรับทุกคน  สวสั ดิการสังคมไทย  โดยเฉพาะกลุ่มผู้ด้อยโอกาส โดยการป้องกันและ ฉบับท่ี 2 ฐานการค้มุ ครอง� เสริมสร้างศักยภาพของคนในวงจรชีวิต ซึ่งได้แก่ การ พ.ศ.2555-2559 ทางสงั คม� ให้หลักประกันรายได้ขั้นพ้ืนฐานในรูปแบบของการ (คณะกรรมการ (Social � ช่วยเหลือทางสังคม ทั้งในรูปแบบเงินและส่ิงของ เช่น  สง่ เสรมิ การจัด Protection Floor)  เงินบำ�นาญสำ�หรับผู้สูงอายุ เงินช่วยเหลือคนพิการ เด็ก  สวัสดิการสังคม การให้หลักประกันรายได้ในการทำ�งานการว่างงาน แหง่ ชาติ)  และผู้มีรายได้น้อย รวมถึงการให้หลักประกันถ้วนหน้า ในการบริการสังคม เช่น ด้านสุขภาพ นำ้�ด่ืมท่ีสะอาด  สขุ าภบิ าล การศกึ ษา ความมน่ั คงดา้ นอาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั   และอ่ืนๆ ที่จำ�เป็นในแต่ละประเทศ (United Nations  Chief Executives Board (CEB) )  65 บคุ คลทีอ่ ายตุ ำ่�กว่าสบิ แปดปีบรบิ รู ณ์ อนสุ ญั ญาวา่ ด้วย สิทธิเด็กแหง่ เด็ก สหประชาชาติ (Child)  และพระราชบญั ญัต ิ ส่งเสรมิ การพัฒนา เดก็ และเยาวชน แห่งชาต ิ พ.ศ.2550

คำ�ศัพท์นา่ ร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 51 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งท่มี า บุคคลซึ่งมีอายุตำ่�กว่าสิบแปดปีบริบูรณ์ แต่ไม่รวมถึง พระราชบญั ญตั ิ ผ้บู รรลุนิตภิ าวะดว้ ยการสมรส คุ้มครองเดก็   พ.ศ.2546 66 เด็กท่ีบิดามารดาเสียชีวิต เด็กที่ไม่ปรากฏบิดามารดา  พระราชบัญญัติ หรือไมส่ ามารถสืบบิดามารดาได้ คมุ้ ครองเด็ก  เดก็ กำ�พรา้ พ.ศ.2546 (Orphan)  67 เดก็ ทม่ี ารดาคลอดท้งิ ไวใ้ นโรงพยาบาล หรอื ตามสถานที่ http://www. ต่างๆ รวมไปถึงเด็กท่ีพ่อแม่ปล่อยทิ้งไว้ให้มีชีวิตอยู่ learners.in.th/ เด็กถกู ทอดทงิ้ ล�ำ พงั  หรอื กบั บคุ คลอน่ื  โดยไมไ่ ดร้ บั การเลย้ี งดจู ากพอ่ แม่  blogs/posts/ ท้ังนี้ อาจมีสาเหตุมาจากปัญหาการหย่าร้าง หรือ 365639 ครอบครวั แตกแยก มสี ภาพชวี ติ อยทู่ า่ มกลางความสบั สน ขาดความรกั  ความอบอนุ่  ตลอดจนถงึ เดก็ ทข่ี าดผอู้ ปุ การะ เล้ยี งดู อันเนือ่ งมาจากสาเหตุอนื่ 68 เด็กที่ประพฤติตนไม่สมควร เด็กท่ีประกอบอาชีพหรือ พระราชบัญญัติ คบหาสมาคมกับบุคลท่ีน่าจะชักนำ�ไปในทางกระทำ� คุ้มครองเด็ก  เด็กท่เี ส่ียงต่อ� ผิดกฎหมายหรือขัดต่อศีลธรรมอันดี หรืออยู่ในสภาพ พ.ศ.2546 การกระทำ�ผดิ แวดล้อมหรือสถานที่อันอาจชักนำ�ไปในทางเสียหาย  (Children in risk � ทงั้ น ี้ ตามทก่ี �ำ หนดในกฎกระทรวง of offence) 

52 คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทีม่ า 69 เด็กท่ีอยู่ในครอบครัวยากจน หรือบิดามารดาหย่าร้าง  พระราชบญั ญตั ิ ท้ิงร้าง ถูกคุมขัง หรือแยกกันอยู่และได้รับความลำ�บาก  คุ้มครองเด็ก  เดก็ ท่ีอยใู่ นสภาพ หรือเด็กท่ีต้องรับภาระหน้าท่ีในครอบครัวเกินวัยหรือ พ.ศ.2546 ยากลำ�บาก กำ�ลังความสามารถและสติปัญญา หรือเด็กท่ีไม่สามารถ (Children in � ชว่ ยเหลอื ตนเองได้ difficult � circumstances)  70 เด็กท่ีมีความบกพร่องทางร่างกาย สมอง สติปัญญา  พระราชบญั ญตั ิ หรือจิตใจ ไม่ว่าความบกพร่องนั้นจะมีมาแต่กำ�เนิด  คุ้มครองเด็ก  หรอื เกดิ ขนึ้ ภายหลงั พ.ศ.2546 เดก็ พกิ าร (Disabled children)  71 เด็กที่ไม่มีบิดามารดาหรือผู้ปกครองหรือมีแต่ไม่เล้ียงดู พระราชบัญญัติ หรือไม่สามารถเลี้ยงดูได้ จนเป็นเหตุให้เด็กต้องเร่ร่อน คมุ้ ครองเด็ก  ไปในที่ต่างๆ หรือเด็กที่มีพฤติกรรมใช้ชีวิตเร่ร่อนจน พ.ศ.2546 เด็กเร่ร่อน น่าจะเกิดอนั ตรายต่อสวสั ดิภาพของตน (Street Children)  72 ข้อมูลตัวช้ีวัด เป็นข้อมูลสำ�คัญท่ีสะท้อนถึงสภาวะสังคม ส�ำ นกั งานคณะ ของประเทศ ประกอบด้วย ตัวช้ีวัดตามเป้าหมายของ กรรมการพฒั นาการ แผนพัฒนาฯ ฉบับท่ ี 10 (พ.ศ.2550-2554) และตัวช้วี ัด เศรษฐกิจและสงั คม ตวั ชว้ี ัดทางสังคม ภาวะสังคม ครอบคลุมด้านคุณภาพคน ความม่ันคง แห่งชาติ (Social Indicators)  ทางสังคม ความเป็นอยู่และพฤติกรรมของคน และ ส่ิงแวดล้อม

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 53 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา 73 ตัวช้ีวัดหรือแสดงให้เห็นถึงความบรรลุหรือความสำ�เร็จ ธนาคารโลก ท่ีดำ�เนินการด้วยภาครัฐ หรือประชาคม และหน่วยงาน ทารุณกรรม องค์กรท่ีเก่ียวข้องในการบรรเทาผลกระทบทางสังคม (Abuse)  จากวิกฤต การกระทำ�หรือละเว้นการกระทำ�ด้วยประการใดๆ จน พระราชบัญญตั ิ เป็นเหตุให้เด็กเสื่อมเสียเสรีภาพหรือเกิดอันตราย คุม้ ครองเดก็   แก่ร่างกายหรือจิตใจ การกระทำ�ผิดทางเพศต่อเด็ก  พ.ศ.2546 การใช้เด็กให้กระทำ�หรือประพฤติในลักษณะท่ีน่าจะเป็น อันตรายแก่ร่างกายหรือจิตใจหรือขัดต่อกฎหมายหรือ ศลี ธรรมอนั ด ี ท้ังน้ ี ไม่วา่ เด็กจะยนิ ยอมหรือไมก่ ็ตาม

54 คำ�ศัพท์น่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่ีมา 74 ทุนทางสังคม (Social Capital) เป็นคำ�อธิบาย “ทุน”  สริ ิพรรณ  ในลักษณะใหม่ที่ไม่ใช่เพียงทุนทางเศรษฐกิจที่มุ่งหวัง นกสวน สวัสดี  ทุนทางสงั คม ในการทำ�กำ�ไรหรือแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดของตัวเอง  และคณะ (Social Capital)  แต่ทุนทางสังคมมีลักษณะเป็นผลประโยชน์หรือต้นทุน พฤศจิกายน, 2557 ส่วนรวมท่ีมาจากการช่วยเหลือและความร่วมมือกัน ระหวา่ งบคุ คลและระหวา่ งกลมุ่ ตา่ งๆ ในสงั คม (Putnum, 2000) โดยธนาคารโลก (Word Bank) เห็นว่าทุนทาง สังคมคือ สถาบัน ระบบ ความสัมพันธ์และบรรทัดฐาน การปฏิบัติ (norm) ท่ีนำ�มาซ่ึงปฏิสัมพันธ์ของสังคม ใ น เชิ ง ป ริ ม า ณ แ ล ะ คุ ณ ภ า พ   เ น้ น ถึ ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ เช่ือมโยงระหว่างกันไม่ใช่สถาบันหรือตัวบุคคลโดดๆ  หรือจำ�นวนรวมกัน อีกทั้ง องค์การเพื่อความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for  Economic Co-operation and Development :  OECD) เห็นว่าทุนทางสังคม คือ การเช่ือมโยงของ บุคคลเป็นเครือข่ายทางสังคมพื้นฐานความเชื่อถือ  ไว้วางใจซ่ึงกันและกัน (trust) และมีมาตรฐานในการทำ� งานรว่ มกัน เกิดการรวมตัว ร่วมคิด ร่วมทำ� บนฐานของความไว้ สำ�นกั งานคณะ เน้ือเชื่อใจ สายใยผูกพันและวัฒนธรรมและองค์ความรู้  กรรมการพฒั นาการ ซงึ่ จะเกิดเป็นพลงั ในชุมชนและสงั คม เศรษฐกจิ และสงั คม แหง่ ชาติ

คำ�ศัพท์นา่ ร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 55 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่ีมา การเชอ่ื มโยงของบคุ คลเปน็ เครอื ขา่ ยทางสงั คมบนพน้ื ฐาน OECD ความเช่ือถือ ไว้วางใจซึ่งกันและกัน และมีมาตรฐาน (Organization  ในการท�ำ งานร่วมกัน for Economic  Cooperation  and Development)  ความเข้มแข็งของชุมชนท้องถ่ิน ความสามัคคี รวมพลัง  ไพบลู ย ์ มีหน่วยท่ีจะจัดการ จัดระบบต่างๆ ของชุมชน มีศิลป วัฒนศริ ธิ รรม,  วัฒนธรรม มีจุดรวมใจ มีศีลธรรม ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานให้ 2542 ท้องถ่ินและชุมชนมีการพัฒนาท่ีเข้มแข็ง จริงจัง และ ยง่ั ยนื  กลา่ วอกี มติ หิ นง่ึ  “ทนุ ทางสงั คม” คอื  จติ วญิ ญาณ มีคุณค่าและเป็นพลังสำ�คัญให้แก่บุคคลฉันใด ทุนทาง สังคมก็มีคุณค่าและเป็นพลังสำ�คัญให้แก่ชุมชนและ สงั คมฉันนั้น ความเป็นกลุ่มก้อนทางสังคม มีการศึกษา มีวัฒนธรรม  ศ.นพ.ประเวศ วะสี  มีความซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม  2542 มีประสิทธิภาพในการทำ�งาน มีการเมือง และระบบ ราชการที่ดี สถาบัน ความสัมพันธ์ และบรรทัดฐานที่มุ่งสู่ คุณภาพ ธนาคารโลก และปรมิ าณของกิจกรรมทางสงั คม

56 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า ผลรวมของสิ่งที่ดีงามต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคม ท้ังในส่วน ในบรบิ ทของสังคม ท่ีได้จากการสั่งสมและการต่อยอด โดยอาจจำ�แนกทุน ไทย ทางสงั คมออกเป็น 3 ลักษณะ ไดแ้ ก่ 1. ทุนมนุษย์ที่มีคุณภาพ มีสติปัญญาและทักษะ มี คุณธรรม มีวินัย มีทัศนคติในการทำ�งานที่ดี ขยัน หมั่นเพียร รับผิดชอบและทำ�ประโยชน์ต่อส่วนรวม  โดยครอบคลุมทั้งนักคิด ผู้นำ� และบุคคลท่ัวไปที่ทำ� ประโยชน์ต่อสังคม 2. ทุนที่เป็นสถาบัน อาทิ สถาบันครอบครัว สถาบัน การศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันการเมือง รวมท้ัง องค์กรท่ีต้ังข้ึนมา เช่น องค์กรพัฒนาภาคเอกชน  องค์กรชุมชน ชมรม สมาคม วชิ าชพี  อาสา 3. ทุนปัญญาและวัฒนธรรม มีความเป็นนามธรรม ไม่ สามารถจับต้องและวัดผลได้ชัดเจน โดยครอบคลุม ทั้งเร่ืองของระบบคุณค่า เช่น จริยธรรม ค่านิยม  ความเชื่อ ความมีนำ้�ใจ ความเคารพผู้อาวุโส วินัย  จิตส�ำ นึก สาธารณะ ฯลฯ วฒั นธรรมไทย เช่น ภาษา  ศิลปะ ประเพณี ฯลฯ รวมท้ังสติปัญญาท้องถ่ิน เช่น  อาหาร การแพทยแ์ ผนไทย เทคโนโลยพี ้นื บา้ น ฯลฯ 75 การดำ�เนินกิจกรรมขององค์กรธุรกิจที่เป็นประโยชน์ต่อ ระเบียบสำ�นกั นายก สังคม รวมทั้งการเข้าร่วมดำ�เนินกิจกรรมกับกลุ่มบุคคล  รัฐมนตรี  ชุมชน องค์การพัฒนาเอกชน หรือองค์กรเอกชนอ่ืนท่ี วา่ ด้วยการส่งเสริม ธุรกจิ เพือ่ สงั คม ดำ�เนนิ กจิ กรรมด้านประชาสงั คม ประชาสงั คม (Social Enterprise)  เพื่อการพัฒนา  พ.ศ.2551

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 57 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งที่มา ธุรกิจเพอื่ สังคม (Social Enterprise) คือ บทความ จากคอลัมน์ : • ธุรกิจท่ีมีรายรับจาการขาย การผลิตสินค้า และ/หรือ GREEN  การให้บริการที่ถูกต้ังข้ึนเพื่อเป้าหมายท่ีชัดเจนต้ังแต่ INDUSTRY  แรก หรือมีการกำ�หนดเพิ่มเติม หรือปรับเปล่ียน หนงั สือพิมพ์ เปา้ หมายเพอ่ื การแกไ้ ขปญั หาและพฒั นาชมุ ชน สงั คม  โพสทูเดย ์ โดย  และหรือสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก โดยไม่ได้มีเป้าหมาย ดร.วฑิ รู ย์ สมิ ะโชคดี ในการสร้างกำ�ไรสูงสุดแก่ผู้ถือหุ้นและเจ้าของเท่าน้ัน  เช่น การช่วยเหลือนักศึกษาที่อาจถูกไล่ออกเพื่อ ให้ยังสามารถได้เรียนต่อ การผลิตอุปกรณ์สำ�หรับ ผู้พิการในราคาถูก การให้บริการท่ีพักอาศัยเพื่อ ช่วยผู้สูงอายุจากการต้องอยู่ในบ้านพักคนชราอย่าง โดดเด่ยี ว การรบั กำ�จดั ขยะ เปน็ ต้น 76 ธุรกิจที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม CSR (Corporate  ท่ีมา http:// Social Responsibility) เป็นกิจกรรมหรือโครงการ businessconnection เพ่ือสังคมของกิจการหรือธุรกิจที่แสวงหากำ�ไรตามปกติ  knowledge. ธรุ กิจที่มคี วาม� แต่ SE คือตัวธุรกิจเองที่มีเป้าหมายไม่ได้แสวงหาก�ำ ไร blogspot.com/2012 รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม สูงสุด แต่มีเป้าหมายท่ีจะเป็นวิถีทางหนึ่งในการช่วย /06/socail- (CSR -Corporate � แก้ปัญหาทางสังคมหรือสิ่งแวดลอ้ มเปน็ หลัก enterprise-se-1-se. html#VukJidJ97IU Social � Responsibility) 

58 คำ�ศัพทน์ ่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 77 นักเปลย่ี นแปลงสังคมไปในทิศทางท่พี งึ ปรารถนา สงั คม ศ.ดร.จ�ำ นงค ์ ที่พึงปรารถนาประกอบด้วยสังคมที่มีความยุติธรรม  อดวิ ัฒนสทิ ธ์ นกั พฒั นาสงั คม ( j u s t i c e )   สั ง ค ม ที่ มี ค ว า ม   เ ส ม อ ภ า ค   ( e q u a l i t y )  สังคมที่มีความเป็นปึกแผ่นม่ันคง เป็นอย่างหน่ึงอย่าง เดียวกัน (solidarity) และเป็นสังคมที่มีสมาชิกก็มี ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ด้วยการเสียสละ จริงใจ  (participation) เพ่ือให้สังคมได้รับการเปลี่ยนแปลงไป ในทศิ ทางดงั กลา่ ว 78 ผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ ซ่ึงแบ่งได้เป็น 2  ยุพา วงศ์ไชย ลกั ษณะคอื นกั สังคมสงเคราะห์ 1. ผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ในลักษณะวิชาชีพ  (Professional) ท่ีผ่านกระบวนการฝึกฝนในด้านความรู้  ทัศนคติ และทกั ษะจากสถาบันทางการศึกษาตา่ งๆมา 2. ผู้ปฏิบัติงานด้านสังคมสงเคราะห์ในลักษณะอาสา สมคั ร (Voluntery) 79 การพฒั นาทอ่ี ยอู่ าศัยใหมท่ ่จี ะนำ�ไปส่กู ารสรา้ งครอบครวั คูม่ อื การจัดท�ำ และสร้างชุมชนท่ีมั่นคงร่วมกัน อาทิ สิทธิในที่ดินมั่นคง โครงการบ้านม่นั คง บา้ นมัน่ คง โดยการระบุชื่อ หรือเช่า/อนุญาต ให้อยู่อาศัยอย่าง ป ี 2547 ถูกต้อง การมีระบบกองทุนสวัสดิการการพัฒนาอาชีพ ของคนในชุมชน การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม ตลอดจน การดูแลเด็ก คนชรา ยาเสพติด และการจัดการด้าน อื่นๆ เพื่อให้เป็นชุมชนแห่งความเอ้ืออาทรและเข้มแข็ง  พ่ึงพาตนเองได้ โดยมีท้ังการปรับปรุงชุมชนในท่ีดินเดิม  และสร้างชุมชนในท่ีดินใหม่ ซ่ึงรูปแบบอาจหลากหลาย ตามเงอ่ื นไขและองคป์ ระกอบท่ีแตกตา่ งกนั

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 59 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 80 1. บุคคลที่ประสบความเดือดร้อน หมายถึงบุคคล ประกาศ สัญชาติไทยท่ีมีความยากลำ�บากในการดำ�รงชีพ คณะกรรมการ เน่ืองจากเหตุหัวหน้าครอบครัวหรือบุคคลท่ีเป็นหลัก ค้มุ ครองคนไร้ทพ่ี ึง่   บคุ คลทีอ่ ยู่ในสภาวะ ในครอบครัว เร่อื งก�ำ หนดประเภท ยากลำ�บาก� หรอื ลกั ษณะ และไมอ่ าจพ่งึ พา (ก) ตาย ของบคุ คลทอ่ี ยใู่ น บุคคลอืน่ ได้ สภาวะยากลำ�บาก (ข) ทอดทง้ิ  สาบสูญหรือตอ้ งโทษจ�ำ คกุ และไมอ่ าจพึ่งพา (ค) ประสบอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยร้ายแรงไม่สามารถ บคุ คลอ่นื ได้ ประกอบอาชีพได้ (ง) ไมส่ ามารถดูแลครอบครวั ได้ดว้ ยเหตุอ่ืนใด 2. คนเร่ร่อน หมายถึง บุคคลสัญชาติไทยท่ีออกมาจาก ท่ีพักอาศัยเดิม ไม่ว่าด้วยเหตุใดๆ ก็ตาม มาอยู่ใน ท่ีสาธารณะ หรือบุคคลท่ีออกมาจากที่พักอาศัยเดิม มาต้ังครอบครัวหรือมาใช้ชีวิตแบบครอบครัวใหม่ ในที่สาธารณะ และท้ังสองกลุ่มอาจจะย้ายที่พักไป เรื่อยๆ หรืออาศัยอยู่ท่ีใดท่ีหน่ึงในช่วงระยะเวลาหน่ึง เพ่ือดำ�รงชวี ิตประจ�ำ วนั ในทส่ี าธารณะนนั้ ๆ  3. บุคคลซ่ึงอาศัยท่ีสาธารณะเป็นท่ีพักนอนชั่วคราว  หมายถึงบุคคลสัญชาติไทยท่ีมาทำ�ภารกิจบางอย่าง และไมม่ ที ีพ่ กั อาศัย ไมม่ ีเงินเชา่ ท่พี กั 4. บุคคลที่มีสถานะทางทะเบียนราษฎรแต่ยังไร้สัญชาติ  หมายถึงบุคคลท่ีถูกบันทึกทางทะเบียนราษฎร ของรัฐใดรัฐหนึ่ง แต่มิได้รับการรับรองในสถานะ คนสัญชาติโดยรัฐนั้นหรือรัฐอื่นใด ท่ีประสบปัญหา การดำ�รงชีพ 5. บุคคลไม่มีสถานะทางทะเบียนราษฎร หมายถึง  คนไร้รัฐ ซึ่งอาจจะเป็นคนท่ีเกิดในประเทศไทยหรือ นอกประเทศไทยก็ได้ แต่มีเหตุทำ�ให้ตกหล่นจาก ทะเบียนราษฎร ท้ังของประเทศต้นทางและของ ประเทศไทยทป่ี ระสบปัญหาการด�ำ รงชพี

60 คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 81 ส่ิงที่จัดให้มีขึ้นเพื่อให้ผู้รับมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน หรือ ประจักษ์  ไม่ตกตำ่�ลงกว่าท่ีเป็นอยู่ นอกจากน้ี บริการสังคมยังมี นำ�้ ประสานไทย ความหมายครอบคลุมการดำ�เนินการท่ีเกี่ยวข้องกับส่ิงท่ี วารสารสังคมศาสตร ์ บริการสังคม จัดให้มีองค์ประกอบด้วย การนำ�ส่งส่ิงที่จัดให้มีข้ึนไปยัง ปีที่ 11 ฉบบั ท ่ี 1   (Social services)  กลุ่มเป้าหมาย การทำ�ให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงส่ิงที่จัดให้ (ม.ค.-ม.ิ ย.2558)  มีข้ึน และการให้บริการส่ิงท่ีจัดให้มีข้ึนแก่กลุ่มเป้าหมาย  หนา้  89 ณ ที่ต้ังของผูใ้ ห้บริการ บริการท่จี ัดต้งั ข้นึ เพ่อื ช่วยเหลือกล่มุ บุคคลอ่นื ท่เี ดือดร้อน  พจนานุกรมศัพท์ ยากจน และขาดโอกาสในสังคม คำ�น้ีเป็นคำ�เดียวกับ ทางสงั คมวิทยา การสังคมสงเคราะห์ (Social Work) ซึ่งเป็นศัพท์ ท่ีใช้ทางวิชาการ บริการสังคม หมายรวมถึงบริการด้าน สุขภาพอนามัย การจัดหางาน การจัดหาที่อยู่อาศัย  ฯลฯ ท้ังที่โดยราชการและเอกชน บริการหรือกิจกรรมที่สังคมซึ่งอาจเป็นรัฐบาลหรือ ศ.นคิ ม จันทรวทิ รุ เอกชน หรือท้ังเอกชนและรัฐบาลรวมกันจัดขึ้น โดยมุ่ง ต่อความผาสุกและสวัสดิภาพของประชากร ตลอดจน การป้องกันและบำ�บัดความเดือดร้อนต่างๆ ให้แก่ ประชากร ดังนั้น บริการสังคมจึงเป็นงานหลายด้าน ห ล า ย อ ย่ า ง ท่ี ป ฏิ บั ติ กั น ใ น แ ต่ ล ะ ป ร ะ เ ท ศ   ใ น ก ร ณี ประเทศไทยไมใ่ ชง่ านของกรมประชาสงเคราะหแ์ หง่ เดยี ว แต่เป็นงานที่แบ่งแยกกันทำ�อยู่หลายกระทรวง ทบวง  กรม รวมท้ังเอกชน แต่ถ้าเป็นบริการท่ีรัฐจัดให้และ บริหารงานโดยกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ จะเรียกว่า เป็นบรกิ ารสวัสดกิ ารของรฐั

คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 61 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทีม่ า การบริการสังคมเป็นการบริการท่ีดำ�เนินงานโดย ผศ.ดร.กิตตพิ ัฒน์  รัฐบาลหรือเอกชนเพ่ือส่งเสริมสวัสดิภาพของประชาชน  นนทปัทมะดลุ ย์ ในด้านการหน้าที่ทางสังคมให้สามารถปรับตัวอย่าง เหมาะสม ฟื้นฟูสภาพจากการสูญเสียการหน้าที่ทาง สังคมให้กลับมาปรับตัวอย่างเหมาะสมตลอดจนพัฒนา ให้บรรลุการหน้าท่ีทางสังคมตามศักยภาพ สามารถใช้ บริการเพื่อตอบสนองปัญหาความต้องการของตนเองได้ อย่างเหมาะสม เช่น บริการปรึกษา บริการเฉพาะด้าน อน่ื ๆ เป็นตน้ กจิ กรรมทจ่ี ดั ขน้ึ อยา่ งมรี ะเบยี บ เพอ่ื ชว่ ยใหบ้ คุ คลแตล่ ะคน องค์การ สามารถปรับตนเองให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมในสังคมด้วยดี  สหประชาชาติ การทีจ่ ุดมุง่ หมายนีจ้ ะสมั ฤทธผิ ลด้วยดีโดย 1. การใช้เทคนิคและวิธีการท่ีมุ่งช่วยให้บุคคล กลุ่ม และ ชุมชนต่างๆ สามารถได้รับบริการตามความต้องการ  และสามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับการปรับตนให้เข้ากับ ลักษณะท่ีกำ�ลังเปลี่ยนแปลงไปทุกลักษณะในสังคม ดว้ ยด ี และโดย 2. การดำ�เนินงานร่วมกันในการปรับปรุงสภาวะทาง เศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้น บรกิ ารสงั คมนน้ั  ครอบคลมุ ถงึ การจดั บรกิ ารอยา่ งกวา้ งๆ  ความหมายทีใ่ ช้ เพ่ือส่งเสริมสุขภาพอนามัย และการกินดีอยู่ดีของ ในประเทศองั กฤษ ประชาชนและเพ่ือปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่ ใหด้ ขี ้นึ  แรงจงู ใจทีส่ �ำ คญั ยิง่ คือ การเนน้ ใหป้ ระชาชน มีความตระหนักว่าทุกชุมชนย่อมจะต้องรับผิดชอบใน การช่วยเหลือผู้ที่อ่อนแอกว่า ตลอดจนผู้ท่ีมีโชควาสนา ด้อยกว่า และจะต้องช่วยจัดหาบริการต่างๆ ให้แก่บุคคล ทไ่ี มส่ ามารถบรกิ ารนน้ั ๆ ไดด้ ้วยตนเอง

62 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า บริการต่างๆ ท่จี ัดให้แก่แต่ละบุคคล ตลอดจนครอบครัว ความหมาย ภายใต้ความอุปถัมภ์ของสังคม ทั้งนี้รวมถึงบริการอิสระ ทใ่ี ชใ้ นประเทศ สาขาอ่ืนๆ อันได้แก่ สุขภาพอนามัย การศึกษา ท่ีอยู่ สหรฐั อเมริกา อาศัย การประกันสังคมแก่ประชาชน ดังน้ัน บริการ เหล่านี้จึงอาจจะจัดข้ึน เพื่อให้แน่ใจว่าประชาชนมี สุขภาพอนามัย การศึกษา และสวัสดิภาพดีเป็นเบ้อื งต้น  เพื่อส่งเสริมการใช้ชีวิตร่วมกันเป็นกลุ่ม และการปฏิบัติ หน้าที่ของแต่ละบุคคลให้ดีข้ึน เพ่ือช่วยให้ประชาชนรู้จัก ใช้สิทธิในการบริการและสถาบันต่างๆ ในสังคมได้โดย สะดวก ตลอดจนเพ่ือช่วยเหลือบุคคลให้ดีข้ึน เพื่อช่วย ให้ประชาชนรู้จักใช้สิทธิในการรับบริการและสถาบัน ต่างๆ ในสังคมได้โดยสะดวก ตลอดจนเพื่อช่วยเหลือ บุคคลท่ปี ระสบความยงุ่ ยาก และต้องการบริการตา่ งๆ  รวมถงึ การบรกิ ารตา่ งๆ อาท ิ บรกิ ารสวสั ดกิ ารครอบครวั ความหมาย และเด็ก การสังคมสงเคราะห์ในโรงเรียน การสังคม ท่ีใชใ้ นประเทศ สงเคราะห์ทางการแพทย์ฝ่ายกายและฝ่ายจิต บริการ ที่ก�ำ ลงั พัฒนา อาคารสงเคราะห ์ การสงเคราะหใ์ นโรงงานอตุ สาหกรรม  เป็นต้น ซึ่งถือว่าเป็นบริการประเภทปลีกย่อยท่ีเรียกว่า  “Social Welfare Services” ในกรณีท่ีบริการเหล่าน้ัน เน้นการช่วยเหลือแต่ละบุคคลและครอบครัวที่มีปัญหา เก่ียวกับการปรับตน และการปฏิบัติหน้าท่ี หรือมีความ บกพร่องนานัปประการที่จำ�เป็นต้องขจัดหรือแก้ไขให้ หมดส้ินไป ฉะน้ัน บริการสังคมในประเทศเหล่าน้ีจึง กนิ ความหมายของบรกิ ารเหล่าน้ ี คือ  1. การชว่ ยเหลือจนุ เจือสังคม 2. โปรแกรมสุขภาพอนามัยต่างๆ กินความถึงโปรแกรม ทกุ ประเภททไ่ี ม่ใชบ่ ริการทางการแพทย์ของเอกชน 3. การให้บริการ การศกึ ษาของรัฐ 4. กจิ กรรมด้านอาคารสงเคราะห์ของรฐั ทุกประเภท 5. โปรแกรมเกยี่ วกับก�ำ ลงั คน

คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 63 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา กิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้นเพ่ือเป็นการชดเชยการขาด ศ.รชิ าร์ด ทิทมสั ส์ สวัสดิภาพ อันมีมูลเหตุมาจากสังคม และเพื่อเป็นการ (Professor R.  บรกิ ารแทนเงนิ เดอื นประเภทตา่ งๆ  Titmuss)  กิจกรรมหรือบริการต่างๆ ที่รัฐบาลหรือเอกชน หรือ ดร.ศรีทบั ทิม  รฐั วสิ าหกจิ จดั ขน้ึ  เพอ่ื ชว่ ยเหลอื บคุ คล ครอบครวั  กลมุ่ ชน  พานิชพนั ธ์, 2525 ชุมชน และสังคมโดยส่วนรวม ในการแก้ไข บำ�บัด และ ป้องกันปัญหาในระดับต่างๆ ท้ังปัญหาส่วนตัว ปัญหา ครอบครัว และปัญหาสังคม ตลอดจนในการฟื้นฟู เสรมิ สรา้ งและพฒั นาบคุ ลกิ ภาพ ความสามารถทางอารมณ์  จิตใจ และพัฒนาสังคมตลอดจนประเทศในทสี่ ดุ บริการสังคมเป็นมาตรการเสริมให้ชีวิตมนุษย์ในสังคม ดร.สยม รัตนวจิ ติ ร,  มีความผาสุก และความมั่นคงมากขึ้น ย่ิงมีบริการสังคม 2523 มาก ก็ยิ่งแสดงถึงความก้าวหน้าของสังคม แต่ต้องต้ัง อยู่บนหลักการแห่งการช่วยตนเอง และความรับผิดชอบ ของประชาชนด้วย จึงจะเป็นบริการสังคมท่ีถูกต้องตาม หลักวิชาการ 82 เป็นบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกันระหว่างผู้หญิงและ พจนานกุ รม ผู้ชาย อันเป็นผลแตกต่างทางชีวภาพท่ีติดตัวมาต้ังแต่ ดา้ นการสง่ เสรมิ บทบาทเพศ เกิดของแต่ละเพศ เป็นบทบาทเฉพาะท่ีไม่สามารถ ความเสมอภาค (sex roles)  แลกเปลยี่ นทดแทนกันได้ หญิงชาย (http://www. gender.go.th) 

64 คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งที่มา 83 กิจกรรมท่ีได้รับมอบหมายและตำ�แหน่งทางสังคมของ พจนานกุ รม ผู้ชายและผู้หญิง บทบาทเหล่านี้จะช่วยในการพิจารณา ด้านการสง่ เสริม บทบาทหญงิ ชาย� การได้รับโอกาสและเข้าถึงทรัพยากรของผู้ชายและ ความเสมอภาค (Gender roles)  ผู้หญิง โดยข้ึนอยู่กับลักษณะความเป็นหญิงเป็นชายท่ี หญิงชาย แต่ละสังคมและวัฒนธรรมกำ�หนด ในขณะท่ีบทบาท (http://www. ความเป็นหญิงเป็นชายจะสร้างความคาดหวังและ gender.go.th)  ข้อจำ�กัดบางอย่างต่อท้ังผู้หญิงและผู้ชาย แต่บทบาท เหล่านี้ก็จะคงไว้ซ่ึงสถานะที่ต่ำ�กว่าของผู้หญิงในสังคม  บทบาทหญิงชาย มักจะเป็นภาพสะท้อนท่ีเป็นขั้ว ตรงข้าม จึงมีผลทำ�ให้บางคนเข้าใจว่าการแบ่งบทบาท เป็นสิ่งที่มีมาแต่กำ�เนิด และไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้  อย่างไรก็ตามในขณะที่เพศของเราเปลี่ยนแปลงไม่ได้  แ ต่ บ ท บ า ท ช า ย ห ญิ ง นั้ น เ กิ ด จ า ก ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ เปลีย่ นแปลงได้ตามกาลเวลา 84 จำ�แนกประชานยิ ม ออกเป็น 5 ความหมาย ไดแ้ ก่ หนังสอื  “ทักษณิ า -ประชานิยม”  ประชานิยม 1. ประชานิยมในรัสเซียและอเมริกา เป็นประชานิยม ดร. อเนก  ในความหมายดั้งเดิม ท่ีเกิดขึ้นในรัสเซียและอเมริกา  เหล่าธรรมทัศน์ ในปลายศตวรรษท่ี 19 หมายถึงการเปลี่ยนแปลง http:// ทางสังคม ท่ีเห็นว่าประชาชนสำ�คัญท่ีสุด โดยทั้ง thaipublica.org ในรัสเซียและอเมริกานั้น ขบวนการประชานิยม วันท ่ี 25 เมษายน  ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงทางสังคมนั้น คือชาวนา  2559 ซงึ่ เป็นชนสว่ นใหญข่ องสังคม  2. ประชานยิ มในละตนิ อเมรกิ า เปน็ ขบวนการประชานยิ ม ท่ีเริ่มต้นขึ้นในอาร์เจนตินาตั้งแต่ทศวรรษ 1920  โดยเป็นขบวนการท่ีมีผู้นำ�สูงสุดคือ ฮอนเปรอง ท่ี มีความโดดเด่น มีเสน่ห์ มีบารมีเป็นที่น่าจับตา จับใจประชาชน และมีนโยบายสงเคราะห์คนยากจน เพ่ือใช้เป็นฐานเสียงและฐานนโยบายทางการเมือง  มุ่งเน้นการสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดระหว่างผู้นำ�กับ ประชาชน

คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 65 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 85 3. ประชานิยมในประเทศตะวันตก คือ การเมืองที่มี พรรคการเมืองบางพรรค ได้รับความสนับสนุนจาก ประชารัฐ ส า มั ญ ช น   จ า ก น โ ย บ า ย ท่ี เ ป็ น ท่ี ช่ื น ช อ บ   ห รื อ มี อดุ มการณ์ตรงกัน  86 4. ประชานิยมในฐานะแนวทางการพัฒนา ใช้เรียก ประชาสงั คม แนวคิดการพัฒนาที่เน้นภาคชนบท เน้นภาคเกษตร  เน้นการพัฒนาไร่นาขนาดเล็ก ขนาดกลาง ของ เกษตรกรอสิ ระ หรอื สหกรณท์ ช่ี าวไรช่ าวนามารวมกนั   เป็นทางเลือกของการพัฒนาท่ีไม่เน้นการพัฒนา ใหเ้ ปน็ เมอื งแบบตะวันตก น่นั เอง 5. ประชานิยม คือการให้ความสำ�คัญหรือให้คุณค่า แก่ประชาชน คือการเมืองท่ีให้คุณค่าแก่ประชาชน  โดยเฉพาะประชาชนทั่วไปหรือชนชั้นล่าง การเมือง ท่ี เ ห็ น ค ว า ม สำ � คั ญ ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป จึ ง เ ป็ น ประชานิยมเสมอ “ประชารัฐ” ความหมายอย่างแคบในทางวิชาการ  พลเดช ปน่ิ ประทีป,  หมายถึง การที่ประชาชนและรัฐร่วมมือกันในการ 2558 พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สอดคล้องกับการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ “สานพลังประชารัฐเพื่อเศรษฐกิจ ฐานราก” “ประชารัฐ” ความร่วมมือร่วมใจของรัฐ และประชาสังคม เพื่อร่วมแก้ปัญหาเศรษฐกิจ และ ขับเคลอ่ื นการพัฒนา ประชาสังคม หรือ Civil Society เป็นแนวคิดท่ีมี สิริพรรณ  เป้าหมายเพื่อการมีสังคมและชุมชนท่ีเข้มแข็ง ด้วยเป็น นกสวน สวสั ดี  แนวคดิ ท่กี วา้ งจึงมีผ้ใู หค้ ำ�นิยามไวห้ ลากหลาย โดยท่วั ไป และคณะ ประชาสังคม หมายถึง พ้ืนท่ีหรือส่วนของสังคมที่ พฤศจกิ ายน, 2557 มีประชาชนเป็นผู้แสดงบทบาทหลัก พ้ืนที่ดังกล่าว จงึ ไมใ่ ชพ่ น้ื ทภ่ี าครฐั ซง่ึ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทโ่ี ดยมกี ฎหมายรองรบั

66 คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า และภาคธุรกิจเอกชนท่ีเน้นดำ�เนินงานโดยมุ่งแสวงหา ผลกำ�ไร ในพื้นที่ประชาสังคม ประชาชนท่ัวไปเป็นผู้ มีบทบาทสำ�คัญในการดำ�เนินการที่เป็นอิสระจากรัฐ  และอยู่นอกบริบทการแข่งขันทางการเมือง ซ่ึงกลุ่มและ ผู้กระทำ�การทางสังคม อาจมีวัฒนธรรม วิถีชีวิต วิธีคิด  อันหลากหลายมาร่วมกันในกิจกรรมท่ีมีเป้าหมายเพื่อ แลกเปล่ียนข่าวสารข้อมูล ถกเถียงแลกเปลี่ยนความคิด  สร้างเอกลักษณ์และความเห็นร่วมกัน รวมถึงต้องมีจุด มุ่งหมายร่วมในการพิทักษ์หรือเพิ่มพูนผลประโยชน์ สาธารณะบางประการให้กับสังคม โดยลักษณะของ พื้นท่ีดังกล่าวสามารถเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับพ้ืนที่ ทางการเมืองและทางเศรษฐกิจ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อการ ตดั สนิ ใจระหว่างสามพน้ื ทีด่ งั กลา่ วนี้ดว้ ย กลุ่มของประชาชนซ่ึงมีจิตสำ�นึกคุณธรรม เพ่ือส่วนรวม ระเบยี บ ท่ีรวมตัวกันเป็นคณะบุคคล องค์การพัฒนาเอกชน  สำ�นกั นายกรฐั มนตรี  หรือองค์กรเอกชนอ่ืน ด้วยความสมัครใจ เพ่ือดำ�เนิน วา่ ด้วยการส่งเสรมิ กจิ กรรมอันเปน็ ประโยชนต์ ่อสังคมส่วนรวมเปน็ สำ�คัญ ประชาสังคม เพื่อการพฒั นา  พ.ศ.2551 87 ผลกระทบทางลบที่เกิดจากการเปล่ียนแปลงทางสังคม  รวบรวมคำ�สำ�คญั ท้ังในระดับความสัมพันธ์ในครัวเรือน ความสัมพันธ์ ในงานพฒั นาสงั คม  ของสมาชิกในชุมชน ทำ�ให้เกิดปัญหาในการดำ�รงชีวิต สวสั ดิการสังคม ปญั หาสงั คม ของครอบครัว และสมาชิกในชุมชน เช่น ปัญหาเรื่อง และความม่ันคง (Social Problem)  สขุ ภาพอนามยั  ยาเสพตดิ  การศึกษา ความปลอดภยั ใน ของมนุษย์  ชวี ิตและทรพั ย์สิน เป็นตน้ สมพ. 02/2546

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 67 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า สภาวะท่ีเกิดขึ้นในสังคมและส่งผลต่อสังคมโดยส่วนรวม  การเคหะแห่งชาติ ทำ�ให้สังคมด้อยคุณภาพเกิดความอ่อนแอ ขาดสมดุล (รวบรวมค�ำ สำ�คัญ ในงานพัฒนาสงั คม  สวัสดิการสงั คม และความมั่นคง ของมนษุ ย ์ สมพ. 02/2546)  สภาพการณ์ท่ีเกิดขึ้นในสังคม ซึ่งกระทบกระเทือน คณะกรรมการ ต่อคนส่วนใหญ่ในสังคมในแนวทางที่ไม่พึงประสงค์ สง่ เสรมิ และพฒั นา และทำ�ให้เกิดความรู้สึกว่าควรจะมีการกระทำ�บางอย่าง งานสงั คมสงเคราะห์ และการกระทำ�นั้นๆ จะต้องมีคนจำ�นวนหน่ึงเข้ามา แหง่ ชาติ, 2527 เก่ียวข้องรว่ มกัน 88 บุคคลซึ่งให้ความช่วยเหลือคนพิการเฉพาะบุคคล  พระราชบัญญัติ เพ่ือให้สามารถปฏิบัติกิจวัตรท่ีสำ�คัญในการดำ�รงชีวิต  ส่งเสรมิ และพฒั นา ผูช้ ่วยคนพกิ าร ท้งั นีต้ ามระเบยี บทีค่ ณะกรรมการกำ�หนด คณุ ภาพชวี ิต คนพิการ 89 พ.ศ.2550  และแก้ไขเพ่ิมเติม ผู้ดแู ลคนพิการ (ฉบับท ่ี 2)  พ.ศ.2556 บิดา มารดา บุตร สามีภรรยา ญาติพ่ีน้อง หรือบุคคล พระราชบญั ญตั ิ อื่นใด ท่ีรบั ดูแลหรอื อปุ การะคนพกิ าร สง่ เสริมและพฒั นา คุณภาพชวี ติ คนพิการ พ.ศ.2550  และแก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบับที ่ 2)  พ.ศ.2556

68 คำ�ศัพทน์ ่ารู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทีม่ า 90 ผู้ที่ประสบปัญหาเดือดร้อน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ การ แผนพัฒนา ศึกษา การสาธารณสุข การเสียเปรียบ ไม่ได้รับความ งานสวัสดกิ ารสังคม ผดู้ อ้ ยโอกาส เป็นธรรมทางกฎหมาย รวมทั้งผู้ที่ประสบปัญหาในรูป และสงั คมสงเคราะห์ (Vulnerable  แบบต่างๆ ทำ�ให้ไม่สามารถปฏิบัติหน้าท่ีทางสังคมได้ แห่งชาต ิ Group)  ตามปกติ หรือจำ�เป็นต้องได้รับการดูแลช่วยเหลือ รวม ฉบับท ่ี 4  ทั้งผู้ถูกทอดท้ิงทางสังคม ได้แก่ ผู้ที่หลุดจากกลไกทาง (2545-2549)  สังคม ทำ�ให้ไม่สามารถเข้าถึงทรัพยากรหรือบริการทาง สังคมได้ หรือถูกกีดกันไม่ให้เข้ามามีส่วนร่วมทางสังคม  หรือทางการเมือง ขาดสิทธิประโยชน์และโอกาสท่ีจะยก ระดับสถานภาพทางสงั คมของตนเองให้สงู ขน้ึ 91 กลมุ่ คนทม่ี ขี อ้ เสยี เปรยี บ (เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั กลมุ่ คนอน่ื ๆ  รศ.อรทยั  อาจอำ่� ในสังคม) ในการเข้าถึงโอกาสต่างๆ ที่มีอยู่ในสังคม สถาบนั วิจยั ผปู้ ระกอบวชิ าชพี หนง่ึ ๆ หรอื การเขา้ ถงึ โอกาสตา่ งๆ ทม่ี อี ยใู่ นสงั คมไดน้ อ้ ย ประชากรและสังคม  สังคมสงเคราะห์ กว่ากลุ่มอ่ืนๆ อันส่งผลกระทบต่อการดำ�รงชีวิตท่ีดีและ มหาวทิ ยาลัยมหิดล มคี ณุ ภาพในฐานะทเ่ี ปน็ สมาชกิ ของสงั คมนน้ั ๆ และยงั ท�ำ ให้ระดับคุณภาพชีวิตต่ำ�กว่าระดับเกณฑ์เฉลี่ยของสังคม  หรือต่ำ�กว่าระดับความมั่นคงขั้นต่ำ�ที่รัฐบาลต้องการให้ ครอบครองถึงสมาชิกทุกคนในสังคม ท้ังความมั่นคง ด้านรายได้ ท่ีอยู่อาศัย การรักษาพยาบาล และความ มนั่ คงด้านอ่ืนๆ เปน็ ต้น บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพท่ีต้องใช้ความรู้ และทักษะทาง พระราบัญญตั ิ สังคมสงเคราะห์ในการปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกัน วิชาชพี และแก้ไขปัญหาของบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน หรือ สังคมสงเคราะห์ ชุมชน เพื่อให้กระทำ�หน้าที่ทางสังคมและดำ�รงชีวิตได้ พ.ศ.2556 อยา่ งปกตสิ ุข 92 บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบ พระราชบญั ญตั ิ วิชาชีพสังคมสงเคราะห์รับอนุญาตจากสภาวิชาชีพ วชิ าชีพ ผปู้ ระกอบวิชาชพี สังคมสงเคราะห์ สงั คมสงเคราะห์ สังคมสงเคราะหร์ บั พ.ศ.2556 อนญุ าต

คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 69 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งท่มี า 93 คนไร้บ้าน เช่น คนด้อยโอกาส บุคคลเร่ร่อน คนเร่ร่อน คู่มอื สนบั สนนุ ไร้บ้าน คนไร้ที่พึ่ง เป็นต้น แต่ละคำ�มีนัยยะที่แตกต่าง การด�ำ เนนิ งาน ผไู้ ร้ท่อี ยู่อาศยั   กันไป แต่เป็นคำ�ที่สื่อความหมายในแง่ลบในทำ�นอง ของกลไกพฒั นา (The homeless)  เดียวกันกับการนิยามคนชายขอบกลุ่มอื่นๆ กล่าวคือ  มาตรฐานคณุ ภาพ คนไร้บ้านถูกมองเป็นคนยากจนและด้อยโอกาส  ชีวิตคนพิการ ไร้ศักยภาพในการจัดการชีวิตตนเอง อันเนื่องมาจาก ระดับพ้ืนที่ ปัญหาความทุพพลภาพของร่างกาย ความขัดสนทาง เศรษฐกิจ การมีปัญหาครอบครัว ฯลฯ ซ่ึงคนเหล่านี้ จำ�เป็นต้อง “ได้รับการพฒั นา” 94 บุคคลซ่ึงมีอายุเกินหกสิบปีบริบูรณ์ข้ึนไป และมีสัญชาติ http://humanset. ไทย org ผ้สู ูงอายุ (Older Persons) วนั ท ่ี 26 เมษายน  2559 95 ระบบการติดตามและประเมินคุณภาพชีวิตคนพิการ พระราชบญั ญตั ิ  ด้านการเข้าถึงสิทธิของคนพิการ ที่กรมส่งเสริม ผ้สู งู อายุ  มาตรฐานการ และพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พ.ก.) พัฒนาข้ึน  พ.ศ.2546  พัฒนาคุณภาพ ซ่ึงประกอบด้วย 7 ดัชนี 8 องค์ประกอบ และ 26  และท่ีแก้ไขเพิ่มเตมิ   ชวี ติ คนพกิ าร ตัวชี้วัด โดยดัชนี 7 ด้าน ของมาตรฐานคุณภาพชีวิต (ฉบบั ที่ 2 )  คนพิการประกอบด้วย พ.ศ.2553 1. สทิ ธแิ ละความเทา่ เทียม 2. สขุ ภาวะคนพกิ าร 3. การศกึ ษา 4. อาชีพ การจา้ งงานและรายได้ 5. การออกสสู่ ังคม 6. กฬี าและนันทนาการ 7. สง่ิ อ�ำ นวยความความสะดวกสำ�หรบั คนพิการ

70 คำ�ศัพท์นา่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า 96 ยากจน, ขาดแคลน, สิ้นไร้ไม้ตอก, ขาดแคลนไปทุกส่ิง พจนานกุ รมฉบับ ทกุ อยา่ ง เชน่ คนยากไร้ ความยากไร้ การขาดแคลน ราชบัณฑิตยสถาน  ยากไร้ พ.ศ.2542  ความสามารถขั้นพ้ืนฐาน ซ่ึงเกิดจากการไม่เข้าถึง http://www. บริการพ้ืนฐานท่ีจำ�เป็น เช่น ไมร่ หู้ นงั สอื  เพราะเขา้ ไมถ่ งึ online-english-thai บรกิ ารทางการศกึ ษา อายสุ น้ั จากการเจ็บป่วยเพราะโรค -dictionary.com ท่ีป้องกันได้ เพราะเข้าไม่ถึงบริการทางด้านสาธารณสุข  เปน็ ตน้ 97 บุคคลที่มีอายุต้ังแต่สิบแปดปีบริบูรณ์ถึงย่ีสิบห้าปี พระราชบัญญัติ  บรบิ รู ณ์ ส่งเสริมการพฒั นา เยาวชน เดก็ และเยาวชน (Youth)  แห่งชาต ิ พ.ศ. 2550 98 ระบบท่ีใช้ในการกำ�กับ ติดตามตัวชี้วัดวิกฤตพื้นฐาน โครงการพฒั นา และข้อมูลท่ีสำ�คัญ เพื่อนำ�ไปสู่การวิเคราะห์และค้นหา แห่งสหประชาชาติ ข้อเท็จจริงของข้อมูลที่จะนำ�ไปสู่การวางแผน ทำ�นาย (UNDP)  ระบบเตือนภยั คาดการณ์ สถานการณ์ ปัจจัยสำ�คัญของระบบเตือนภัย (Warning System)  คอื  มกี ารก�ำ กับ ตดิ ตามผล อยา่ งเปน็ ระบบ

คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 71 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ท่มี า ระบบท่มี ีศักยภาพในการประมวลผลขอ้ มลู และแจง้ เตอื น แผนการป้องกนั และ ตามช่วงระยะเวลา เพื่อให้บุคคล ชุมชน และหน่วยงาน บรรเทาสาธารณภัย ท่ีเส่ียงต่อภัยมีเวลาเพียงพอในการเตรียมการและรับมือ แห่งชาต ิ พ.ศ.2558 ได้อย่างเหมาะสม เพื่อลดโอกาสการเกิดอันตรายและ ความสญู เสยี 99 ระบบการจัดบริการทางสังคมที่มีการจัดสวัสดิการแบบ แผนยุทธศาสตร์ พหุลักษณ์ภายใต้การบูรณาการความร่วมมือขององค์กร สวสั ดิการสังคมไทย  ระบบ� ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน องค์กรสาธารณ ฉบบั ทีส่ อง  สวสั ดกิ ารสงั คม ประโยชน์และภาคส่วนอ่ืนๆ ได้มีส่วนร่วมในการจัด พ.ศ.2555-2559 บริการทางสังคมที่มีองคป์ ระกอบ 4 เสา ไดแ้ ก่ (คณะกรรมการ ส่งเสรมิ การจดั เสาท่ี 1 การชว่ ยเหลือทางสังคม (Social Assistance)  สวสั ดิการสงั คม เสาท ี่ 2 การประกนั สงั คม (Social Insurance)  แห่งชาต)ิ   เสาที ่ 3 การบริการสังคม (Social Services)  เสาที่ 4 การสนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคม  (Social partnership support)  การช่วยเหลือ� เสาที่ 1 การช่วยเหลือทางสังคม (Social Assistance)  หมายถึง มาตรการหนึ่งของระบบสวัสดิการสังคมไทย  ทางสังคม เป็นการจัดสวัสดิการสังคมโดยภาครัฐท่ีใช้เคร่ืองมือ การทดสอบความจำ�เป็นของผู้ใช้บริการ (means-test)  (Social Assistance)  ท่ีใช้กระบวนการและข้ันตอนทางสังคมสงเคราะห์ ในการประเมินปัญหาและความต้องการของผู้ใช้บริการ  การวางแผน การด�ำ เนนิ งานโดยการจดั บรกิ ารทเ่ี หมาะสม ในลักษณะต่างๆ กับกลุ่มเป้าหมาย บริการลักษณะนี้ จึงเป็นบริการสงเคราะห์แก่กลุ่มเด็กและเยาวชน สตรี  คนพกิ าร กลมุ่ ผดู้ อ้ ยโอกาส ผสู้ งู อาย ุ และกลมุ่ ผปู้ ระสบภยั ท่มี ปี ญั หาความเดือดร้อน

72 คำ�ศัพทน์ า่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า การประกนั สังคม เสาท ่ี 2 การประกนั สงั คม (Social Insurance) หมายถงึ   (Social Insurance)  มาตรการหน่ึงของระบบสวัสดิการสังคมไทย เป็นการ จัดสวัสดิการสังคมโดยภาครัฐเพื่อคุ้มครองป้องกัน ประชาชนท่ีมีรายได้ไม่ให้ได้รับความเดือดร้อนเมื่อต้อง สูญเสียรายได้ท้ังหมดหรือบางส่วน หรือมีรายได้ ไม่เพียงพอแก่การเล้ียงชีพ เพ่ือให้มีหลักประกันด้าน การดำ�รงชีพได้ตามสมควร โดยครอบคลุมท้ังกลุ่มผู้ใช้ แรงงาน ข้าราชการและประชาชนทั่วไป  การบริการสังคม เสาท่ี 3 การบริการสังคม (Social Services) หมายถึง  (Social Services)  มาตรการหนึ่งของระบบสวัสดิการสังคมไทย เป็นการ จัดสวัสดิการสังคมโดยรัฐและเอกชนที่มีต่อประชาชน  เพ่ือเสริมสร้างชีวิตความเป็นอยู่และสวัสดิภาพของ ประชาชน แต่การเข้าสู่สังคมสวัสดิการในปี 2560  ในที่น้ี หมายถึง การจัดบริการสวัสดิการสังคมโดยรัฐ ที่เน้นหลักการความเสมอภาค (ความครอบคลุม)  ความเทา่ เทยี ม (ทว่ั ถงึ ) ความเปน็ ธรรมทางสงั คม (เขา้ ถงึ บริการได้จรงิ ) วัตถุประสงคเ์ พอ่ื ตอบสนองความต้องการ พ้ืนฐานของประชาชน ครอบคลุม 4 ดา้ นหลกั  ได้แก่ 1. การศกึ ษา  ขยายโอกาสเรยี นฟรจี าก 12 ป ี เปน็  15 ปี  สิทธิทางการศึกษาของคนพิการโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย  บรกิ ารกองทุนใหก้ ู้ยมื เพ่อื การศกึ ษา 2. การสาธารณสุข การบริการสุขภาพประชาชนใน 3  ระบบ ได้แก่  ระบบสวัสดิการข้าราชการ และ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ระบบการประกันสังคม ภายใต้ สิทธิประโยชน์การรักษาพยาบาลนอกเวลาการ ทำ�งานของผู้ประกันตน และระบบหลักประกัน สขุ ภาพถ้วนหน้า 3. สง่ิ อ�ำ นวยความสะดวก จดั บรกิ ารอ�ำ นวยความสะดวก ส�ำ หรบั คนพิการหรอื ทุพพลภาพ และผ้สู งู อายุ

คำ�ศัพทน์ า่ รูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 73 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา 4. ท่ีอยู่อาศัย โครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยในชนบทตาม แนวพระราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพียง โครงการบ้าน เอ้อื อาทร โครงการบ้านมน่ั คง การสนบั สนนุ � เสาท่ี 4 การสนับสนุนหุ้นส่วนทางสังคม (Social  ห้นุ ส่วนทางสงั คม partnership support) หมายถึงหนึ่งในมาตรการทาง (Social � สังคมของการสร้างสังคมสวัสดิการที่เป็นการดำ�เนินการ partnership � ขององค์กรชุมชน ภาคธุรกิจ เอกชน ท่ีเข้ามาช่วยเหลือ support)  รับผิดชอบต่อปัญหาสังคม และกิจการประกันภัยของ เอกชน • การรวมกลุ่มขององค์กรชุมชนท่ีเข้าร่วมในกระบวน การพัฒนา • การด�ำ เนินกิจการดว้ ยความรบั ผิดชอบตอ่ สงั คม • (Corporate Social Responsibility : CSR)  • การประกันภัยของเอกชน : ประกันชีวิต ประกัน วนิ าศภยั 100 รัฐท่ีมีนโยบายของประเทศที่คำ�นึงถึงการกระจายความ รศ. ดร.กิติพฒั น์ ม่ังคั่งในสังคมประเทศออกไปสู่ประชาชนพลเมือง นนทปัทมะดลุ ย์ รัฐสวสั ดิการ � ทั้งประเทศอย่างกว้างขว้างและทั่วถึง โดยมุ่งจัดบริการ คณะสงั คม (welfare State)  ต่างๆ ให้ประชาชนทุกคนมีความม่ันคงในการดำ�รง สงเคราะหศ์ าสตร ์ ชีวิต อาทิ มีที่อยู่อาศัย มีการรักษาพยาบาลและการ มหาวทิ ยาลยั ดูแลสุขภาพอนามัย ได้รับการศึกษา มีรายได้จากการ ธรรมศาสตร ์ ทำ�งานท่เี ป็นงานสุจริตและงานน้นั ไม่ทำ�ให้ต้องเส่อื มเสีย พ.ศ.2553 ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตลอดจนได้รับความม่ันคง ทางสังคม อันประกอบไปด้วย การประกันสังคมและ การสงเคราะห์ประชาชนทางสังคม การดูแลผู้สูงอายุ  ผู้พิการทุพลภาพ และผู้ประสบความทุกข์ยากเดือดร้อน นานาประการ ทง้ั น ้ี รฐั สวสั ดกิ ารจ�ำ เปน็ ตอ้ งใชง้ บประมาณ จำ�นวนมาก จึงต้องจัดเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า ภาษี มรดกและภาษีอสังหาริมทรัพย์ในสัดส่วนที่สูงมาก

74 คำ�ศัพทน์ ่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า หรืออย่างน้อยก็สูงกว่าประเทศท่ีไม่มีรัฐสวัสดิการท่ีดี ที่สุด ส่วนใหญ่เป็นประเทศในกลุ่มยุโรปเหนือหรือ กลุ่มประเทศสแกนดิเนเวีย ได้แก่ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์  สวเี ดน ฟินแลนด์ และเดนมาร์ก รัฐชาติหรือสังคมที่มีบทบาทความรับผิดชอบต่อชีวิต อภิชยั  พันธเสน  ความเป็นอยู่ของประชาชนในด้านต่างๆ เช่นการ อาจารย์ประจ�ำ ตอบสนองความต้องการพ้ืนฐานของประชาชนในด้าน คณะเศรษฐศาสตร ์ การศึกษา สุขภาพอนามัย เศรษฐกิจและความมั่นคง มหาวิทยาลยั ทางสังคม เปน็ ต้น ธรรมศาสตร์ การท่รี ัฐพยายามจัดหาสวัสดิการให้กับประชาชนให้มาก จอน อ๊ึงภากรณ์  ที่สุด หมายความว่า ประกันมาตรฐานข้ันตำ่�ของ เครอื ข่ายประชาชน ประชาชนให้มีการกินดีอยู่ดี ต้ังแต่การเลี้ยงดูบุตร  เพ่ือรัฐสวสั ดกิ าร การให้บริการทางด้านการศึกษา การให้บริการด้าน การรักษาพยาบาลเวลาเจ็บป่วย และท่ีสำ�คัญก็คือ  ให้ความช่วยเหลือเวลาไม่มีรายได้เนื่องจากไม่มีงานทำ�  ประชาชนทุกคนได้รับสวัสดิการในปัจจัยพื้นฐาน ทจ่ี �ำ เปน็ 101 บคุ คลผซู้ ง่ึ ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย คนตา่ งดา้ ว ตามพระราชบญั ญตั ิ http://www. การทำ�งานของคนต่างด้าว พ.ศ.2551 หมายถึงบุคคล statelessperson. แรงงานขา้ มชาต ิ ธรรมดาซง่ึ ไมม่ สี ญั ชาตไิ ทย และก�ำ หนดไวว้ า่  คนตา่ งดา้ ว com (Migrants)  จะท�ำ งานไดเ้ มอ่ื ไดร้ บั อนญุ าตจากอธบิ ดกี รมการจดั หางาน หรอื เจา้ พนกั งานซงึ่ อธิบดีมอบหมายเทา่ นน้ั แรงงานข้ามชาติในอนุสัญญาว่าด้วยการคุ้มครองสิทธิ สหประชาชาติ ของบรรดาแรงงานข้ามชาติ และสมาชิกในครอบครัว ของเขาเหล่าน้ัน ไว้ในมาตรา 2 “บุคคลซึ่งจะถูกว่าจ้าง ให้ทำ�งาน กำ�ลังถูกว่าจ้าง หรือเคยถูกว่าจ้างทำ�งาน  โดยไดร้ บั คา่ ตอบแทนในรฐั ทต่ี นไมไ่ ดเ้ ปน็ คนของชาตนิ น้ั ”

คำ�ศัพท์น่าร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 75 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 102 บุคคลสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชา ที่ไม่เข้ามาตาม www.fm97mhz. กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง และมีวัตถุประสงค์เพื่อการ com แรงงานตา่ งด้าว ทำ�งาน แต่ไม่รวมถึงสมาชิกในครอบครัวของบุคคล วันท ่ี 26 เมษายน  หลบหนีเขา้ เมือง ดังกล่าว หรือกล่าวได้ว่าเป็นแรงงานหลบหนีเข้าเมือง 2559 ระดับล่างท่ที �ำ งานโดยใช้แรงงานเป็นหลัก 103 ผู้ใช้แรงงานท่ีทำ�งานโดยไม่มีสัญญาจ้างท่ีเป็นทางการ http://www. หรือไม่มีนายจ้างตามความหมายของกฎหมายแรงงาน  homenetthailand. ไม่ได้ทำ�งานอยู่ในสถานประกอบการของนายจ้าง ไม่มี org แรงงานนอกระบบ � ค่าจ้างหรือค่าตอบแทนท่ีแน่นอน หรือเป็นผู้ประกอบ วันท่ี 25 เมษายน  (Informal Workers)  อาชีพอิสระ หรือเป็นผู้ที่ทำ�งานชั่วคราว แรงงานนอก 2559 ระบบ จึงเป็นแรงงานท่ีไม่ได้อยู่ในกรอบความคุ้มครอง ของกฎหมายคุ้มครองแรงงาน กฎหมายประกันสังคม  ทำ�ให้ไม่มีหลักประกันความมั่นคงใดๆ ในการทำ�งาน  ไม่ว่าจะเป็นเรื่องงานท่ีม่ันคง ค่าตอบแทนแรงงานท่ีเป็น ธรรม สุขภาพ ความปลอดภัยในการทำ�งาน และความ มัน่ คงในการดำ�รงชีวติ เมือ่ เขา้ สูว่ ยั ชรา 104 สถานท่ีรับจำ�นำ�ซึ่งประกอบการรับจำ�นำ�สิ่งของเป็น พระราชบญั ญตั ิ ประกันหนี้เงินกู้เป็นปกติธุระ แต่ละรายมีจำ�นวนเงิน โรงรับจ�ำ น�ำ โรงรบั จำ�นำ� ไมเ่ กนิ หนง่ึ แสนบาท และหมายความรวมตลอดถงึ การรบั (ฉบบั ท่ ี 4)  หรือซ้ือสิ่งของโดยจ่ายเงินให้สำ�หรับส่ิงของน้ันเป็นปกติ พ.ศ.2534 ธุระ แต่ละรายมีจำ�นวนเงินไม่เกินหนึ่งแสนบาท โดย มีข้อตกลงหรือเข้าใจกันโดยตรงหรือปริยายว่า จะได้ไถ่ คืนในภายหลังดว้ ย

76 คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทม่ี า 105 หลีกหนีภัย หลบหนีภัย เช่น ลี้ภัยการเมือง ล้ีภัย http://dictionary. สงคราม sanook.com ลภ้ี ยั  � วันท ี่ 26 พฤษภาคม  (seek asylum)  2559 106 วิชาชีพท่ีต้องใช้ความรู้และทักษะทางสังคมสงเคราะห์ พระราชบญั ญัติ ในการปฏิบัติหน้าท่ีเก่ียวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหา วชิ าชพี วิชาชีพ ของบุคคล ครอบครัว กลุ่มคน หรือชุมชน เพื่อให้ สังคมสงเคราะห์ สงั คมสงเคราะห์ กระทำ�หนา้ ที่ทางสงั คมและด�ำ รงชวี ิตได้อยา่ งปกติสขุ พ.ศ.2556 107 วิชาชีพสังคมสงเคราะห์ท่ีต้องข้ึนทะเบียน และได้รับ พระราชบัญญัติ ใบอนุญาตจากสภาวชิ าชีพสงั คมสงเคราะห์ วชิ าชีพ วชิ าชพี สังคมสงเคราะห์ สงั คมสงเคราะห์รับ พ.ศ.2556 อนุญาต 108 นิติบุคคลซึ่งดำ�เนินกิจการเกี่ยวกับการผลิตสินค้า สภาปฏริ ูปแหง่ ชาต ิ การให้บริการ หรือการอ่ืนๆ ของภาคเอกชน โดยมี วาระปฏริ ปู พเิ ศษ 1 :  วิสาหกิจเพื่อสงั คม เป้าหมายอย่างชัดเจนต้ังแต่แรกเร่ิมในการแก้ไขปัญหา วิสาหกิจเพ่อื สังคม และพัฒนาชุมชน สังคม หรือส่ิงแวดล้อมเป็นหลัก มิใช่ การสร้างกำ�ไรสูงสุดต่อผู้ถือหุ้นและเจ้าของเป็นสำ�คัญ และมลี กั ษณะพิเศษ

คำ�ศัพทน์ า่ ร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 77 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งท่มี า 109 เศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency economy) เศรษฐกิจ เสร ี พงศพ์ ศิ   พอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 100 ร้อยคำ�ที่ควรรู้ ทรงมีพระราชดำ�รัสชี้แนะแนวทางการดำ�เนินชีวิตแก่ เศรษฐกิจพอเพยี ง � พสกนิกรชาวไทยมานานกว่า 25 ปี และเม่ือเกิดวิกฤติ (Sufficiency � เศรษฐกิจเม่ือปี 2540 พระองค์ก็ทรงเน้นย้ำ�แนวทาง economy)  แก้ไขเพื่อให้อยู่รอดและอยู่ได้อย่างมั่นคงย่ังยืนภายใต้ กระแสโลกาภิวัตน์ “ในการพัฒนาประเทศนั้นจำ�เป็น ต้องทำ�ตามลำ�ดับข้ัน เร่ิมด้วยการสร้างพื้นฐาน คือ  ความมีกินมีใช้ของประชาชนก่อน ด้วยวิธีการที่ประหยัด ระมัดระวัง แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อพ้ืนฐานเกิดขึ้น ม่ันคงพอควรแล้ว จึงค่อยสร้างเสริมความเจริญให้ค่อย เปน็ ไปตามล�ำ ดบั ” (พระบรมราโชวาทในพธิ พี ระราชทาน ป ริ ญ ญ า บั ต ร ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ก ษ ต ร ศ า ส ต ร์   1 9  กรกฎาคม 2517)  “เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ เสมอื นรากฐานของชวี ติ  รากฐาน ความม่ันคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มท่ีถูกตอก รองรับบ้านเรือนอาคารไว้นั่นเอง สิ่งก่อสร้างจะมั่นคงได้ ก็อยู่ที่เสาเข็มและลืมเสาเข็มไปเสียด้วยซ้ำ�ไป” (พระราช ดำ�รัสพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัววารสารชัยพฒั นา)  “การเป็นเสือนั้นมันไม่สำ�คัญ สำ�คัญอยู่ที่เราพออยู่พอ กิน แบบพอมีพอกินหมายความว่าพอเพียงกับตัวเอง”  ( พ ร ะ ร า ช ดำ � รั ส พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เจ้ า อ ยู่ หั ว  4 ธันวาคม 2540) 

78 คำ�ศัพท์นา่ ร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหล่งทมี่ า ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั แผนพฒั นาฯ ฉบบั ท ่ี 11  ปรัชญาของ การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่11  เศรษฐกิจพอเพยี ง ยึดหลัก”ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มีการวิเคราะห์ กับแผนพฒั นาฯ  อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “ความพอประมาณ”  ฉบบั ท่ ี 11 ให้เกิดความสมดุลระหว่างมิติทางวัตถุกับจิตใจของคน ท่ีมา แผนพัฒนา ในชาติ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการพ่ึง เศรษฐกจิ และสังคม ตนเองกับการแข่งขันในเวทีโลก ความสมดุลระหว่าง แห่งชาติ ฉบบั ที่ 11  สงั คมชนบทกบั เมอื ง เตรยี ม “ระบบภมู คิ มุ้ กนั ” ดว้ ยการ พ.ศ.2555-2559 บริหารจัดการความเส่ยี งให้เพียงพอ พร้อมรับผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและภายในประเทศ  ท้ังนี้ การขับเคล่ือนกระบวนการพัฒนาทุกข้ันตอนและ สอดคล้องกับวิถีชีวิตของสังคมไทย รวมทั้งเสริมสร้าง ศีลธรรมและสำ�นึกใน “คุณธรรม” จริยธรรมในการ ปฏิบัติหน้าท่ ี และดำ�เนินชีวิตด้วย “ความเพียร” จะเป็น ภูมิคุ้มกันท่ีดีให้พร้อมเผชิญการเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้น ท้ังในระดับปัจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศ ชาติ 110 สถานที่ที่จัดไว้เพ่ือการค้าประเวณีหรือยอมให้มีการค้า พระราชบญั ญัติ ประเวณี และให้หมายความรวมถึงสถานที่ที่ใช้ในการ ปอ้ งกนั และ สถานการค้า ติดต่อหรือจัดหาบุคคลอ่ืนเพ่ือกระทำ�การค้าประเวณี ปราบปราม ประเวณี ด้วย การค้าประเวณี  พ.ศ.2539 111 สถานท่ีที่ทางราชการจัดให้มีขึ้น หรือสถานท่ีที่มูลนิธิ พระราชบัญญัติ สมาคมหรือสถาบันอื่นจัดตั้งข้ึนเพ่ือคุ้มครองสวัสดิภาพ ปอ้ งกนั และ สถานคุ้มครองและ และพัฒนาอาชีพแก่ผู้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ ปราบปราม พฒั นาอาชีพ ตามพระราชบัญญัตนิ ้ี การค้าประเวณ ี พ.ศ.2539

คำ�ศัพทน์ า่ รู้เกี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 79 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งที่มา 112 สถานท่ีให้การศึกษา อบรม ฝึกอาชีพ เพื่อแก้ไขความ พระราชบญั ญัติ ประพฤติ บำ�บัด รักษา และฟ้ืนฟูสมรรถภาพทั้งทาง คมุ้ ครองเดก็   สถานค้มุ ครอง ด้านร่างกายและจิตใจแก่เด็กท่ีพึงได้รับการคุ้มครอง พ.ศ.2546 สวัสดภิ าพ สวัสดิภาพ (Welfare and � Protection Home)  113 โรงรับจำ�นำ�ที่สำ�นักงานธนานุเคราะห์ ได้จัดตั้งข้ึนตาม ข้อบงั คับกระทรวง กฎหมายวา่ ดว้ ยโรงรบั จ�ำ น�ำ  สงั กดั ส�ำ นกั งานธนานเุ คราะห์  การพฒั นาสังคม สถานธนานุเคราะห์ กรมพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ มีทั้งหมด  และความมน่ั คง 35 แหง่  ดังนี้ ของมนษุ ย์ ว่าดว้ ย การบริหารงาน 1 )   เข ต ป้ อ ม ป ร า บ ศั ต รู พ่ า ย   2 )   เข ต พ ร ะ น ค ร  ส�ำ นักธนานุเคราะห์  3) เขตธนบุรี 4) เขตราชเทวี 5) อำ�เภอลำ�ลูกกา  กรมพฒั นาสังคม จังหวัดปทุมธานี 6) เขตบางกอกน้อย 7) เขตจตุจักร  และสวสั ดกิ าร  แขวงจอมพล  8)  เขตประเวศ  9)  เขตบางเขน  กระทรวงการพัฒนา 10) เขตธนบุรี 11) เขตบางซ่ือ 12) เขตภาษีเจริญ  สังคมและความ 13) เขตยานนาวา 14) เขตจอมทอง แขวงบางขุนเทียน  มั่นคงของมนษุ ย์ 1 5 )   เข ต บ า ง เข น   1 6 )   ถ น น พ ห ล โ ย ธิ น   แข ว ง พ.ศ.2545 ลาดยาว เขตจตุจักร 17) แขวงบางมด เขตจอมทอง  18) เขตดินแดน 19) แขวงคลองจ่ัน เขตบางกะปิ  2 0 )   แข ว ง บ า ง น า   เข ต บ า ง น า   2 1 )   เข ต ด อ น เ มื อ ง  22)  เขตมีนบุรี  23)  อำ�เภอปากเกร็ด  จังหวัด นนทบุรี 24) เขตบางบอน 25) แขวงหนองค้างเขต  เ ข ต ห น อ ง แ ข ม   2 6 )   แ ข ว ง ทุ่ ง ส อ ง ห้ อ ง   เ ข ต ห ลั ก ส่ี   27) เขตคันนายาว 28) อำ�เภอเมือง จังหวัดระยอง  2 9 )   เ ข ต ส ว น ห ล ว ง   3 0 )   เ ข ต ล า ด ก ร ะ บั ง  31) เขตสายไหม 32) เขตทุ่งครุ 33) อำ�เภอเมือง  จังหวัดสมุทรปราการ 34) ตำ�บลบางกะสอ อำ�เภอเมือง จงั หวดั นนทบรุ ี 35) อำ�เภอปลวกแดง จงั หวัดระยอง

80 คำ�ศัพท์น่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทมี่ า 114 สถานที่ โรงเรียน สถาบัน หรือศูนย์ท่ีจัดขึ้นเพ่ือให้การ พระราชบญั ญัติ บำ�บัดรักษา การฟ้ืนฟูสมรรถภาพท้ังทางด้านร่างกาย คุ้มครองเดก็   และจิตใจ ตลอดจนการศึกษา แนะแนว และการฝึก พ.ศ.2546 สถานพัฒนา� อบรมอาชีพแก่เด็กท่ีจำ�ต้องได้รับการสงเคราะห์หรือ และฟ้ืนฟู คมุ้ ครองสวสั ดภิ าพเป็นกรณพี ิเศษ (Development and � Rehabilitation � center)  115 สถานพนิ จิ และคมุ้ ครองเดก็ และเยาวชนกรงุ เทพมหานคร  พระราชบญั ญัติ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัด และ คมุ้ ครองเดก็   สถานพนิ จิ สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนของแผนก พ.ศ.2546 คดีเยาวชนและครอบครัวในศาลจังหวัด ซ่ึงจัดต้ังข้ึน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการจดั ตง้ั ศาลเยาวชนและครอบครวั   และวธิ พี จิ ารณาคดีเยาวชนและครอบครวั 116 สถานท่ีรับเล้ียงและพัฒนาเด็กท่ีมีอายุไม่เกินหกปีบ พระราชบญั ญัติ ริบูรณ์ และมีจำ�นวนตั้งแต่ หกคนข้ึนไป ซ่ึงเด็กไม่ คมุ้ ครองเดก็   เกี่ยวข้องเป็นญาติกับเจ้าของหรือผู้ดำ�เนินการสถานรับ พ.ศ.2546 สถานรับเลย้ี งเด็ก เล้ียงเด็กดังกล่าว ท้ังน้ี ไม่รวมถึงสถานพยาบาลหรือ (Children care � โรงเรยี นทงั้ ของรฐั และเอกชน center/ Pesidential care � for children)  117 สถานท่ีรับเด็กไว้อุปการะเป็นการช่ัวคราวเพื่อสืบเสาะ พระราชบญั ญัติ และพินิจเด็กและครอบครัว เพ่ือกำ�หนดแนวทางในการ คมุ้ ครองเดก็   สงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพที่เหมาะสมแก่เด็ก พ.ศ.2546 สถานแรกรบั แตล่ ะราย (Reception Home) 

คำ�ศัพทน์ า่ ร้เู กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 81 คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ที่มา สถานท่ีที่ทางราชการจัดให้มีข้ึน หรือสถานท่ีท่ีมูลนิธิ พระราชบัญญตั ิ สมาคม หรือสถาบันอื่น จัดตั้งข้ึนตามพระราชบัญญัตินี้ ป้องกันและ เพื่อรับผู้รับการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพไว้เป็นการ ปราบปราม ช่ัวคราว เพื่อพิจารณาวิธีการคุ้มครองและพัฒนาอาชีพ การค้าประเวณี  ใหเ้ หมาะสมสำ�หรบั แต่ละบคุ คล พ.ศ.2539 118 สถานท่ีซ่ึงช่วยเหลอื หรอื อุปการะผทู้ มี่ ีความเดอื ดร้อน พจนานกุ รมแปล ไทย-องั กฤษ สถานสงเคราะห์ NECTEC ‘s  Lexitron Dictionary สถานที่ให้การอุปการะเล้ียงดูและพัฒนาเด็กที่จำ�เป็น พระราชบญั ญตั ิ ตอ้ งไดร้ บั การสงเคราะห ์ ซง่ึ มจี �ำ นวนตง้ั แต ่ 6 คน ขน้ึ ไป ค้มุ ครองเดก็   พ.ศ.2546 119 สภาเด็กและเยาวชน หมายถึง สภาเด็กและเยาวชน ส�ำ นกั งานสง่ เสริม จงั หวดั และอ�ำ เภอทจ่ี ดั ตง้ั ขน้ึ  ตามพระราชบญั ญตั สิ ง่ เสรมิ สวสั ดภิ าพและ สภาเด็กและเยาวชน การพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ พ.ศ.2550 เพื่อ พทิ กั ษ ์ เด็ก เยาวชน  เป็นองค์กรเครือข่ายเช่ือมโยงกลุ่มเด็กและเยาวชนท่ีมี ผูด้ อ้ ยโอกาส และ การดำ�เนินงานในด้านต่างๆ เข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบ  ผู้สูงอายุ เพ่ือแสวงหาแนวทางในการส่งเสริมและพัฒนาเด็กและ www.bankae.go.th เยาวชนอย่างยั่งยืน

82 คำ�ศัพทน์ ่ารูเ้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศัพท์ ความหมาย แหล่งทม่ี า 120 สภานักเรียนเป็นกิจกรรมหน่งึ ของนักเรียน ซ่งึ เป็นกลไก ส�ำ นักงาน สำ�คัญท่ีจะช่วยพัฒนาโรงเรียนตามกระบวนการ  คณะกรรมการศึกษา สภานกั เรียน นิติธรรม และเป็นกิจกรรมท่ีจะปลูกฝังทัศนคติ  ขน้ั พ้ืนฐาน ค่านิยม ความเป็นประชาธิปไตย มีจิตวิญญาณในการใช้ www.sportect. ธรรมาภิบาล เพื่อให้นักเรียนเติบโตเป็นพลเมืองดีของ obec.go.th/ สังคมและประเทศชาติ เป็นต้นกล้าประชาธิปไตยท่ี stucouncil/ มั่นคง เข้มแขง็ ของสังคมไทย detailstucoun.pdf 121 เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้เพื่อกำ�หนดแนวทางการพัฒนา สถาบันพฒั นา ชุมชนของคนในชุมชนท้องถิ่น โดยคนในชุมชนท้อง องค์กรชุมชน สภาองคก์ รชมุ ชน ถ่ิน และเพ่ือคนในชุมชนท้องถ่ิน เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (องค์การมหาชน)  ดงั กลา่ ว ประกอบดว้ ย • ตวั แทนของสถาบนั ในชมุ ชนทอ้ งถน่ิ  เชน่  วดั  โรงเรยี น  สถานีอนามัย เปน็ ตน้ • ตัวแทนของกลุ่ม องค์กรชุมชนต่างๆ เช่น กลุ่มออม ทรัพย์ กลุ่มแม่บ้าน กลุ่มโรงสีรวม กลุ่มอนุรักษ์ป่า  และกลุ่มกิจกรรมพัฒนาอื่นๆ ที่มีอยู่ในแต่ละชุมชน  โดยมีผู้นำ�ชุมชนท่ีไม่เป็นทางการ เช่น ผู้รู้ภูมิปัญญา  ปราชญ์ชาวบ้าน และผู้นำ�ทางการ ได้แก่ กำ�นัน  ผู้ใหญ่บ้านในชุมชนท้องถิ่น เข้ามาร่วมใช้เวทีพูดคุย เพ่อื แก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถ่นิ ร่วมกัน เป็นระบบ การจดั การตนเองของชมุ ชนท้องถนิ่ ทีม่ มี าแต่อดตี

คำ�ศัพท์นา่ รเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม 83 คำ�ศัพท์ ความหมาย แหลง่ ทีม่ า 122 สวัสดิการโดยรัฐ เป็นการจัดสวัสดิการภาคบังคับของรัฐ http://www. ทจ่ี ดั ใหก้ บั ประชาชน โดยค�ำ นงึ ถงึ  ความครอบคลมุ  ทว่ั ถงึ   baanjomyut.com สวัสดิการ� เป็นธรรม ครบถ้วน รูปแบบท่ีจัดให้ เช่น การจัด กระแสหลกั บริการในรูปแบบของสถาบัน การจัดบริการโดยองค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน การจัดสวัสดิการกระแสหลักนี้ ส่วนใหญ่จะเป็นการจัดโดยผ่านกลไกระบบการเงิน การคลงั  ระบบภาษขี องรฐั  และโครงสรา้ งการบรหิ ารงาน ขององค์กรเป็นหลัก เช่น รูปแบบสวัสดิการพื้นฐาน  (ภาคบังคบั ) รปู แบบสวสั ดิการทอ้ งถน่ิ  เป็นต้น 123 สวัสดิการทางเลือกท่ีเกิดข้ึนจากศักยภาพ ความเข้มแข็ง ทิศทางและรปู แบบ ของภาคชุมชน ภาคประชาชน และภาคพ้ืนถิ่น  การจดั สวัสดกิ าร สวัสดิการ� สวัสดิการในรูปแบบน้ี จะเกิดข้ึนจากความสนใจ ความ สงั คมของ กระแสรอง หรือ สมัครใจร่วมกันของกลุ่มเป้าหมาย เป็นรูปแบบที่ไม่เป็น ประเทศไทย  ทางการ การจดั ระบบสวัสดิการจงึ ข้ึนอยกู่ บั ขอ้ ตกลงรว่ ม 2548 กัน สวัสดิการทางเลือก รูปแบบสวัสดิการแบบพหุลักษณ์ ที่คำ�นึงถึงความ หลากหลาย ความต้องการของมนุษย์หลากหลาย แนวคิด วิธีการท่ีต้องผสมผสานกันจากหลายวิชาชีพ หลายหน่วยงาน องค์กร ภาคีทุกภาคส่วน ร่วมกันคิด แก้ไขปัญหาบนพื้นฐานความสำ�คัญที่เสมอภาคแบบ หุ้นส่วน และการมีส่วนร่วมในฐานะ “เจ้าภาพร่วม”  เช่นรูปแบบสวัสดิการชุมชนที่พบใน 4 ภาค กลุ่มสัจจะ ออมทรัพย์ ในภาคเหนือ สวัสดิการภาคประชาชน  ( อ อ ม วั น ล ะ บ า ท )   ข อ ง ค รู ช บ   ย อ ด แ ก้ ว   เ ป็ น ต้ น  สวัสดิการสังคมในลักษณะน้ี ถือเป็นการให้ การรับ อยา่ งมคี ณุ คา่  และเคารพในศกั ดศิ์ รขี องความเปน็ มนษุ ย์

84 คำ�ศัพทน์ ่ารเู้ กี่ยวกับงานพัฒนาสังคม คำ�ศพั ท์ ความหมาย แหลง่ ทีม่ า 124 สวัสดิการที่รัฐเข้ามามีบทบาทเมื่อครอบครัวและระบบ รศ.ดร.กติ พิ ฒั น์ ตลาดไม่สามารถทำ�หน้าทจี่ ัดสวสั ดิการใหแ้ กบ่ คุ คลได้ นนทปทั มะดลุ สวสั ดิการเก็บตก คณะสังคม 125 สงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั สวัสดิการชมุ ชน ธรรมศาสตร ์ 2550 การสร้างหลักประกันเพ่ือความม่ันคงของคนในชุมชน  คู่มือการด�ำ เนนิ งาน ซึ่งหมายรวมถึงทุกอย่างที่จะทำ�ให้คนในชุมชนมีความ โครงการสนบั สนุน เป็นอยู่ที่ดีข้ึน ทั้งในรูปของส่ิงของ เงินทุน น้ำ�ใจ การ การจัดสวัสดิการ ช่วยเหลือเกื้อกูล เป็นเร่ืองท่ีเก่ียวกับวิถีชีวิตตั้งแต่ เกิด  ชุมชน พ.ศ.2558 แก่ เจ็บ ตาย เป็นระบบการช่วยเหลือเกื้อกูลของคน สถาบนั พฒั นา ในท้องถ่ิน ท่ีมีรูปแบบและวิธีการที่หลากหลาย  องคก์ รชุมชน เป็นเร่ืองราวเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ต้ังแต่เกิดจนกระทั่ง (องคก์ ารมหาชน)  ตาย ก่อให้เกิดรายได้ ลดรายจ่าย นำ�ไปสู่การแก้ไข ปญั หาความยากจน 126 เป็นการจัดสวัสดิการภาคบังคับของรัฐท่ีจัดให้ประชาชน  รศ.ดร.กิตพิ ฒั น์ โดยคำ�นึงถึง ความครอบคลุมท่วั ถึง เป็นธรรม ครบถ้วน  นนทปทั มะดลุ สวัสดกิ ารโดยรฐั รูปแบบที่จัดให้ เช่น การจัดบริการในรูปแบบของ คณะสงั คม สถาบัน การบริการโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  สงเคราะห์ศาสตร์ การจัดสวัสดิการกระแสหลักน้ี ส่วนใหญ่จะเป็นการจัด มหาวทิ ยาลัย โดยผ่านกลไกระบบการเงินการคลัง ระบบภาษีของรัฐ  ธรรมศาสตร ์ 2550 และโครงสร้างการบริหารงานขององค์กรเป็นหลัก  เช่น รูปแบบสวัสดิการพ้ืนฐาน (ภาคบังคับ) รูปแบบ สวสั ดกิ ารท้องถน่ิ  เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook