Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือ เกษตรผสมผสาน อช02015

หนังสือ เกษตรผสมผสาน อช02015

Published by สุทัศน์ อินทะรังษี, 2021-10-15 04:58:17

Description: หนังสือ เกษตรผสมผสาน อช02015

Search

Read the Text Version

การเกษตรผสมผสาน อช02015 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอท่งุ ชา้ ง

คาแนะนาการใชช้ ดุ การเรยี น วชิ าการเกษตรผสมผสาน สาหรบั นกั ศกึ ษาการศกึ ษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ชดุ การเรยี น วชิ ากาเกษตรผสมผสาน ประกอบดว้ ย 1) เนอื้ หาการเรยี นรู้ 2) ใบงาน/แบบฝกึ กจิ กรรม 3) แบบทดสอบกอ่ นเรยี น / หลงั เรยี น คาอธิบายรายวชิ า อช0215 การเกษตรผสมผสาน สาระการประกอบอาชพี ระดบั ประถมศกึ ษา/มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ /มธั ยมศกึ ษาตอน ปลาย จานวน 2 หนว่ ยกติ (80 ช่ัวโมง) มาตรฐานท่ี 3.1 มีความรู้ ความเขา้ ใจ และเจตคติทดี่ ใี นงานอาชพี มองเหน็ ชอ่ งทาง และตดั สนิ ใจประกอบอาชพี ไดต้ ามความตอ้ งการและศกั ยภาพของตนเอง 3.2 มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ ทกั ษะในอาชีพที่ตดั สนิ ใจเลอื ก 3.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจดั การอาชพี อยา่ งมคี ณุ ธรรม ศกึ ษาและฝกึ ทักษะเกยี่ วกบั เรอื่ งตอ่ ไปน้ี ชอ่ งทางและการตดั สนิ ใจเลอื กประกอบอาชพี เกษตรผสมผสาน ลักษณะและ ความสาคญั ของการเกษตรแบบผสมผสาน หลกั การและวธิ กี ารของการเกษตรแบบ ผสมผสาน การจดั ระบบปลกู พชื และเลยี้ งสตั วท์ สี่ อดคลอ้ งและเกอ้ื กลู ซง่ึ กนั และกนั การใชแ้ รงงาน ทนุ ท่ดี นิ และทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ การนาวสั ดเุ หลอื ใชจ้ าก การผลติ มาใชป้ ระโยชน์ ลักษณะและคณุ สมบตั ทิ ดี่ ขี องผปู้ ระกอบอาชีพ การจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ 1. วางแผนการเรยี นรู้ 2. ศึกษาจากเอกสาร หนงั สอื และสอ่ื อนื่ ๆ เชน่ วีดโี อ เทปบรรยาย สไลด์ เป็นตน้ 3. เชญิ ผปู้ ระสบผลสาเรจ็ ในอาชพี มาบรรยาย สาธิต แลกเปลย่ี น ประสบการณ์ รว่ มกนั 4. ศกึ ษาดงู าน หรือฟารม์ ของรฐั เอกชน ชาวบ้าน ทีด่ าเนนิ กจิ การการเกษตรแบบ ผสมผสาน 5. รวมกลมุ่ อภปิ รายปญั หา และหาแนวทางพฒั นา ติดตามผล และแกไ้ ขปญั หารว่ มกนั 6. ปฏิบตั กิ ารจดบนั ทกึ เปน็ องคค์ วามรู้ และทาโครงการประกอบอาชีพ

การวดั และประเมนิ ผล 1. แบบทดสอบ 2. รายงาน 3. ใบงาน 4. แผนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ หลกั ฐานการประเมนิ คะแนน 1. แบบทดสอบกลางภาค 20 คะแนน 2. รายงาน 10 คะแนน 3. บันทึกการเรยี นรู้ 10 คะแนน 4. บันทกึ การฝกึ ทกั ษะการเรยี นรู้ 10 คะแนน 5. แฟม้ สะสมงาน 10 คะแนน 6. สอบปลายภาค 40 คะแนน

รายละเอยี ดคาอธิบายรายวชิ า อช0215 การเกษตรผสมผสาน สาระการประกอบอาชพี ระดับประถมศกึ ษา/มธั ยมศกึ ษา ตอนต้น/มัธยมศกึ ษาตอนปลาย จานวน 2 หน่วยกติ (80 ชัว่ โมง) มาตรฐานท่ี 3.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และเจตคตทิ ดี่ ใี นงานอาชพี มองเหน็ ช่องทาง และตดั สนิ ใจประกอบอาชพี ไดต้ ามความตอ้ งการและศกั ยภาพของตนเอง 3.2 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ทักษะในอาชพี ทีต่ ดั สนิ ใจเลอื ก 3. 3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชีพอยา่ งมคี ณุ ธรรม 1. ชอ่ งทาง และการตดั สนิ ใจเลอื กประกอบอาชพี เกษตรผสมผสาน อธบิ ายชอ่ งทาง และการตดั สนิ ใจเลอื กประกอบอาชพี เกษตรผสมผสาน วเิ คราะหค์ วามเป็นไปได้ จากข้อมลู ดงั นี้ 1. ข้อมลู ตนเอง 2. ขอ้ มลู ทางวชิ าการ 3. ข้อมลู ทางสงั คม สงิ่ แวดลอ้ ม 2. การเกษตรผสมผสาน ลกั ษณะและความสาคัญ ของการเกษตรแบบ ผสมผสาน หลักการและวธิ กี ารของการเกษตรแบบผสมผสาน การ จัดระบบการปลูกพชื และเลยี้ งสตั วท์ ส่ี อดคลอ้ งและเกอ้ื กลู ซึ่งกนั และกนั การใชแ้ รงงาน ทุน ทด่ี นิ และทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ การนาวสั ดุ เหลอื ใชจ้ ากการผลติ มาใชป้ ระโยชน์ การคิดราคา การจดั จาหนา่ ยผลผลิต ลักษณะและคณุ สมบตั ทิ ดี่ ี ของผู้ประกอบอาชพี

ตอนที่ 1 ช่องทางและการตดั สินใจ กระบวนการคิดเปน็ การวิเคราะหแ์ ละการตดั สินใจแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการคิดเป็น ตอนท่ี 1 ชอ่ งทาง และการตดั สนิ ใจ กระบวนการคิดเปน็ “คิดเป็น” เป็นกระบวนการคิดทีเ่ กดิ ขน้ึ จากหลักการและแนวคิดของ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ ซ่งึ เปน็ นกั การศึกษาไทย และอดีตอธิบดกี รมการศกึ ษานอกโรงเรียน และ อดีตปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ อนุ่ ตา นพคุณ (อ้างอิงจากชวี ติ พ่อเลา่ : ดร.โกวิท วรพิพฒั น.์ 2544 : 651 – 652) กลา่ วถึงแนวคดิ เรอื่ ง “คิดเปน็ ” ว่าไดน้ ามาใช้ในวง การศึกษานอกโรงเรยี น แล้วนามากาหนดเปน็ จดุ มุ่งหมายที่สาคัญของการศึกษาไทย ทกุ ระดับและใช้เร่อื ยมาจนถึงปัจจุบนั โดยนักการศึกษาไทยหลายท่านพยายามนา เรอื่ ง “การคิดเปน็ ” มาพฒั นาการจัดการศกึ ษาไทย และสรา้ งเอกลักษณ์ความเป็นไทย จนเปน็ ที่ยอมรบั และเกิดเป็นเป้าหมายของการจดั การศึกษาไทยท่ีวา่ “การจัดการ ศึกษาต้องการสอนคนให้ คดิ เป็น ทาเปน็ แกป้ ญั หาเปน็ ” การคิดเปน็ ของ ดร.โกวทิ วรพพิ ฒั น์ เปน็ กระบวนการคดิ และตดั สินใจแก้ปญั หาด้วยการใชข้ อ้ มลู 3 ดา้ น ได้แก่ ข้อมลู ตนเอง ข้อมลู สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม และข้อมูลวิชาการมาประกอบการคิด และตัดสนิ ใจ

หลกั การของการคดิ เป็นมนษุ ย์ควรจะใชข้ ้อมลู อย่างน้อย 3 ด้านคอื ข้อมลู ตนเอง ซง่ึ เป็นขอ้ มูลเกีย่ วกับตนเอง ทง้ั ทางดา้ นกายภาพ สขุ ภาพ อนามัย ด้านจิตใจและความพรอ้ มต่าง ๆ ข้อมลู สงั คม ซ่ึงเปน็ ข้อมลู เก่ยี วกบั สภาพแวดล้อมครอบครวั สังคม วัฒนธรรม ความเช่ือ ประเพณี ค่านิยมตลอดจนกรอบคุณธรรม จรยิ ธรรม ข้อมลู วิชาการ คอื ความรูท้ ่เี ก่ยี วขอ้ งกบั เร่อื งที่ต้องคิด ตัดสนิ ใจนน้ั ๆ วา่ มหี รอื ไม่ เพียงพอ ทจี่ ะนาไปใช้หรอื ไม่ การใชข้ ้อมลู อยา่ งรอบด้านนจ้ี ะชว่ ยให้การคดิ ตดั สินใจเพอ่ื แสวงหาความสุขของมนุษย์เปน็ ไปอย่างรอบคอบ เรยี กวิธีการคดิ ตดั สินใจนว้ี า่ “คิดเปน็ ” และเป็นความคดิ ทม่ี พี ลวตั คอื ปรบั เปลยี่ นได้เสมอ เมอ่ื ขอ้ มลู เปล่ียนแปลงไป เป้าหมายชวี ิตเปลี่ยนไป

กระบวนการคดิ เปน็ กระบวนการคดิ เป็นอาจจาแนกใหเ้ ห็นข้นั ตอนตา่ ง ๆ ท่ีประกอบกันเขา้ เป็น กระบวนการคดิ ไดด้ ังนี้ ข้ันท่ี 1 ขน้ั สารวจปัญหา เมอ่ื เกิดปญั หา ยอ่ มต้องเกิดกระบวนการคดิ แก้ปัญหา น่นั คือการรบั รู้ปญั หาทีก่ าลังเผชญิ อยู่และคดิ แสวงหาทางแก้ปัญหาน้ัน ๆ ขัน้ ที่ 2 ขั้นหาสาเหตขุ องปัญหา เปน็ การศึกษารวบรวมขอ้ มูลเกี่ยวกบั ปญั หาเพอื่ ทา ความเขา้ ใจปัญหา และสถานการณ์นนั้ ๆ จาแนกข้อมลู ออกเป็น 3 ประเภทคอื ข้อมลู สงั คม : ได้แก่ข้อมลู เกี่ยวกบั สภาพแวดล้อมทอี่ ยรู่ อบๆ ตวั ปญั หาสภาพสงั คม ของแต่ละบุคคล ตัง้ แต่ครอบครวั ชุมชนและสงั คมทงั้ ในแงเ่ ศรษฐกจิ การเมือง การปกครอง สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี ความเชอ่ื คา่ นยิ ม เปน็ ตน้ ข้อมลู ตนเอง : ได้แกข่ อ้ มลู เกย่ี วกบั ตวั บคุ คล ซึ่งจะเป็นผตู้ ดั สินใจ เปน็ ขอ้ มลู ทงั้ ทางด้านกายภาพ พ้ืนฐานของชวี ติ ครอบครัว อาชพี ความพรอ้ มท้ังทางอารมณ์ จติ ใจ เป็นตน้ ขอ้ มลู วชิ าการ : ไดแ้ กข่ อ้ มลู ด้านความรใู้ นเชงิ วิชาการท่จี ะชว่ ยสนบั สนนุ ในการคิด การดาเนนิ งาน ยงั ขาดวิชาการความรูต้ ่างๆ ทเ่ี กี่ยวข้องกับปญั หาในเรอื่ งใดบา้ ง ข้ันท่ี 3 ขน้ั วิเคราะห์ หาทางแกป้ ัญหา เปน็ การวเิ คราะห์ทางเลอื กในการแก้ปญั หา หรอื การประเมนิ ค่าขอ้ มูลทั้ง 3 ดา้ น คอื ข้อมูลดา้ นตนเอง สงั คม วิชาการ มาประกอบในการวเิ คราะห์ ช่วยในการคดิ หาทางแก้ปญั หาภายในกรอบแหง่ คุณธรรม ประเดน็ เด่นของขนั้ ตอนนคี้ อื ระดับของการตัดสนิ ใจทจ่ี ะแตกตา่ งกันไป แตล่ ะคนอันเป็นผลเน่อื งมาจากขอ้ มูลในข้ันที่ 2 ความแตกตา่ งของตดั สนิ ใจ ดงั กลา่ วมุ่งไปเพอ่ื ความสุขของแต่ละคน ขั้นที่ 4 ข้นั ตัดสินใจ เมื่อได้ทางเลือกแล้วจงึ ตัดสนิ ใจเลือกแกป้ ญั หาในทางทีม่ ี ขอ้ มูลตา่ งๆ พรอ้ มสมบูรณท์ ่ีสดุ การตัดสนิ ใจถอื เปน็ ข้นั ตอนสาคัญของแตล่ ะคนใน การเลือกวิธกี ารหรอื ทางเลือกในการแกป้ ัญหา ขึ้นอยู่กับวา่ ผลของการตัดสนิ ใจน้ัน พอใจหรือไม่ หากไมพ่ อใจก็ต้องทบทวนใหม่

ขัน้ ที่ 5 ขั้นตัดสินใจไปสู่การปฏิบตั ิ เม่อื ตัดสนิ ใจเลือกทางใดแลว้ ตอ้ งยอมรับวา่ เปน็ ทางเลือกท่ีดที สี่ ดุ ในข้อมูลเท่าที่มีขณะน้นั ในกาละนน้ั และในเทศะนัน้ เป็นการ ปฏบิ ตั ิตามสงิ่ ท่ไี ด้คิดและตัดสินใจแลว้ หากพอใจยอมรับผลของการตัดสินใจ มี ความสขุ กเ็ รียกได้ว่า “คดิ เป็น” แต่หากตดั สนิ ใจแล้วได้ผลออกมายังไม่พอใจ ไม่มี ความสุข อาจเป็นเพราะข้อมลู ทมี่ ี ไม่รอบด้าน ไมม่ ากพอ ตอ้ งหาข้อมูลใหมค่ ดิ ใหม่ ตัดสนิ ใจใหม่ แต่ไมถ่ อื วา่ คิดไม่เปน็ ตวั อยา่ ง .... ปราชญ์ชาวบ้าน คณุ ลุงประยงค์ รณรงค์ แหง่ ชมุ ชนบ้านไมเ่ รียงจงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็นตวั อย่างของบุคคลทเี่ ป็นรูปแบบของความหมาย “คิดเปน็ ” ไดอ้ ย่างดี ลงุ ประยงค์ จะมคี วามคิดทีเ่ ช่อื มโยง คิดแยกแยะ ชัดเจน เพื่อหาทาง เลอื กทด่ี ที ส่ี ุดในการนาไปปฏบิ ตั ิ และต้องทดลองความรทู้ หี่ ามาไดก้ ่อนการยืนยัน เสมอ แนวคิดเช่นนที้ าให้ลงุ ประยงค์เปน็ แกนนาสาคัญท่ที าให้ชมุ ชนไมเ่ รยี ง เป็นชมุ ชนตวั อยา่ งหนงึ่ ที่เข้มแข็งมานาน พึง่ พาตนเองได้อยา่ งเหมาะสมพอดกี บั บรบิ ทของตนเอง

ตอนที่ 2 ลกั ษณะและความสาคญั ของเกษตรผสมผสาน ความหมายของระบบการเกษตรผสมผสานและระบบไรน่ าสวนผสม รูปแบบของระบบเกษตรผสมผสาน ปัจจัยและความสาเรจ็ ของระบบการเกษตรผสมผสาน ประโยชนท์ ี่ไดร้ ับของระบบเกษตรผสมผสาน

ตอนที่ 2 ลักษณะและความสาคัญของการเกษตรผสมผสาน ความหมายของระบบเกษตรผสมผสาน และระบบไรน่ าสวนผสม ระบบเกษตรกรรมท่ีจะนาไปสกู่ ารเกษตรยงั่ ยนื โดยมรี ปู แบบท่ี ดาเนินการมลี ักษณะใกล้เคยี งกนั และทาให้ ผู้ปฏบิ ัติมคี วามสบั สนใน การใหค้ วามหมายและวธิ ีปฏบิ ัตทิ ่ีถูกต้อง ได้แก่ระบบเกษตรผสมผสาน และระบบ ไรน่ าสวนผสม ในทนี่ ี้จึงขอใหค้ าจากดั ความรวมท้งั ความหมายของคาทง้ั 2 คา ดังต่อไปนี้ ระบบเกษตรผสมผสาน (Integrated Farming System) เปน็ ระบบ การเกษตรทมี่ กี ารเพาะปลกู พืชหรือการเล้ยี งสัตวต์ า่ ง ๆ ชนดิ อยใู่ นพน้ื ที่เดียวกัน ภายใตก้ ารเก้ือกูล ประโยชน์ต่อกนั และกนั อยา่ งมีประสิทธภิ าพสงู สดุ โดยอาศัย หลกั การอยูร่ วมกนั ระหว่างพืช สตั ว์ และสง่ิ แวดลอ้ มการอย่รู วมกันอาจจะอย่ใู นรูป ความสัมพนั ธ์ระหว่างพืชกบั พชื พืชกับสัตว์ หรอื สตั ว์กับสัตวก์ ็ได้ ระบบ เกษตร ผสมผสานจะประสบผลสาเรจ็ ได้ จะตอ้ งมีการวางรูปแบบ และดาเนนิ การ โดยให้ ความสาคัญตอ่ กจิ กรรม แตล่ ะชนดิ อยา่ งเหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ เศรษฐกจิ สงั คม มกี ารใช้แรงงาน เงนิ ทนุ ท่ีดนิ ปัจจยั การผลิตและ ทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ตลอดจนรูจ้ ักนาวัสดุเหลือใชจ้ ากการผลติ ชนดิ หนึ่งมาหมุน เวียนใช้ประโยชนก์ บั การผลติ อกี ชนิดหนง่ึ กบั การผลิตอีกชนดิ หนึง่ หรือหลายชนดิ ภายในไรน่ าแบบครบวงจร ตวั อย่างกิจกรรมดังกลา่ ว เชน่ การเล้ยี ง ไก่ หรอื สุกรบนบอ่ ปลา การเล้ยี งปลาในนาขา้ ว การเล้ยี งผึง้ ในสวนผลไม้ เป็นต้น ระบบไรน่ าสวนผสม (Mixed/Diversefied/Polyculture Farming System) เป็นระบบการเกษตรทีม่ กี ิจกรรมการผลิตหลาย ๆ กิจกรรมเพอื่ ตอบสนองต่อการ บรโิ ภคหรือลดความเส่ียงจากราคา ผลติ ผลทีม่ คี วามไม่แนน่ อนเท่านั้น โดยมไิ ด้มี การจัดการใหก้ จิ กรรมการผลิตเหล่าน้ันมีการผสมผสานเกอ้ื กลู กันเพอ่ื ลดต้นทุน การผลิต และคานึงถงึ สภาพแวดล้อมเหมอื นเกษตรผสมผสานการทาไร่นาสวนผสม อาจมีการเกอ้ื กูลกันจาก กิจกรรมการผลติ บ้าง แตก่ ลไกการเกดิ ขึน้ นั้นเป็นแบบ “เป็นไปเอง” มิใชเ่ กิดจาก “ความรู้ ความเขา้ ใจ” อยา่ งไร กต็ ามไรน่ าสวนผสม สามารถ พัฒนาความร้คู วามสามารถของเกษตรกรผดู้ าเนินการให้เปน็ การดาเนนิ การใน ลกั ษณะ ของระบบเกษตรผสมผสานได้

รูปแบบของระบบเกษตรผสมผสาน ระบบเกษตรผสมผสานน้ัน ถึงแม้วา่ เกษตรกรจะมกี ารดาเนินการกันมาช้านานแล้วก็ ตามแตล่ กั ษณะของการดาเนนิ การ ยงั มีความแตกต่างกันไป แล้วแต่การจา องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ มาผสมผสานกนั มากนอ้ ยแค่ไหน และผสมผสานในรูป รูปแบบ ใดกต็ ามยังมคี วามหมายหลากหลาย การศึกษารายละเอียดเชงิ วิชาการในด้านนี้ก็ยงั มไี ม่มาก เมอ่ื เปรียบเทยี บ กับการศึกษาในดา้ นกจิ กรรมเดยี่ ว ๆ ไมว่ า่ จะเปน็ พชื สตั ว์ หรอื ปลากต็ าม ฉะนั้นการกาหนดรูปแบบดาเนนิ การเกษตร ผสมผสานกจ็ ะมหี ลาย แบบเชน่ กัน ทั้งนีอ้ าจจะยดึ การแบง่ ตามวิธกี ารดาเนนิ การลักษณะพนื้ ทีก่ ิจกรรมท่ี ดาเนินทรัพยากร เป็นต้น ซึ่งพอทีจ่ ะกลา่ วได้ดังนี้ 1. แบง่ ตามกจิ กรรมท่ีดาเนนิ การอยเู่ ปน็ หลกั 1.1 ระบบเกษตรผสมผสานทยี่ ดึ กิจกรรมพชื เปน็ หลัก ซ่ึงกจิ กรรมทดี่ าเนนิ การนจ้ี ะมี พืชเป็นรายไดห้ ลัก 1.2 ระบบเกษตรผสมผสานทีย่ ึดกจิ กรรมเล้ยี งสตั ว์เป็นหลัก ซง่ึ การดาเนนิ การเลี้ยง สตั ว์จะเป็นรายไดห้ ลกั 1.3 ระบบเกษตรผสมผสานที่ยึดกิจกรรมประมงเปน็ หลัก ซง่ึ จะมีกิจกรรมเล้ียงสัตว์ นา้ เปน็ รายไดห้ ลกั 1.4 ระบบเกษตรผสมผสานแบบไร่นาปา่ ผสมหรอื วนเกษตรเป็นระบบที่มีการจดั การ ปา่ ไมเ้ ปน็ หลกั ร่วมกับการเกษตร ทุกแขนง อาจประกอบด้วยการปลกู พืชเกษตรใน สวนป่า การปลูกพชื เกษตรรว่ มกับการเลี้ยงสัตวใ์ นสวนป่าระบบนมี้ ุง่ หวงั ทจ่ี ะให้เป็น ตัวกลางเพื่อผ่อนคลายความตอ้ งการท่ดี ินเพ่อื การเกษตรกรรมกับความต้องการป่า ไม้ เพอื่ ควบคุมสิ่ง แวดล้อมให้สามารถดาเนนิ ควบคู่กนั ไปโดยคานงึ ถึงสภาพทาง สังคมเศรษฐกิจและวฒั นธรรมประเพณี รวมทัง้ ช่วย พฒั นาความเป็นอยขู่ องราษฎร ท่ีเกี่ยวขอ้ ง ระบบวนเกษตรทด่ี คี วรสามารถเพิ่มการซมึ ซบั นา้ รกั ษานา้ ใตด้ นิ ลดการ สญู เสียดนิ ลกั ษณะพันธพ์ุ ืชที่ใช้ควรเป็นทรงพุม่ เพ่อื ลดความรุนแรงของเม็ดฝนที่ ตกกระทบผวิ ดนิ สามารถรักษาสภาพดุลย์ ของสภาวะแวดลอ้ มให้เหมาะสมกบั พชื ท่ี ปลกู ร่วม เช่น บงั รม่ เงา พายุ ฝน อีกท้ังควบคมุ สภาพความชุ่มชื้นและอุณหภูมิ ใหด้ ี พันธ์ไุ มท้ ีป่ ลูกควรมีรากลกึ พอท่ีสามารถหมนุ เวียนธาตุอาหารในระดับท่ลี ึกข้ึนมาสู่ บรเิ วณผวิ ดิน เป็นประโยชนต์ ่อ พืชรากต้นื ที่ปลูกรว่ ม โดยรวมท้ังระบบควรให้ ผลตอบแทนแก่เกษตรกรหลายดา้ น

2. แบง่ ตามวธิ กี ารดาเนนิ การ 2.1 ระบบเกษตรผสมผสานที่มีการใช้สารเคมี ในระบบการผลติ จะมกี ารใช้สารเคมใี น กิจกรรมต่าง ๆ เพ่อื จดุ ประสงค์ ใหไ้ ด้ผลผลิตและรายได้สูงสดุ 2.2 ระบบการเกษตรอินทรยี ห์ ลีกเลีย่ งการใช้สารเคมีทกุ ชนดิ เช่น ปุ๋ยเคมี ยาปราบ ศัตรูพชื ฮอร์โมน สารเคมีในอาหาร สัตว์ คานงึ ถึงการสงวนรกั ษาอนิ ทรยี วตั ถใุ นดิน ดว้ ยการปลูกพืชหมุนเวยี นการปลูกพืชคลุมดิน ใช้ปยุ๋ คอกปุ๋ยหมัก ใช้ เศษ อนิ ทรียวัตถุจากไร่นา มงุ่ สรา้ งความแข็งแกรง่ ใหแ้ ก่พชื ด้วยการบารงุ ดินให้อดุ ม สมบรู ณ์ ผลผลติ ทีไ่ ดก้ ็จะอยใู่ นรูป ปลอดสารพษิ 2.3 ระบบการเกษตรธรรมชาติ เปน็ ระบบการเกษตรทใ่ี ช้หลกั การจัดระบบการปลูกพชื และเลีย้ งสตั ว์ที่ประสานความ รว่ มมอื กับธรรมชาตอิ ยา่ งสอดคล้องและเกื้อกลู ซึ่ง กนั และกัน งดเว้นกจิ กรรมทไ่ี ม่จาเปน็ หลักใหญ่ ๆ ได้แก่ ไมม่ กี าร พรวนดิน ไมใ่ ช้ ปุย๋ เคมี ไมก่ าจดั วชั พชื ไม่ใช้สารเคมีกาจดั ศตั รูพชื ท้งั นี้จะมกี ารปลกู พชื ตระกลู ถั่ว คลุมดิน ใชว้ ัสดุเศษ พชื คลุมดนิ อาศัยการควบคมุ โรคแมลงศตั รูดว้ ยกลไกการ ควบคุมกันเองของสงิ่ มชี ีวิตตามธรรมชาติ การปลูกพชื ใน ในสภาพแวดล้อมทม่ี ี ความสมดุลทางนิเวศวิทยา

3. แบ่งตามประเภทของพชื สาคัญเปน็ หลกั 3.1 ระบบเกษตรผสมผสานทม่ี ขี ้าวเป็นพชื หลัก พืน้ ท่ีสว่ นใหญ่จะเป็นที่นาทาการปลูก ขา้ วนาปเี ป็นพืชหลกั การผสม ผสานกจิ กรรมเข้าไปให้เก้ือกลู อาจทาไดท้ ้ังในรูปแบบ ของพืช-พชื เช่นการปลกู พชื ตระกูลถวั่ พชื ผกั พชื เศรษฐกจิ อืน่ ๆ กอ่ นหรอื หลงั ฤดกู าลทานา 3.2 ระบบเกษตรผสมผสานท่ีมีพชื ไรเ่ ป็นพืชหลกั การผสมผสานกิจกรรม พืช-พืช เช่น ลักษณะการปลกู พชื ตระกลู ถั่ว แซมในแถวพชื หลัก เช่น ขา้ วโพด มนั สาปะหลงั ฝ้าย เป็นตน้ สาหรบั รูปแบบของกจิ กรรม พชื -สัตว์ เช่น ปลูกพชื อาหาร สัตว์ต่าง ๆ ควบค่กู บั การเล้ยี งโค การปลูกหมอ่ นเลยี้ งไหม 3.3 ระบบเกษตรผสมผสานทีม่ ีไมผ้ ล ไม้ยนื ตน้ เป็นพืชหลกั การผสมผสานกจิ กรรม พชื -พืช เช่น การใช้ไม้ผลตา่ งชนดิ ปลกู แซม เชน่ ในกรณีโกโก้แซมในสวนมะพร้าว การปลูกพชื ตระกูลถ่ัวในแถวไม้ผลยืนต้น การปลูกพชื ตา่ งระดบั เป็นต้น

4. แบง่ ตามลกั ษณะของสภาพพ้ืนทเี่ ป็นตวั กาหนด 4.1 ระบบเกษตรผสมผสานในพ้นื ท่สี งู ลกั ษณะของพ้ืนทจ่ี ะอยู่ในที่ของภูเขาซ่งึ เดมิ เปน็ พื้นทป่ี ่าแตไ่ ดถ้ กู หกั ล้างถางพง มาทาพชื เศรษฐกิจและพืชยังชีพตา่ ง ๆ สว่ นใหญ่ พื้นที่มคี วามลาดชนั ระหวา่ ง 10-50% ด้งั เดิมเกษตรกรจะปลูกพืชใน ลกั ษณะ เชงิ เด่ยี วอายุสั้น เชน่ ขา้ ว ขา้ วโพด พชื ตระกลู ถวั่ ผกั ตา่ ง ๆ 4.2 ระบบเกษตรผสมผสานในพ้ืนที่ราบเชิงเขา พื้นที่สว่ นใหญจ่ ะเป็นทด่ี อนอาศยั น้าฝน มกี ารปลูกพืชไรช่ นดิ ต่าง ๆ เปน็ หลกั 4.3 ระบบเกษตรผสมผสานในพื้นท่ดี อน โดยทว่ั ไปในพนื้ ท่ีดอนจะมกี ารปลูกพืชไร่ เศรษฐกจิ ต่าง ๆ เชิงเด่ียวเปน็ หลัก ลกั ษณะของการทาการเกษตรผสมผสานอาจทา ไดห้ ลายรปู แบบ เชน่ ลกั ษณะการปลูกพชื แซม โดยใชพ้ ืชตระกลู ถั่วแซม ในแถวพืช หลักต่าง ๆ 4.4 ระบบเกษตรผสมผสานในพ้นื ที่ราบลุ่ม พื้นทส่ี ว่ นใหญจ่ ะเปน็ นาขา้ วแบบ แผนการปลกู พืชส่วนใหญ่จะเปน็ ข้าว อย่างเดียว ขา้ ว-ข้าว, ข้าว-พชื ไรเ่ ศรษฐกิจ, ขา้ ว-พืชผักเศรษฐกิจ, พืชผัก-ขา้ ว-พืชไร่, พชื ไร่-ข้าว-พชื ไร่ เป็นต้น

เกษตรผสมผสานท่ีมปี ฏสิ ัมพนั ธเ์ ชงิ เกอ้ื กลู 1. เก้อื กลู กนั ระหวา่ งพชื กบั พชื 1.1 พืชตระกูลถว่ั ชว่ ยตรึงธาตุไนโตรเจนให้กบั พืชชนิดอื่น 1.2 พชื ยืนต้นใหร้ ม่ เงากับพืชท่ีต้องการแสงแดดน้อย เช่น กาแฟ โกโก้ ชา สมุนไพร ฯลฯ 1.3 พชื เปน็ อาหารและทีอ่ ย่อู าศยั ให้กับแมลงศัตรธู รรมชาติ เพือ่ ช่วยกาจัดศตั รูพชื ไม่ให้เกดิ ระบาดกับพชื ชนิดอ่นื ๆ เชน่ การปลกู ถ่ัวลิสงระหว่างแถวในแปลงข้าวโพด จะช่วยใหแ้ มลงศัตรูธรรมชาติได้มาอาศยั อยใู่ นถ่วั ลสิ งมาก และจะช่วยกาจดั แมลง ศัตรขู องขา้ วโพด 1.4 พชื ยืนตน้ เป็นทอ่ี ย่อู าศัยและอาหารแก่พชื ประเภทเถาและกาฝาก เช่น พริกไทย พลู ดีปลี กลว้ ยไม้ ฯลฯ 1.5 พืชท่ีปลกู แซมระหว่างแถวพืชหลกั จะชว่ ยป้องกันไม่ให้วชั พืชขนึ้ แยง่ อาหารกับ พชื หลกั ทป่ี ลกู เช่น การปลกู พืช ตระกูลถ่ัวเศรษฐกจิ ในแถวขา้ วโพด มนั สาปะหลัง ฝา้ ย 1.6 พืชแซมระหว่างแถวไม้ยนื ตน้ ในระยะเรมิ่ ปลกู จะช่วยบังลมบงั แดด และเกบ็ ความช้ืนในดนิ ใหก้ ับพชื ยนื ตน้ เช่น การปลูกกลว้ ยแซมในแถวไมผ้ ลตา่ ง ๆ ในแถว ยางพารา 1.7 พืชช่วยไล่และทาลายแมลงศัตรพู ชื ไมใ่ ห้เข้ามาทาลายพืชทีต่ ้องการอารักขา เชน่ ตะไคร้หอม ถั่วลิสง ดาวเรือง แมงลกั โหระพา หม้อขา้ วหม้อแกงลงิ ฯลฯ

2. เก้อื กลู กนั ระหวา่ งพชื สัตว์ ประมง 2.1 เศษเหลือของพชื จากการบรโิ ภคของมนษุ ยใ์ ชเ้ ป็นอาหารสตั วแ์ ละปลา 2.2 พชื ยืนตน้ ช่วยบงั ลม บงั แดด บังฝน ให้กับสัตว์ 2.3 พชื สมนุ ไพรเป็นยารกั ษาโรคให้กบั สัตว์ 2.4 ปลาช่วยกนิ แมลงศัตรูพชื วัชพชื ใหก้ ับพชื ทปี่ ลูกในสภาพนา้ ท่วมขงั เช่น ขา้ ว 2.5 ปลาชว่ ยใหอ้ นิ ทรยี วตั ถุกบั พชื จากการถา่ ยมลู ตกตะกอนในบ่อเลย้ี งปลา ซ่ึง สามารถนามาใชเ้ ปน็ ปุ๋ยกับพชื ได้ 2.6 หา่ น เปด็ แพะ ววั ควาย ฯลฯ ชว่ ยกาจดั วชั พชื ในสวนไมผ้ ล ไม้ยืนตน้ 2.7 มูลสัตวท์ ุกชนิดใช้เป็นป๋ยุ กบั พชื 2.8 ผงึ้ ชว่ ยผสมเกสรในการตดิ ผลของพชื 2.9 แมลงทเี่ ป็นประโยชนห์ ลายชนดิ ไดอ้ าศัยพืชเปน็ อาหารและที่อยู่อาศัย 2.10 จุลินทรียช์ ่วยยอ่ ยสลายซากพชื และสตั วใ์ ห้กลับกลายเปน็ ปุ๋ย 2.11 แมลงศตั รธู รรมชาติหลายชนิด ช่วยควบคุมประชากรแมลงศัตรูพชื ไม่ให้ ขยายพันธ์มุ ากจนเกิดการแพรร่ ะบาด ต่อพืชทีป่ ลูก

เกษตรผสมผสานที่มปี ฏสิ ัมพนั ธเ์ ชงิ แขง่ ขนั ทาลาย 1. แข่งขนั ทาลายระหวา่ งพชื กบั พชื 1.1 พืชแย่งอาหาร น้าและแสงแดด กับพชื อืน่ เช่น การปลกู ยูคาลิปตัส ร่วมกับพืชไร่ และขา้ ว ซง่ึ มีการศกึ ษาพบว่า ยูคาลิปตสั แยง่ น้าธาตอุ าหารจากตน้ ปอและข้าว เปน็ ตน้ มีผลทาให้พชื เหล่านั้นได้ผลผลิตลดลง 1.2 พืชเปน็ อาหารและที่อย่อู าศัยอย่างต่อเนื่องของศตั รูพชื และพชื ในนเิ วศน์ เดยี วกัน เช่น ข้าวโพดเปน็ พชื อาศยั ของ หนอนเจาะสม้ ออเมริกันและเพลย้ี ออ่ น ของฝ้าย 2. แขง่ ขนั ทาลายระหวา่ งพชื สัตว์ ประมง 2.1 การเลยี้ งสัตว์จานวนมากเกินไป จะใหป้ ริมาณพืชท้ังในสภาพทปี่ ลูกไว้และใน สภาพธรรมชาติไมเ่ พยี งพอ เกดิ ความไมส่ มดุล ซง่ึ จะมผี ลตอ่ สภาพแวดลอ้ มเส่อื ม ลงได้ 2.2 มูลสตั ว์จากการเลี้ยงสตั ว์มจี านวนมากเกนิ ไป เชน่ การเล้ยี งหมมู ากเกนิ ไปมีการ จดั การไมด่ พี อ จะเกดิ มลพิษต่อ ทรัพยากรธรรมชาติรอบด้านทั้งในเร่อื งของนา้ เสีย อากาศเป็นพษิ หรือการเลีย้ งก้งุ กุลาดาในหลายทอ้ งท่ีกป็ ระสบปญั หาเกดิ ภาวะน้าเนา่ เสยี เป็นตน้ 2.3 การใช้สารเคมกี าจดั ศัตรูพืชจะเกิดพษิ ตกค้างในนา้ และผลิตผลทเี่ ป็นพิษตอ่ สัตว์และปลา 2.4 การปลูกพชื เพอื่ ใหผ้ ลผลิตอย่างใดอยา่ งหนงึ่ สงู สุด กาไรสูงสุด โดยมกี ารใช้ ปจั จัยการผลติ หลายดา้ นรวมทั้ง สารเคมีตา่ ง ๆ

ปจั จัยและความสาเรจ็ ของระบบเกษตรผสมผสาน หลักการทส่ี าคญั 3 ประการคือ ประการที่ 1 จะเนน้ การพฒั นาท่ีตวั เกษตรกรให้เป็นผูร้ ิเรมิ่ คิดเอง ทาเองจนในทส่ี ดุ สามารถพัฒนาไปในทศิ ทางทพี่ ง่ึ ตนเองได้ และจะเปน็ ผ้กู าหนดแผนการผลติ ของ ตนเอง ประการที่ 2 แผนการผลติ ของเกษตรกรจะปรับเปลย่ี นจากการผลติ พชื เดยี่ ว เชน่ ข้าว หรอื พืชไร่ชนดิ ใดชนิดหนึง่ มาทาการเกษตรแบบผสมผสาน ซึง่ รวมถงึ การผลติ ไมผ้ ล ไมย้ นื ตน้ ไมด้ อก ไมป้ ระดบั การเล้ยี งสัตวแ์ ละการประมง โดยคานงึ ถึงความ ต้องการของตลาดภายในประเทศและความสอดคลอ้ งกบั ทรัพยากรของพ้นื ท่ีนนั้ เป็นหลกั ประการที่ 3 สาหรับบทบาทของเจ้าหนา้ ที่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จะเนน้ ให้ ความร้แู ละทางเลือกในการประกอบอาชพี เพอ่ื ให้เกษตรกรตัดสินใจ ปรกึ ษาหารอื คิด ร่วมกบั เกษตรกรและใหก้ ารสนับสนนุ ตามทจ่ี าเปน็

ปัจจัยและความสาเรจ็ ของระบบเกษตรผสมผสาน โดยการ สรุปผลจากผลการดาเนินงานของเกษตรกรในพื้นทตี่ ่าง ๆ ทัว่ ประเทศสามารถสรุป ไดด้ งั น้ี 1. ด้านการวางแผนการผลติ เกษตรกรตอ้ งสามารถวางแผนการผลติ ภายในฟาร์มของตัวเองได้อย่างถกู ต้องใน ทานองทีเ่ รยี กวา่ ต้องมีภาย ในฟารม์ ของตัวเองได้อยา่ งถูกตอ้ งในทานองทเ่ี รียกวา่ ตอ้ งมีความรูเ้ ขารูเ้ ราจงึ จะสามารถทาใหม้ กี ารวางแผนไดอ้ ยา่ ง ถกู ตอ้ ง 2. ด้านการจดั การ เกษตรกรผทู้ ี่ดาเนนิ การระบบเกษตรผสมผสานจะประสบความสาเร็จได้ ควรจะตอ้ ง มีการจัดการท่เี หมาะสมในดา้ นตา่ ง ๆ

ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั ของระบบเกษตรผสมผสาน ระบบเกษตรผสมผสานเปน็ รูปแบบหนึ่งของระบบเกษตรกรรมท่ีมี กิจกรรมตง้ั แต่ 2 กจิ กรรมขนึ้ ไปในพ้ืนท่ี เดียวกันและกิจกรรมเหลา่ น้ีจะ มกี ารเกอ้ื กูลประโยชนซ์ ่งึ กันและกนั ไมท่ างใดกท็ างหนึ่ง ดงั นัน้ จงึ เปน็ ระบบที่นาไปสู่ การเกษตร แบบย่ังยนื (Sustainable Agriculture) จึง ก่อใหเ้ กดิ ผลดแี ละประโยชนด์ ังต่อไปนี 1. ลดความเสย่ี งจากความแปรปรวนของสภาพลม ฟ้า อากาศ จากปรากฏการณท์ าง ธรรมชาตทิ ่ีมคี วามแปรปรวนในแตล่ ะปี ซ่งึ มีแนวโนม้ จะรุนแรงมากข้นึ 2. ลดความเสย่ี งจากความผนั แปรของราคาผลผลติ ในการดาเนินระบบการเกษตรท่ี มีเพยี งกจิ กรรมเดียวทม่ี ี การผลิตเปน็ จานวนมาก ผลผลิตทไ่ี ดเ้ ม่ือออกสู่ตลาด พรอ้ มกัน 3. ลดความเสย่ี งจากการระบาดของศตั รพู ชื ในการดาเนินกจิ กรรมการปลูกข้าว หรือ พืชไร่เพยี งอย่างเดียว เกษตรกรจะมคี วามเสย่ี งอยา่ งมากเม่อื เกิดการระบาดของ ศัตรูพืชขน้ึ 4. ชว่ ยเพม่ิ รายไดแ้ ละกระจายรายไดต้ ลอดปี การดาเนินระบบเกษตรผสมผสานซ่ึงมี กิจกรรมหลายกจิ กรรม ในพ้นื ท่เี ดียวกัน จะกอ่ ประโยชน์ในด้านทาใหเ้ กษตรกรมี รายได้เพ่ิมขึ้นและมรี ายไดอ้ ยา่ งตอ่ เนื่อง ซง่ึ อาจจะเปน็ รายได้ รายวนั รายสัปดาห์ รายเดือน และรายไดป้ ระจาฤดกู าล 5. ช่วยกอ่ ใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางชวี พนั ธุ์ (Species Diversity) การดาเนนิ ระบบ เกษตรผสมผสาน ซง่ึ จะมีกิจกรรมหลากหลายในพน้ื ทีเ่ ดียวกนั พบว่าทาให้เกิดความ หลากหลายทาง

6. ช่วยกระจายการใช้แรงงาน ทาให้มงี านทาตลอดปี เป็นการลดปญั หาการ เคลอ่ื นย้ายแรงงานออกนอกภาคการ เกษตร และในสภาวะเศรษฐกจิ ตกต่าของ ประเทศขณะน้ี ทาให้เกดิ ปญั หาคนว่างงานจานวนมาก ระบบเกษตรผสม ผสานจะ รองรบั แรงงานเหล่าน้ไี ด้ 7. ช่วยกอ่ ใหเ้ กดิ การหมนุ เวยี น (Recycling) ของกจิ กรรมต่าง ๆ ในระดบั ไรน่ า เป็น การช่วยอนุรักษท์ รพั ยากรในระดับไรน่ า ไม่ใหเ้ สื่อมสลายหรือถูกใชใ้ ห้หมดไปอยา่ ง รวดเร็ว 8. ช่วยใหเ้ กษตรกรมอี าหารเพยี งพอตอ่ การบรโิ ภคภายในครวั เรอื น ในการดาเนิน ระบบเกษตรผสมผสานทม่ี หี ลายกจิ กรรมช่วยทาให้เกษตรกรสามารถมอี าหารไว้ บรโิ ภคในครอบครัวครบ ทุกหมู่ 9. ชว่ ยทาใหค้ ณุ ภาพชวี ิตของเกษตรกรดขี ึน้ การดาเนินกิจกรรมในระบบเกษตร ผสมผสานชว่ ยทาใหม้ กี าร กระจายการใช้แรงงานทาใหม้ งี านทาตลอดทง้ั ปี และมี การกระจายรายไดจ้ ากกิจกรรมตา่ ง ๆ

ตอนท่ี 3 การใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ แนวคดิ การใช้ท่ีดนิ ทางการเกษตรและรปู แบบการเกษตร 1 การใชท้ ีด่ นิ ทางการเกษตร สาหรบั การใชท้ ด่ี ินทางการเกษตรนนั้ จะใช้แบบจาลองการใชท้ ีด่ นิ ของ von Thünen เพอ่ื อธิบายการใช้ท่ีดนิ ทางการเกษตรในพ้นื ที่ โดยแบบจาลองของ von Thünen ได้อธิบายถงึ ทาเลท่ตี งั้ ทมี่ ีความสัมพนั ธก์ บั ความเข้มในการใช้ประโยชนท์ ด่ี ิน ระยะห่างจากตลาดและค่าขนส่งสินค้าจะเป็นตวั กาหนดรปู แบบการใชท้ ่ีดิน ซึง่ von Thünen ไดแ้ บง่ เขตการใชท้ ่ดี นิ ออกเป็น 6 เขต เขตที่ 1 เปน็ เขตการผลติ ท่ีผัก ผลไม้ ทต่ี ้องอาศัยการดูแลเอาใจใส่มาก ผลผลิตเนา่ เสียค่อนขา้ งง่าย จงึ เป็นเขตที่อยใู่ กลก้ บั ชมุ ชนเพือ่ สะดวกในการดูแลและขนสง่ เขตที่ 2 เปน็ เขตทีม่ กี ารผลิตสินคา้ ที่จาเปน็ ต่อการดารงชีพทมี่ ีนา้ หนักมากแตม่ ูลคา่ ตา่ เชน่ ไม้ทอ่ น ฟนื เพ่อื สะดวกในการขนสง่ เขตที่ 3 เป็นเขตที่มีการปลูกพชื หมุนเวียน 6 ปี มีการใชท้ ่ดี นิ แบบเขม้ ปานกลาง ไมม่ ี การปลอ่ ยใหเ้ ป็นพน้ื ทว่ี า่ งเลย เขตที่ 4 เป็นเขตการเพาะปลูกและเลี้ยงสตั ว์ มกี ารใช้ท่ีดนิ ทหี่ มุนเวยี นกันไประหวา่ ง การเพาะปลูกและการเล้ียงสัตว์ โดยทเี่ ม่อื หยดุ ใชพ้ น้ื ทเี่ พาะปลูกแลว้ จะใช้ เปน็ พ้ืนท่ี ในการเลยี้ งสัตวแ์ ทน มกี ารใชท้ ด่ี นิ ไม่เข้มขน้ มากนัก เขตที่ 5 เขตการเพาะปลกู และเลี้ยงสตั ว์หมนุ เวยี น มีการใชท้ ี่ดินทีค่ ่อนข้างจะเบาบาง โดยมกี ารหมนุ เวยี นใช้พืน้ ทที่ ี่เคยเป็นพืน้ ทีเ่ พาะปลูกจะถกู พักดนิ ไว้เพือ่ นามาเปน็ พน้ื ทใ่ี นการเลย้ี งสัตว์ และพื้นทที่ ่ีเคยเล้ียงสัตวจ์ ะถกู นามาใช้ในการเพาะปลกู อีกคร้งั เขตท่ี 6 เปน็ เขตของการเล้ยี งสัตว์แบบขยาย เนื่องจากมพี ื้นท่กี วา้ งขวาง

2 รปู แบบการเกษตร ในอดตี น้นั ในการทากจิ กรรมทางการเกษตรน้นั อาศัยปจั จยั ทางด้านกายภาพเป็น หลกั เน่อื งจากเป้าหมายในการผลติ เพื่อใช้ในการบริโภคภายในครวั เรือนและมกี าร แบง่ ส่วนทเ่ี หลอื จากการบริโภคใช้ในการแลกเปลย่ี นกับเพ่อื นบ้าน ให้เกษตรกรจงึ ไม่ ตอ้ งแบกรบั ภาระทางด้านการตลาด การผลิตของเกษตรกรเปน็ การผลิตทีม่ ีความ หลากหลาย โดยการปลูกพชื หลายชนิดในพ้นื ทีเ่ ดยี วกัน รวมถึงการเลี้ยงสัตว์ไป พรอ้ มกบั การเพาะปลกู ดว้ ย สตั ว์ท่ีนิยมเลยี้ ง เชน่ แพะ แกะ สกุ ร เป็นต้น ทาให้ เกษตรกรสามารถใชป้ ระโยชน์จากการบรโิ ภคผลผลิตทางการเกษตรจากการเพาะปลูก ไดอ้ ยา่ งเต็มที่ ในปจั จบุ ันนร้ี ะบบการเกษตรส่วนใหญม่ ีอยูท่ ั้ง 2 รปู แบบ คอื ระบบการเกษตร แบบยงั ชีพแบบเขม้ หรอื ระบบการเกษตรกง่ึ ยงั ชพี กงึ่ การค้า และระบบการเกษตร แบบการคา้ โดยระบบการเกษตรกง่ึ ยงั ชพี กง่ึ การค้า ผลผลิตทไี่ ดน้ ัน้ จะนามาใช้ในการ บริโภคภายในครัวเรอื น บางส่วนจะถูกนาเอาไปขายเพอ่ื เป็นรายไดข้ องครัวเรอื น การผลิตทางการเกษตรยังแบง่ การผลิตออกเปน็ 3 รปู แบบ ด้วยกัน ได้แก่ รปู แบบที่ 1 การเพาะปลกู เปน็ กิจกรรมทางการเกษตรทเี่ กีย่ วข้องกับพชื ทงั้ หมด ไมว่ า่ จะเป็นการปลกู พืช การเพาะขยายพนั ธุพ์ ชื โดยใชพ้ นื้ ท่สี ่วนใหญข่ องพื้นที่ทาง การเกษตร รูปแบบท่ี 2 การเลย้ี งสัตว์ เกษตรกรเลย้ี งสัตว์ซ่ึงสว่ นใหญเ่ ปน็ สัตวบ์ กประเภท โค กระบอื สุกร ไก่ เปด็ ผลผลติ ท่ไี ดน้ ้นั จะไดท้ ้ังจากตวั สตั ว์โดยตรงคือ เนื้อ ไข่ นม และผลผลติ ที่ไดจ้ ากการแปรรปู สัตว์ เชน่ เนย ไขมัน ขนสตั ว์ เป็นต้น รูปแบบที่ 3 การทาประมงนา้ จืด ซง่ึ เปน็ กิจกรรมทีเ่ ก่ียวกับการเพาะเลี้ยงสัตวน์ า้ จดื ทงั้ หมด รวมทั้งสัตว์คร่งึ บกครึง่ น้าจาพวก กบ จระเข้ และตะพาบนา้ ซ่งึ สว่ นใหญจ่ ะ มีพื้นทใี่ นการเลย้ี งในเขตนา้ จดื เชน่ บรเิ วณแม่นา้ ทีห่ ่างจากปากแมน่ า้ พ้นื ที่ เกษตรกรรม เปน็ ตน้ สตั วท์ เี่ ลีย้ งสว่ นใหญม่ ักจะเปน็ ปลา กงุ้ นา้ จดื กบ เปน็ ต้น

3 ปจั จยั ท่มี อี ทิ ธิพลต่อการทากจิ กรรมทางการเกษตร ปจั จยั ทีม่ อี ิทธพิ ลต่อการทากิจกรรมทางการเกษตรประกอบไปด้วยปัจจยั ทางดา้ น ลกั ษณะทางกายภาพ ปัจจัยทางดา้ นเศรษฐกจิ ปัจจัยทางด้านสงั คม และปัจจัย ทางด้านเทคโนโลยีทางการเกษตร ซึ่งในแต่ละปจั จัยน้ันลว้ นมีบทบาทในการกาหนด รปู แบบทางการเกษตรและการใช้ท่ีดินทางการเกษตร ปัจจยั ทางดา้ นกายภาพ มีอทิ ธิพลโดยตรงกบั รูปแบบการเกษตร และการใช้ทีด่ ินเพอ่ื การเกษตรกรรม ประกอบดว้ ย 1. ลักษณะภูมปิ ระเทศ ได้แก่ ความสูงต่าของพ้นื ท่ี ความลาดชนั ความสงู และทิศทางการไหลของน้า 2. ลกั ษณะภมู อิ ากาศ ได้แก่ ความชื้น แสงแดด ลม ปริมาณฝน และการระเหย ของน้า 3. สมรรถนะของดนิ ไดแ้ ก่ ปรมิ าณสารอาหารทจ่ี าเปน็ ตอ่ การเตบิ โตของพชื ความเปน็ กรด-ด่าง ความลกึ แรธ่ าตใุ นดนิ ความพรุนของดนิ และอณุ หภมู ิของดิน 4. ลักษณะทางชีวภาพ ได้แก่ ความสมั พันธภ์ ายในหว่ งโซอ่ าหารซงึ่ ไดร้ ับอทิ ธิพล มาจากดวงอาทติ ย์ ซ่งึ มีความเกย่ี วข้องกบั การเพาะปลูก ทง้ั พชื จุลชพี และแมลง 5. แหล่งน้า ปจั จัยทางด้านสังคม ประกอบดว้ ย 1) ขนาดของครัวเรือน ไดแ้ ก่การมีครวั เรือนขนาดที่เล็กลงซ่งึ เกิดจากการแยก ครัวเรอื นออกไป ทาใหแ้ รงงานในภาคการเกษตรมจี านวนน้อยลง 2) ความสัมพนั ธใ์ นชุมชนเกษตรกรจะไดร้ บั ขา่ วสารเกยี่ วกบั รปู แบบของกจิ กรรมทาง การเกษตรใหม่ จากการพบปะกนั ในชมุ ชน ทาใหเ้ กษตรกรตดั สินใจไดเ้ รว็ ขนึ้ ในการ เปล่ยี นแปลงการเกษตร 3 ) การแพร่กระจายของนวัตกรรม เป็นกระบวนการทีส่ ามารถบ่งบอกถึงความเชือ่ จติ วทิ ยา และพฤติกรรมของคนในแต่ละศาสนาหรอื ความเชอ่ื ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี โดยเฉพาะการรบั รขู้ ่าวสาร การรว่ มกลุม่ กนั เปน็ ตน้ 4) การเปลี่ยนแปลงประชากร ทงั้ ทเี่ กดิ จากการภาวะการเกดิ การย้ายถ่ิน และ ภาวะการตาย ย่อมส่งผลต่อขนาดของท่ดี ินทถี่ ือครอง ปัญหาด้านแรงงานในดา้ น การเกษตร ซึง่ จะส่งผลตอ่ รูปแบบและการทากจิ กรรมทางการเกษตรของเกษตรกร

4. แนวคดิ การเปลย่ี นแปลงทางการเกษตร และปัจจัยที่มี อทิ ธพิ ลต่อการเปลย่ี นแปลงทางการเกษตร 4.1 การเปลยี่ นแปลงทางการเกษตร เกษตรกรมีการตอบสนองต่อการ เปล่ียนแปลงปจั จัยทมี่ ีอิทธิพลตอ่ การเกษตรทงั้ 4 ปจั จัย ย่อมสง่ ผลทาใหเ้ กิดการ เปลีย่ นแปลงทางการเกษตร ซงึ่ ในการเปลีย่ นแปลงทางการเกษตรน้นั เกษตรกรจะ เลอื กใหม้ ีความเหมาะสมกบั ปัจจยั ท้ังทางดา้ นกายภาพ เศรษฐกจิ สงั คม และปจั จัย ทางดา้ นเทคโนโลยี การเปล่ยี นแปลงทางการเกษตรมีอยดู่ ้วยกันหลายชนดิ ประกอบด้วย - การเปล่ียนแปลงชนดิ ของพชื ทป่ี ลูก เชน่ การปลูกยางพาราแทนการปลกู ขา้ ว การ ปลูกพชื สวนแทนการปลูกถ่ัวเขยี วหรือถว่ั เหลอื ง - การเพ่ิมความเข้มในการผลติ เกษตรกรจึงมีการนาเอาเทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยในการ ทาการเกษตร เพื่อลดขัน้ ตอนการทางานลง และสามารถทจี่ ะมรี อบการผลิตเพ่มิ ขนึ้ ในแต่ละปี รวมทัง้ ผลผลิตทไ่ี ด้นน้ั มคี ุณภาพตามท่ีตลาดต้องการอกี ดว้ ย - การปลกู พชื เฉพาะอยา่ ง เช่น การเล้ียงไกพ่ ันธ์ุเนอ้ื การเลย้ี งสกุ ร การทาสวน ยางพารา การทาไร่ชา การปลูกขา้ วโพด และการทาไรย่ าสูบ เปน็ ตน้ 4.2 ปจั จัยที่มอี ทิ ธพิ ลตอ่ การเปลี่ยนแปลงทางการเกษตร ในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเกษตรจากการเกษตรแบบดง้ั เดิมหรือแบบยังชพี ไป เป็นการเกษตรเพื่อการคา้ นัน้ นอกจากปัจจยั ทางกายภาพที่ประกอบไปด้วยสภาพ ภูมิอากาศ ลักษณะภมู ิประเทศ ลักษณะของดิน ทรัพยากรและแหลง่ น้า

ปัจจัยที่สง่ ผลทาให้มีการพฒั นารูปแบบการเกษตรจากระบบเพอื่ การยงั ชีพไปเป็นระบบการเกษตรเพ่อื การคา้ ซ่งึ ประกอบดว้ ย 1) การสร้างเทคโนโลยที างการเกษตรขึ้นมาใหม่ให้มีความเหมาะสมกับพ้ืนที่และ ลักษณะของทรัพยากรธรรมชาตทิ มี่ ีอยูใ่ นสภาพปัจจุบนั 2) การนาเอาความรู้ทางเทคโนโลยใี หม่เขา้ ไปเผยแพร่กบั ตวั เกษตรกร ซงึ่ นอกจาก การเผยแพรแ่ ลว้ จะต้องทาการฝึกฝนให้กบั เกษตรกร ฝึกให้ตวั เกษตรกรสรา้ ง แนวความคิดท่ีจะใชเ้ ทคโนโลยีและการประยุกตใ์ ช้เทคโนโลยีเหลา่ น้ัน 3) การเตรียมพรอ้ มรบั กับส่ิงใหม่ ซึง่ ตัวเกษตรกรต้องพร้อมสาหรับการเปลยี่ น กระบวนการในการผลติ พร้อมรบั ความเสีย่ งด้านราคาและความนา่ เช่ือถือของ ผลิตภณั ฑ์ นอกจากนโี้ ครงสร้างพื้นฐานในการผลิตน้นั ตอ้ งมีรองรบั อย่างเพียงพอ ทง้ั ระบบชลประทาน ระบบขนส่ง สาธารณูปโภคและสาธารณปู การเพ่ือใหต้ วั เกษตรกรมีความมัน่ ใจตอ่ การเปลีย่ นรูปแบบการเกษตรและการเปลย่ี นแปลงทาง สังคมไปพรอ้ มๆกนั 4) การเปล่ียนแปลงอย่างยง่ั ยืนโดยการเปลยี่ นแปลงทางเทคโนโลยี โดยการ เปลีย่ นแปลงอย่างมแี บบแผน มกี ารวางแผนเอาไวล้ ่วงหน้า การตัดสินใจจะอยู่บน พ้นื ฐานของความยง่ั ยนื ทงั้ ดา้ นเศรษฐกิจและสังคม เป็นส่ิงท่ตี ้องคานงึ ถึงเป็น อันดับแรก

ความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resources) หมายถึงสิ่งทีป่ รากฏอย่ตู าม ธรรมชาติหรือส่ิงท่ีข้ึนเอง อานวยประโยชน์แก่มนษุ ยแ์ ละธรรมชาตดิ ้วยกัน ถ้าสงิ่ นน้ั ยงั ไม่ใหป้ ระโยชน์ตอ่ มนษุ ย์ ก็ไม่ถือว่าเปน็ ทรพั ยากรธรรมชาติ \"ทรพั ยากรธรรมชาติ\" และ \"สง่ิ แวดล้อม\" มคี วามคลา้ ยคลงึ และแตกตา่ งกนั อย่างไร 1. ความคลา้ ยคลงึ กัน ในแง่นพี้ ิจารณาจากที่เกดิ คือ เกดิ ขึ้นตามธรรมชาติ เหมอื นกนั ทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ มตา่ งเป็นสง่ิ ที่ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ เชน่ กัน 2. ความแตกต่าง ทรัพยากรธรรมชาติเปน็ สงิ่ ทเี่ กิดขน้ึ เองตามธรรมชาติ แต่ ส่ิงแวดล้อมนน้ั ประกอบดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งท่มี นษุ ยส์ รา้ งข้นึ โดยอาศยั ทรัพยากรธรรมชาติ หากขาดทรัพยากรธรรมชาติ มนุษยจ์ ะไมส่ ามารถสรา้ ง สิง่ แวดล้อมอ่นื ๆ ไดเ้ ลย สงิ่ แวดลอ้ ม หมายถึง ส่งิ ตา่ ง ๆ ทีอ่ ยู่รอบตวั เรา ทงั้ สิ่งทมี่ ชี วี ติ สิง่ ไมม่ ีชวี ิต เห็นได้ด้วย ตาเปล่า และไมส่ ามารถเห็นได้ด้วยตาเปลา่ รวมทั้งสิง่ ที่เกิดขนึ้ โดย ธรรมชาติและสิ่งที่มนษุ ย์เปน็ ผู้สร้างขึน้ หรอื อาจจะกล่าวไดว้ ่า ส่งิ แวดลอ้ มจะ ประกอบดว้ ยทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนษุ ย์สร้างข้ึนในช่วงเวลาหนงึ่ เพือ่ สนองความ ตอ้ งการของมนุษย์นัน่ เอง

ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถงึ ส่ิงตา่ ง ๆ(สง่ิ แวดล้อม) ทีเ่ กิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติและมนุษย์ สามารถนามาใช้ประโยชนไ์ ด้ เชน่ บรรยากาศ ดนิ นา้ ป่าไม้ ทุง่ หญ้า สัตวป์ า่ แร่ธาตุ พลังงาน และกาลังแรงงานมนษุ ย์ เปน็ ต้น ความหมายของการจดั การธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม การจัดการ (Management) หมายถึง การดาเนินงานอยา่ งมีประสิทธิภาพใน รปู แบบตา่ งๆ ท้ังดา้ นการจัดหา การเกบ็ รักษา การซ่อมแซมการใช้อยา่ งประหยัด และ การสงวนรกั ษา เพอ่ื ให้กิจกรรมท่ีดาเนนิ การนั้นสามารถให้ผลยั่งยนื ตอ่ มวลมนษุ ย์ และธรรมชาติ โดยหลักการแล้ว \"การจัดการ\" จะต้องมแี นวทางการดาเนินงาน ขบวนการ และขน้ั ตอน รวมท้ังจุดประสงค์ในการดาเนินงานทีช่ ดั เจนแน่นอน ปจั จุบันปัญหาขยะมูลฝอยเปน็ ปัญหาท่ีสาคัญ การนาส่งิ เหลอื ใชม้ า ประดษิ ฐใ์ ห้เกดิ ประโยชนข์ ้ึนใหม่ จะเป็นวิธีการหนง่ึ ท่ที าใหข้ ยะลด น้อยลงการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมจะต้องยึด หลกั การทางอนุรักษว์ ทิ ยาเพือ่ ประกอบ การดาเนนิ งานในการจัดการ ดงั นี้ คอื 1.) การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มจะตอ้ งเป็นไปอย่างสมเหตุสมผล ใช้ อยา่ งฉลาดหรือใชต้ ามความจาเปน็ ไมใ่ ช้อยา่ งฟุ่มเฟอื ยและไมเ่ กิดการสูญเปลา่ หรือ เกดิ การสญู เปล่า น้อยทีส่ ุด 2.) การประหยดั ของทห่ี ายากและของทีก่ าลงั สญู พนั ธุ์ 3.) การปรบั ปรุง ซอ่ มแซมสิ่งที่เสอ่ื มโทรมให้คนื สภาพก่อนนาไปใช้ เพอ่ื ใหร้ ะบบสง่ิ แวดลอ้ มดขี น้ึ

ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติ การแบง่ ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาตมิ กี ารแบ่งกนั หลายลกั ษณะ แต่ ในทีน้ี แบง่ โดยใช้เกณฑ์ของการนามาใช้ แบ่งออกเปน็ 4 ประเภท ดังนี้ 1. ทรพั ยากรธรรมชาติที่ใชแ้ ล้วไมห่ มดส้นิ โดยแบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ - ประเภทที่คงสภาพเดิมไม่เปลีย่ นแปลง (Immutuable) ได้แก่ พลังงานจากดวง อาทิตย์ ลม อากาศ - ประเภททมี่ กี ารเปล่ียนแปลง (Mutuable) การเปลยี่ นแปลงที่เกดิ ขน้ึ เน่ืองมาจาก การใช้ประโยชนอ์ ย่างผิดวธิ ี เชน่ การใชท้ ีด่ นิ การใชน้ าโดยวธิ ีการทไี่ ม่ถกู ตอ้ ง ทาให้ เกิดการเปล่ยี นแปลงท้งั ทางด้านกายภาพ 2. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่ใช้แลว้ ทดแทนได้ (renewable natural resources) เปน็ ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีใช้ไปแล้วสามารถเกดิ ข้นึ ทดแทนได้ เชน่ พชื ปา่ ไม้ สัตวป์ า่ มนุษย์ ความสมบูรณ์ของดิน คุณภาพของนา้ 3. ทรัพยากรธรรมชาตทิ สี่ ามารถนามาใช้ใหมไ่ ด้ (Recycleable natural resources) เป็นทรพั ยากรธรรมชาตจิ าพวกแรธ่ าตทุ น่ี ามาใช้แล้วสามารถนาไปแปร รปู ให้กลบั ไปสู่สภาพเดิมได้ แลว้ นากลบั มาใชใ้ หม่อกี เชน่ แรโ่ ลหะ แรอ่ โลหะ ได้แก่ เหลก็ ทองแดง อะลมู เิ นียม แก้ว 4. ทรัพยากรธรรมชาตทิ ่ีใช้แลว้ หมดสน้ิ ไป (Exhausting natural resources) เปน็ ทรัพยากรธรรมชรูปาถา่ตยน้ี โิทดยี่นไมท่ ราาบมผูเ้ขยีานใลขิชสทิ ธ้แ์ิของลC้วCจBYะ-หSAม-NดCไปจากโลกน้ี หรือสามารถเกิดขน้ึ ทดแทน ได้ แตต่ ้องใช้เวลายาวนานมาก ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทน้ี ไดแ้ ก่ น้ามัน ปโิ ตรเลียม กา๊ ซธรรมชาติ และถา่ นหิน

ทรัพยากรนา้ น้าเป็นทรพั ยากรท่ีมคี วามสาคัญตอ่ ชีวิตคน พืช และสัตวม์ ากที่ สุดแตก่ ม็ ีค่าน้อยท่ีสดุ เมื่อเปรียบเทียบกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ นา้ เป็นปัจจัยสาคญั ในการดารงชีวติ ของมนุษยแ์ ละเปน็ องคป์ ระกอบที่ สาคญั ของสิ่งมีชีวติ ทั้งหลาย ความสาคญั ของทรพั ยากรนา้ 1. ใช้สาหรบั การบริโภคและอปุ โภค เพ่ือด่มื กิน ประกอบอาหาร ชาระรา่ งกาย ทาความ สะอาด ฯลฯ 2. ใชส้ าหรบั การเกษตร ได้ แก่ การเพาะปลกู เล้ยี งสตั ว์ แหลง่ น้าเปน็ ท่ีอยูอ่ าศัยของ ปลาและสัตว์น้าอนื่ ๆ ซ่ึงคนเราใช้เปน็ อาหาร 3. ดา้ นอตุ สาหกรรม ต้องใช้น้าในกระบวนการผลิต ล้างของเสีย หล่อเครือ่ งจกั ร และระบายความร้อน ฯลฯ 4. การทานาเกลอื โดยการระเหยนา้ เค็มจากทะเล หรือระเหยน้าท่ีใชล้ ะลายเกลอื สนิ เธาว์ 5. น้าเปน็ แหลง่ พลังงานในการผลติ กระแสไฟฟา้ 6. เปน็ เส้นทางคมนาคมท่สี าคัญ แมน่ ้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทาง คมนาคมทส่ี าคญั มาตง้ั แต่อดตี จนถึงปจั จบุ ัน 7. เปน็ สถานท่ีท่องเทยี่ ว ทศั นยี ภาพของริมฝง่ั ทะเล และแหล่งนา้ ทใ่ี สสะอาดเป็น สถานที่ท่องเทย่ี วของมนษุ ย์

ประโยชนข์ องนา้ นา้ เป็นแหลง่ กาเนดิ ชวี ติ ของสัตวแ์ ละพืชคนเรามีชวี ิตอย่โู ดย ขาดนา้ ได้ไม่เกนิ 3 วัน และน้ายังมีความจาเปน็ ท้ังในภาคเกษตรกรรม และอตุ สาหกรรม ซึง่ มคี วามสาคญั อย่างย่ิงในการพฒั นาประเทศ ประโยชนข์ องนา้ ไดแ้ ก่ - น้าเป็นสง่ิ จาเป็นทเ่ี ราใชส้ าหรับการดื่มกิน การประกอบอาหาร ชาระรา่ งกาย ฯลฯ - น้ามคี วามจาเปน็ สาหรบั การเพาะปลกู เล้ยี งสัตว์ แหลง่ นา้ เป็นทีอ่ ยู่อาศัยของปลา และสตั ว์น้าอน่ื ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร - ในการอตุ สาหกรรม ตอ้ งใช้น้าในขบวนการผลติ ใช้ล้างของเสียใช้หล่อเคร่ืองจักร และระบายความรอ้ น ฯลฯ - การทานาเกลือโดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล - น้าเปน็ แหลง่ พลังงาน พลังงานจากนา้ ใช้ทาระหัด ทาเขอ่ื นผลิตกระแสไฟฟ้าได้ - แมน่ า้ ลาคลอง ทะเล มหาสมทุ ร เป็นเส้นทางคมนาคมขนสง่ ที่สาคัญ - ทัศนยี ภาพของรมิ ฝัง่ ทะเลและนา้ ท่ใี สสะอาดเปน็ แหล่งท่องเที่ยวของมนุษย์ ปญั หาทรพั ยากรนา้ ที่สาคญั มีดงั นี้ 1. เพิ่มปรมิ าณความตอ้ งการใชน้ า้ ในปจั จุบนั นอกจากการใช้นา้ เพื่อการบรโิ ภคซ่ึง เพิ่มข้นึ แล้วประมาณ 30% ถงึ 40% ในการผลิตอาหารของโลกจาเป็นตอ้ งใชน้ ้าจาก การชลประทานภายในระยะเวลาประมาณ 15-20 ปขี ้างหน้าน้ี บริเวณพน้ื ที่ ชลประทานจะตอ้ งเพ่ิมขน้ึ เป็น 2 เทา่ ของปรมิ าณ พืน้ ทีใ่ นปัจจบุ นั เพ่อื ทีจ่ ะผลิต อาหารใหไ้ ดเ้ พียงพอแกจ่ านวนประชากรทเ่ี พ่มิ ข้นึ 2. การกระจานนา้ ไปส่สู ่วนตา่ ง ๆ ของพื้นท่ีไมเ่ ท่าเทยี มกัน ในบางพืน้ ที่ของโลกเกดิ ฝน ตกหนักบ้านเรือนไรน่ าเสียหาย แต่ในบางพนื้ ทก่ี แ็ ห้งแลง้ ขาดแคลนนา้ เพอ่ื การ บริโภค และเพื่อการเพาะปลกู 3. การเพิม่ มลพิษในนา้ เน่ืองจากน้าเป็นปจั จัยสาคัญในการดารงชวี ิตของส่งิ มีชีวติ ทง้ั หลายรวมทงั้ มนษุ ย์ เม่อื จานวนประชากรมนุษยเ์ พิ่มมากขน้ึ มนุษยเ์ ป็นตัวการ สาคญั ทเี่ พิม่ มลพษิ ใหก้ ับแหลง่ น้าต่าง ๆ โดยการปล่อยนา้ เสยี คราบน้ามัน จาก บา้ นเรอื น โรงงานอุตสาหกรรม การทงิ้ ขยะมลู ฝอยลงไปในแหลง่ เปน็ ต้น

ผลกระทบของนา้ เสียตอ่ สิ่งแวดลอ้ ม - เปน็ แหล่งแพรร่ ะบาดของเช้อื โรค เช่น อหิวาตกโรค บดิ ท้องเสยี - เป็นแหลง่ เพาะพนั ธุข์ องแมลงนาโรคต่าง ๆ - ทาใหเ้ กดิ ปัญหามลพษิ ต่อดนิ นา้ และอากาศ - ทาใหเ้ กิดเหตรุ าคาญ เชน่ กลิ่นเหม็นของน้าโสโครก - ทาให้เกดิ การสูญเสยี ทศั นียภาพ เกิดสภาพที่ไม่น่าดู เชน่ สภาพนา้ ท่ีมสี ีดาคลา้ ไป ดว้ ยขยะ และส่ิงปฏิกูล - ทาให้เกิดการสูญเสยี ทางเศรษฐกิจ เช่น การสญู เสียพนั ธุป์ ลาบางชนิดจานวนสตั ว์ น้าลดลง - ทาใหเ้ กดิ การเปลี่ยนแปลงระบบนเิ วศในระยะยาว

ทรพั ยากรดนิ ดินหมายถงึ เทหวัตถุธรรมชาตทิ ีป่ กคลมุ ผิวโลก เกิดจากการแปรสภาพ หรือสลายตัวของหินแร่ธาตุ และอินทรยี ์วัตถุผสมคลุกเคล้ากนั ตาม ธรรมชาตริ วมกันเป็นชัน้ บาง ๆ เมือ่ มนี ้าและอากาศท่เี หมาะสมกจ็ ะทาให้ พชื เจรญิ เตบิ โตและยงั ชีพอยูไ่ ด้ ความสาคญั ของทรพั ยากรดนิ ดินมีประโยชนม์ ากมายมหาศาลตอ่ มนุษยแ์ ละสิง่ มีชวี ิตอนื่ ๆ คอื 1. ใช้ในการเกษตรกรรม ดนิ เป็นต้นกาเนิดของการเกษตรกรรม เปน็ แหลง่ ผลติ อาหารของมนุษย์ อาหารที่มนษุ ยเ์ ราบรโิ ภคทกุ วนั นมี้ าจากการเกษตรกรรมถงึ 90 % 2. ใช้ในการเลี้ยงสตั ว์ พชื และหญา้ ทขี่ น้ึ อยบู่ นดินเป็นแหลง่ อาหารสัตว์ ตลอดจน เป็น แหลง่ ที่อยอู่ าศัยของสัตวบ์ างชนิด เช่น งู หนู แมลง นาก ฯลฯ 3. เปน็ แหล่งท่ีอยู่อาศัย พื้นดนิ เปน็ แหล่งทตี่ ั้งของเมือง บ้านเรอื น ทาใหเ้ กดิ วัฒนธรรม และอารยธรรมของชมุ ชนตา่ ง ๆ มากมาย 4. เปน็ แหลง่ กกั เก็บนา้ ถา้ น้าซ่งึ อย่ใู นรูปของความชน้ื ในดนิ มีอยมู่ าก ๆ กจ็ ะ กลายเป็นนา้ ซมึ อยู่ในดนิ คอื น้าใต้ดนิ นา้ เหล่านีจ้ ะค่อย ๆ ซมึ ลงทตี่ ่า เช่น แมน่ ้า ลาคลอง ทาให้เรามนี า้ ใช้ตลอดปี

ประโยชนข์ องดนิ ดนิ มปี ระโยชนม์ ากมายมหาศาลต่อมนุษย์และสิ่งมีชวี ิตอน่ื ๆ คือ 1. ประโยชน์ตอ่ การเกษตรกรรม เพราะดินเป็นต้นกาเนดิ ของการเกษตรกรรมเปน็ แหล่งผลิตอาหารของมนษุ ย์ ในดินจะมอี นิ ทรียวัตถุและธาตุอาหารรวมทง้ั น้าท่ี จาเป็นตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื อาหารที่คนเราบรโิ ภคในทกุ วนั นี้มาจากการ เกษตรกรรมถงึ 90% 2. การเลย้ี งสตั ว์ ดนิ เปน็ แหล่งอาหารสตั วท์ งั้ พวกพชื และหญ้าทีข่ ้ึนอยู่ ตลอดจนเป็น แหล่งที่อย่อู าศัยของสตั ว์บางชนิด เชน่ งู แมลง นาก ฯลฯ 3. เป็นแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั แผน่ ดินเปน็ ทีต่ งั้ ของเมอื ง บ้านเรอื น ทาใหเ้ กดิ วัฒนธรรม และอารยธรรมของชุมชนต่าง ๆ มากมาย 4. เปน็ แหล่งเกบ็ กักน้า เนอื้ ดินจะมีส่วนประกอบสาคญั ๆ คอื สว่ นที่เปน็ ของแขง็ ได้แก่ กรวด ทราย ตะกอน และสว่ นทเ่ี ป็นของเหลว คอื นา้ ซงึ่ อยู่ในรปู ของความช้ืน ในดินซง่ึ ถ้ามีอยู่มาก ๆ กจ็ ะกลายเปน็ นา้ ซึมอยคู่ ือนา้ ใตด้ ิน น้าเหล่านจ้ี ะค่อย ๆ ซมึ ลงทีต่ ่า เช่น แมน่ ้าลาคลองทาใหเ้ รามนี า้ ใชไ้ ด้ตลอดปี ลกั ษณะของดิน 3 ชนิดใหญ่ ๆ คอื ดนิ เหนียว ดินทราย และ ดินร่วน 1. ดินเหนยี ว เป็นดินท่ีเมือ่ เปยี กแล้วมีความยืดหย่นุ อาจปน้ั เปน็ ก้อนหรอื คลึงเปน็ เสน้ ยาวได้เหนียวเหนอะหนะติดมือ เปน็ ดนิ ทมี่ ีการระบายนา้ และอากาศไม่ดี มี ความสามารถในการอ้มุ น้าได้ดี เหมาะทีจ่ ะใชท้ านาปลูกข้าวเพราะเกบ็ นา้ ได้นาน 2. ดนิ ทราย เป็นดนิ ทม่ี กี ารระบายนา้ และอากาศดมี าก มีความสามารถในการอมุ้ น้า ตา่ มคี วามอุดมสมบรู ณ์ต่า เพราะความสามารถในการจบั ยดึ ธาตอุ าหารพชื มีน้อย 3. ดินรว่ น เป็นดินท่ีมเี น้อื ดนิ คอ่ นข้างละเอยี ดน่มุ มือ ยดื หยนุ่ ไดบ้ ้าง มีการระบาย นา้ ไดด้ ีปานกลาง จัดเปน็ เน้อื ดนิ ท่ีเหมาะสมสาหรับการเพาะปลกู ในธรรมชาติมกั ไม่ ค่อยพบ แต่จะพบดินทมี่ ีเน้ือดนิ ใกล้เคยี งกนั มากกว่า สขี องดิน สีของดนิ จะทาให้ เราทราบถงึ ความอดุ มสมบูรณป์ ริมาณอนิ ทรยี วตั ถทุ ป่ี ะปนอยแู่ ละแปรสภาพเปน็ ฮิวมสั ในดิน ทาให้สีของดินตา่ งกนั ถา้ มีฮวิ มัสน้อยสจี ะจางลงมคี วามอดุ มสมบรู ณ์ นอ้ ย

สาเหตแุ ละผลกระทบของทรพั ยากรดนิ ดินสว่ นใหญถ่ กู ทาลายให้สญู เสียความอุดมสมบูรณ์หรอื ตวั เน้อื ดนิ ไป เนอื่ งจากการกระทาของมนุษย์และการสูญเสยี ตามธรรมชาติ ทาให้ เราไม่สามารถใช้ประโยชน์จากดินไดอ้ ยา่ งเต็มประสทิ ธภิ าพ การสญู เสยี ความอดุ มสมบูรณ์ของดินเกิดจาก 1. การกดั เซาะดิน อาจแบ่งได้เปน็ 2 ประเภทด้วยกัน คอื 1.1 การกัดเซาะโดยธรรมชาติ หมายถึง การกดั เซาะซงึ่ เกิดข้นึ ตามธรรมชาติ โดยการ กระทาของน้า ลม แรงดงึ ดูดของโลก และนา้ แข็ง เช่นการชะลา้ ง แผ่นดนิ เล่ือน การ ไหลของธาร น้า คลืน่ เปน็ ต้น 1.2 การกดั เซาะที่มีตวั เรง่ หมายถึง การกัดเซาะทีม่ นษุ ย์หรอื สตั วเ์ ลย้ี งเข้ามาช่วยเรง่ ให้มกี ารพังทลายเพ่มิ ขน้ึ จากธรรมชาตทิ ่ีเกิดขนึ้ เป็นประจาอยู่แล้ว เชน่ การตัดตน้ ไม้ ทาลายปา่ การทาการเพาะปลูกอย่างขาดหลักวชิ า ทาให้ดนิ ไมม่ ีสง่ิ ปกคลมุ จึงทาให้น้า ลม ซ่งึ เปน็ ตัวการ กดั เซาะท่สี าคัญพดั พาอนภุ าคดินสูญหายไป 2. การเพาะปลกู และเตรียมดินอย่างไม่ถกู วิธี จะก่อให้เกดิ ความเสยี หาย กบั ดนิ ไดม้ าก เชน่ การปลกู พืชบางชนิดจะทาให้ดินเสื่อมเรว็ การเผาปา่ ไม้หรอื ตอข้าวในนา จะทาให้ฮิวมสั ในดินเสื่อม สลายเกดิ ผลเสียกบั ดนิ มาก

ทรัพยากรปา่ ไม้ ความสาคญั ของทรพั ยากรปา่ ไม้ ปา่ ไมม้ ีประโยชนม์ ากมายต่อการดารงชีวิตของมนุษยท์ ั้งทางตรงและ ทางออ้ ม ดังนี้ 1. ประโยชนท์ างตรง (Direct benefits) ได้แกก่ ารนามาใช้สนอง ปจั จัยพน้ื ฐานในการดารงชวี ิตของมนษุ ย์ 4 ประการ ได้แก่ 1. นามาสรา้ งอาคารบา้ นเรือนและผลิตภณั ฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอรน์ เิ จอร์ กระดาษ ไม้ ขีดไฟ ฟนื เปน็ ต้น 2. ใชเ้ ป็นอาหาร 3. ใชเ้ ส้นใยที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวลั ย์ มาถกั ทอเป็นเครอ่ื งนงุ่ ห่ม เชือก และอื่น 4. ใชท้ ายารักษาโรคตา่ ง ๆ 2. ประโยชนท์ างออ้ ม (Indirect benefits) 1. ป่าไมเ้ ปน็ แหล่งกาเนดิ ต้นน้าลาธาร เพราะต้นไม้จานวนมากในปา่ จะทาให้นา้ ฝนท่ี ตกลงมาคอ่ ย ๆ ซมึ ซับลงในดนิ กลายเป็นนา้ ใตด้ นิ ซ่ึงจะไหลซึมมาหลอ่ เล้ยี งให้ แมน่ า้ ลาธารมีนา้ ไหลอยู่ตลอดปี 2. ป่าไมท้ าใหเ้ กดิ ความชมุ ชืน้ และควบคมุ สภาวะอากาศ ไอนา้ ซึ่งเกิดจากการหายใจ ของพชื จานวนมากในป่า ทาใหอ้ ากาศเหนอื ปา่ มคี วามชนื้ สูง เมื่ออุณหภมู ิลดตา่ ลง ไอนา้ เหลา่ นั้นก็จะกลัน่ ตวั กลายเป็นเมฆแล้วกลายเป็นฝนตกลงมา ทาให้บรเิ วณทีม่ ี พืน้ ทีป่ า่ ไม้มคี วามชุมชื้นอยเู่ สมอ ฝนตกตอ้ งตามฤดูกาลและไม่เกิดความแหง้ แล้ง 3. ปา่ ไมเ้ ป็นแหล่งพกั ผอ่ นและศกึ ษาหาความรู้ บรเิ วณปา่ ไม้จะมภี ูมปิ ระเทศที่ สวยงามจากธรรมชาตริ วมทงั้ สตั ว์ปา่ จึงเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้ดี นอกจากนั้นปา่ ไมย้ งั เปน็ ทรี่ วมของพันธ์ุพชื และพนั ธ์สุ ตั ว์จานวนมาก จงึ เป็นแหล่ง ให้มนุษย์ไดศ้ ึกษาหาความรู้

4. ปา่ ไมช้ ่วยบรรเทาความรนุ แรงของลมพายุและปอ้ งกนั อทุ กภยั โดยชว่ ยลด ความเร็วของลมพายทุ ี่พดั ผา่ นได้ตงั้ แต่ 11-44% ตามลกั ษณะของปา่ ไมแ้ ต่ละชนดิ จงึ ชว่ ยให้บา้ นเมอื ง รอดพน้ จากวาตภัยได้ ซึง่ เปน็ การปอ้ งกันและควบคุมนา้ ตาม แม่นา้ ไมใ่ หส้ ูงข้ึนอย่างมารวดเร็วลน้ ฝัง่ กลายเปน็ อุทกภัย 5. ปา่ ไมช้ ่วยป้องกนั การกดั เซาะและพัดพาหน้าดิน จากนา้ ฝนและลมพายโุ ดยลดแรง ปะทะลง การหลดุ เลื่อนของดนิ จึงเกดิ ขนึ้ น้อย และยังเป็นการชว่ ยให้แม่นา้ ลาธาร ต่าง ๆ ไม่ ตน้ื เขนิ ข้ึนอีกด้วย นอกจากนี้ป่าไมจ้ ะเป็นเสมอื นเครอื่ งกีดขวางตาม ธรรมชาติ จึงนบั ว่ามปี ระโยชนใ์ นทางยทุ ธศาสตร์ดว้ ยเช่นกัน 6. ชว่ ยใหเ้ กดิ วฎั จักรของน้า (Water Cycling) วัฎจักรของออกซิเจน วฎั จักรของ คารบ์ อน และวัฎจักรของไนโตรเจน ในเขตนเิ วศ(Ecosphere) 7. ช่วยดูดซับมลพิษของอากาศ

ประเภทของปา่ ไมใ้ นประเทศไทย ประเภทของปา่ ไม้จะแตกตา่ งกันไปข้นึ อยู่กับการกระจายของ ฝน ระยะเวลาทฝี่ นตกรวมทง้ั ปรมิ าณน้าฝนทาใหป้ ่าแตล่ ะแห่งมคี วามชุม่ ช้ืนต่างกัน สามารถจาแนกได้เปน็ 2 ประเภทใหญ่ ๆ คอื ก. ปา่ ประเภทท่ไี ม่ผลัดใบ (Evergreen) ข. ปา่ ประเภทท่ผี ลดั ใบ (Deciduous) ปา่ ประเภททไี่ มผ่ ลดั ใบ (Evergreen) ปา่ ประเภทน้มี องดูเขยี ว ชอุ่มตลอดปี เนอื่ งจากต้นไมแ้ ทบท้งั หมดท่ขี ึน้ อย่เู ปน็ ประเภทท่ีไมผ่ ลัด ใบ ป่าชนดิ สาคญั ซงึ่ จดั อย่ใู นประเภทนี้ ได้แก่ 1. ปา่ ดงดิบ (Tropical Evergreen Forest or Rain Forest) ป่าดงดิบที่มอี ยทู่ ว่ั ในทุกภาคของประเทศ แต่ทม่ี ีมากทสี่ ุด ได้แก่ ภาคใตแ้ ละภาค ตะวนั ออก ในบรเิ วณนมี้ ีฝนตกมากและมคี วามชื้นมากในทอ้ งทีภ่ าคอน่ื ป่าดงดิบมัก กระจายอยู่บรเิ วณท่มี คี วามชมุ่ ช้ืนมาก ๆ เช่น ตามหุบเขาริมแมน่ า้ ลาธาร ห้วย แหล่ง น้า และบนภูเขา ซงึ่ สามารถแยกออกเปน็ ป่าดงดิบชนดิ ตา่ ง ๆ ดงั นี้ 1.1 ปา่ ดบิ ช้นื (Moist Evergreen Forest) เปน็ ป่ารกทึบมองดเู ขียวชอุ่ม ตลอดปีมีพนั ธไ์ุ มห้ ลายร้อยชนิดข้ึนเบียดเสียดกันอยู่มกั จะพบกระจัดกระจายตง้ั แต่ ความสูง 600 เมตร จากระดบั น้าทะเล ไม้ทีส่ าคญั กค็ อื ไม้ตระกูลยางต่าง ๆ เช่น ยางนา ยางเสียน ส่วนไม้ชัน้ รอง คอื พวกไมก้ อ เชน่ กอนา้ กอเดอื ย 1.2 ปา่ ดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) เป็นปา่ ทอ่ี ยูใ่ นพืน้ ทคี่ ่อนข้าง ราบมคี วามชมุ่ ชื้นน้อย เชน่ ในแถบภาคเหนอื และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือมักอยู่ สูงจากระดบั นา้ ทะเลประมาณ 300-600 เมตร ไม้ที่สาคัญได้แก่ มะคาโมง ยางนา พยอม ตะเคยี นแดง กระเบากลกั และตาเสอื 1.3 ปา่ ดิบเขา (Hill Evergreen Forest) ป่าชนิดนเ้ี กดิ ขึน้ ในพ้นื ท่สี งู ๆ หรือบนภูเขาตงั้ แต่ 1,000-1,200 เมตร ขน้ึ ไปจากระดบั นา้ ทะเล ไม้ส่วนมากเป็น พวก ไมข้ นุ และสนสามพันปี นอกจากนี้ยงั มีไมต้ ระกลู กอขน้ึ อยู่ พวกไมช้ ้นั ทส่ี อง รองลงมาไดแ้ ก่ เปง้ สะเดาช้าง และขมิน้ ตน้

2. ป่าสนเขา (Pine Forest) ปา่ สนเขามกั ปรากฏอยตู่ ามภูเขาสูงส่วนใหญ่เป็น พ้ืนท่ีซ่ึงมีความสูงประมาณ 200-1800 เมตร ข้ึนไปจากระดับนา้ ทะเลในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ บางทีอาจปรากฏในพ้ืนทสี่ งู 200-300 เมตร จากระดับน้าทะเลในภาคตะวันออกเฉียงใต้ ปา่ สนเขามลี ักษณะเป็นปา่ โปร่ง ชนิดพนั ธไุ์ ม้ท่สี าคัญของป่าชนิดน้ีคอื สนสองใบ และสนสามใบ สว่ นไมช้ นิดอนื่ ท่ี ข้ึนอยูด่ ว้ ยได้แก่พนั ธุไ์ ม้ปา่ ดบิ เขา เชน่ กอชนิดต่าง ๆ หรือพันธุ์ไม้ป่าแดงบางชนิด คือ เตง็ รัง เหยี ง พลวง เปน็ ตน้ 3. ป่าชายเลน (Mangrove Forest) บางทีเรยี กวา่ \"ป่าเลนน้าเค็ม\" หรอื ป่าเลน มตี น้ ไมข้ ้นึ หนาแนน่ แตล่ ะชนดิ มรี ากคา้ ยันและรากหายใจ ปา่ ชนิดน้ปี รากฏอยู่ตาม ทีด่ นิ เลนริมทะเลหรอื บรเิ วณปากน้าแมน่ า้ ใหญ่ ๆ ซง่ึ มนี า้ เคม็ ท่วมถงึ ในพ้นื ที่ภาคใต้ มอี ยตู่ ามชายฝง่ั ทะเลทงั้ สองดา้ น ตามชายทะเลภาคตะวันออกมอี ยู่ทกุ จงั หวัดแต่ที่ มากทีส่ ดุ คือ บรเิ วณปากนา้ เวฬุ อาเภอขลุง จังหวดั จันทบุรี พนั ธ์ไุ มท้ ่ขี ้นึ อยูต่ ามป่า ชายเลน สว่ นมากเปน็ พันธไ์ุ มข้ นาดเล็กใช้ประโยชนส์ าหรับการเผาถา่ นและทาฟืนไม้ ชนดิ ทส่ี าคัญ คอื โกงกาง ประสัก ถ่ัวขาว ถัว่ ขา โปรง ตะบนู แสมทะเล ลาพนู ลาแพน ฯลฯ สว่ นไม้พืน้ ลา่ งมักเปน็ พวก ปรงทะเลเหงอื กปลายหมอ ปอทะเล และเปง้ เป็น ตน้ 4. ปา่ พรหุ รือป่าบงึ น้าจืด (Swamp Forest) ปา่ ชนิดน้มี กั ปรากฏในบรเิ วณท่ีมี นา้ จดื ท่วมมาก ๆ ดนิ ระบายนา้ ไมด่ ปี า่ พรใุ นภาคกลาง มลี กั ษณะโปรง่ และมีต้นไม้ ขึ้นอยู่หา่ ง ๆ เชน่ ครอเทยี น สนนุ่ จิก โมกบา้ น หวายน้า หวายโปรง่ ระกา อ้อ และ แขม ในภาคใต้ป่าพรมุ ีขนึ้ อยู่ตามบรเิ วณที่มีน้าขงั ตลอดปีดนิ ป่าพรุท่มี ีเนือ้ ที่มากที่สดุ อยใู่ นบริเวณจังหวัดนราธิวาสดนิ เปน็ พีท ซ่ึงเปน็ ซากพชื ผุสลายทับถมกนั เปน็ เวลานานป่าพรุแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ คือ ตามบรเิ วณซงึ่ เปน็ พรนุ ้ากรอ่ ยใกล้ ชายทะเลตน้ เสมด็ จะขน้ึ อยู่หนาแน่นพนื้ ทมี่ ีตน้ กกชนดิ ตา่ ง ๆ เรียก \"ปา่ พรุเสม็ด หรือ ปา่ เสม็ด\" อีกลักษณะเป็นปา่ ท่ีมีพันธ์ไุ ม้ต่าง ๆ มากชนดิ ข้นึ ปะปนกนั ชนิดพนั ธุ์ ไมท้ สี่ าคญั ของปา่ พรุ ได้แก่ อินทนิล น้าหว้า จกิ โสกน้า กระทมุ่ น้าภนั เกรา โงงงนั กะ ท่งั หนั ไม้พ้นื ลา่ งประกอบด้วย หวาย ตะค้าทอง หมากแดง และหมากชนิดอน่ื ๆ

5. ปา่ ชายหาด (Beach Forest) เปน็ ป่าโปร่งไมผ่ ลดั ใบขึ้นอยู่ตามบริเวณหาด ชายทะเล นา้ ไมท่ ่วมตามฝั่งดินและชายเขารมิ ทะเล ตน้ ไมส้ าคญั ท่ขี ึน้ อยูต่ ามหาด ชายทะเล ตอ้ งเปน็ พชื ทนเคม็ และมักมีลกั ษณะไมเ้ ป็นพุม่ ลักษณะตน้ คดงอ ใบหนา แข็ง ได้แก่ สนทะเล หกู วาง โพธิ์ทะเล กระทงิ ตีนเป็ดทะเล หยีน้า มกั มตี ้นเตยและ หญา้ ตา่ ง ๆ ขนึ้ อยเู่ ป็นไมพ้ ้ืนล่าง ตามฝ่ังดินและชายเขา มักพบไมเ้ กตลาบิด มะคาแต้ กระบองเพชร เสมา และไมห้ นามชนดิ ต่าง ๆ เชน่ ซิงซ่ี หนามหัน กาจาย มะดันขอ เปน็ ต้น

ป่าประเภททผ่ี ลดั ใบ (Declduous) ต้นไมท้ ขี่ ้ึนอยูใ่ นป่าประเภทน้ีเปน็ จาพวกผลัดใบแทบท้งั สิ้น ในฤดฝู นปา่ ประเภทน้จี ะมองดเู ขยี วชอมุ่ พอถงึ ฤดแู ลง้ ต้นไม้ สว่ นใหญจ่ ะพากนั ผลัด ใบทาใหป้ ่ามองดโู ปรง่ ข้ึน และมกั จะเกิดไฟป่าเผาไหม้ใบไมแ้ ละตน้ ไมเ้ ลก็ ๆ ปา่ ชนิดสาคัญซ่ึงอย่ใู นประเภทน้ี ไดแ้ ก่ 1. ป่าเบญจพรรณ (Mixed Declduous Forest) ป่าผลดั ใบผสม หรอื ปา่ เบญจ พรรณมลี กั ษณะเป็นปา่ โปร่งและยังมไี ม้ไผ่ชนดิ ตา่ ง ๆ ข้ึนอยู่กระจดั กระจายท่ัวไปพ้ืน ทีด่ ินมักเปน็ ดินร่วนปนทราย ป่าเบญจพรรณ ในภาคเหนือมกั จะมไี ม้สกั ขน้ึ ปะปนอยู่ ทวั่ ไปครอบคลมุ ลงมาถึงจงั หวดั กาญจนบรุ ี ในภาคกลางในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวนั ออก มปี ่าเบญจพรรณน้อยมากและกระจดั กระจาย พนั ธุ์ไม้ชนิดสาคัญไดแ้ ก่ สัก ประดแู่ ดง มะค่าโมง ตะแบก เสลา ออ้ ยช้าง ส้าน ยม หอม ยมหนิ มะเกลือ สมพง เกด็ ดา เก็ดแดง ฯลฯ นอกจากนม้ี ีไมไ้ ผท่ ี่ สาคญั เช่น ไผ่ป่า ไผบ่ ง ไผซ่ าง ไผร่ วก ไผไ่ ร เป็นตน้ 2. ปา่ เตง็ รงั (Declduous Dipterocarp Forest) หรือทเ่ี รียกกนั วา่ ป่าแดง ป่าแพะ ป่าโคก ลักษณะท่วั ไปเป็นป่าโปร่ง ตามพนื้ ป่ามักจะมีโจด ตน้ แปรง และ หญ้าเพก็ พ้ืนทแี่ ห้งแลง้ ดนิ รว่ นปนทราย หรอื กรวด ลูกรัง พบอยู่ท่ัวไปในที่ราบและท่ี ภูเขา ในภาคเหนอื สว่ นมากข้นึ อยบู่ นเขาท่ีมดี ินตน้ื และแห้งแล้งมากในภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ มปี ่าแดงหรือป่าเต็งรังนี้มากที่สดุ ตามเนินเขาหรอื ทีร่ าบดิน ทรายชนดิ พนั ธุ์ไม้ทสี่ าคัญในป่าแดง หรอื ปา่ เตง็ รัง ไดแ้ ก่ เตง็ รงั เหยี ง พลวง กราด พะยอม ตว้ิ แตว้ มะค่าแต ประดู่ แดง สมอไทย ตะแบก เลอื ดแสลงใจ รกฟา้ ฯลฯ ส่วนไม้พน้ื ล่างทพ่ี บมาก ได้แก่ มะพร้าวเต่า ปุ่มแปง้ หญา้ เพก็ โจด ปรงและหญา้ ชนดิ อน่ื ๆ

3. ป่าหญ้า (Savannas Forest) ป่าหญา้ ท่ีอยทู่ กุ ภาคบริเวณป่าท่ถี กู แผ้วถางทา ลายบริเวณพืน้ ดนิ ทข่ี าดความสมบูรณแ์ ละถูกทอดทง้ิ หญ้าชนิดต่าง ๆ จงึ เกดิ ขึน้ ทดแทนและพอถึงหนา้ แลง้ ก็เกิดไฟไหม้ทาใหต้ ้นไม้บริเวณข้างเคียงลม้ ตาย พ้นื ท่ปี ่า หญ้าจงึ ขยายมากขน้ึ ทกุ ปี พชื ที่พบมากท่สี ุดในปา่ หญา้ กค็ ือ หญา้ คา หญา้ ขนตาชา้ ง หญ้าโขมง หญา้ เพก็ และป่มุ แป้ง บริเวณที่พอจะมคี วามชนื้ อยบู่ ้าง และการระบายนา้ ได้ดกี ็มกั จะพบพงและแขมข้นึ อยู่ และอาจพบต้นไม้ทนไฟขึน้ อยู่ เชน่ ตบั เตา่ รกฟ้า ตานเหลือง ติ้วและแตว้

ประโยชนข์ องทรพั ยากรป่าไม้ ปา่ ไมม้ ีประโยชน์มากมายต่อการ ดารงชวี ติ ของมนุษยท์ งั้ ทางตรงและทางอ้อม ไดแ้ ก่. ประโยชนท์ างตรง (Direct Benefits) ไดแ้ ก่ ปัจจยั 4 ประการ 1. จากการนาไมม้ าสร้างอาคารบ้านเรอื นและผลิตภณั ฑต์ ่าง ๆ เชน่ เฟอร์นเิ จอร์ กระดาษ ไม้ขดี ไฟ ฟนื เปน็ ต้น 2. ใช้เป็นอาหารจากสว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และผล 3. ใชเ้ สน้ ใย ที่ได้จากเปลอื กไม้และเถาวลั ยม์ าถักทอ เปน็ เครอื่ งนุ่งหม่ เชือกและอนื่ 4. ใช้ทายารักษาโรคตา่ ง ๆ ประโยชนท์ างออ้ ม (Indirect Benefits) 1. ปา่ ไมเ้ ปน็ เปน็ แหลง่ กาเนดิ ต้นนา้ ลาธารเพราะตน้ ไมจ้ านวนมากในปา่ จะทาให้ นา้ ฝนท่ีตกลงมาคอ่ ย ๆ ซึมซับลงในดิน กลายเปน็ น้าใตด้ ินซง่ึ จะไหลซึมมาหล่อ เลย้ี งใหแ้ ม่นา้ ลาธารมีนา้ ไหลอยตู่ ลอดปี 2. ปา่ ไม้ทาให้เกดิ ความชมุ่ ช้ืนและควบคมุ สภาวะอากาศ ไอนา้ ซง่ึ เกดิ จากการหายใจ ของพชื ทาใหอ้ ากาศเหนือปา่ มคี วามชืน้ สงู เมื่ออุณหภมู ิลดตา่ ลงไอน้าเหล่านนั้ กจ็ ะ กลน่ั ตวั กลายเป็นเมฆแลว้ กลายเปน็ ฝนตกลงมา ทาให้บริเวณทม่ี พี ืน้ ป่าไม้มีความชมุ่ ชนื้ อย่เู สมอ ฝนตกตอ้ งตามฤดกู าลและไมเ่ กิดความแหง้ แลง้ 3. ป่าไมเ้ ป็นแหลง่ พักผ่อนและศึกษาความรู้ บรเิ วณป่าไม้จะมภี มู ปิ ระเทศท่สี วยงาม จากธรรมชาติรวมทั้งสัตวป์ ่า จึงเป็นแหลง่ พกั ผอ่ นหยอ่ นใจได้ดี นอกจากนน้ั ปา่ ไม้ ยังเป็นที่รวมของพนั ธ์ุพืชและพันธุส์ ตั วจ์ านวนมาก จึงเปน็ แหลง่ ใหม้ นษุ ย์ไดศ้ ึกษา หาความรู้ 4. ป่าไม้ชว่ ยบรรเทาความรุนแรงของลมพายแุ ละปอ้ งกนั อทุ กภัย โดยชว่ ยลด ความเร็วของลมพายุทพ่ี ดั ผา่ นไดต้ ั้งแต่ ๑๑-๔๔ % ตามลักษณะของป่าไม้แตล่ ะ ชนดิ จงึ ช่วยใหบ้ ้านเมืองรอดพน้ จากวาตภัยได้ซึง่ เปน็ การปอ้ งกันและควบคมุ น้า ตามแมน่ ้าไม่ใหส้ ูงขนึ้ มารวดเรว็ ลน้ ฝง่ั กลายเป็นอุทกภัย 5. ปา่ ไมช้ ว่ ยปอ้ งกันการกดั เซาะและพดั พาหนา้ ดนิ จากนา้ ฝนและลมพายโุ ดยลดแรง ปะทะลงการหลุดเลือนของดนิ จงึ เกิดข้นึ นอ้ ย และยังเปน็ การช่วยให้แม่นา้ ลาธาร ตา่ ง ๆ ไมต่ น้ื เขินอกี ดว้ ย

สาเหตผุ ลกระทบปญั หาทรพั ยากรป่าไม้ 1. การลักลอบตัดไม้ทาลายปา่ ตัวการของปัญหาน้ี คือ นายทุนพ่อค้าไม้ เจา้ ของ โรงเลอื่ ย เจา้ ของโรงงานแปรรูปไม้ ผู้รบั สมั ปทานทาไมแ้ ละชาวบ้านทัว่ ไป ซงึ่ ทาการ ตดั ไม้เพือ่ เอาประโยชนจ์ ากเนื้อไมท้ ้งั ท่ถี ูกและไมถ่ กู กฎหมาย ปรมิ าณปา่ ไมท้ ถ่ี ูก ทาลายน้ีนับวนั จะเพ่มิ ขึน้ เรอื่ ย ๆ ตามอตั ราการเพิ่มจานวนประชากร ยง่ิ มปี ระชากร เพมิ่ ข้นึ เท่าใด ความต้องการใชไ้ ม้ก็เพ่มิ มากขึน้ เช่น ใช้ไม้ ในการปลูกสร้างบา้ นเรือน เคร่ืองมือเครอื่ งใชใ้ นการเกษตรกรรม เครอ่ื งเรอื นและถ่านในการหงุ ตม้ เป็นต้น 2. การบกุ รกุ พื้นท่ีปา่ ไม้เพอ่ื เขา้ ครอบครองที่ดนิ เมือ่ ประชากรเพิ่มสงู ขึ้น ความ ต้องการใชพ้ น้ื ดินเพือ่ ปลูกสรา้ งทีอ่ ยู่อาศยั และทดี่ นิ ทากนิ ก็สูงข้นึ เปน็ ผลใหร้ าษฎร เข้าไปบกุ รกุ พ้ืนทปี่ ่าไม้ แผ้วถางป่า หรือเผาป่าทาไร่เล่ือนลอย นอกจากนย้ี ังมนี ายทุน ทด่ี นิ ท่ีจ้างวานใหร้ าษฎรเขา้ ไปทาลายป่าเพื่อจับจองที่ดนิ ไว้ขายต่อไป 3. การส่งเสริมการปลกู พชื หรือเลีย้ งสัตว์เศรษฐกจิ เพอ่ื การส่งออกในพ้นื ที่ปา่ ที่ไม่ เหมาะสม เชน่ มนั สาปะหลัง ปอ เป็นตน้ โดยไม่ส่งเสริมการใชท้ ดี่ นิ อย่างเต็ม ประสิทธิภาพ ทัง้ ๆ ท่ีพื้นทปี่ ่าบางแห่งไมเ่ หมาะสมท่ีจะนามาใชใ้ นการเกษตร 4. การกาหนดแนวเขตพ้ืนทป่ี ่ากระทาไมช่ ัดเจน หรือไม่กระทาเลยในหลาย ๆ พ้ืนที่ ทาให้ราษฎรเกดิ ความสบั สนท้ังโดยเจตนาและไม่เจตนา ทาให้เกิดการพิพาทในเรอ่ื ง ที่ดนิ ทากนิ และทด่ี ินปา่ ไมอ้ ยู่ตลอดเวลาและมกั เกดิ การร้องเรยี นตอ่ ตา้ นในเร่ือง กรรมสิทธ์ิที่ดิน

5. การจัดสร้างสาธารณปู โภคของรฐั เช่น เข่อื น อา่ งเกบ็ นา้ เสน้ ทางคมนาคม การ สร้างเข่ือนขวางลาน้า จะทาให้พ้ืนที่เกบ็ น้าหนา้ เข่ือนทอ่ี ุดมสมบูรณถ์ กู ตัดโคน่ มาใช้ ประโยชน์ ส่วนต้นไมข้ นาดเลก็ หรือท่ีทาการย้ายออกมาไมท่ ันจะถูกน้าทว่ มยนื ต้น ตาย เชน่ การสรา้ งเข่อื นรัชประภา เพื่อก้นั คลองพระแสงอนั เปน็ สาขาของแม่นา้ พุมดวง-ตาปี ทาให้นา้ ทว่ มบรเิ วณปา่ ดงดบิ ซ่ึงมีพันธุ์ไม้หนาแน่นสัตวน์ านาชนิดนบั พื้นทีเ่ ป็นแสนไร่ ต่อมาจงึ เกิดปัญหาน้าเนา่ ไหลลงลานา้ พุมดวง 6. ไฟไหม้ปา่ มกั จะเกิดข้นึ ในชว่ งฤดูแลง้ อากาศแห้งและรอ้ นจัด ทัง้ โดยธรรมชาติ และจากการกระทาของมนุษยท์ ีอ่ าจลกั ลอบเผาป่าหรือเผลอจุดไฟทิง้ ไว้ โดยเฉพาะ ในปา่ ผลดั ใบ ไฟป่าเมอ่ื เกิดขึ้นจะทาให้เกิดการสูญเสียพ้นื ทีป่ า่ จานวนมาก 7. การทาเหมืองแร่ แหลง่ แรท่ พี่ บบริเวณที่มปี า่ ไมป้ กคลุมอยู่ มคี วามจาเป็นที่จะต้อง เปดิ หน้าดนิ กอ่ น จงึ ทาให้ป่าไม้ทขี่ นึ้ ปกคลมุ ถกู ทาลายลง เส้นทางการขนยา้ ยแร่ใน บางครัง้ ต้องทาลายป่าไมล้ งจานวนมาก เพอ่ื สรา้ งถนนหนทาง การระเบิดหน้าดิน เพือ่ ให้ไดม้ าซ่ึงแร่ธาตสุ ง่ ผลถงึ การทาลายปา่

การจัดการการตลาด การจดั การการตลาด หมายถงึ การดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ดา้ นธรุ กิจ ซง่ึ จะต้องมกี ารวางแผนการผลติ การกาหนดราคา การจัดจาหน่าย ตลอดจนการดาเนินกิจการทุกอย่างเพอ่ื สนองความตอ้ งการ และ บรกิ ารให้แก่ผ้ซู ื้อหรอื ผู้บรโิ ภคพอใจ ทง้ั ในเรอื่ งราคาและบรกิ าร ซึ่งแยก กลา่ วได้ดังน้ี การวางแผนการผลติ ก่อนท่ีจะตดั สินใจดาเนินธุรกจิ การทาผลิตภณั ฑ์ กระดาษสา จะตอ้ งคานงึ ถึงสง่ิ ต่อไปน้ี คือ 1. ทนุ ถา้ ไมม่ ที นุ เป็นของตนเองต้องอาศยั แหลง่ เงนิ กู้ จะตอ้ งพิจารณาว่าแหลง่ เงนิ กู้นั้นมาจากไหน ถา้ กู้จากเอกชนกต็ อ้ งเสยี ดอกเบีย้ แพงกว่าสถาบนั การเงิน ถ้า เสียดอกเบ้ยี แพงจะคุ้มกับการลงทุนหรอื ไม่ 2. แรงงาน ถา้ สามารถใชแ้ รงงานในครอบครัวได้ก็จะสามารถลดรายจา่ ยลงได้ 3. วตั ถดุ ิบ สามารถหาได้ง่ายในทอ้ งถน่ิ หรือไม่ หากไมม่ ใี นทอ้ งถ่ินจะมีปัญหาเรือ่ ง ราคาและการขนสง่ หรือไม่ 4. การจดั การ หมายถงึ การจัดการด้านตลาด การจัดจาหน่าย กอ่ นอ่นื ตอ้ งคานงึ ถงึ กลุ่มเปา้ หมาย ทจ่ี ะนาผลิตภัณฑไ์ ปจาหนา่ ยการกาหนดราคาขาย ราคาตน้ ทุน กาไร และการลงบญั ชเี บอ้ื งต้น สง่ิ เหลา่ นจ้ี าเปน็ อยา่ งยิ่งในการประกอบธรุ กิจ

การกาหนดราคาขาย เมื่อทาการผลติ ผลิตภณั ฑก์ ระดาษสาขนึ้ มาเพือ่ การจาหน่าย ส่งิ แรกท่ีตอ้ งทาคือการกาหนดราคาขายท่ีผู้ซ้อื สามารถซื้อ ได้ในราคาไมแ่ พงจนเกนิ ไป และผู้ขายกพ็ อใจท่จี ะขายเพราะไดก้ าไร ตามท่ตี ้องการ การกาหนดราคาขายทาได้ดงั นี้ 1. ติดตามความตอ้ งการของลูกคา้ ลูกค้าเป็นผ้กู าหนดราคาขาย ถา้ ลกู คา้ มีความตอ้ งการและสนใจมากก็จะสามารถตง้ั ราคาได้สูง 2. ตัง้ ราคาขายโดยบวกราคาต้นทุนกับกาไรทตี่ อ้ งการกจ็ ะเป็นราคาขาย ในกรณเี ช่นนี้จะต้องร้รู าคาตน้ ทุนมาก่อนจงึ จะสามารถบวกกาไรลงไป ได้ การตงั้ ราคาขายน้ี จะมผี ลต่อปริมาณการขาย ถ้าตง้ั ราคาขายไม่แพง หรือตา่ กวา่ ราคาตลาดก็สามารถขายได้จานวนมาก ผลทีไ่ ด้รบั คอื ได้กาไร เพมิ่ มากขึ้นดว้ ยการกาหนดราคาขายมีหลายรปู แบบ แต่สง่ิ ทีส่ าคญั คอื ตอ้ งคานึงถงึ ราคาทส่ี งู ที่สุดทผ่ี ซู้ ้อื สามารถซ้อื ได้และราคาต่าสดุ ที่จะได้ เงนิ ทนุ คืนสรุป หลกั เกณฑ์ในการกาหนดราคาขาย ดังน้ี 1.1 ได้ผลตอบแทนจากการลงทนุ ตามเปา้ หมาย 1.2 เพื่อรักษาเสถียรภาพด้านราคาไมถ่ กู หรอื แพงจนเกนิ ไป 1.3 เพื่อรักษาหรอื ปรบั ปรงุ สว่ นแบ่งของการตลาด กลา่ วคือ ตงั้ ราคาขายสง่ ถูกกว่า ราคาขายปลีก เพอื่ ให้ผู้รับซื้อไปจาหนา่ ยปลกี จะไดบ้ วกกาไรไดด้ ้วย 1.4 เพือ่ แข่งขันหรือป้องกนั คแู่ ข่งขนั หรือผู้ผลิตรายอ่นื 1.5 เพอื่ ผลกาไรสูงสดุ การกาหนดราคาขาย มหี ลักสาคัญ คือ ราคาต้นทนุ + กาไรท่ี ตอ้ งการ ดงั น้ัน จึงจาเปน็ ตอ้ งศึกษาเรอ่ื งราวการคดิ ราคาต้นทนุ ให้เขา้ ใจก่อน

การคิดราคาตน้ ทนุ หมายถึง การคดิ คานวณราคาวตั ถุดิบทใ่ี ช้ในการผลิต มี ค่าแรงคา่ ใชจ้ ่ายในการผลติ ประกอบดว้ ย คา่ เช่าสถานที่ คา่ ไฟฟา้ ค่าขนส่ง ฯลฯ การ คดิ ราคาตน้ ทนุ มีประโยชน์ คอื 1) สามารถตง้ั ราคาขายไดโ้ ดยรวู้ า่ จะได้กาไรเทา่ ไร 2) สามารถรู้วา่ รายการใดทีก่ อ่ ใหเ้ กดิ ตน้ ทุนสูง หากตอ้ งการกาไรมากก็สามารถลด ต้นทุนน้นั ๆ ลงได้ 3) รูถ้ งึ การลดตน้ ทุนในการผลิตแลว้ นาไปปรบั ปรงุ และวางแผนการผลิตเพิม่ ขนึ้ ต้นทนุ การผลติ มี 2 อยา่ ง คอื 1. ต้นทุนทางตรง หมายถึง ต้นทุนในการซ้ือวัตถุดิบรวมทงั้ ค่าขนส่ง 2. ตน้ ทนุ ทางอ้อม หมายถงึ ต้นทนุ ท่จี า่ ยเป็นค่าบรกิ ารตา่ ง ๆ เชน่ คา่ แรงงาน ค่า ไฟฟ้า ค่าเช้อื เพลิง ทง้ั นี้ ให้คดิ เฉพาะส่วนทีเ่ กยี่ วกับการผลติ โดยตรง แลว้ นาตน้ ทนุ ท้ังสองอย่างมาคดิ รวมกันก็จะไดเ้ ป็นราคาต้นทุนรวม สรปุ การกาหนดราคาขาย จะตอ้ งคานึงถึง 1. ต้นทนุ ทางตรง + ตน้ ทุนทางอ้อม คือ ตน้ ทนุ รวม 2. การหากาไรทเ่ี หมาะสม ทาไดโ้ ดยเพิม่ ตน้ ทุนรวมขึน้ อีก 20-30% ตวั อยา่ ง ต้นทุนรวมในการทาดอกไมจ้ ากกระดาษสา 500 บาท บวกกาไร 30% ของ 500 จะได้ = 150 บาท ฉะนนั้ ราคาขาย คอื ตน้ ทนุ + กาไร คอื 500 + 150 เท่ากบั 650 บาท

การผลติ และการจดั จาหนา่ ย 1. ประเภทของการจัดจาหนา่ ย มี 2 แบบ คอื 1) การจาหน่ายแบบสั้น คือ การนาสนิ คา้ จากผผู้ ลติ สรู่ า้ นค้าปลีก หรอื รา้ นคา้ ยอ่ ยถงึ ผซู้ อื้ หรอื ผ้บู ริโภคโดยตรง 2) การจัดจาหนา่ ยแบบยาว คอื การนาสนิ ค้าจากผผู้ ลติ (บ้าน) ถึงรา้ นค้าขาย ส่ง แล้วรา้ นค้าขายส่งจาหน่ายต่อไปยงั ร้านคา้ ขายปลีก รา้ นค้าขายปลีกจาหน่าย ต่อไปยังผูบ้ รโิ ภค สรุป การทาใหส้ ินค้าทีผ่ ลิตขึ้นสามารถขายไดจ้ านวนมาก มี วธิ ดี าเนนิ การไดห้ ลายรูปแบบ คอื 1. จากผผู้ ลิต ถึง ร้านขายสง่ ถึง ร้านขายปลกี ถงึ ผู้ซอื้ หรอื ผ้บู รโิ ภค 2. จากผ้ผู ลติ ผ่าน นายหนา้ ถงึ รา้ นค้าปลีก ถึง ลูกค้า 3. จากผู้ผลติ ผา่ น นายหน้า ลกู ค้า (ผู้บรโิ ภค) โดยตรง โดยระบบการขายฝากและ สรา้ งภาพพจนข์ องสินค้า จงู ใจผ้ซู ้อื ดว้ ยวิธีการต่าง ๆ เปน็ ตน้ 2. คุณภาพและมาตรฐานของสินคา้ จะต้องผลติ ให้ตรงกับความตอ้ งการและรสนิยมของกลุ่มเป้าหมายท้ังในด้านรปู แบบ สีสนั และประโยชน์ใชส้ อย 3. การโฆษณา ประชาสมั พนั ธ์ การทาการคา้ จาเปน็ อยา่ งยง่ิ ท่จี ะต้องมีการโฆษณาประชาสัมพนั ธเ์ พือ่ ให้ผซู้ ้ือรูจ้ ัก สนิ ค้า สือ่ ท่ใี ช้ในการน้อี าจจะเปน็ หนังสอื พิมพ์ นิตยสาร วารสาร ใบปลวิ หรอื แผ่น พับแนะนาสนิ คา้ หรอื อาจจะทาเป็นแคตตาล็อกตวั อย่างสินค้า ป้ายโฆษณา นิทรรศการออกร้านแสดงสนิ คา้ ตลอดจนโฆษณาผ่านสอ่ื วิทยแุ ละโทรทศั น์

ที่ปรกึ ษา นายสุรพล ขนั ทแพทย์ ผอู้ านวยการ กศน. อาเภอทงุ่ ช้าง นายณัฐวัฒน์ หงสจ์ ุ้ย ครผู ูช้ ่วย ผ้ทู า/จัดพมิ พ์ นายสทุ ัศน์ อินทะรังษี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook