1. คาไฟฟูาฐาน กําหนดจากคาลงทุนกอสรางโรงไฟฟูา สายสงไฟฟูา สถานีจาย ไฟฟูา และคาเชื้อเพลิง คาไฟฟูาฐานมีอัตราแนนอน โดยแบงตามผูใชไฟฟูา 7 ประเภทอัตราคาไฟฟูา ฐานมีการปรับปรุงคร้ังลาสุดเมื่อปี 2534 และไดแยกภาษีมูลคาเพ่ิมออกเมื่อเดือนมกราคม 2540 ปัจจุบันยังไมมีการปรับ ซ่ึงหากมีการปรับอัตราคาไฟฟูาฐาน ตองไดรับความเห็นชอบจาก คณะรฐั มนตรี ท้ังนค้ี าไฟฟูาฐานจะแสดงในรายการคาไฟฟาู ในใบเสร็จรับเงิน 2. คาไฟฟูาผันแปร (Ft) คือ คาไฟฟูาท่ีปรับเปลี่ยนตามตนทุนการผลิต ระบบ สง และระบบจําหนาย เน่ืองมาจากปัจจัยที่อยูนอกเหนือการควบคุมของการไฟฟูาที่เปล่ียนแปลงไป ในแตละเดือน ปัจจุบันจะทําการปรับ 4 เดือนตอคร้ัง การปรับคาไฟฟูาผันแปรดําเนินการโดย คณะอนุกรรมการกํากับสูตรการปรับอัตราคาไฟฟูาโดยอัตโนมัติ ภายใตการกํากับดูแลของ คณะกรรมการพิจารณานโยบายพลังงาน ทงั้ นค้ี า ไฟฟาู ผันแปรจะแสดงในชอง Ft สวนเพิ่ม/สวนลด ใน ใบเสรจ็ คาไฟฟูาหรอื ใบแจงหนค้ี า ไฟฟูา 3. ภาษีมูลคาเพิ่ม คิดเป็นรอยละ 7 ของคาไฟฟูาฐานรวมกับคาไฟฟูาผันแปรสําหรับ การใชไฟฟูา 1 หนวยหรือ 1 ยูนิต คือ เครื่องใชไฟฟูาขนาด 1,000 วัตต์ท่ีใชงานใน 1 ชั่วโมง หรือใช สูตรการคํานวณดังน้ี กําลังไฟฟาู (วตั ต)์ x จาํ นวนเคร่ืองใชไฟฟาู ÷1000 x จํานวนชว่ั โมงท่ใี ชง านใน 1 วัน = จาํ นวนหนว ยหรอื ยนู ติ แนวทางการอนรุ กั ษ์พลังงาน \"พลังงาน\" ถือเป็นส่ิงท่ีมีความจําเป็นตอการดํารงชีวิตประจําวันของเราทุกคนไมวาจะเป็น พลังงานนํ้า พลังงานนํ้ามัน พลังงานไฟฟูา ซึ่งความตองการใชพลังงานมีอัตราท่ีเพ่ิมมากข้ึนทุกๆ ปี ในขณะท่พี ลังงานตา งๆ มอี ยอู ยางจาํ กัด ดังนนั้ 1. การปรับปรุงอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน (กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์ พลงั งาน. ออนไลน์. 2559) 1) การเพ่ิมคุณสมบัตใิ นการกันความรอนและความชื้นใหแ กผ นังอาคาร 2) การปอู งกนั ความรอนจากหลงั คา 3) การตรวจสอบและปูองกันการร่ัวซึมของอากาศตามแนวประตูหนาตางและชอง เปิดตาง ๆ 4) การนาํ แสงอาทิตย์มาใชในอาคาร 5) การเลือกใชอุปกรณ์ไฟฟาู และหลอดไฟท่ีมปี ระสทิ ธิภาพสงู 6) ปรบั ปรงุ สภาพแวดลอม เชน การปลูกตน ไมการมีแหลงนํา้ รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มเพ่ือชวี ิต GESC1104
2. การใชพลังงานสะอาด คือ พลังงานที่ไดมาโดยไมสงผลกระทบและทําใหเกิดการสูญเสีย ตอส่ิงแวดลอม เพ่ือลดปัญหาทางดานมลพิษตาง ๆ เชน การเลือกใชพลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้ํา ในการผลติ กระแสไฟฟูา แทนการใชถา นหิน 3. แนวทางการใชพลังงานทดแทน ประเทศไทยมีทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีอุดมสมบูรณ์ เชน แสงแดด ลม ผลิตผลทางการเกษตร และชีวมวล ถา มแี นวทางนํามาประยกุ ต์เปน็ พลงั งานอยา งถูกตอง แลว พลังงานทดแทนเหลา นจี้ ะชว ยลดปัญหาทางดา นพลงั งานลงได ตัวอยา ง เชน พลังงาน ไบโอดีเซล พลังงานเพ่ือกวู้ กิ ฤตโิ ลกรอ้ น โลกเรากําลังกาวเขาสูยุคที่สรางหนี้สินใหกับระบบนิเวศแลว หมายความวาวิถีชีวิตคนเรา กําลงั ดําเนนิ อยขู ณะนีน้ ั้น สิน้ เปลืองทรัพยากรและสรางมลภาวะที่นิเวศตองบําบัด ในอัตราเกิดที่นิเวศ จะจัดสรรและสนองความตองการของเราได โลกเรามีพ้ืนท่ีผิวที่สามารถใหทรัพยากรกรเล้ียงดู ประชากรรวมท้ังสิ้นประมาณ 74.4 พันลานไร ในขณะท่ีประชากรท้ังสิ้น 6.6 พันลานคน ดังนั้นขีด ความสามารถในทางชวี ภาพของโลก คิดคาเฉล่ยี จากพ้ืนทโ่ี ลกทม่ี ีอยตู อหวั ของประชากร 11.3 ไร รอยเทาทางนิเวศ (Ecological footprint) คือ หนวยการประเมินความตองการของมนุษย์ เทยี บกบั ความสามารถของระบบนิเวศในการสรางทรัพยากรเพื่อการบริโภคของมนุษย์และดูดซับหรือ บําบัดของเสียที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ รอยเทาทางนิเวศเป็นการคํานวณพื้นท่ีของโลกที่มนุษย์ ตองใชในการดํารงชีวิต ซ่ึงมนุษย์แตละประเทศ เช้ือชาติ แตละกลุมจะมีแนวทางในการดํารงชีวิตท่ี ตางกัน ข้ึนกับสภาพทางเศรษฐกิจและสังคม ในปี ค.ศ. 2005 มีการประเมินวารอยเทาทางนิเวศของ มนุษย์เทากับ 1.3 เทาของโลกซึ่งหมายความวา เราไดใชทรัพยากรและระบบนิเวศเทากับ 1.3 เทาท่ี โลกสามารถใหได หรือเราตองการโลก 1.3 ใบ เพ่ือใหมนุษย์สามารถใชชีวิตใกลเคียงกับปัจจุบัน แต อยางไรก็ตาม ยังไมมีวิธีการจะคํานวณหารอยเทาทางนิเวศที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน และสามารถ เปรยี บเทยี บกันได (กรมสงเสรมิ คุณภาพสง่ิ แวดลอม. ออนไลน์. 2559) ทงั้ นี้ วิถีชวี ติ ของคนปจั จุบนั แบง ไดเปน็ 3 รปู แบบ คือ 1. ใชวิถีชีวิตแบบคาร์บอนเป็นบวก เป็นวิถีชีวิตท่ีปลอยแก฿สเรือนกระจกขึ้นสู บรรยากาศ ซึ่งเป็นวิถีชีวิตของคนทั่วไปในปัจจุบันนี้ เป็นวิถีชีวิตที่ฟุมเฟือย ไมมีความพอเพียง ส้นิ เปลืองทรพั ยากร เป็นวถิ ีชีวิตท่ีทาํ ใหโลกรอ น 2. ใชวถิ ีชวี ิตแบบคาร์บอนเป็นศูนย์ เป็นวิถีชีวิตท่ีไมสงผลเสียแกสิ่งแวดลอม แตก็ไม ชว ยลดโลกรอน เปน็ วถิ ีชีวติ ท่ตี องมีความพอเพียง มคี วามรู สามารถควบคมุ พฤติกรรมตนเองได 3. ใชชีวิตแบบคาร์บอนเป็นลบ เป็นวิถีชีวิตที่เรียกวา พอเพียงโลกเย็น กลาวคือ สามารถชวยดึงคาร์บอนไดออกไซด์จากบรรยากาศมากกวาการปลอยออกไป ซ่ึงวิถีชีวิตแบบน้ีตองมี รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอมเพ่ือชีวติ GESC1104
ความพอเพียง ปลอยแก฿สเรือนกระจกนอย มีมาตรการในการปลูกปุามากพอท่ีจะดึงแก฿สเรือนกระจก มากกวาที่ปลอยขึ้นไปและมีมาตรการการตรึงคาร์บอนลงดินควบคูกัน เชน การเผาถานลงดินเพื่อทํา เกษตรกรรมอินทรีย์ วิกฤติการณ์นํ้ามันโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากมายและรวดเร็ว ทั้งยังเกิดผลกระทบตอ ปัญหาโลกรอนทําใหเกิดการต่ืนตัวและการหันมาหาพลังงานทดแทนมาใชเพ่ือแกวิกฤติโลกรอน โดยเฉพาะอยา งย่ิงพลงั งานทดแทนทเี่ ป็นพลงั งานหมนุ เวยี นและหาไดในทอ งถ่ิน พลังงานทดแทนที่สามารถหาไดในทองถิ่นอยางหน่ึง ไดแก พลังงานชีวมวล คําวา ชีวมวล หมายถึง สารอินทรีย์ท่ีเป็นแหลงกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนํามาผลิตพลังงานไดเชน เศษวัสดุเหลอื ใชท างการเกษตร หรือจากกระบวนการผลิตทางอุตสาหกรรม เชน แกลบ กากออย เศษ ไม ซังขาวโพด กากและกะลามะพราว กากปาล์ม กากมันสัมปะหลัง (กองบรรณาธิการมติชน ประชาชาติธรุ กิจ. 2550: 78-79) 1. ไบโอดีเซล เป็นนํามันท่ีผลิตไดจากน้ํามันพืชตาง ๆ หรือนํามันที่ใชปรุงอาหาร แลวมาแปรสภาพโดยผานกระบวนการทางเคมีกับแอลกอฮอลล์ แลวไดเป็นนํ้ามันชนิดใหมอยูในรูป ของเมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งสามารถใชเป็นเช้ือเพลิงสําหรับเครื่องยนต์ไดโดยคุณภาพ ขน้ึ อยกู ับองคป์ ระกอบของกรดไขมัน 2. ไบโอแก฿ส หรือแก฿สชีวภาพ คือ แก฿สท่ีเกิดจากแบคทีเรียซ่ึงเป็นจุลินทรีย์ไปยอย สลายสารอินทรีย์ในของเสียในสภาวะไรอากาศ การยอยสลายอาจจะใชเทคโนโลยีแตกตางกันไปแต สดุ ทา ยแลวมสี วนประกอบหลัก คือ แก฿สมีเทนรอยละ60-70 แก฿สคาร์บอนไดออกไซด์รอยละ 28-38 และแก฿สอื่น ๆ เชน ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ไนโตรเจน อกี ประมาณรอ ยละ 2 แกส฿ ชีวภาพที่นิยมเอามาทํากนั มากในประเทศไทยอยางกวา งขวาง คือ ทําจาก มูล สัตว์โดยเฉพาะ ขี้หมู เพราะทําไดงายท่ีสุด สวนมูลคนหรือชางจะมีความแตกตางของสารอาหาร แบคทเี รยี ไมสามารถยอ ยสลายสารบางอยา งทีอ่ ยใู นมลู ไดเ พราะกาก และเย่อื เยอะ ประโยชน์ของแก฿สชีวภาพมีหลายดานใชเป็นแก฿สหุงตม แทนเอสพีจี โดย แก฿ส ธรรมชาติ 1 ลูกบาศก์เมตร เทียบไดกับแก฿สแอลพีจี 0.46 กิโลกรัม ใชผลิตกระแสไฟฟูา โดยแก฿ส ชีวภาพ 1 ลูกบาศก์เมตรจะไดไฟฟูา 1.2-1.8 กิโลวัตต์ตอชั่วโมง หรือใชกับเคร่ืองยนต์ เพราะแก฿ส ชีวภาพ 1 ลูกบาศก์เมตรเทยี บไดก ับใชน ํา้ มันเบนซนิ 0.67 ลติ ร 3. แกส฿ โซฮอล์เป็นนํา้ มันเชือ้ เพลิงที่ไดจ ากการผสมระหวางเอทานอล หรือ ท่ีเรียกวา เอทิลแอลกอฮอล์ ซึ่งเป็น แอลกอฮอล์ ที่ไดจากการแปรรูปจากพืชจําพวกแปูงและนํ้าตาล เชน ออย ขาว ขาวโพด มันสําปะหลัง ฯลฯ และเป็นแอลกอฮอล์ บริสุทธิ์รอยละ 99.5 โดยปริมาตร ผสมกับ น้ํามันเบนซินไรสารตะก่ัวออกเทน 91 (ชนิดท่ีมีคุณสมบัติบางตัวตางจากเบนซิน 91 ที่จําหนายอยูใน ปจั จุบนั ) ในอัตราสว นเบนซนิ 9 สวนตอเอทานอล 1 สว น จงึ ไดเ ปน็ นาํ้ มนั แก฿สโซฮอล์ ออกเทน 95 รายวิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมเพ่ือชีวติ GESC1104
4. ไฟฟูาพลังงานแสงอาทิตย์ อุปกรณ์ท่ีสําคัญมากที่สุด คือ แผงเซลล์แสงอาทิตย์ทํา การเปล่ยี นพลังงานแสงเป็นกระแสไฟฟูาโดยตรง เม่ือแสงซ่งึ เป็นคลืน่ แมเ หลก็ และมีพลังงานมากระทบ สารกึ่งตัวนําจะเกิดการถายทอดพลังงานระหวางกัน พลังงานจากแสงทําใหเกิดการเคลื่อนท่ีของ กระแสไฟฟูาขึ้นในสารก่ึงตัวนําเราจึงดึงกระแสไฟฟูาน้ีไปใชงานได สําหรับเซลล์แสงอาทิตย์ที่นิยมใช กันในปจั จุบนั เป็นเซลลแ์ สงอาทิตย์ทที่ ําจากสารกง่ึ ตัวนําประเภทซลิ ิกอน 5. พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานตนทุนถูก เพราะนิวเคลียร์ถูกมองวามีอันตราย สามารถเผาผลาญชีวิตคนไดภายในพริบตา และมีสารกัมมันตภาพรังสีสะสมเป็นอันตรายตอผูคนถา ควบคมุ ไมได แตวันน้โี รงไฟฟาู นิวเคลียร์ กาํ ลงั จะกลายเปน็ พลังงานทดแทนทีส่ าํ คัญเพราะพลังงานที่ใช อยูในปจั จบุ นั เชน แกส฿ ละน้ํามันกาํ ลังจะหมดไปในไมช า พลังงานท่ีกูวิกฤติโลกรอนสําหรับประเทศไทย เม่ือพิจารณาจากหลายปัจจัย แก฿ส ชีวภาพจะมีศกั ยภาพสงู ที่สดุ เพราะมขี องเสียจากภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมในปริมาณมาก บทสรปุ พลงั งาน หมายถึง ความสามารถของสงิ่ ใด ๆ ที่จะทํางานไดและเราสามารถวัดพลังงานของสิ่ง นั้นๆไดดวย ปริมาณงานท้ังส้ิน ท่ีสิ่งน้ันสามารถจะทําได ทรัพยากรพลังงานแบงไดเป็น 2 แหลง คือ แหลงพลงั งานสนิ้ เปลอื ง สว นใหญอยใู นรูปพลงั งานฟอสซิล เชน พลังงานจากถานหิน น้ํามัน และแก฿ส ธรรมชาติ นอกจากน้ีแลว ยังมีพลังงานนิวเคลียร์และแหลงพลังงานทดแทน หรือพลังงานหมุนเวียน เป็นพลังงานท่ีสามารถนํามาใชประโยชน์ไดโดยไมมีวันหมดไป เชน พลังงานจากถานไม แกลบ ฟืน พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้ํา พลังงานความรอนใตพิภพ และพลังงานชีวมวล เป็นตน แนวทางการอนุรักษ์พลังงาน คือ การใชทรัพยากรพลังงานที่มีอยูอยางจํากัดใหมีประสิทธิภาพสูงสุด และการพัฒนาแหลงพลังงานหมุนเวียน เชน การพัฒนาไบโอดีเซล แตอยางไรก็ตามแนวทางปฏิบัติที่ เราทุกคนสามารถทําไดโดยงาย คือ การประหยัดพลังงานโดยเฉพาะพลังงานไฟฟูาในบานเรือน เพื่อ ชวยชาติประหยดั พลงั งาน “ใชพ้ ลงั งานอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื รักษาสิง่ แวดล้อม” นาํ้ มันดเี ซล 1 ลติ ร เมอื่ เกดิ การเผาไหมจ ะ กอ ใหเ กิดแก฿สคารบ์ อนไดออกไซด์ 2.72 กโิ ลกรัม รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ มเพื่อชีวิต GESC1104
กจิ กรรมที่ 8 พลังงานเพอ่ื ชีวติ 1. หลักการ ในโลกปัจจุบันน้ีความเจริญกาวหนาทางดานวิทยาศาสตร์ถูกประดิษฐ์คิดคนขึ้นมาเพ่ือ ตอบสนองความตอ งการของมนษุ ยแ์ ละสรา งความสะดวกสบายในการดําเนินชีวิตประจําวัน ซ่ึงในการ ใชประโยชน์จากเทคโนโลยีน้ันจําเป็นตองแลกมาดวยพลังงาน จึงสามารถกลาวไดวาพลังงานมีความ จําเป็นอยางย่ิงตอมนุษย์และมีความตองการบริโภคพลังเพ่ิมข้ึน ซึ่งเป็นผลมาจากการเพ่ิมขึ้นของ ประชากรและความเจรญิ กาวหนาทางเทคโนโลยี พลงั งานจากแหลงธรรมชาติกลับมีปริมาณลดลงและ มแี นวโนมกาํ ลงั จะหมดไป 2. จุดประสงค์ 2.1 เพอ่ื ใหเ ขา ใจเก่ยี วกับเรอ่ื งพลังงาน 2.2 เพื่อใหส ามารถคาํ นวณเกีย่ วกับพลังงานในชีวิตประจาํ วันได 2.3 เพ่อื ใหเ กดิ จิตสํานึกในการอนรุ ักษ์พลงั งานและใชพ ลงั งานไฟฟูาอยางมปี ระสทิ ธภิ าพ 3. วิธปี ฏิบตั กิ ิจกรรม 3.1 ศกึ ษาจากเอกสาร 3.2 แบง นกั ศึกษาเป็นกลุมใหส าํ รวจอปุ กรณ์ไฟฟูาในหองเรยี นของแตละอาคารวามอี ะไรบาง ตัวอยา งเชน หลอดไฟ เครอื่ งปรับอากาศ พัดลม เปน็ ตน 3.3 คาํ นวณคาพลงั งานไฟฟาู ของหองทสี่ าํ รวจ 3.4 บอกแนวทางในการอนรุ ักษพ์ ลงั งานไฟฟูา 4. ผลการศึกษา 4.1 การสํารวจอปุ กรณ์ในหอ ง หอ้ ง หลอดไฟ จานวน อุปกรณไ์ ฟฟา้ อ่นื ๆ จานวน กาลงั ไฟฟ้า (วตั ต์) (หลอด) กาลังไฟฟา้ (วตั ต)์ (เครื่อง) รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มเพื่อชวี ติ GESC1104
4.2 การคาํ นวณคา พลังงานไฟฟูาจากการสํารวจ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. คาถาม 5.1 ทานคดิ วา จะมแี นวทาง ในการใหนกั ศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั ของทานใชพลงั งานไฟฟาู อยางมปี ระสทิ ธิภาพไดอ ยางไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.2 ใหนกั ศึกษานาํ ใบเสร็จคาไฟฟูา ท่ีบา นหรือที่พกั มาพิจารณา และตอบคําถามตอไปน้ี 5.2.1 ในการจายคาไฟฟาู แตละเดือนประกอบดวยคา อะไรบาง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5.2.2 ใหนกั ศกึ ษาเสนแิ นะวิธลี ดคาไฟฟาู ในบานตน และใหนําใบเสรจ็ หลังจากน้ันในเดือน ท่ี 3 มาพจิ ารณาใหม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอมเพื่อชวี ิต GESC1104
5.3 บานหลังหนึ่งใชเครื่องปรับอากาศขนาด 2500 วัตต์ เปิดวันละ 5 ช่ัวโมง หลอดไฟ 60 วตั ต์ 2 หลอด วันละ 5 ชั่วโมงและหลอดไฟ 100 วตั ต์ 2 หลอด เปิดวนั ละ 2 ช่ัวโมงในเดือน ธันวาคม ถาคาไฟฟูายูนิตละ 2 บาท คา Ft 50 สตางค์/หนวย และตองเสียคาภาษีมูลคาเพิ่มอีกรอยละจะตอง จายคาไฟฟูาเทาไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอมเพ่ือชวี ติ GESC1104
6. จงเตมิ ข้อความในภาพต่อไปนี้ 1) พลังงานฟอสซลิ พลงั งานฟอสซิล ซากสัตวท์ ่ที ับถม ซากพชื ที่ทบั ถม เป็นเวลานาน เปน็ เวลานาน นาํ้ มันดิบ ถา นหิน …………………………………………………… …………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………….…………… …………………………………………………… ……………………………………….…………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………….…………… …………………………………………………… ……………………………………….…………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………….…………… …………………………………………………… ………………………………………….………… …………………………………………………… … …………………………………………………… …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………….…………… …………………………………………………… …………………………………………………… ……………………………………….…………… รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมเพื่อชวี ติ GESC1104
2) พลังงานนวิ เคลยี ร์ พลงั งานนวิ เคลียร์ เกดิ จากการรวมตวั ของธาตเุ บา เกิดจากการแตกตวั ของธาตุ เชน ไฮโดรเจน นิวเคลียร์หนัก ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………… ธาตุ A มี half life 10 วัน มวล 50 กรัม เวลาผา นไปเทาไร ธาตุ A มมี วลเพียง 6.25 กรัม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ มเพื่อชวี ติ GESC1104
3) พลงั งานชีวมวล พลังงานชีวมวล เชื้อเพลงิ แก฿ส เชื้อเพลงิ ของแขง็ เชอ้ื เพลิงของเหลว ถา น ฟนื แกส฿ โซฮอล์ ไบโอดีเซล แก฿สชวี ภาพ ขอ ดี ขอ ดี ขอ ดี …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… ขอเสีย ขอเสยี ขอ เสยี …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมเพ่ือชวี ติ GESC1104
เอกสารอ้างอิง กระทรวงพลังงาน. (15 มกราคม 2555). แหล่งพลังงานต่างๆของประเทศ. http://www.energy .go.th/?q=th/ energy_sources. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน. (2 สิงหาคม 2559). เทคโนโลยีการอนุรักษ์พลังงาน สาหรับภาคบ้านที่อยู่อาศัย. กระทรวงพลังงาน. http://www2.dede.go.th/bhrd/display center/residential-housing.php?sub=2 กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม. (8 สิงหาคม 2559). คู่มือสานักงานสีเขียว. http://www.rs. mahidol.ac.th/rs_green/images/knowledge/Green_Office.pdf กองบรรณาธิการมติชน ประชาชาติธุรกิจ. (2550). 10 มหัศจรรย์พลังงานทดแทน กู้วิกฤตโลกร้อน. พมิ พ์ครั้งท่ี 3. กรงุ เทพมหานคร: มตชิ น. รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มเพื่อชวี ติ GESC1104
บทท่ี 9 ทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์มีบทบาทสําคัญตอการเปล่ียนทางดานสังคม การเมือง เศรษฐกิจและ วฒั นธรรม ตลอดจนมผี ลตอการใชทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม โดยเฉพาะอยางย่ิงในประเทศ ไทยปัญหาทรัพยากรมนุษย์เป็นเรื่องท่ีสําคัญยิ่งตอการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศท้ังนี้เพราะยังมี กลุมประชากรที่มีการศึกษาตํ่ากวา มาตรฐานและมีรายไดน อ ยเป็นจาํ นวนมากทาํ ใหเ กดิ ภาวะ ความ ยากจน อดอยาก หิวโหยทําใหมีคุณภาพชีวิตต่ํา ในขณะเดี่ยวกันประชากรบางกลุมในประเทศขาด คณุ ธรรม จริยธรรมเห็นแกประโยชน์ของตนเองจนลืมคํานึงถึงความถูกตองทําใหเกิดปัญหาวิกฤติทาง การเมืองเรื้อรัง อยากแกก ารแกไข ดังน้ันหัวใจของการพัฒนาประเทศจึงอยูท ี่ “ทรพั ยากรมนษุ ย์” ความหมายของทรัพยากรมนุษย์ มนุษย์ (Human) ตามความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไววา สตั วท์ ร่ี ูจ กั ใชเ หตุผล สัตว์ที่มีจติ ใจสูง “มนษุ ยชาติ” จาํ พวกคน หมูมนุษย์ “มนุษยธรรม” ธรรมของคน ธรรมท่ีมนุษย์พึงมีตอกัน มีความเมตตากรุณา เปน็ ตน ปัจจัยทมี่ ีผลต่อทรัพยากรมนษุ ย์ ปัจจยั ท่มี ีผลตอ ทรัพยากรมนุษย์ ไดแ ก 1. ประชากร จํานวนและคณุ ภาพประชากรท้งั เกิด ตาย และยายถนิ่ มีผลตอการอนุรักษ์ส่ิงแวดลอมอาจมา ใชบริโภคโดยตรง จํานวนประชากรมีผลตอปริมาณการบริโภค ความหนาแนนหรือความเขมขนของ ของเสยี และสารพิษอยา งมาก การควบคมุ ประชากรได เทากับการลดปริมาณบรโิ ภคไดโ ดยตรง 2. การศกึ ษา การศึกษาเป็นปัจจัยแสดงคุณภาพประชากรตอการอนุรักษ์ส่ิงแวดลอม การศึกษาที่เป็นพลัง มนุษย์อีกปัจจัยหน่ึง จึงเก่ียวของกับการเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดลอมท้ังจากธรรมชาติไปสูความเสื่อม รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อชวี ติ GESC1104
โทรม การศึกษาสรางพลังมนุษย์ได เชน ชวงเวลาอยูในโรงเรียนสมรรถนะ และการรับความรูเป็น ตน 3. การอนามัยหรือสาธารณสุข มนุษย์มีบทบาทหรือหนาท่ีการทํางาน ของความเป็นมนุษย์ในสังคมปกติหรือไม ข้ึนอยูกับ ภาวะอนามยั ของมนุษย์ ดังน้ันการอนมัยหรือสาธารณสุขนั้น จึงเป็นตัวควบคุมทรัพยากรทางตรงและ ทางออม 4. เศรษฐกจิ ภาวะทางเศรษฐกิจสามารถนํามาเป็นตัววัดพลังการทะลุทะลวงของมนุษย์ไดไมยากเชน ฐานะทางเศรษฐกิจ อาชีพ เงินเก็บ เงินออม เหลาน้ีมีผลโดยตรงและทางออมตอการเปล่ียนแปลง ส่ิงแวดลอ ม 5. โบราณสถาน สถานทีป่ ระวัตศิ าสตร์และศาสนา มติ มิ นุษย์ท่มี ีสวนสมั พนั ธ์ตอ โบราณสถาน สถานที่ประวตั ิศาสตร์และศาสนา ไดแก ความโดด เดน ทแ่ี สดงความศักดิส์ ทิ ธข์ิ องสถานทีเ่ หลานนั้ 6. ความปลอดภัย ความปลอดภัยของมนุษย์เป็นตัวดัชนีสําคัญในการทําหนาที่ใหถูกตอง ความรูสึกไมอิสระ หรือความปลอดภัย ทําใหมนุษย์แสดงบทบาทของตนเองไดไมเต็มท่ียอมกอใหเกิดปัญหาสิ่งแวดลอม ตามมา จํานวนอาชญากรรม หรอื คดคี วาม 7. การเมอื งการปกครอง การเมืองการปกครอง หมายถึง ภาวการณ์ไดมาซ่ึงอํานาจในการควบคุมทรัพยากรยอมมีผล ตอ การเปล่ียนแปลงทรัพยากรอกี ท้งั ระบบการปกครองก็มีสวนตอ การอนุรักษส์ งิ่ แวดลอ มเสมอ 8. การนนั ทนาการ การนันทนาการเป็นการสรางพลังมนุษย์ ใหหายจากความเครียด ใหมีความราเริง มีความ โปรง ใสในดานการอนุรักษ์ส่งิ แวดลอ มมนษุ ย์ทม่ี กี ารนันทนาการทีด่ ีมักเป็นบุคคลท่ีมีความละเอียดออน ทางส่ิงแวดลอม รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ มเพ่ือชีวิต GESC1104
ความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติตอ่ มนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาตเิ ป็นส่ิงทม่ี ีความสําคัญตอการดาํ รงชีวิตของมนุษย์ดังนี้ 1. ความสําคัญตอการคงอยูของมนุษย์ โดยทรัพยากรธรรมชาติเป็นองค์ประกอบ ของชีวิตและเป็นปัจจยั พ้นื ฐานในการดํารงชีวิต เชน มนุษยต์ องการอากาศเพือ่ ใชใ นการหายใจ 2. มีอิทธิพลตอการต้ังถิ่นฐานของมนุษย์ มนุษย์จะตั้งถิ่นฐานอยูบริเวณที่มี ทรพั ยากรธรรมชาติท่อี ดุ มสมบูรณ์ เชน ตามทรี่ าบลุม ริมนา้ํ แมน ํา้ เป็นตน ตลอดจนลกั ษณะการสราง ท่ีอยูอ าศยั จะแตกตา งกันออกไปตามสภาพภมู อิ ากาศและทางภมู ิศาสตร์ เชน ลักษณะบานแบบไทยจะ ใตถุนสูง โลง เพ่อื ระบายอากาศ 3. เปน็ เอกลักษณข์ องชาติ โดยแตละชาติจะมีวัฒนธรรม ประเพณี ศิลปกรรม ที่เป็น เอกลกั ษณ์ เฉพาะงานอนั แสดงถึงความเจรญิ รุงเรืองของมนษุ ย์ ผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากการเพิม่ ขึน้ ของทรพั ยากรมนุษย์ การเพ่ิมข้นึ ของทรัพยากรมนุษย์นาํ ไปสกู ารหมดส้นิ ของทรัพยากรซึ่งสงผลกระทบดงั น้ี 1. ปัญหามลพิษสง่ิ แวดลอม ซ่งึ เกิดจากที่มนุษย์นาํ สงิ่ แวดลอมมาใชประโยชน์ในดาน ตางๆทาํ ใหเ กิดการตกคางและสะสมของสารพษิ ในสงิ่ แวดลอม จนกอ ใหเ กิดอนั ตรายตอ สิ่งมีชีวติ เชน มลพิษทางน้ํา มลพิษทางอากาศ มลพิษทางดินตลอดจนปัญหาทางดานมูลฝอยซึ่งมนุษย์จะตอง กาํ จดั บาํ บดั โดยเลอื กใชว ิธีการทีเ่ หมาะสม 2. ปัญหาการหมดไปและการขาดแคลนทรัพยากร การขาดแคลนทรัพยากรคือการ ใชทรัพยากรในอตั ราเรว็ เกนิ กวาทรพั ยากรจะฟื้นฟไู ดหรือการท่ีจะสรางทดแทนได เชน การลดลงของ พน้ื ทป่ี าุ ไม การทีพ่ น้ื ทีอ่ ดุ มสมบรู ณ์กลายเป็นทะเลทราย การขาดแคลนทรัพยากรทางดานพลงั งาน นาํ้ มนั และแรธาตุตาง ๆ 3. เกิดภาวะหิวโหยและโรคระบาด ความหิวโหยคือการขาดแคลนอาหารอยางหนัก และการไมมีอาหารเพียงพอที่จะใหสารอาหารในการเจริญเติบโตท่ีการดํารงชีวิตท่ีมีสุขภาพที่ดี ทําให เกิดโรคขาดอาหาร เกิดความพิการใหเห็นได ท้ังยังเกิดปัญหาโรคระบาดที่มีความรุนแรงและยากตอ การควบคมุ เชน โรคไขหวัดนก รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมเพื่อชวี ติ GESC1104
4. ภาวะใกลสูญพันธุ์ จากการพัฒนาพื้นที่เพ่ือตอบสนองความตองการของมนุษย์ทํา ใหเกดิ การสูญหายของพนื้ ที่ทง้ั ทางบกและทางนํา้ มีผลทาํ ใหแหลงท่ีอยอู าศยั ของส่ิงมชี วี ิตลดลงมีผลทํา ใหช นิดพันธ์ตางๆประสบภาวะใกลส ูญพันธไ์ ด 5. การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก เกิดภาวะความแหงแลง อากาศหนาว เยน็ เกดิ ภาวะคลื่นลมแรง ฤดกู าลเปลี่ยนแปลง พายจุ ะเกิดถี่และมคี วามรุนแรงข้ึน การจัดการทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรท่ีสําคัญที่สุด คือ พลังสมอง สงผลทําใหทรัพยากรมนุษย์กลายเป็นปัจจัยสําคัญ ท่ีสุดของประเทศ สงผลใหกลยุทธ์การพัฒนาเศรษฐกิจตองเปล่ียนแปลงตามไปดวย แตปัจจุบัน กลยุทธ์การพัฒนาประเทศไดมุงไปสู “เศรษฐกิจบนพื้นฐานแหงความรู” สําคัญท่ีกําหนดการเติบโต ทางเศรษฐกจิ คอื นวตั กรรมและความรู การพัฒนาทรัพยากรมนษุ ยส์ ามารถจําแนกไดเ ป็น 3 ระดับ ดงั น้ี 1. การพัฒนาระดับชาติ มุงพัฒนาคนในภาพรวมเพื่อใหสามารถดํารงตนอยูใน สังคมได เป็นพลเมืองดี มีคุณภาพ มีผลิตภาพสูง และมีความรับผิดชอบตอสังคม การพัฒนาจึง คาํ นงึ ถึงการพฒั นาดานการศึกษา ดา นสุขภาพ ดา นแรงงาน เปน็ สําคัญ 2. การพัฒนาระดับองค์กร มุงพัฒนาคนใหเกิดความเชี่ยวชาญสามารถทํางานให องค์กรไดอ ยา ง มผี ลิตภาพสงู และพรอมกบั การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงในอนาคต และเนนการ พัฒนาทางดานบูรณาการระหวางการพัฒนาบุคคล การพัฒนาอาชีพและการพัฒนาองค์กร เพ่ือ มุง เนน การพฒั นาจากการเรียนรู ของบุคคลไปสทู ีมการเรียนรู และองคก์ รแหง การเรียนรูไปพรอมกัน 3. การพัฒนาระดับบุคคล มุงพัฒนาคนใหตระหนักถึงความจําเป็นในการพัฒนา ตนเองเพ่ือเพ่ิมความรูความสามารถและประสิทธิภาพในการทํางานใหสามารถดํารงตนอยูในสังคมได เป็นสมาชกิ ระดบั ครอบครัว องคก์ ร สงั คมและประเทศชาติ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ หมายถึง การหาวิธีการที่เหมาะสมเพ่ือใหมนุษย์มีคุณคาตอ ตนเองและสังคมใหมากยิ่งข้ึนหรือวิธีการที่จะสรางคนใหเป็นผูท่ีมีประสิทธิภาพสูงในการทํางาน การศกึ ษาดี มมี าตรฐานในการครองชีพสงู ตลอดจนมสี ุขภาพดี โดยมแี นวทางตาง ๆ ดงั นี้ 1. การแกปัญหาความยากจน เพ่ือจะหาทางลดปัญหาตางๆที่เกิดจากความยากจน ลงเชน การขาดแคลนอาหาร ท่ีอยูอาศัย อาชญากรรม ยาเสพติด เด็กเรรอนและขอทานเป็นตน รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพ่ือชีวติ GESC1104
การแกปัญหาความยากจนท่ีสําคัญคือการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมใหเหมาะสมสภาพทองถิ่ นหรือ ตามศกั ยภาพของทรพั ยากรเพื่อใหม ีรายไดประจําพอเพยี งตอการดาํ รงชีพ 2. การปอู งกันและรักษาโรคภัยไขเจ็บ การขยายการแพทย์และการอนามัยออกไปสู ทองถ่ินชนบทท่ีอยูหางไกลตลอดจนใหความรูเก่ียวกับการปูองกันโรคภัยไขเจ็บการสุขอนามัยท่ี เหมาะสมเชนการรักษาความสะอาด การเลือกการบริโภคอาหารท่ีเหมาะสมและถูกสุขลักษณะการ ตรวจสุขภาพอนามยั ของชม เปน็ ตน 3. พัฒนาระบบการศึกษาของประชาชน และการขยายโอกาสทางการศึกษา การ เปิดโอกาสทางการศึกษาใหกับประชาชนในทุกระดับเพิ่มมากขึ้นในรูปแบบตางๆ เพื่อใหประชาชนท่ี อยูหางไกลไดรับการศึกษา มีแหลงทุนสําหรับผูที่ขาดแคลนหรือดอยโอกาสสงเสริมการเรียนรูตลอด ชพี สง เสริมความสนใจดา นวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. การใหบริการทางสังคม ที่ควรกระทํา เชน การชวยเหลือทางดานคา รักษาพยาบาลการใหสงเคราะหค์ นยากจนในดา นการรักษาฟรี เป็นตน การประชาสงเคราะห์ เพื่อชวย ยกระดับสภาพความเป็นอยูของประชากรทกุ ดานใหดขี ้นึ 5. การจัดการลดอุบัติเหตุ หามาตรการในการลดอุบัติเหตุหรือภัยพิบัติที่อาจจะ เกิดขึน้ อยางมปี ระสิทธิภาพโดยอาจมีระบบเตือนภยั ท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. การอนุรักษ์ชนเผาพื้นเมืองของมนุษย์ โดยการจัดการเกี่ยวกับท่ีอยูท่ีถาวรและ หาอาชีพทเ่ี หมาะสมใหชนเผาเหลา นั้นสามารถอยไู ดอ ยา งพอเพยี ง 7. สรางความแข็งแกรงดานวัฒนธรรม เปรียบเสมือนเป็นภูมิคุมกันทางดาน วัฒนธรรม ทําใหเด็กและเยาวชนมีจุดยืนในชีวิต มีหลักคิด หลักปฏิบัติที่ยึดเหน่ียวจิตใจ เป็นคนดี มี คุณธรรม มีจติ สํานึก และความรับผิดชอบ ตอ ตนเองและสังคม รวมทัง้ รักและตระหนักถึงความสําคัญ ของเอกลักษณ์ไทย และสามารถเลือกรับวัฒนธรรมตางชาติไดอยางเหมาะสม (จารุพงศ์ พลเดช. ออนไลน์. 2556) ตวั อย่างทรพั ยากรบคุ คลทโี่ ดดเดน่ ในประเทศไทย ในประเด็นตวั อยา งทรพั ยากรบคุ คลที่โดดเดน ในประเทศไทย เป็นการรวบรวมขอมูลบุคคลท่ีมี ความสาํ คัญกบั การพฒั นาคนและพฒั นาประเทศ ดงั นี้ 1. พระธรรมโกศาจารย์ (ท่านพุทธทาสภิกขุ) พระธรรมโกศาจารย์ (เง่ือม อินทปัญโญ) หรือรูจักในนาม ทานพุทธทาสภิกขุ เป็นชาวอําเภอ ไชยา จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี เกดิ เมื่อปี พ.ศ. พทุ ธศักราช 2449 เริ่มบวชเรยี นเมื่ออายุได 20 ปี ที่วัดบาน รายวิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ มเพื่อชีวิต GESC1104
เกิด จากนั้นไดเขามาศึกษาพระธรรมวินัยตอที่กรุงเทพมหานคร จนสอบไดเปรียญธรรม 3 ประโยค ทานไดตัดสินใจมาปฏิบัติธรรมที่อําเภอไชยา ซึ่งเป็นภูมิลําเนาเดิมของทานพรอมปวารณาตนเองเป็น พุทธทาส เนื่องจากตอ งการถวายตวั รับใชพ ระพุทธศาสนาใหถึงที่สดุ ภาพที่ 9.1 พระธรรมโกศาจารย์ (ทา นพุทธทาสภิกขุ) (ทมี่ า: พทุ ธทาสภิกขุ. 2544: 24) ทานอาจารย์พุทธทาส มีนามเดิมวา เง่ือม นามสกุล พานิช เกิดเมื่อ วันอาทิตย์ ข้ึน 7 ค่ํา เดือน 7 ปีมะเมีย วันท่ี 27 พฤษภาคม พ.ศ.2449 ในสกุลของพอคาท่ีตลาด พุมเรียง ไชยา จ.สุราษฎร์ ธานี บิดา ช่อื เซยี้ ง มารดาช่ือ เคลื่อน มีนอ งสองคน เป็นชายชื่อย่ีเกย และเป็นหญิงช่ือกิมซอย (อรศรี งามวิทยาพงศ.์ ออนไลน์. 2559) เมื่อทานอายุครบ 20 ปี ก็ไดบวชเป็นพระ ตามคตินิยมของ ชายไทยที่วัดโพธาราม ไชยา ไดรับฉายาวา\"อินทปัญโญ\" แปลวา ผูมีปัญญา อันย่ิงใหญ เดิมทานต้ังใจจะบวชเรียน ตามประเพณี เพียง 3 เดือน แต ความสนใจ ความซาบซ้ึง ความรูสึกเป็นสุข และสนุกในการศึกษาและเทศน์แสดง ธรรม ทําใหทานไมอยากสึก เลากันวา เจาคณะอําเภอ เคยถามทาน ขณะที่ เป็นพระเง่ือม วามีความ คดิ เห็นอยางไรในการใชชีวิตทานตอบวา \"ผมคิดวาจะใชชีวิตใหเป็นประโยชน์ แกเพ่ือนมนุษย์ ใหมาก ที่สดุ \" \"….แตถายี่เกย จะบวช ผมก็ตองสึกออกไป อยูบานคาขาย\" ทานเจาคณะอําเภอ ก็เลยไปคุยกับ โยมแมของทานวา ทา นควรจะอยูเป็นพระตอ ไป สวนย่ีเกย นองชายของทานน้ันไมตองบวชก็ไดเพราะ รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเพ่ือชวี ิต GESC1104
มีชีวติ เหมือนพระอยแู ลว คือเปน็ คนมกั นอย สันโดษ การกนิ อยกู ็เรยี บงาย ตัดผมสนั้ เกรียน ตลอดเวลา นายยี่เกย ก็เลยไมไดบวช ใหพ่ีชาย บวช แทน มาตลอดนาย ยี่เกย ตอมาก็คือ \"ทานธรรมทาส\" ฆราวาสผูเ ป็นกาํ ลงั หลกั ของคณะธรรมทาน ในการเผยแผพ ระพทุ ธศาสนาของสวนโมกขพลา 2. หลวงตามหาบวั ญาณสัมปณั โณ หลวงตามหาบัวญาณสัมปณั โณ กําเนดิ ในครอบครัวชาวนาผูมีอันจะกิน ณ บานตาด อุดรธานี เกดิ วนั ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ.2456 ช่ือวา บัว โลหิตดี มีพ่ีนองท้ังหมด 16 คน สมัยเด็กเคารพเล่ือมใสใน พระพุทธศาสนา โดยไดรวมทาํ บุญตกั บาตรกับผูใ หญอ ยเู สมอ เม่ือเขา สวู ัยหนุม เป็นหัวเรยี่ วหัวแรงของ ครอบครัว ขยันขันแข็ง ทํางานจริงจัง เป็นที่ไววางใจขอพอแมในการงานทั้งปวง เมื่ออายุครบ 20 ปี พอแมขอรองใหบวชตามประเพณีอยูหลายครั้ง ทานก็ทําเฉย ๆ ตลอดมา ไมตอบรับหรือปฏิเสธแต อยางใด ในคร้ังสุดทายนี้ ดวยความปรารถนาอยางแรงกลา หวังพึ่งใบบุญจากการบวชของลูกใหได ถึงกับทําใหพอแมน้ําตารว ง ครัง้ นีท้ า นรูสึกสะเทือนใจและเห็นใจพอแมมาก จึงตัดสินใจ และยอมบวช ตามประเพณี เพือ่ ตอบแทนพระคุณพอแม โดยต้ังใจไวในตอนตนนี้วา จะบวชเพียงระยะสั้น ๆ เทานั้น โดยบวชเมื่อวันท่ี 12 พฤษภาคม พ.ศ.2477 ณ วัดโยธานิมิตร อุดรธานี พระอุปัชฌาย์ ทานเจาคุณ พระธรรมเจดีย์ (จูม พันธุโล) วัดโพธิสมภรณ์ ตอมาหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน เป็นเจาอาวาสวัด ปาุ บานตาด ต.บานตาด อ.เมอื ง จ.อดุ รธานี ตราบจนมรภาพในวันที่ 30 มกราคม 2554 อายุรวม 98 ปี 77 พรรษา ภาพที่ 9.2 หลวงตามหาบวั ญาณสมั ปัณโณ (ทีม่ า: หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปนั โน. 2554: 68) รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอมเพื่อชวี ติ GESC1104
ในชวงที่ทานมีชีวิตอยู หลวงตามหาบัวไดเปิดโครงการผาปุาชวยชาติ เมื่อวันที่ 12 เมษายน พ.ศ.2541โดยมีเจาฟาู หญงิ จฬุ าภรณ์ เสดจ็ ไปเปน็ ประธานเปิดท่สี วนแสงธรรม หลวงตาพดู วา \"(เวลาน้ี) นาจะเปน็ ประวัติศาสตร์ก็ไดในเมืองไทยของเรา ที่วาพระเป็นผูนํานี่ไมเคยมีนะ เริ่ม มหี ลวงตาบัวคนเดยี วนี้แหละออกประกาศตนทีเดยี ว โดยไมมีใครชักชวน ไมมีโครบอกเลา ดวยอํานาจ แหงความเมตตาชักชวนเอง ดูสภาพของเมืองไทยแลวพ่ีนองชาวไทยท้ังหลายตางคนตางมีความทุกข์ รอนทุกหยอมหญากันไปโดยลําดับลําดาไมวาสถานท่ีใด ก็ทนใจอยูไมได จึงตองออกความคิด ความเหน็ ในแงตาง ๆ ท่ีจะนาํ ชาตไิ ทยของเราใหเป็นไปดวยความแคลวคลาด ปลอดภัย หาทางใดก็ไม เจอ ตามความสามารถความคิดอานของตัวเอง หาแลวหาเลา หาไมเจอ สุดทายก็เลยตองเอาหลวงตา บัวเป็นตัวประกัน นําพ่ีนองท้ังหลายเพ่ือจะบริจาคทรัพย์ที่มีอยูของตนเขาชวยชาติของเราดวยความ บริสุทธ์ใิ จ นีแ้ หละเริ่มตนเหตเุ ป็นอยา งนจี้ งึ ไดอ อกประกาศตน\" 3. พระเทพวิทยาคม หรือ หลวงพอ่ คณู ปริสทุ โฺ ธ พระเทพวิทยาคม หรือ หลวงพอคูณ ปริสุทโธ วัดบานไร ตําบลกุดพิมาน อําเภอดานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา เดิมชื่อ คูณ ฉัตรพลกรัง เกิดเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 4 ตุลาคม 2466 ตรงกับแรม 10 คํา่ เดือน 10 ปกี นุ ทบี่ า นไร ม.6 ตําบลกุดพิมาน อําเภออานขุนทด จังหวัดนครราชสีมา ในครอบครัว ของชาวไรชาวนาทอ่ี ยูหา งไกลความเจรญิ ภาพที่ 9.3 พระเทพวทิ ยาคม (คูณ ปริสุทโฺ ธ) (ทีม่ า: ไพฑูรย์ ธัญญา. 2546: ภาพหนาปก) รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอมเพื่อชีวิต GESC1104
หลวงพอคณู อุปสมบท ณ พัทธสีมาวดั ถนนหักใหญ ตาํ บลกุดพมิ าน อําเภอดานขุนทด จังหวัด นครราชสมี า เมอื่ วนั ศุกร์ท่ี 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 ปีวอก ไดรับฉายาวา ปริสุทโธ และเป็นลูกศิษย์ ของหลวงพอแดงและหลวงพอคง ในเวลาตอมาหลวงพอคูณมีความรอบรูชํานาญการปฏิบัติธรรมดี หลวงพอคงจึงแนะนําใหออกธุดงค์จาริกไปตามปุาเขาลําเนาไพร ฝึกปฏิบัติธรรม ซ่ึงทานก็ปฏิบัติตาม จนพิจารณาเห็นสมควรแกการปฏิบัติแลวจึงออกเดินทางกลับบานเกิดและเริ่มดําเ นินการกอสราง ถาวรวัตถุทางพระพุทธศาสนา โดยเริ่มสรางอุโบสถ ปี พ.ศ.2496 ในเวลาตอมาหลวงพอยังสราง โรงเรียน กฏุ ิสงฆ์ ศาลาการเปรยี ญ รวมทั้งขุดสระนํา้ เพ่อื การอุปโภคและบริโภค ยังความสะดวกสบาย และความเจริญใหกับอําเภอบานไร นอกจากนั้น หลวงพอยังไดสรางโรงพยาบาล โรงเรียน ตลอดจน บริจาคเงนิ ทองเพ่ือชวยเหลือสาธารณะสุขตาง ๆ เร่ือยมา ปัจจุบันหลวงพอคูณ ปริสุทโธ ไดละสังขาร ไปเมอื่ วนั ที่ 16 พฤษภาคม 2558 สิรอิ ายุ 92 ปี ขณะทค่ี ําสอนของหลวงพอคูณ ท่ีเคยกลาวตักเตือนไว ก็มีมากมาย เชน \"ย่ิงเอามันยง่ิ อด ยิ่งสละให้หมดมนั ยง่ิ ได้\" และ \"กูให้พวกมงึ รูจ้ กั พอเพยี ง\" 4. สืบ นาคะเสถียร คุณสืบ นาคะเสถียร หรือนามเดิม สืบยศ เป็นชาวอําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี เกิดเมื่อวันเสาร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2492 ท่ีตําบลทางาม อําเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรี บิดาช่ือ นายสลับ นาคะเสถียร อดีต ผูวาราชการ จังหวัดปราจีนบุรี มารดาช่ือ นางบุญเยี่ยม นาคะ เสถียร มีพี่นอง ท้ังหมด 3 คน โดยคุณสืบ เป็นบุตรชายคนโต นองชาย และนองสาวอีก 2 คน คือ คุณกอบกิจ นาคะเสถียร และคุณกัลยา รักษาสิริกุล คุณสืบมีบุตรสาว 1 คน ชื่อนางสาวชินรัตน์ นาคะเสถียร คุณสืบ นาคะเสถียร จบการศึกษาระดับปริญญาตรีและโทจากคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ ทง้ั ยังไดร ับทนุ ศึกษาตอ ในระดบั ปรญิ ญาโททปี่ ระเทศอังกฤษ มหาวิทยาลัย ลอนดอนในสาขาอนุรกั ษ์วิทยา ภาพท่ี 9.4 คณุ สบื นาคะเสถียร (ทม่ี า: มูลนธิ ิสืบนาคะเสถยี ร. ออนไลน์. 2559) รายวิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมเพื่อชีวิต GESC1104
ผลงานที่โดดเดน เมื่อคุณสืบเขารับตําแหนงหัวหนาเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ปุาหวยขาแขง “สืบ” เรม่ิ งานทามกลางปญั หาการบุกรกุ ทําลายทรพั ยากรของผืนปุาแหงนี้ อยางคนท่ีไมกลัวงานหนัก “สืบ” ทํางานแบบนักอนุรักษ์ที่มีพ้ืนฐานทางวิชาการทีดีเย่ียม “สืบ” เรงดําเนินงานทุกอยางทั้งงานปูองกัน ปราบปราม งานศึกษาวิจัยทางวิชาการ และงานเผยแพรประชาสัมพันธ์ อยางเต็มความสามารถ ภายใตความคิดท่ีคิดวาส่ิงตางๆเหลานี้จะชวยแกไข หรือบรรเทาปัญหาของการบุกรุกทําลาย ทรพั ยากรธรรมชาตใิ นพ้ืนที่ผืนปุาแหงน้ีใหลดลง หรือหมดไป ในชวงเวลาเดียวกันนั้นเอง “สืบ” ยังได ใชความพยายามทุมเท ในการเก็บขอมูลทางวิชาการดานตาง ๆ ของผืนปุาหวยขาแขงและทุงใหญ นเรศวร เพอื่ เสนอตอองคก์ ารยเู นสโก (UNESCO) ใหผ ืนปาุ แหง น้เี ป็นมรดกทางธรรมชาติของโลก ดวย ความท่ีเช่ือม่ันวาส่ิงน้ี จะเป็นหลักคํ้าประกันใหพื้นท่ีอันสําคัญย่ิงน้ีไดรับการคุมครองและดูแลอยาง เต็มท่ี 8 เดือน กับการเป็นหัวหนาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปุาหวยขาแขง “สืบ” ทํางานอยางหนักเพ่ือการ อนุรักษ์และคุมครองทรัพยากรธรรมชาติในปุาผืนน้ี แตผลท่ีไดรับกลับไมเป็นอยางที่หวัง คนสวนใหญ ในสงั คมยังไมมใี ครเขาใจหรอื เห็นความสาํ คัญของปัญหาที่เกดิ ขนึ้ ยังคงมีสัตว์ปุาถูกลา และมีการตัดไม อยางท่ีหาคนกระทําผิดไมได รวมถึงเจาหนาที่อีกหลายคนที่ตองแลกชีวิตกับการปกปูองส่ิงเหลานี้ 1 กันยายน พ.ศ. 2533 “สืบ” ตัดสินใจที่จะตอชีวิตสัตว์ปุาและบานของสัตว์ปุา โดยเรียกรองใหสังคม หันมาตระหนักถึงปัญหาของการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ ดวยการใชชีวิตของตัวเองเป็นเดิม พัน 9 ธันวาคม พ.ศ.2534 ผลของความมงุ มัน่ และทุมเท และความหวังของ “สืบ” ท่ีมีตอผืนปุาหวย ขาแขงและทุงใหญนเรศวร ไดรับการตอบรับจากสังคม ทั้งในระดับชาติในนานาชาติ โดยองค์การ ยูเนสโก ไดใ หการยอมรับและประกาศรบั รองใหเขตรักษาพันธุ์สัตว์ปุาหวยขาแขง และทุงใหญนเรศวร เป็นพื้นท่ีมรดกทางธรรมชาติของโลก ซึ่งถือไดวาเป็นผืนปุาแหงแรกของประเทศไทย ท่ีไดรับการ ยอมรับในระดับโลกเชน น้ี 5. ภัทรพล มณอี ่อน หมอสัตว์ปา่ นายสัตวแพทย์ภัทรพล มณีออน หรือ หมอล็อต เป็นชาวจังหวัดสุรินทร์ เกิดเม่ือวันที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2522 เรียนจบคณะสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร นายสัตวแพทย์ ภัทรพล มณีออน เริ่มงานแรกดวยการเป็นหมอชางของกรมปศุสัตว์ที่บานเกิด ไมนานนักก็ไดรับการ ชักชวนจากผูใหญใหมาชวยในคณะกรรมาธิการวุฒิสภา แตถึงแมการเขามาทํางานนี้จะทําให นายสัตวแพทย์ภัทรพล มณีออน ไดรับประสบการณ์และเปิดวิสัยทัศน์เร่ืองสัตว์ปุาและส่ิงแวดลอม อยางมากมาย นายสัตวแพทย์ภัทรพลไดตัดสินใจลาออกขอจากตําแหนงเน่ืองจากเห็นวางานน้ีไม เหมาะกับนิสัยและความชอบของตน ซ่ึงประจวบเหมาะกับคณะกรรมาธิการชุดนี้หมดวาระและ วฒุ สิ ภาตอ งการสานตอโครงการเก่ยี วกบั การชวยเหลือสัตว์ปุา จึงมอบหมายใหนายสัตวแพทย์ภัทรพล มณีออนไปคิดโครงการมาวาจะทําอยางไรเพ่ือชวยเหลือสัตว์ปุา ประกอบกับนายสัตวแพทย์ภัทรพล รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มเพื่อชีวิต GESC1104
มณีออน เคยผานโครงการเคี่ยวเขมบัณฑิตใหมหมอสัตว์ปุา ทําใหเขาไดรับคัดเลือกใหดํารงตําแหนง “นายสัตวแพทย์สัตว์ปุา หรือ Wildlife Veterinarian” นี้คนแรกของประเทศไทย ปัจจุบัน นายสตั วแพทยภ์ ัทรพล มณอี อนอยูในตาํ แหนง นายสตั วแพทย์ประจาํ สวนศึกษาและวิจัยอุทยาน สํานัก อุทยานแหงชาติ กรมอุทยานแหงชาติสัตว์ปุาและพันธ์ุพืช มีหนาที่ในการคุมครองดูแลสุขภาพสัตว์ ปุา ปูองกันและแกไขปัญหาท่ีเกิดขึ้นกับสัตว์ปุา และมีบทบาทในงานดานการอนุรักษ์สัตว์ปุาอยาง ตอ เนอื่ งและหลากหลายจนไดรับฉายาวา “หมอล็อต หมอสัตว์ปุา” หมอล็อตไมใชคนรักสัตว์ หากแต เป็นคนท่ีต้ังใจและมุงม่ันในการทํางานอยางเต็มท่ี ทุกคร้ังที่เขาปุา เขาจะทุมเทแรงกายแรงใจจนสุด ความสามารถ เพ่ือรักษาชีวิตของสัตว์ใหอยูรอดปลอดภัยอยางดีท่ีสุด เขาทํามันโดยไมจําเป็นตองมี ความรักเปน็ ตวั ตงั้ ภาพท่ี 9.5 นายสัตวแพทยภ์ ัทรพล มณอี อ น (ท่มี า: สาลนิ ีย์ ทับพลิ า. ออนไลน์. 2557) “ผมไมใชคนรักสัตว์ ไมใชพอพระ ผมเพียงแตรูวาเราควรจะทําอะไรที่เหมาะสมใหกับ สัตว์ ในขณะท่ีเขากําลังตองการความชวยเหลือ ซ่ึงผมจะทุมเทกับมันเต็มที่เพ่ือใหเขาไดรับในสิ่งที่ดี ที่สดุ เพราะเขาเป็นส่งิ มชี ีวติ ทอ่ี ยูรวมกันกับเราในโลกมนุษย์มีสวัสดภิ าพในการดาํ รงชพี สัตว์ปุาก็ควรมี สวัสดภิ าพทจี่ ะอยูร อดในโลกนี้ไดเชน เดยี วกันกับเรา” ปจั จบุ นั หมอลอ็ ตเป็นนายสัตวแพทย์ประจําสวน ศกึ ษาและวจิ ยั อุทยาน สาํ นักอทุ ยานแหง ชาติกรมอุทยานแหง ชาติสัตวป์ ุาและพันธ์ุพืช 6. มีชัย วรี ะไวทยะ คุณมีชัย วีระไวทยะ อดีตรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี มีช่ือเสียงจากบทบาทการ รณรงค์การใชถุงยางอนามัย สําหรับการคุมกําเนิด และปูองกันโรคติดตอทางเพศสัมพันธ์ โดยเป็นผู รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มเพื่อชีวติ GESC1104
กอ ตัง้ สมาคมพฒั นาประชากรและชมุ ชน ต้ังแต พ.ศ. 2517 จนทําใหช วงนน้ั คนไทยนยิ มเรียกชื่อถุงยาง อนามยั วา \"ถุงมีชัย\" มีชัย วีระไวทยะ เกิดวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2484 ท่ีออสเตรเลียจากมารดาชาว สกอตแลนด์ และบิดาชาวไทย จบการศึกษาปริญญาตรี สาขาเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย เมลเบิร์น นายมีชัย วีระไวทยะ ไดรับการแตงตั้งใหดํารงตําแหนงรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวง อตุ สาหกรรม ในรฐั บาลพลเอกเปรม ติณสลู านนท์ และรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ในรัฐบาล นายอานันท์ ปันยารชนุ และไดร ับการแตงต้ังเป็นวุฒิสมาชิกอีกหลายสมัยนายมีชัยไดรับรางวัลแมกไซ ไซ สาขาบริการสาธารณะ ในปี พ.ศ. 2537 ภาพที่ 9.6 คณุ มีชัย วีระไวทยะ (ที่มา: การไฟฟูาฝาุ ยผลติ แหง ประเทศไทย. ออนไลน์. 2556) 7. อานนั ท์ ปันยารชุน คุณอานันท์ ปันยารชุน เกิดเม่ือวันท่ี 9 สิงหาคม พ.ศ.2475 เป็นอดีตนายกรัฐมนตรีของ ประเทศไทย คนท่ี 18 และปลัดกระทรวงการตางประเทศ เอกอัครราชทูตไทยประจําสหประชาชาติ ประเทศแคนาดา ประเทศสหรัฐอเมริกา และ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรี 2 สมัย หลังการรัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ.2534 และ พฤษภาทมิฬ เขายังไดรับ รางวัลแมกไซไซ สาขาบริการรัฐกิจ ประจําปี พ.ศ.2540 อีกดวย สาขาบริการรัฐกิจในปี 2540ไดรับ การประกาศเกยี รตคิ ณุ ตา งๆ รวมทั้งปรญิ ญากิตติมศักด์ิจากสถาบันศึกษาหลายแหงทั้งในประเทศและ ตา งประเทศรวม 20 สถาบนั นายอานันท์ไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ เหรียญรัตนาภรณ์ (ช้ัน 3) มหาวชิรมงกุฎ ทุติยจุลจอมเกลาวิเศษ และมหาปรมาภรณ์ชางเผือก ทั้งไดรับ รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มเพ่ือชวี ติ GESC1104
เคร่อื งราชอสิ รยิ าภรณ์จากประเทศอิตาลี เกาหลี อินโดนีเซีย เบลเยี่ยม ญ่ีปุน และในกรณีของอังกฤษ นั้น ไดรับ Honorary Knight Commander of the Civil Division of the Most Exellent Order of the British Empire (KBE) ซึ่งถา เปน็ คนสัญชาตสิ หราชอาณาจกั ร ก็จะมีตาํ แหนง เป็น Sir ภาพท่ี 9.7 คณุ อานันท์ ปันยารชุน (ทีม่ า: สํานักขา วเจา พระยา. ออนไลน์. 2553) 8. พลเอก ประยทุ ธ์ จันทร์โอชา พลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา ชื่อเลน ตู หรือที่สื่อมวลชนเรียกวา “บ๊ิกตู” เกิดเม่ือ วันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2497 ทีจ่ ังหวัดนครราชสีมา ดา นการศึกษาสําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาจากโรงเรียน วัดนวลนรดิศ ศึกษาตอโรงเรียนนักเรียนเตรียมทหารรุนที่ 12 และเป็นนักเรียนนายรอยพระ จลุ จอมเกลา รุนท่ี 23 ดานชีวิตครอบครัว พลเอกประยุทธ์ สมรสกับ รศ.นราพร จันทร์โอชา อาจารย์ ประจําสถาบันภาษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีบุตรสาวฝาแฝดสองคนคือ น.ส.ธัญญา และ น.ส.นิฏฐา จันทร์โอชา และเริ่มตนรับราชการท่ีหนวย \"ทหารเสือราชินี\" (กรมทหารราบที่ 21 รักษา พระองค์ หรือ ร.21 รอ.) ต้ังแตเป็นผูบังคับกองพันทหารราบท่ี 2 กรมทหารราบที่ 21 รักษาพระองค์ (ผบ.ร.21 พนั .2 รอ.) เป็นเสนาธิการกรมฯ รองผูบังคับกรม และขนึ้ เปน็ ผูบ งั คับการกรมฯ ตามลาํ ดบั ปจั จบุ ัน พลเอกประยุทธ์ จนั ทร์โอชา หวั หนา คณะรักษาความสงบแหงชาติ ไดดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรคี นท่ี 29 ของประเทศไทย โดยทานไดกลาววา “วันน้ีตองสรางระบบใหเขมแข็งเพื่อตอตานการคอรัปช่ัน โดยเฉพาะภายในระบบราชการ และจะตองมีการพัฒนาประเทศชาติในทุกมิติ เพ่ือนําพาประเทศชาติไปสูอนาคต ซึ่งประชาชนเป็น สวนสําคัญท่ีจะสามารถนําพาการบริหารใหเดินหนาตอไปได โดยเฉพาะอยางย่ิงงานเศรษฐกิจท่ีมี ปัญหา เพราะฉะนั้นประชาชนตองชวยกัน จําเป็นตองไดรับการแกไขอยางรวดเร็ว เพ่ือกาวเขาสู รายวิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ มเพื่อชีวติ GESC1104
ประชาคมอาเซียน ปัญหาปากทองเป็นส่ิงท่ีสําคัญที่สุด จะแกไขปัญหาใหเร็วแตตองไมสรางปัญหาใน ระยะยาว รัฐบาล คสช.และประชาชนตองมารวมกันแกไขปัญหา ขอใหคําม่ันกับประชาชนวาจะตอบ แทนคณุ แผน ดิน ทําหนาที่อยา งซอ่ื สตั ย์ สุจริต พรอมกับการสรา งความรัก สามคั คี” ภาพที่ 9.8 พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา (ท่มี า: สาํ นักขา วเอม็ ไทย. ออนไลน์. 2557) 9. แพทยห์ ญงิ คุณหญิงพรทพิ ย์ โรจนสนุ ันท์ แพทย์หญิงคุณหญิงพรทิพย์ (ศรศรีวิชัย) โรจนสุนันท์ เกิด เม่ือวันท่ี 21 ธันวาคม พ.ศ. 2497 เป็นบุตรคี นแรกของคณุ สาทร และคณุ พสิ มร ศรศรวี ชิ ยั มีพน่ี อง 3 คน คือ ดร.พรรณทิพา วิเชียรสรรค์ ดร.ฐิติมา ตั้งเลิศไพบูลย์ และนายอาชวิช ศรศรีวิชัย เป็นชาวกรุงเทพฯ คุณหญิงสมรสกับ คุณวิชัย โร จนสนุ นั ท์ มีธิดา 1 คน คอื ด.ญ.ญารวี โรจนสุนันท์ จบระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายจากโรงเรียนวัฒนา วิทยาลัย แลวสอบเขาศึกษาตอในคณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี จนจบแพทยศาสตร์ บัณฑิต เม่ือปี พ.ศ. 2522 ไดรับวุฒิบัตรผูเช่ียวชาญพยาธิวิทยา และอนุมัติผูเชี่ยวชาญ ดานนิติเวช ศาสตร์ จากคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี เมอ่ื ปี พ.ศ. 2525 และ พ.ศ. 2538 จากน้นั รับทนุ ของโรงพยาบาลพุทธชนิ ราชไปเรียนตอ ทรี่ ามาธิบดี กลบั มาปฏิบตั งิ านเป็นพยาธิ แพทย์ โรงพยาบาล พทุ ธชนิ ราช ตั้งแตปี พ.ศ. 2525 ถึง พ.ศ. 2533 แลว จึงยายมารับตําแหนงหัวหนา หนวยนิติเวชและหนวยตรวจศพ ภาควิชาพยาธิวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี เคยดํารงตําแหนง ประธานสภาอาจารย์รามาธิบดี ในชวงปี พ.ศ. 2541 ถึงปี พ.ศ. 2542 หลังจากนั้นไดรับการเลือกตั้ง เป็นกรรมการแพทยสภาประจําวาระ พ.ศ. 2542 ถึงปี พ.ศ. 2544 ในปี พ.ศ. 2543 ไดรับโอนยายไป ยังกระทรวงยุติธรรม เพ่ือเตรียมจัดต้ังหนวยงานนิติวิทยาศาสตร์ โดยเขารับตําแหนง นายแพทย์ 8 ผูอํานวยการแพทย์สถานพินิจและคุมครองเด็กและเยาวชนกลาง กระทรวงยุติธรรม ไดรับแตงตั้งให รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอมเพ่ือชวี ิต GESC1104
เป็นรองโฆษกกระทรวงยุติธรรมอีกตําแหนงหน่ึง ปัจจุบันเป็นผูอํานวยการ สถาบันนิติวิทยาศาสตร์ กระทรวงยตุ ธิ รรม ภาพท่ี 9.9 แพทยห์ ญิงคณุ หญงิ พรทิพย์ (ศรศรวี ิชัย) โรจนสนุ ันท์ (ทมี่ า: สาํ นักขาวเอม็ ไทย. ออนไลน์. 2557) อทุ ยานราชภักดิ์ บรู พกษัตรยิ แ์ ห่งสยาม อุทยานราชภักดิ์ หมายถึง อุทยานท่ีสรางข้ึนดวยความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย์ เทดิ พระเกยี รตบิ ูรพกษัตริย์แหง สยามโดย พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงพระราชทานชื่อน้ีมาให ตั้งอยูบนพ้ืนที่กองทัพบก ขนาด 222 ไร ณ คายสมเด็จพระศรีสุริโยทัย (พระอัยยิกาของสมเด็จพระ นเรศวรฯ) ดวยโลเกชั่นที่เบี่ยงไปทางทิศตะวันตก เนื่องจากมีการคํานวณเร่ืองแสงในยามพระอาทิตย์ ขึน้ และตก ดานหลังติดภูเขา ดานหนาเป็นทะเลสวนสนประดิพัทธ์ ซึ่งมีระยะหางจากถนนเพชรเกษม เขาไปประมาณ 350 เมตร ดวยถนนทตี่ ัดใหมจ ํานวน 6 เลน มีขนาดกวาง 50 เมตร พระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระบูรพกษัตริย์แหงสยาม ท้ัง 7 พระองค์ หลอดวยทองสําริด นอก มีความสูงของพระองค์ 13.9 แมตร (เทียบเทาคนยืนตอกัน 8 คน) ซึ่งประทับอยูบนฐานแทงยืน สูง 1.5 เมตร และฐานลางสงู 8 เมตร รวมเปน็ 23.4 เมตร (เม่ือลองนําเลข 2+3+4 = 9 ซึ่งถือเป็นเลข มงคลอันนา มหศั จรรย)์ และมีน้าํ หนักถงึ 29 ตัน ตอ หน่งึ พระองค์ รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมเพ่ือชีวิต GESC1104
ภาพท่ี 9.10 อุทยานราชภักด์ิ สาเหตทุ ีเ่ ลอื กบรู พกษัตรยิ ท์ ัง้ 7 พระองค์น้ี เนือ่ งจากเหตผุ ลดงั นี้ 1. พอขุนรามคาํ แหงมหาราช กษตั รยิ ผ์ ปู ระดิษฐล์ ายสอื ไทย 2. สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช กษัตรยิ ผ์ กู อบกูเอกราชสยาม จากการเสยี กรุงคร้ังที่ 1 3. สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช กษตั รยิ ์ผทู รงใชหลักการทูต ดํารงรักษาเอกราชแหง สยาม 4. สมเด็จพระเจา ตากสนิ มหาราช กษัตรยิ ์ผกู อบกูเอกราชสยาม จากการเสียกรุงคร้ัง ที่ 2 และทรงกอต้ังกรงุ ธนบุรี 5. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟูาจุฬาโลกมหาราช กษัตริย์ผูสถาปนา กรงุ รตั นโกสนิ ทรแ์ ละทรงเป็นปฐมกษัตริยแ์ หงราชวงศจ์ ักรี 6. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว กษัตริย์ผูเปรียบดั่งเจาภาพสถานท่ี เน่ืองจากพระองค์เสด็จเยือน บานหวากอ อําเถอหัวหิน เป็นสถานที่สุดทายกอนเสด็จสวรรคต และ ทรงเป็นกษตั ริย์ผูริเร่มิ พัฒนาการทหารสมยั ใหม 7. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กษัตริย์ผูทรงพระกรุณาธิคุณสูงสุดใน เรื่องการเลิกทาส การปูองกันการลาอาณานิคมของตางชาติ และทรงนําพาความกาวหนา ความ ทนั สมัยของชาตติ ะวันตกเขามาพฒั นาประเทศสยาม พพิ ิธภณั ฑแ์ ละหอ งจดั แสดงนทิ รรศการประวัติศาสตร์ มีความสูง 8 เมตร (เทียบเทาตึกขนาด 2 ช้ัน) ซ่ึงอยูบริเวณฐานดานใตพระบรมราชานุสรณ์ฯ ท้ัง 7 พระองค์ ท่ีตั้งอยูบนพ้ืนที่จัดแสดงท่ีมี รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเพ่ือชีวิต GESC1104
ความกวาง 199 เมตร ความยาว 299 เมตร รวมพ้ืนท่ีทั้งหมด 59,501 ตารางเมตร (เทียบเทากับ ความกวาง 2 เทา ของลานพระบรมรูปทรงมา) มีการมารค์จุดศูนย์รวมของสายพระเนตรของทุกพระองค์ ซ่ึงคาดวานาจะไดรับความนิยมใน การยนื ไหวส ักการะและถายภาพเป็นอยางมาก เพราะถือเป็นจุดท่ีมีมุมสวยท่ีสุดและสามารถถายภาพ ไดค รบทุกพระองค์ในเฟรมเดียว บทสรุป มนุษย์ ตามความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไววา สัตว์ที่รูจัก ใชเหตุผล สัตว์ที่มีจิตใจสูง ปัจจัยท่ีมีผลตอทรัพยากรมนุษย์ ไดแก ประชากร การศึกษา การอนามัยหรือสาธารณสุข เศรษฐกิจ โบราณสถาน สถานท่ีประวัติศาสตร์และศาสนา ความ ปลอดภัย การเมืองการปกครอง และการนันทนาการ มนุษย์มีความสัมพันธ์ตอทรัพยากรธรรมชาติ ในลักษณะพ่งึ พาเพ่อื การดาํ รงชพี แตมนุษยก์ ็กลายเป็นตัวการสําคัญในการทําลายทรัพยากรธรรมชาติ การเพ่ิมข้ึนของทรัพยากรมนุษย์นําไปสูการหมดสิ้นของทรัพยากรซึ่งสงผลตอการเกิดภาวะมลพิษ สง่ิ แวดลอ มซ่ึงนาํ มาสโู รคภยั ไขเจ็บท่เี บียดเบยี นมนษุ ย์เอง การเกดิ ภัยทางธรรมชาติที่คราชีวิตมนุษย์ใน แตละปีเป็นจํานวนมาก ผลท่ีเกิดขึ้นทําใหมนุษย์ไดเรียนรูและหาวิธีการจัดการตางๆเพื่อการหาวิธีการ ทีเ่ หมาะสมเพ่อื ใหมนษุ ยม์ ีคุณคาตอตนเองและสงั คมใหม ากยงิ่ ข้ึน คุณทราบหรือไม่? ประชากรโลก ปี 1800 (พ.ศ. 2343) : 1 พันล้านคน ปี 2005 (พ.ศ. 2548) : 6, 500 ลา้ นคน ปี 2050 (พ.ศ. 2593) : 9 พันล้านคน ? รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มเพ่ือชวี ติ GESC1104
กจิ กรรมท่ี 9 ทรัพยากรมนุษย์ 1. หลกั การ มนุษย์มีบทบาทสําคัญมากตอการใชทรัพยากรธรรมชาติ เพราะมนุษย์จะเป็นผูใชทรัพยากร เพื่อสนองความตองการของมนุษย์ จนกอใหเกิดปัญหามลพิษสิ่งแวดลอม มนุษย์จะตองเป็นผูบําบัด กําจัด และแกไข เพื่อใหทรัพยากรใชตอไปไดในอนาคต อยางยั่งยืน มนุษย์จึงมีบทบาทสําคัญในการ เป็นผูอ นรุ กั ษ์ ซึง่ จะคงอยหู รือหมดไปจงึ ข้นึ อยูกับมนษุ ย์ มนุษย์เป็นทรัพยากรท่ีแตกตางไปจากทรัพยากรธรรมชาติประเภทอื่นและถือวาเป็น ทรัพยากรที่มีคุณคาอยางย่ิง ถาหากปราศจากมนุษย์เสียแลวทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางอุดม สมบูรณ์จะหามีประโยชน์ไม และทรัพยากรมนุษย์แตละบุคคลมีความโดดเดนและเอกลักษณ์ เฉพาะตน 2. จุดประสงค์ 2.1 อธบิ ายเกย่ี วกบั ความหมาย ความสาํ คญั ของทรัพยากรมนุษย์ได 2.2 สามารถบอกผลกระทบของการเพิ่มขน้ึ ของทรัพยากรมนษุ ยไ์ ด 2.3 สามารถยกตัวอยางการจดั การทรัพยากรมนุษย์ได 2.4 นาํ เสนอทรพั ยากรมนุษย์ที่มเี อกลักษณ์ตางๆได 3. วธิ ีปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 3.1 ศึกษาจากเอกสาร 3.2 แบง นกั ศึกษาเป็นตามความสนใจของแตละคน ใหน กั ศึกษาคนควาเกยี่ วกับทรพั ยากร มนษุ ย์ทีน่ ักศึกษาสนใจ หรอื ประทบั ใจ ในประเด็นตอไปน้ี ประวัติ ผลงาน เอกลกั ษณ์ทโี่ ดดเดน ความประทับใจหรือความชืน่ ชอบทีม่ ตี อทรัพยากรมนุษยท์ ่ีนกั ศึกษาเลือก 3.3 นาํ เสนอและอภปิ รายรวมกันในชน้ั เรียน รายวิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอมเพื่อชวี ติ GESC1104
4. ผลการศึกษา 4.1 ทรัพยากรมนุษยท์ ่ีเลือกคือใคร ............................................................................................................................. ................................ 4.2 เอกลกั ษณโ์ ดดเดนทางดา นใด ............................................................................................................................. ............................... 4.3 ความประทับใจท่มี ีตอบุคคลนี้ .......................................................................................................................................................... .. 5. คาถาม 5.1 ทรัพยากรมนุษย์มีความสําคัญตอ ทรพั ยากรอ่นื ๆ อยางไร จงอธิบาย ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ .... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ 5.2 “ความยากจน” เป็นอุปสรรคสําคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เห็นดวยหรือไม เพราะเหตุใด ..................................................................................................................................... ........................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเพื่อชวี ติ GESC1104
เอกสารอ้างอิง การไฟฟูาฝุายผลิตแหงประเทศไทย. (11 กรกฎาคม 2556). \"โลกทรรศน์สากล กับความรับผิดชอบ ต่อสังคม\" โดย มีชัย วีระไวทยะ. http://www.egatlearning.com/2013eep/lv11- speaker-1.html จารุพงศ์ พลเดช. (6 สิงหาคม 2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. www.lopburi.go.th/ governor/book_january_51/human.doc. พุทธทาสภกิ ข.ุ (2544). การแก้ปญั หาดว้ ยสตปิ ัญญา. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา. ไพฑูรย์ ธัญญา. (2546). เทพเจา้ แห่งด่านขุนทด. กรุงเทพมหานคร: บริษัท เนช่ันบ฿ุคส์ อินเตอร์เนช่ัน แนล มลู นธิ ิสืบนาคะเสถียร. (8 สงิ หาคม 2559). ประวตั ิ สืบ นาคะเสถยี ร. http://www.seub.or.th. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นาน มีบุ฿คสพ์ ับลิเคชนั่ . หลวงตาพระมหาบวั ญาณสมั ปันโน. (2554). ชาติสุดท้าย. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ศิลปสยามบรรจุ ภัณฑ์และการพมิ พ์ จาํ กดั สาลินีย์ ทับพิลา. (27 กรกฎาคม 2557). หมอล็อต แรงบันดาลใจจากป่า. http://www.bangkok biznews.com/news/detail/595074 สํานักขาวเจาพระยา. (22 กันยายน 2553). “อานันท์” ชี้ ยุทธศาสตร์ “การปฏิรูป”. http://www.chaoprayanews.com/2010/09/22. สํานักขาวเอ็มไทย. (25 สิงหาคม 2557). พล.อ.ประยุทธ์ รับสนองพระบรมราชโองการฯ เป็นนายก คนที่ 29 แลว้ . http://news.mthai.com/hot-news/general-news/376746.html. _____________. (25 สิงหาคม 2557). ประวัติคุณหญิงพรทิพย์ โรจนสุนันท์. http://people. mthai.com/other/1364.html. อรศรี งามวิทยาพงศ์. (12 กรกฏาคม 2559). ประวัติอาจารย์พุทธทาส. http://www.buddha dasa.com/history/budprofile1.html รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มเพ่ือชีวติ GESC1104
บทที่ 10 ส่ิงแวดล้อมกบั ความพอเพียง พระเสโทหยาดหลัง่ พรัง่ พระพักตร์ ราษฎร์ประจกั ษน์ า้ พระทัยท่ไี หลหลง่ั ชโลมสแู่ ผน่ ดินพรพู รัง่ ดงั่ พลงั สร้างความหวังดว้ ยศรัทธาพระบารมี ขอพระองคท์ รงพระเจริญยิ่งยนื นาน ในสภาวการณป์ ัจจุบนั ซ่ึงเกิดความถดถอยทางเศรษฐกิจอยางรุนแรงจึงทําใหเกิดความเขาใจ ไดชัดเจนในแนวพระราชดําริของ \"เศรษฐกิจพอเพียง\" ซึ่งไดทรงคิดและตระหนักมาชานาน เพราะ หากเราไมไปพึ่งพา ยึดติดอยูกับกระแสจากภายนอกมากเกินไป จนไดครอบงําความคิดในลักษณะ ด้ังเดิมแบบไทย ๆ ไปหมด มีแตความทะเยอทะยานบนรากฐานท่ีไมมั่นคงเหมือนลักษณะฟอง สบู วิกฤตเศรษฐกิจเชนนี้อาจไมเกิดข้ึน หรือไมหนักหนาสาหัสจนเกิดความเดือดรอนกันถวนท่ัว เชนนี้ \"เศรษฐกิจพอเพียง\" จึงไดสื่อความหมาย ความสําคัญในฐานะเป็นหลักปรัชญาสังคมที่พึง ยึดถือที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระราชดํารัสชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาว ไทย ดังนั้นถาทุกคนในชาตินอมนําเอากระแสพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนว ทางการดําเนินชีวิตสวนตน เชื่อมั่นวาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมจะมีเพียงพอใหเราใชได อยา งย่ังยืน รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มเพื่อชีวิต GESC1104
ความหมายของคาวา่ “พอเพียง” พอเพียง ความหมายตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดเทาที่กะไว เชน ไดเ ทา น้ีกพ็ อเพยี งแลว ความพอเพียง (Sufficiency) หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความ จําเป็นที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการ เปลีย่ นแปลงท้ังภายนอกและ ภายใน ความพอเพียง (Sufficiency) จะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะพรอมๆ กัน ไดแก ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และภูมิคุมกันในตัวท่ีดี กลาวคือ กิจกรรมใดๆที่ขาดคุณลักษณะใด คณุ ลักษณะหนงึ่ ไปก็จะไมส ามารถเรียกไดว า เป็นความพอเพียง ค่านิยมใหม่ในสงั คมไทย การสรางคานิยมใหมใ หเ กิดข้ึนในสงั คมไทย ซึ่งไดกําหนดสภาพสังคมไทยที่พงึ ประสงคเ์ ป็น สังคมทเ่ี ขมแขง็ และมีดลุ ภาพใน 3 ดา น คอื 1. สงั คมคุณภาพทย่ี ดึ หลกั ความสมดุลพอดี 2. สังคมแหงภูมิปัญญาและการเรียนรูท่ีใหคนไทย คิดเป็น ทําเป็น มีเหตุผล มี ความคิดริเรมิ่ สรา งสรรค์ เรยี นรูไ ดต ลอดชวี ิต รเู ทาทนั โลก 3. สังคมสมานฉันท์ มคี ณุ ธรรม รรู กั สามคั คีและเอ้อื อาทรตอ กนั เศรษฐกิจพอเพยี ง เคียงคู่ไทย ก้าวไกลดว้ ยวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 1. 70 ปื บารมี ธ เกรกิ ไกร นอ้ มเทดิ ไท้องคร์ าชา เปน็ ท่ีประจักษ์ไปท่ัววา ตลอดระยะเวลาท่ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงเสด็จเถลิงถวัลย ราชสมบัติครบรอบ 70 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2559 พระองค์ทรงอุทิศพระวรกาย พระราช หฤทยั และพระสติปญั ญาของพระองค์ ทรงงานและพระราชกรณียกิจอันประเสริฐสูงสุด ซ่ึงทรงคุณอัน ยิ่งใหญไพศาลสุดจะพรรณนา เพื่อชวยเหลือพสกนิกรของพระองค์ อยางมิรูเหน็ดเหน่ือย พัฒนาชีวิต ใหปวงชนชาวไทย โดยมิไดเลือกเช้ือชาติ ศาสนา และนําความผาสุกรมเย็นไปสูชุมชนทั่วทั้งประเทศ แมในที่หางไกลทุรกันดาร พระองค์ทรงเป็นศูนย์รวมของปวงชนชาวไทยทั้งชาติ และพระองค์ไดรับ ถวายพระราชสมัญญานามวา “สมเด็จพระภัทรมหาราช” ซ่ึงมีความหมายวา พระมหากษัตริย์ที่ทรง เปน็ ทีร่ ักยงิ่ ของปวงชน รายวิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมเพื่อชีวติ GESC1104
ดวยพระบรมเดชาบุญญาธิการ พระปรีชาสามารถ และพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ที่ ทรงปฏิบัติพระราชภารกิจ จนบรรลุผลสําเร็จดวยดีทุกประการ โดยเฉพาะอยางย่ิง เพื่อพัฒนาคน ถา หากการพฒั นาคน หมายถงึ การใหลําดบั ความสําคัญประชาชนเป็นอันดับแรก ทรงเนนความพอเพียง ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง จนยากยง่ิ ท่ีพระมหากษัตริย์พระองค์ใด หรือผูนําประเทศใดในโลก ท้ังในอดตี และปัจจุบนั เทยี บเทาและเสมอเหมือนพระองค์ได ดังนั้นในวันที่ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2549 นายโคฟี อานัน เลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลและสดุดีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัววาเป็นบุคคลที่มีความสําเร็จสูงสุดดาน การพัฒนามนุษย์ (UNDP Human Development Lifetime Achievement Award) ชาวโลกยก ยองใหเป็น “กษัตริย์นักพัฒนา” (The World’s ‘Development King’) นับวาเป็นครั้งแรกที่ องค์การสหประชาชาติไดจัดทํารางวัลเกียรติยศข้ึน เพื่อมอบใหกับบุคคลดีเดน ท่ีอุทิศตนตลอดชวง ชีวิตและสรางคณุ คา ของผลงานเป็นทปี่ ระจักษ์ และคุณูปการ ท่ีผลกั ดนั ความกาวหนาในการพัฒนาคน การพัฒนาคนโดยแกนแทแลวเป็นแนวทางเรียบงาย ซ่ึงถือเป็นการสรางเสริมขีดความสามารถใหกับ ประชาชน มิใชเพียงแคคนสองสามคน มิใชเพื่อคนจํานวนมาก แตเพื่อคนทั้งปวงโดยถวนท่ัว โดยผาน การศึกษา การขยายโอกาสและทางเลอื กสุขอนามัยและโภชนาการ ทั้งน้ียังถือวาเป็นการสรางเสริมขีด ความสามารถแกปัจเจกชนที่เลือกใหมีชีวิตยืนยาวดวยการมีสุขพลานามัยท่ีแข็งแรง เป็นบุคลากรที่มี ความรู และความคิดสรางสรรค์ การพัฒนาคนเพื่อใหคนเป็นศูนย์กลาง โดยมุงพัฒนาความเติบโตทาง เศรษฐกิจอยางย่ังยืน สิทธิมนุษยชน ความมั่นคงในชีวิต ความเทาเทียม และการมีสวนรวมในทาง การเมอื ง ภาพที่ 10.1 ถว ยรางวัลบุคคลที่มีความสาํ เร็จสูงสุดดา นการพัฒนามนษุ ย์ (ทม่ี า: สาํ นักขา วเจา พระยา. ออนไลน์. 2559) รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มเพ่ือชวี ติ GESC1104
นอกจากนี้แลว บาดาโต฿ะอีหมามพัฒนา หลังปูเต฿ะ ผูแทนพระองค์สุลตานอิสมาแอลปุตรา และ ตวนกูอานิส พระชายาแหงรัฐกลันตัน ประเทศมาเลเซีย สดุดีพระองค์วา มิใชพระมหากษัตริย์ ไทยเพียงประเทศเดียว แตเป็น “King of The World” สถิตในดวงใจคนทั่วโลก ซ่ึงพระองค์ทรงเป็น พระมหากษัตริย์ท่ีทรงครองราชย์ยาวนานที่สุดในโลกครบ 60 ปี ในวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2549 มีพระราชอาคันตุกะ มารวมฉลองสิริราชสมบัติถึง 25 ราชวงศ์ ในปี พ.ศ. 2559 พระองค์ทรง ครองราชย์ครบ 70 ปี 2. เทคโนโลยีก้าวหน้า ด้วยพระเมตตาทรงคดิ คน้ เทคโนโลยีท่ีพระองค์ทรงคิดคนมีอยูมากมายมหาศาล ไมสามารถจะบรรยายไดครบถวน ซึ่ง ลวนเป็นสิ่งท่ีกอใหเกิดประโยชน์ตอประเทศชาติและปวงชนชาวไทย ในที่นี้ขอกลาวเป็นสังเขป เพ่ือ เชิดชพู ระเกยี รติคุณของพระองคด์ งั นี้ 2.1 ฝนหลวง ฝนหลวงเกิดข้ึนจากพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวโดยทรงประยุกต์เทคโนโลยีทางดานวิทยาศาสตร์สาขาตางๆ ท้ังฟิสิกส์ เคมี อุตุนิยมวิทยา วิศวกรรมศาสตรแ์ ละการดัดแปลงสภาพอากาศในธรรมชาติเขาดวยกัน โดยพระองค์ทรงถายทอดแนว พระราชดําริและพระราชทานเอกสารทางวิชาการแก หมอมราชวงศ์เทพฤทธ์ิ เทวกุล ผูเชี่ยวชาญดาน วิศวกรรมการเกษตร ต้ังแตปี พ.ศ.2498 เพื่อทําการคนควาหากรรมวิธีหรือเทคโนโลยีการทําฝนหลวง ใหเหมาะสมกับภูมิประเทศและสภาพอากาศของประเทศไทย ปฏิบัติการฝนหลวงไดเริ่มทดลองคร้ัง แรกในปี พ.ศ.2512 และประสบความสาํ เร็จในระดบั หนง่ึ ในปี พ.ศ.2514 โดยตอ มาในปี พ.ศ.2518 จึง ไดมีพระราชกฤษฎีกากอตั้งสํานักงานปฏิบัติการฝนหลวง (Royal Rainmaking Research and Development Institute; RRRDI) เพ่อื ทาํ หนา ทีด่ ําเนนิ การทดลองคนควาและพัฒนากรรมวิธีการทํา ฝนหลวงควบคูกับการปฏิบัติการชวยเหลือเกษตรกร พอถึงปี พ.ศ.2535 จึงมีพระราชกฤษฎีกา ปรับปรุงสํานักงาน ฯ ดังกลาว เป็นสํานักฝนหลวงและการบินเกษตร (Bureau of the Royal Rainmaking and Agricultural Aviation; BRRAA) และตอ มากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เสนอให วนั ที่ 14 พฤศจิกายน ของทุกปี เป็นวนั พระบิดาแหงฝนหลวง โดยมี นางมณีเมขลาเป็นสัญลักษณ์ของ โครงการฝนหลวง รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มเพื่อชีวติ GESC1104
ภาพที่ 10.2 เครื่องบนิ ทาํ ฝนหลวง ทม่ี า : (กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. ออนไลน์. 2559) ฝนหลวงเป็นเทคนิคที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงคิดคนขึ้นและพัฒนาอยาง ตอ เนอ่ื ง และนาํ มาปฏบิ ตั กิ ารในประเทศไทยเป็นประเทศแรก ถือเป็นสิ่งประดิษฐ์ใหมและมีคุณสมบัติ ครบถวนท่ีจะไดรับการทูลเกลาฯ ถวายสิทธิบัตรเลขท่ี 13898 เม่ือวันที่ 29 พฤศจิกายน 2545 จาก กระทรวงพาณิชย์ นอกจากนี้ในปี พ.ศ.2544 คณะกรรมการจัดงานประกวดส่ิงประดิษฐ์คิดคนทาง เทคโนโลยี Brussels Eureka 2001 ณ กรุงบรัสเซล ประเทศเบลเยียม ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล เหรียญทอง ประกาศนียบัตรสดุดี พระเกียรติ แดพระองค์ทานในฐานะที่เทคโนโลยีฝนหลวงเป็น โครงการดเี ดนดา นส่งิ ประดษิ ฐท์ เ่ี ป็นประโยชนต์ อ สาธารณชนดวย 2.2 กงั หันน้าชัยพัฒนา เคร่ืองกังหันนํ้าชัยพัฒนาเกิดข้ึนดวยนํ้าพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัวท่ีตองการเห็นประชาชนพนทุกข์ภัยจากมลภาวะทางนํ้าที่ยังคงเป็นปัญหา ซ่ึงนับวันจะทวี ความรุนแรงยิ่งขึ้น แมวาการแกปัญหาในระยะแรก จะสามารถชวยแกไขปัญหาไปไดในตาม คู คลอง ตางๆ กย็ ังสงกลน่ิ เหม็นรบกวนอยจู ึงจาํ เปน็ ตอ งนาํ เครอื่ งกลเติมอากาศเพื่อเพ่ิมปริมาณออกซิเจนหรือ อากาศลงในนํ้าเขาชวยบําบัดน้ําเสียอีกทางหนึ่ง โดยไมตองไปซื้อมาจากตางประเทศ ดวยพระวิริยะ อุตสาหะ ทรงคิดคนรูปแบบและวิธีการประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศชนิดหน่ึง เพ่ือบรรเทาความเนา เสียของน้ํา เป็นเคร่ืองกลเติมอากาศอยางหนึ่งที่มีประสิทธิภาพชวยในการบําบัดนํ้าเสียไดอยาง เหมาะสม รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมเพ่ือชีวติ GESC1104
ภาพท่ี 10.3 กงั หันนํ้าชัยพัฒนา (ทม่ี า: มลู นิธชิ ัยพฒั นา. ออนไลน์. 2559) เม่ือวันท่ี 24 ธันวาคม พ.ศ. 2530 ได พระราชทานรูปแบบและพระราชดําริแก เจา หนาทก่ี รมชลประทาน ในการกอสรา งและพฒั นาตนแบบเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวนํ้าหมุนชาแบบ ทุนลอย หรือ “กังหันนํ้าชัยพัฒนา” ซึ่งมีใบพัดขับเคลื่อนน้ําและวิดนํ้าข้ึนไปสาดกระจายเป็นฝอย เพ่ือใหน้ําสัมผัสอากาศไดอยางท่ัวถึงเป็นผลใหออกซิเจนในอากาศสามารถละลายเขาไปในนํ้าไดอยาง รวดเร็วและในชวงที่นํ้าเสียถูกยกขึ้นมากระจายสัมผัสกับอากาศตกลงไปยังผิวน้ํา จะทําใหเกิด ฟองอากาศจมตามลงไป กอ ใหเกดิ การถายเทออกซเิ จนอกี สวนหน่ึง ซึ่งกังหันน้ําชัยพัฒนาแบบน้ีจะใช ประโยชนไ์ ดท้งั การเตมิ อากาศ และการทาํ ใหน้ําไหลไปในทิศทางทกี่ ําหนด การติดต้ังเคร่ืองกลเติมอากาศ “กังหันน้ําชัยพัฒนา” คร้ังแรก พระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว มีพระบรมราชานุญาตใหใชคลองเมฆขลา ซึ่งอยูภายในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎเกลา เป็นสถานทท่ี ดลองบําบัดน้ําเสีย ปรากฏวา เครื่องกังหันนํ้าชัยพัฒนาสามารถชวยเพิ่มออกซิเจนใหกับ น้ําไดอยางมีประสิทธิภาพ จนเป็นที่นิยมแพรหลายและนําไปติดตั้งใชงานตามสถานที่ตาง ๆ ทั้งใน กรุงเทพมหานครและตางจังหวัด จากคุณคาอเนกอนนั ต์ของเคร่ืองกังหนั นาํ้ ชยั พัฒนา ทําใหกรรมการบริหารสภาวิจัย แหงชาตไิ ดม มี ติเอกฉนั ท์เหน็ สมควรเป็นอยางยง่ิ ทูลเกลาฯ ถวายรางวัลงานคิดคน หรือส่ิงประดิษฐ์ ซึ่ง เป็นประโยชน์แกประเทศชาติ ประจําปี 2536 ในลําดับที่ 1 ซ่ึงนับเป็นสิ่งประดิษฐ์เคร่ืองกลเติม อากาศเคร่ืองที่ 9 ของโลก ท่ีไดรับสิทธิบัตร และเป็นคร้ังแรกของโลกท่ีไดมีการจดทะเบียนและออก รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพ่ือชีวติ GESC1104
สิทธิบัตรใหแกราชวงศ์ ดังนั้นในวันที่ 2 กุมภาพันธ์ ของทุกปี รัฐบาลจึงไดกําหนดใหเป็น “วันนัก ประดิษฐ์” 2.3 เชอ้ื เพลิงชีวมวล พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห ัวทรงมีสายพระเนตรกวางไกล และไดพระราชทานแนว พระราชดําริเกี่ยวกับพลังงานทดแทน โดยมุงเนนวัตถุดิบภายในประเทศภาคเกษตรกรรม โดยทรงทํา เป็นตนแบบ ในการผลติ แกส฿ โซฮอลล์ โดยการผลติ เอทานอลจากออ ย และพฒั นาการกล่ันเอทานอลให ไดความบริสุทธิ์รอยละ 99.5 โดยปริมาตร และนําไปผสมกับเบนซินไรสารตะกั่วออกเทน 91 ใน อัตราสวน 1 ตอ 9 โดยปริมาตร จนไดน้ํามันแก฿สโซฮอลล์ ท่ีมีคาออกเทนเทากับนํ้ามันเบนซิน 95 ซึ่ง จาํ หนา ยอยูในปัจจุบัน นอกจากน้แี ลว พระองคท์ รงมีพระราชดําริ เก่ียวกับการสกัดน้ํามันปาล์ม มาใช แทนน้ํามันดีเซล และพบวาชวยลดปัญหามลพิษในไอเสียเคร่ืองยนต์ ท้ังยังชวยเพ่ิมการหลอล่ืนใน เคร่ืองยนต์ และในปี พ.ศ. 2544 พระองค์ทรงมีพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหนายอําพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เปน็ ผูแ ทนพระองค์ ย่ืนจดสทิ ธบิ ัตร ณ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ในวันท่ี 9 เมษายน ในชือ่ ของการประดษิ ฐ์ คอื “การใชน้ํามนั ปาลม์ กลน่ั บริสุทธิ์ เป็นน้ํามันเช้อื เพลิงเครื่องยนต์ ดเี ซล” สิทธิบตั รเลขที่ 10764 ดวยพระอัจฉริยภาพและพระปรีชาสามารถในการประดิษฐ์คิดคนของพระองค์ ผลงานการคิดคนเพ่ือการพัฒนาประเทศ ดานพลังงานทดแทนของพระองค์ เร่ืองโครงการนํ้ามันไบโอ ดีเซล “สูตรสกดั นํา้ มนั ปาลม์ ” จึงไดร ับเหรียญทอง ประกาศนียบัตรสดุดีเทิดพระเกียรติคุณพรอมถวย รางวัลในงานนิทรรศการสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ Brussels Eureka 2001 ณ กรุงบรัสเซล ประเทศ เบลเยยี ม 2.4 ทฤษฎีการปลกู ปา่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยูหัว ทรงหวงใยในปัญหาปุาไม ลดลงเป็นอยางมาก จึงทรง พยายามคน หาวิธนี านาประการทจ่ี ะเพิม่ ปรมิ าณปุาไมใ นประเทศไทยใหมากข้ึนอยางตอเนื่องและถาวร โดยวิธีการที่เรียบงายและประหยัดในการดําเนินงาน ตลอดจนเป็นการสงเสริม ระบบวงจรปุาไมใน ลักษณะอันเป็นธรรมชาติด้ังเดิม ซ่ึงได พระราชทานพระราชดําริไวหลายวิธีการ อาทิ ปลูกปุาโดยไม ตองปลูก ดวยการท้ิงปุาเอาไวไมตองไปทําอะไร ปุาจะเจริญเติบโตข้ึนมาเองตามธรรมชาติ โดย คุม ครองไมใ หมกี ารตัดไมทําลายปุา นอกจากน้ีพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทาน พระราชดําริใหมีการปลูก ปาุ ในท่ีสูง โดยทรงแนะนําวิธีการดังนี้ คือใชไมจําพวกที่มีเมล็ดท้ังหลายข้ึนไปปลูกบนยอดท่ีสูง เม่ือไม นั้นโตแลวออกฝักออกเมล็ดก็จะลอยตกลงมาแลวงอกเองในที่ต่ําตอไป เป็นการขยายพันธ์ุโดย รายวิชาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมเพ่ือชวี ิต GESC1104
ธรรมชาติ รวมท้ังทรงใหปลูกปุาตนนํ้าลําธาร โดยทรงเสนอแนวทางปฏิบัติวาปลูกตนไมที่ข้ึนอยูเดิม ดวยการศึกษาวาพืชพันธ์ุไมด้ังเดิมมีอะไรบางแลวปลูกแซมหรือทดแทนตามรายการชนิดตนไม ท่ีได ศึกษามา และใหงดปลูกไมผิดแผกจากถ่ินเดิมโดยไมนําไมแปลกปลอม ตางพันธ์ุตางถ่ินเขามาปลูก ถา หากยงั ไมไดม ีการศกึ ษาอยา งแนช ดั เสยี กอน สําหรับการปลูกปุาทดแทนเป็นอีกวิธีหนึ่งที่ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ได พระราชทานแนวพระราชดําริใหนําไปปฏิบัติเพื่อความอุดมสมบูรณ์ของปุาไม โดยพระราชทาน คําแนะนาํ ใหม ี การปลูกปุาทดแทนตามสภาพภูมิศาสตร์ และสภาวะแวดลอมของพ้ืนที่ที่เหมาะสม ซ่ึง ไดแก การปลูกปุาทดแทนในพื้นที่ปุาไมถูกบุกรุกแผวถางและพื้นท่ีปุาเสื่อมโทรม การปลูกปุาทดแทน ตามไหลเขา บริเวณตนนํ้าลําธาร อางเก็บนํ้า บนยอดเขา รวมท้ังการปลูกปุาเพื่อพัฒนาลุมนํ้าและ แหลงนา้ํ การปลกู ปุาโดยใหร าษฎรเขามา มีสวนรวมและการปลูกปุาเสริมธรรมชาติเพ่ือเป็นการเพิ่มท่ี อยอู าศัยแกส ัตว์ปาุ การปลูกปุา 3 อยาง ประโยชน์ 4 อยาง เพ่ือการพึ่งพาอาศัย การรักษาสมดุลทาง ธรรมชาติ การผสมผสานพืชพันธ์ุเพ่ือการเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน คือ 1) ปุาสําหรับไมใชสอย (ใชสราง บาน) เชน ไมสัก ประดู ชิงชัน ฯลฯ 2) ปุาสําหรับเป็นไมผล (ใชกิน) เชน มะมวง มะขาม กลวย แค ขี้เหลก็ ฯลฯ 3) ปุาสาํ หรบั เป็นเช้อื เพลิง (ใชงาน) เชน ไผ ขอย ไมทําฟืน ไมทําถาน ฯลฯ ปุาหรือสวน ปาุ เหลานีน้ อกจากประโยชนส์ ามอยา งดงั กลาวแลว ประโยชน์อยางท่ี 4 คือ เพ่อื อนรุ ักษ์ดินและน้ําและ คงความชมุ ชื้นไว นอกจากน้ีพระองค์ทานยังเสนอทฤษฎีปูองกันการเส่ือโทรมและพังทลายของดินโดย ใชหญาแฝก พืชมงคลกําแพงธรรมชาติท่ีมีชีวิต ปลูกเพื่อการอนุรักษ์ดินและนํ้า ฟ้ืนฟุความอุดม สมบรู ณข์ องดิน ดดู ซบั สารพษิ ทปี่ นเปอื้ นมากบั น้ํา และปรบั ปรงุ สภาพแวดลอ มใหดีขึ้น 2.5 คลองลดั โพธิ์ เมือ่ วันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ เสด็จพระราช ดําเนิน พรอมดวยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีไปยังประตูระบายนํ้าคลองลัด โพธิ์ เพือ่ ทรงเปิดประตรู ะบายน้าํ คลองลดั โพธิ์ และสะพานภูมพิ ล 1 สะพานภมู ิพล 2 โครงการประตูระบายน้ําคลองลัดโพธ์ิ อันเน่ืองมาจากพระราชดําริ เป็นโครงการที่ กรมชลประทานสนองพระราชดําริในองค์พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ที่พระราชทานพระราชดําริ ใหป รบั ปรุงคลองลัดโพธิ์ บริเวณคุงนํ้าชวงที่ไหลผานเขตพ้ืนที่ ต.บางกระเจา จากเดิมที่มีสภาพต้ืนเขิน มคี วามกวา งเพยี ง 10-15 เมตรใหส ามารถรับปริมาณน้ําไดเพ่ิมข้ึนอีกท้ังยังเป็นทางลัด ของน้ําไหลลงสู ทะเลไดสะดวก รวดเร็วขึ้น โดยชวยลดระยะทางการไหลของแมนํ้าเจาพระยา จาก 18 กิโลเมตร ให เหลือเพียง 600 เมตร รวมทั้งลดเวลาการเดินทางของน้ําจาก 5 ช่ัวโมง ใหเหลือเพียง 10 นาทีเทาน้ัน ทําใหชวยลดผลกระทบจากน้ําลนตล่ิงในกรุงเทพมหานครและ ปริมณฑล จากสภาวะนํ้าเหนือไหล รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ มเพื่อชีวิต GESC1104
หลากในชว งท่ีผานมาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยโครงการน้ีสามารถระบายน้ําออกสูอาวไทยไดเฉล่ีย วันละประมาณ 40 ลา นลกู บาศก์เมตร ภาพที่ 10.3 ประตรู ะบายน้าํ คลองลัดโพธ์ิ (ที่มา: ผูจ ดั การออนไลน์. 2554) นอกจากน้ี ประตูระบายนํา้ คลองลัดโพธ์ิ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ยังมีศักยภาพ ใน ดานการผลิตไฟฟูาดวยพลังน้ําซึ่งกรมชลประทานไดรวมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทําการ ศึกษาและวิจัย โดยการประดิษฐ์กังหันไฟฟูาพลังน้ําไหลตนแบบขึ้นมา 2 แบบ คือ แบบหมุน ตาม แนวแกนและแบบหมุนขวางการไหลโดยใชใบพัดตนแบบที่วิเคราะห์และผลิตข้ึนแบบหมุน ตาม แนวแกนมีเสนผานศูนย์กลาง 2 เมตร และใบพัดแบบหมุนขวางการไหลมีเสนผาศูนย์กลาง 1 เมตร ยาว 2.50 เมตรทค่ี วามเรว็ นํา้ ออกแบบ 2 เมตรตอ วินาทโี ดยออกแบบเป็นกังหันพลังนํ้า อาศัยพลังงาน จลน์จากความเร็วของกระแสนํ้า ติดตั้งบริเวณประตูระบายนํ้าเพื่อผลิตกระแส ไฟฟูาพลังนํ้า ซ่ึงได กําลงั ไฟฟาู สูงสุดท่ี 5.74 กิโลวัตต์ตอวัน 2.6 โครงศึกษาวจิ ัยและพัฒนาส่ิงแวดลอ้ มแหลมผักเบ้ีย อันเน่ืองมาจาพระราชดําริ จังหวัดเพชรบุรี เป็นโครงการที่พระบาทสมเด็จพระ เจา อยหู ัว ทรงเลง็ เห็นวาการบําบัดน้ําเสียและการ ฟื้นฟู ส่ิงแวดลอมใหอยูในสภาพท่ีดีข้ึน โดยอาศัย เทคโนโลยีที่งายราคาถูก ทุกคนทําได ไมสลับซับซอน คาใชจายตํ่าและใชหลักการใหธรรมชาติชวย ธรรมชาติ รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอมเพื่อชีวติ GESC1104
2.6.1 ระบบบอบําบัดน้ําเสีย ระบบนี้ ใชวิธีการพ่ึงพาธรรมชาติ ใหสาหราย สังเคราะห์ดวยแสง เพื่อเติมออกซิเจนใหจุลินทรีย์หายใจ และยอยสลายสารอินทรีย์ในน้ําเสีย บอ บาํ บดั มที ้ังหมด 5 บอประกอบ ไปดวย บอ ตกตะกอน 1 บอ บอ ผึ่ง 3 บอ และบอ ปรับสภาพ 1 บอ ภาพที่ 10.5 ระบบบอบําบดั น้ําเสีย 1บอตกตะกอน 3 บอผ่งึ และ 1 บอปรับสภาพ 2.6.2 ระบบพืชและหญากรองน้ําเสีย ใชพืชและหญาเป็นตัวกรอง นํ้าเสีย แปลงหรอื บอ จะเกบ็ กักน้ําเสีย และปลูกธูปฤาษี กกกลม หญา – แฝกอินโดนีเซียหรือปลูกหญาอาหาร สัตว์ พชื เหลาน้มี คี ณุ สมบตั กิ รอง และดดู ซบั ของเสยี ท่อี ยใู นนา้ํ ภาพท่ี 10.6 บําบดั นาํ เสยี ดว ยระบบพืชและหญา กรองน้ําเสีย 2.6.3 ระบบพื้นที่ชุมน้ําเทียม เป็นระบบทีการจําลองพื้นที่ทางธรรมชาติที่ เปียกชุมหรือพ้ืนท่ีที่มีนํ้าขัง การบําบัดน้ําเสียแบบน้ีใชวิธี การปลอยน้ําเสียผานบอดินต้ืน ๆ ท่ีผานใน รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอมเพื่อชวี ติ GESC1104
แปลงปลูกพืชประเภทกก รากของพืชเหลาน้ีจะชวยดูดซับสารพิษและอินทรีย์สารใหลดนอยลง ยอย สลายใหหมดไปในท่ีสุด ภาพท่ี 10.7 บําบดั นาํ เสียระบบพ้นื ทช่ี ุมน้ําเทียม 2.6.4 ระบบแปลงพืชปุาชายเลน ระบบนี้จะใชหลักการบําบัด จากการเจือจาง ระหวางนํ้าทะเลกับนํ้าเสีย สามารถนําไปประยุกต์ ใชไดกับชุมชนหรือกิจการเพาะเลี้ยงกุงท่ีมีพื้นท่ีติด กับปุาชายเลนได โดยไมจาํ เป็นตองมกี ารสรา งแปลงพชื ปาุ ชายเลน ภาพท่ี 10.8 บาํ บดั นําเสยี ระบบแปลงพชื ปาุ ชายเลน โครงศึกษาวิจัยและพัฒนาส่ิงแวดลอมแหลมผักเบ้ียอันเน่ืองมาจาพระราชดําริ จังหวดั เพชรบรุ ี นบั เปน็ ตน แบบการบําบัดน้ําเสียที่เรยี บงายเพราะอาศยั วิธีธรรมชาติ ซึ่งสามารถแกไข ปัญหาน้ําเสยี ไดเป็นอยางดี ทั้งยังไดท รัพยากรปุาชายเลนอนั ทรงคุณคากลบั คืนมา รายวิชาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมเพ่ือชีวติ GESC1104
2.7 โครงการชง่ั หัวมันตามพระราชดาริ โครงการช่ังหวั มันตามพราชดาํ ริ ตัง้ อยูใน อําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี เกิดขึ้นจาก ความเอาพระทัยใสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ท่ีทรงมีตอเกษตรกรในการท่ีจะพัฒนาสงเสริม อาชีพเกษตรกรรมให ประสบความสําเร็จและสามารถเล้ียงดูตัวเองและครอบครัวไดอยาง ยั่งยืน ประวตั ิทม่ี าของโครงการนี้ เริ่มตอนท่ตี อนพระองค์ทา นประทับอยู ณ วังไกลกงั วลแลวมีชาวบานนํามัน เทศมาถวาย ชวงนั้นพระองค์ตองเสด็จกลับกรุงเทพเลยรับส่ังให เจาหนาท่ีนําหัวมันเทศนั้นไปวางไว บนตาช่ังในหองทรงงานจากน้ันก็เสด็จกลับกรุงเทพ เวลาลวงเป็น เดือน เม่ือเสด็จกลับมาหัวหินทรง พบวา มนั เทศน้นั ไดแ ตกใบ เลยตรัสวา “มัน อยูที่ไหนก็ข้ึน” ดังนั้นจึงมีพระราชดําริใหจัดหาท่ีดิน เพื่อ ทาํ โครงการดา นการเกษตร ปี พ.ศ. 2551 ก็ไดซ ื้อทด่ี นิ จํานวน 120 ไร และตอมาในกลางปี 2552 ทรง ซ้ือที่ดินแปลงติดกันเพ่ิมอีก ณ บานหนองคอไก ตําบลเขากระปุก อําเภอทายาง จังหวัดเพชรบุรี จํานวน 250 ไรเพื่อพัฒนาเป็นศูนย์รวบรวมพืชเศรษฐกิจนานาชนิด เพ่ือเป็นแนวทางใหกับเกษตรกร โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีอําเภอทายางจังหวัดเพชรบุรี ท่ีมีพื้นที่คอนขางแหงแลง ทรงพระราชทานพันธุ์ มันเทศ ซึ่งงอกออกมาจากหัวมันท่ีต้ังโชว์ไวบนตาช่ังในหองทรงงานท่ีวังไกลกังวล ใหนํามาปลูกไวที่ ที่ดินแปลงน้ีพระราชทานชื่อโครงการวา “โครงการช่ังหัวมัน ตามพระราชดําริ” โดยพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหวั ไดเ สดจ็ พระราชดําเนนิ มาเยย่ี มโครงการน้ีดว ยพระองค์เอง มีพระตําหนักทรงงานท่ีตั้งอยู ภายในโครงการเป็นบานไมสองช้ันเรียบงายที่ใชทรงงานและพักผอนพระอิริยาบถเม่ือคร้ังเสด็จเยี่ยม โครงการน้ี รวมถงึ รถทีท่ รงใชท รงงานก็จอดอยูภายในบริเวณพระตาํ หนักดว ย เนื้อที่ภายในโครงการกวางไกลตั้งอยูทามกลางหุบเขา ในพ้ืนที่แหงนี้ สภาพเดิม โดยท่ัวไปแหงแลงเจาของเดิมปลูกตนยูคาลิปตัสตัดไมขาย มีแปลงปลูกมะนาวเดิมอยูประมาณ 35 ไร แปลงออ ยประมาณ 30 ไร การพฒั นาพื้นท่สี วนทเ่ี ป็นแปลงยคู าลิปตัสทงั้ หมด แตปัจจุบันได จัดสรรทํา การเกษตรเป็นอยางดี มีทั้งแปลงพืชเศรษฐกิจที่ปลูกหลายชนิด อาทิ สับปะรด มะนาว มะพราว รวมทั้งมันเทศ นอกเหนือจาก พืชเศรษฐกิจในพื้นท่ี ก็ยังมีการปลูกไมผล พืชไร และพืชผักตางๆ อาทิ แกวมงั กร ชมพูเพชร กลว ย ฟักทอง กะเพรา โหระพา พรกิ ฯลฯ มแี ปลงปลูกขาว ทั้งขาวเจาและขาว เหนียว ปลกู ยางพารา โดยท้ังหมดนี้จะเนนไมใหมีการใชสารเคมี หรือหากตองใชก็ตองมีในปริมาณ ท่ี นอยที่สุด มีฟาร์มโคนม ฟาร์มไก และแปลงเกษตรที่จัดเป็นสวยสวยใหคนที่แวะมาเยี่ยม ชม นอกจากนี้ ไดสรางกังหันลมผลิตไฟฟูาขาย ใหกับการไฟฟูาสวนภูมิภาค โดยมหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และบริษัท พระพายเทคโนโลยี จํากัด รวมกันออกแบบติดตั้ง กังหันลม และระบบจาํ หนายไฟฟูาจํานวน 20 ชุด ขนาดกําลังผลิตรวม 50 KW ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ บางสวนจากกองทพั บก และไดรบั พระราชทานววั นมจากโครงการสว นพระองค์สวนจติ รลดามาเล้ียงไว รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ มเพื่อชวี ิต GESC1104
ที่นี่ โดยใชพื้นท่ีใตกังหันลมเป็นพื้นที่ปลูกหญาสําหรับ เลี้ยงวัว ดานหนามีรานโกลเดนท์เพลสซ่ึงเป็น รานขายสนิ คาทางการเกษตรแบบปลอดสารพิษรวมถงึ ผลติ ภณั ฑ์ตา งๆ ของโครงการ ภาพที่ 10.9 ทางเขาโครงการชง่ั หัวมนั 2.8 เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระราชดํารัสชี้แนะ แนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ปี ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณ์ ทางเศรษฐกิจ ตอมาภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไขเพ่ือใหรอดพนวิกฤตการณ์ และสามารถ ดาํ รงอยูไดอยางมั่นคงยั่นยืนภายใตกระแสโลกาภิวัฒน์และการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ (สุนทร กุลวัฒนวร พงศ.์ 2544: 55-72) โดยคําวา ปรัชญา ในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความหมายลุมลึกมากกวา “แนวคิด” กลาวคือ มีความหมายกวางถึง “ปัญญา-ความรูทั่ว” ดังพระบรมราโชวาท ปี พ.ศ.2522 ตอนหน่ึงวา “ความรูชัดที่เกิดจาความฉลาด สามารถคิดพิจารณาอยางถูกตองแยบคายตามเหตุ ตาม ผล” เศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ปรัชญาชถี้ ึงแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชน ทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ท้ังในการพัฒนาและบริหารประเทศให ดําเนินไปในทางสายกลางโดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให กาวทันโลกยุคโลกาภิวัฒน์ ความ พอเพียงหมายถงึ ความประมาณ ความมีเหตุมีผล รวมทั้งความจําเป็นท่ีจะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัว ที่ดีพอสมควรแกการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปล่ียนแปลงท้ังภายนอกและภายใน ท้ังน้ี จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาตาง ๆ มาใชใน การวางแผนและการดําเนินการทุกข้ันตอนขณะเดียวกัน ก็จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนใน ประเทศ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี และ นักธุรกิจทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความ รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอมเพื่อชวี ิต GESC1104
ซ่ือสัตย์ สุจริต และใหมีความรอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และมีความรอบคอบ เพอ่ื ใหสมดุลและพรอมรับความเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วแลวกวางขวางทั้งดาน วัตถุ สงั คม สงิ่ แวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดอยา งดี เทคโนโลยีตางๆ ที่พระองค์ทรงคนคิด ลวนเป็นเทคโนโลยีที่ใชวัตถุดิบในประเทศ เพ่อื การแกปัญหาวิกฤตตา งๆ ท่ีเกิดขนึ้ ในประเทศ เชน ปัญหาฝนแลง ก็ทรงทําฝนหลวง ปัญหานํ้าเสีย ทรงประดิษฐก์ ังหนั ชยั พฒั นา ปัญหาน้ํามันขาดแคลน ทรงใชแนวคิดการใชพลังงานทดแทน ปัญหาปุา เสื่อมโทรม ก็ทรงเนนทฤษฎีการปลูกปุา เพ่ือใหพสกนิกรของพระองค์พ่ึงพาตนเองได มีความเป็นอยู อยางพอเพยี ง ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดงั คําที่วา “เทคโนโลยีกาวหนา ดวยพระเมตตาทรง คดิ คน ” 3. พ่ึงพาตน ชาติพ้นวกิ ฤต ดว้ ยแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียงน้ีขอยํ้าวา เป็นท้ังเศรษฐกิจหรือความประพฤติ ท่ีทําอะไรเพ่ือใหเกิดผล โดยมเี หตแุ ละผล คอื เกดิ ผลนัน้ มาจากเหตุ ถา ทําเหตุท่ีดี ถาคดิ ใหดี ใหผลท่ีออกมาคือ สิ่งท่ีติดตามเหตุ การกระทําก็จะเป็นการกระทําที่ดี และผลของการกระทําน้ัน ก็จะเป็นการกระทําที่ดี ดีแปลวามี ประสิทธิผล ดีแปลวามีประโยชน์ ดีแปลวาทําใหมีความสุข” พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจาอยูหัว ท่ีพระราชทานแกคณะบุคคลตางๆ เขาเฝูาถวายพระพรชัยมงคล เนื่องในวโรกาส วันเฉลิม พระชนมพรรษา 5 ธันวาคม ณ ศาลาดุสติ ดาลัย สวนจิตรลดา เมื่อวนั ที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2543 พระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั พระราชทานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ช้ีแนวทางการพัฒนาท่ี มุงเนนความสมดุล องค์รวมและยั่งยืน โดยเนนหลักความพอประมาณและมีภูมิคุมกันท่ีดี พอท่ีจะ ตานทานและลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงตางๆ อยางรวดเร็วอันเน่ืองมาจากกระแส โลกาภิวัตน์ ปรัชญาดังกลาว ซึ่งเนนแนวทางเดินสายกลาง ทําให สหประชาชาติ มีปณิธานมุงม่ัน พัฒนาคนใหประชาชนเป็นเปูาหมายศูนย์กลางในการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตท่ีดีและย่ังยืน ตอไป ซ่ึง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา อธิบายหลักการสําคัญของเศรษฐกิจ พอเพียงไว 3 ประการคือ 1. ความพอประมาณ คือ ความพอดี ไมนอยเกินไป และไมมากเกินไป โดยไม เบยี ดเบยี นตนเองและผูอ่นื เชน จะผลิตจะบริโภค กใ็ หอยใู นระดบั พอประมาณ 2. ความมีเหตุผล การตัดสินใจเก่ียวกับระดับความพอเพียง ตองเป็นไปอยางมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เก่ียวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อยางรอบคอบ รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดลอ มเพ่ือชีวติ GESC1104
3. การสรางภูมิคุมกันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรียมพรอมท่ีจะรับผลกระทบและการ เปลย่ี นแปลงดานตา งๆ ทีเ่ กดิ ข้นึ โดยคํานึงถึงความเป็นไปไดของสถานการณ์ตางๆ ท่ีคาดวาจะเกิดขึ้น ในอนาคตทั้งใกลแ ละไกล อยางไรก็ดี ดร.สเุ มธ เนนยา้ํ วาตองตง้ั อยูบนฐานคณุ ธรรมและจริยธรรม จากแนวคิดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งดงั กลาว สามารถนํามาสูภาคปฏิบัติไดไมยาก เราทุกคน ทําได โดยเริม่ ตน ที่ตัวเราเองกอน ดว ยการปรับเปลีย่ นแนวคดิ ในการดําเนินชีวิตแบบเดิม ใหสอดคลอง กบั หลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ไดดังน้ี การพ่ึงพาตนเอง ยึดหลักการเพิ่งพาตนเอง 5 ประการไดแก 1. ดานจิตใจ ทําตนใหเป็นท่ี พึ่งต นเ อง มีจิ ตสํา นึก ที่ดี 2 . ดาน สัง คม สร าง เครื อข ายสั งค มท่ี เขม แข งเกื้ อกู ลกั น 3. ดานทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ใหยึดหลักการอนุรักษ์ คือการใชทรัพยากรอยางฉลาด เพ่อื ใหเกดิ ความยงั่ ยืน 4. ดา นเทคโนโลยี ใหพัฒนาเทคโนโลยีใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมและภูมิ ปัญญาทองถ่ิน 5. ดานเศรษฐกิจ ใหย ดึ หลกั พออยู พอกนิ พอใช ความพอประมาณ ยึดหลักการประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุกดาน ลดละความฟุมเฟือย ในการดํารงชีวิต อยางจริงจัง รูจักคําวา “พอ” และไมเบียดเบียนผูอ่ืน ไมหลงระเริงไปกับคานิยม ใหมๆ กลับมาใชชีวิตแบบวิถีไทย เชน เลิกการบริโภคอาหารฟุมเฟือย ที่เราตองจายแพง เพ่ือเป็น คาลิขสิทธิ์ตางๆ หันมาบริโภค ขาวแกง น้ําพริกปลาทูแบบไทยๆ ที่ใหคุณคาครบถวนและไมเป็น อันตรายตอ สขุ ภาพ หรอื แมแ ตว ัตถุนยิ มตางๆ เชน รถยนต์ หันมาใชขนาดเหมาะสมกับครอบครัว เพื่อ เปน็ การประหยดั พลงั งาน ไมควรยดึ ติดกับรถคันใหญ โกห รู เป็นตน และการกระทําทุกอยางของความ พอประมาณจะตอ งอยูบนรากฐานของความพอดี ไมทาํ ใหผ ูอ่นื เดือดรอน การสร้างระบบภูมิคุ้มกันในตัว เรื่องนี้เป็นเรื่องสําคัญย่ิง ที่จะใหทุกคนตองปฏิบัติ เปรียบ เหมือนกับเราตอ งฉดี วคั ซีนปูองกนั โรค เพื่อใหรางกายสรา งภูมคิ มุ กนั เมือ่ ถึงการระบาดของโรค เราก็มี ภูมคิ ุม กันตวั เอง ใหป ลอดภยั จากโรคน้ันๆ ได เชนเดียวกนั นี้ เราจะทําอยางไรใหมีความสุขบนรากฐาน ของความพอเพยี ง เราจึงตองสรางภูมิคุมกันใหต วั เราเอง คือการพยายามพัฒนาตนเอง เพื่อสรางความ เขมแข็งและความชํานาญใหตนเอง อยางตอเน่ือง ซ่ึงทําไดโดยการแสวงหาความรู ใหเกิดมีรายได เพิ่มพูน จนถึงข้ันพอเพียง และสามารถพ่ึงพาตนเองได และส่ิงที่สําคัญยิ่ง ก็คือการจะตองประกอบ อาชีพ โดยถกู ตอง ซื่อสตั ย์และสจุ ริต ซึ่งเปน็ คณุ ธรรมทห่ี าไดย ากในสังคมปัจจุบัน ถึงเวลาแลวที่เราทุก คนจะตองพยายามปลูกฝังในเรื่องของความซื่อสัตย์สุจริตใหเกิดขึ้นในสังคมเรา โดยการปฏิบัติตนให เป็นแบบอยาง และพยายามปรับเปลี่ยนแนวคิดใหม ที่สังคมไทยในปัจจุบัน ยกยองผูมีฐานะทาง การเงิน โดยมิไดคํานึงวาจะไดมาดวยวิธีการใด หรือสังคมยกยองเด็กท่ีเรียนเกง ท่ีไดเกรด เอ ซ่ึงเขา รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอมเพ่ือชีวติ GESC1104
ไดมาดวยวิธีการท่ีไมซื่อสัตย์สุจริต เชนน้ีแลวสังคมเราจะไมเป็นสุข เพราะคนเกง รวย แตไมซื่อสัตย์ เปน็ อนั ตรายตอประเทศเป็นอยางมาก การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นหลักพัฒนานั้น ตองไมรีบรอน รีบทํา และตองไมทํา ใหใหญที่ยอด เชน รีบเรงกําหนดนโยบาย คิดสรางโครงการใหญโต จัดสรรงบประมาณจํานวนมาก เรงรัดส่ังการโดยมีไดเตรียมการสรางพ้ืนฐานท่ีมั่นคงรองรับ อาทิ ความรูความเขาใจและสํานึกใน คุณธรรมและจริยธรรมใหพรอมที่จะนอมนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติไดอยางตอเน่ือง มี สัมฤทธิผลตอสังคมอยางยั่งยืนไดจริง เม่ือรีบเรงทําโดยไมทําการสรางพ้ืนฐาน ผลที่เกิดข้ึนจะเป็น เชนเดียวกับหลาย ๆ โครงการท่ีรัฐและหนวยงานตาง ๆ นําสูชุมชน คือ เกิดความลมเหลวเพราะการ ทุจริตคดโกง หรือไดผลในลักษณะผักชีโรยหนา เพียงไดชื่อวา ไดมีการทําโครงการนั้น ๆ แตแทจริง มิไดเกิดประโยชน์คุมคาใด ๆ การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาสูภาคปฏิบัติ จึงจําเป็นตองเริ่มตนท่ี การ “ระเบดิ จากขา งใน” สรางพน้ื ฐานใหม ัน่ คง ภาพที่ 10.10 หลักการสาํ คัญของแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง บทสรุป ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็นท่ีจะตองมี ระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอการมีผลกระทบใดๆอันเกิดจากการเปล่ียนแปลงทั้งภายนอก และ ภายในความพอเพียง (Sufficiency) จะตองประกอบดวย 3 คุณลักษณะ พรอมๆกัน ไดแก ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และภูมิคุมกันในตัวที่ดี กลาวคือ กิจกรรมใดๆท่ีขาดคุณลักษณะใด คุณลักษณะหนึ่งไปก็จะไมสามารถเรียกไดวาเป็นความพอเพียง ดังน้ันจําเป็นท่ีจะตองสรางภูมิคุมกัน รายวชิ าทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มเพ่ือชวี ติ GESC1104
ของสงั คมเรา หรือลูกหลานของเรา ใหมีความพอเพียง พอประมาณ มีเหตุมีผล สามารถพึ่งพาตนเอง ได และสําคญั ยิง่ คือตองมคี วามซ่ือสัตย์ สุจริต มีความเมตตา เอ้อื อาทร และความสามัคคีของทุกคนใน ชาติ ไมวา กระแสโลกจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไร ดังน้ันถาทุกคนในชาตินอมนําเอากระแสพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวทางการดําเนินชีวิตสวนตน จนเป็นรากฐานของสังคมไทยแลว เชื่อวา ประเทศไทยเราก็จะอยูอยางสงบสุขรมเย็น ดังพระราชดํารัสตอนหนึ่งวา “คนเราถ้าพอเพียง ในความต้องการ มันก็มีโลภน้อย เมื่อมีโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าประเทศใดมีความคิด อันน้ี มคี วามคดิ ว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความว่าพอประมาณ ซือ่ ตรงไม่โลภมาก คนเราก็อยู่ เป็นสุข” ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดท่ีวา เศรษฐกิจพอเพียง เคียงคูไทย กาวไกลดวยวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อชวี ิต GESC1104
กิจกรรมท่ี 10 สง่ิ แวดลอ้ มกับความพอเพียง 1. หลักการ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นเรื่องที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีแนวพระราชดําริมาต้ังแต ปี พ.ศ.2517 ดงั ทจี่ ะเหน็ ไดจ ากกระแสพระราชดํารัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลา ดุสดิ าลัย สวนจติ รลดา เมอ่ื วันที่ 4 ธันวาคม 2517 มใี จความตอนหนง่ึ วา “...คนอืน่ จะว่าอยา่ งไรกช็ า่ งเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัยเมอื งไทยเชย วา่ เมอื งไทยไม่มสี งิ่ ที่ สมยั ใหม่ แต่เราอยู่พอมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาท่ีจะใหเ้ มืองไทยพออยู่พอกินมีความ สงบและทางาน ตง้ั จติ อธิษฐานตั้งปณิธานในทางนี้ทีจ่ ะให้เมืองไทยอยูแ่ บบพออยู่พอกนิ ไม่ใช่ว่าจะ รงุ่ เรอื งอยา่ งยอด แตว่ า่ มีความพออยู่พอกิน มีความสงบเปรยี บเทียบกับประเทศอ่ืนๆ ถา้ เรารักษา ความพออยู่พอกนิ ได้ เราก็จะยง่ิ ยอดได้...” 2. จดุ ประสงค์ 2.1 เพ่อื ใหเขาใจความหมายแนวคิดเกี่ยวกบั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 ยกตวั อยางแนวพระราชดาํ ริ การแกไขทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมอยางนอย 3 ชนิด 2.3 นําเสนอโครงการพระราชดําริ เพอ่ื การพัฒนาอยา งยง่ั ยืน กลมุ ละ 1 โครงการ 3. วิธีปฏิบัตกิ จิ กรรม 3.1 ศกึ ษาจากเอกสาร 3.2 แบง กลุมนักศึกษาใหไปคดิ คน ควา เก่ียวกบั โครงการพระราชดาํ ริ 3.3 จัดทาํ โปสเตอร์เก่ยี วกับ ในหลวงกบั การอนุรักษส์ ่ิงแวดลอ ม 3.4 นาํ เสนอและอภปิ รายรว มกัน 4. ผลการศึกษา 4.1 โปสเตอร์จัดทําเรื่องอะไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4.2 โครงการพระราชดําริทท่ี านประทับใจ มีอะไรบาง บอกมา 3 ชนิด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… รายวชิ าทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ มเพื่อชีวติ GESC1104
5. คาถาม 5.1 ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง มแี นวคดิ สาํ คญั อะไรบาง ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………… ……………………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………….……………………………………………………………………………………………………….……… 5.2 นักศึกษาสามารถนําปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยุกตใ์ ชในชีวติ ประจาํ วันไดอยา งไร จงยกตวั อยา งมา 1 ตัวอยา ง ……………………………………………………………………………………………………….……………………………………… ……………………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………….……………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………….…………………………………………………… ………………………………………………….………………………………………………………………………………… เอกสารอา้ งองิ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. (30 พฤษภาคม 2559). พระปรีชาสามารถราษฎร์ประจักษ์. http://www.thairoyalrain.in.th/intelligence/intelligence_4.php) ผูจัดการออนไลน์. (4 ธันวาคม 2554). “คลองลัดโพธิ์” คลองแห่งพระมหากรุณาธิคุณ กันภัยน้า ทว่ ม. http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=954000013983 มูลนิธิชัยพัฒนา. (3 สิงหาคม 2559). กังหันน้าชัยพัฒนา. http://www.chaipat.or.th/site_ content/19-248/18-chaipattana-water-turbine-development.html. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นาน มบี คุ฿ สพ์ ับลิเคชั่น. สุนทร กุลวัฒนวรพงศ์ .(2544). ตามรอยพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียง-ทฤษฎีใหม่.กรุงเทพฯ: ชมรมเดก็ จดั พมิ พ์. สํานักขา วเจาพระยา. (30 พฤษภาคม 2559). “สถาบนั พระมหากษัตริย์” คือศูนยร์ วมจิตใจของคน ไทย. http://www.chaoprayanews.com. รายวิชาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอมเพ่ือชวี ิต GESC1104
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155