Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 160662EX

160662EX

Published by phatcharinsrirak, 2019-06-16 08:21:20

Description: 160662EX

Search

Read the Text Version

รจุ โรจน์ แกว้ อไุ ร

ผจู ัดทำ เทคโนโลยีการถา ยภาพ PHOTOGARPHY TECHNOLOGY เทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพ PHOTOGAPHY TECHNOLOGY รุจโรจน์ แก้วอไุ ร จดั ทำ�โดย นางสาวจงรัก พิลกึ รหสั นสิ ิต 60410229 สาขาเทคโนโลยแี ละส่ือสารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

เทคโนโลยีการถายภาพ คำนำ PHOTOGARPHY TECHNOLOGY การเรยี บเรยี งเอกสารประกอบการสอนรายวิชาเทคโนโลยี การถ่ายภาพ เป็นส่วนหนึ่งของการจดั การเรียนการสอนในรายวชิ า เทคโนโลยสี ่อื ส่ิงพมิ พ์ เรยี บเรยี งโดยนิสิตหลกั สูตรศิลปศาสตรบ์ ณั ฑิต (เทคโนโลยสี อื่ สารการศกึ ษา คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร) ผู้เรียบเรียงหวังวา่ การเรยี บเรยี งครง้ั นจี้ ะมีประโยชน์ตอ่ ผ้สู นใจ ไม่มากกน็ อ้ ย หากการเรยี บเรียงคร้งั นผ้ี ิดพลาดประการใด ขออภัย ณ ที่ นี้ นางสาวจงรกั พลิ ึก ผู้เรยี บเรียง

เทคโนโลยีการถายภาพ PHOTOGARPHY TECHNOLOGY

เทคโนโลยีการถา ยภาพ สารบญั PHOTOGARPHY TECHNOLOGY บท หน้า บทท่ี 1 วิวฒั นาการของถ่ายภาพและประโยชนข์ องการถา่ ยภาพ 1-6 1.1 ประวัตแิ ละคามเป็นมาของการถา่ ยภาพ 6-8 1.2 ประวัติการถ่ายภาพของไทย 9-10 1.3 ความหมายและความเปน็ มา 12 บทท่ี 2 เทคโนโลยีการถ่ายภาพนงิ่ ดว้ ยระบบดจิ ติ อล 13-14 2.1 หลักการท�ำ งานของการบันทึกภาพนิ่งระบบดิจติ อล 16-39 2.2 ประโยชน์ขอ้ ดีของสื่อดิจติ อล 40-53 บทที่ 3 อุปกรณถ์ ่ายภาพกล้อง 61-62 3.1 ชนดิ กล้องดิจิตอล 63-66 3.2 กล้องบนสมารท์ โฟน 67-86 บทที่ 4 การจดั องค์ประกอบภาพ 90 4.1 รูปทรง 91 4.2 ฉากหน้า 99 4.3 วธิ ีจัดองค์ประกอบของภาพใหน้ า่ สนใจ 101 บทที่ 5 เทคนิคการถา่ ยภาพ 102 5.1 เทคนคิ การถ่ายภาพภมู ทิ ัศน์ 102 5.2 การถา่ ยภาพหยดุ การเคลอื่ นไหว 103 5.3 การถา่ ยภาพแสดงการเคลื่อนไหว 105 5.4 การสา่ ยกลอ้ งตามวัตถุ 106 5.5 การถ่ายภาพระยะใกล้ 115 5.6 การถา่ ยภาพเงาด�ำ 112 5.7 การถ่ายภาพไฟกลางคืน 5.8 การถ่ายภาพที่มีโทนสีดำ�มาก 5.9 การถา่ ยภาพบุคคล 5.10 การถ่ายภาพสร้างสรรค์ บทที่ 6 เทคนิคการจดั แสงเพื่อถา่ ยภาพในสตดู ิโอ 6.1 ความรูพ้ น้ื ฐานเกยี่ วกบั แสงและสีของการถ่ายภาพ

บทท่ี 1 วิวฒั นาการของถา่ ยภาพและ

ประโยชนข์ องการถ่ายภาพ

1 บทที่ 1 ววิ ัฒนาการของถ่ายภาพและประโยชนข์ องการถ่ายภาพ 1.1 ประวตั แิ ละคามเป็นมาของการถ่ายภาพ ประวตั ิถ่ายภาพของโลก การถ่ายภาพได้วิวัฒนาการมาจากการวาดภาพของจิตรกรใน สมัยโบราณ เพ่ือบันทึกภาพแห่งความทรงจาและภาพแห่งความ ประทับใจเอาไว้ เพ่ือใช้ในการส่ือสารและสื่อความหมาย ต่อมา มนุษย์ได้มีความคิดท่ีจะสร้างภาพให้ได้เหมือนจริงตามธรรมชาติ และใช้เวลาในการสร้างภาพให้น้อยลง จึงได้คิดวิธีการทากระโจม ให้เป็นห้องมืด และเจาะรูให้แสงลอดเข้ามา จากน้ันจะใช้เฟรมรับ ภาพแล้ววาดภาพท่ีเกิดขึ้นฝ่ังตรงข้ามกับช่องรับแสง ต่อมาได้ วิวัฒนาการมีการประดิษฐ์กล้องออบสคิวรา (Camera Obscura) ช่วยในการวาดภาพ ซ่ึงปี ค.ศ. 1490 ลีโอนาโด ดา วินซี (Leonardo Da Vinci) นักวิทยาศาสตร์และศิลปะชาวอิตาเลียน ไดบ้ นั ทกึ คาอธิบายเกี่ยวกับหลักการทางานของกล้องออบสคิวราไว้ อยา่ งสมบูรณ์ ทาใหค้ นเร่มิ เข้าใจเรื่องกล้องมากข้ึน โดยเฉพาะจิตร กรสนใจนากล้องออบสคิวราไปช่วยในการวาดภาพลอกแบบ เพื่อให้ได้ภาพในเวลาท่ีรวดเร็วขึ้น มีสัดส่วนเหมือนจริง และมีแสง เงาท่ถี กู ตอ้ ง

2 กล้องออบสควิ ราใช้ในการวาดภาพ ทมี่ า : http://www.digitalpixels.net/wp-content/uploads/2009/05/large.png. ศตวรรษท่ี 19 มนุษย์ก็ประสบผลสาเร็จในการคิดค้น กระบวนการสร้างภาพ จากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ท่ี พฒั นาความรูจ้ ากศาสตร์ 2 สาขา คือ สาขาฟิสิกส์ ได้แก่เร่ืองของ แสงและกล้องถ่ายภาพ และสาขาเคมี ในส่วนที่เก่ียวกับฟิล์ม สารไวแสง และน้ายาสร้างภาพ บุคคลแรกที่สามารถใช้กล้องออบสคิวราบันทึกภาพได้ คือ โจเซฟ เนียฟฟอร์ เนียฟซ์ (Joseph Nicephore Niepce) ชาว ฝรั่งเศส ด้วยการถ่ายภาพเมือง ชาลอง เซอร์ ซอง (Chalon-Sur- Saone) จากหน้าต่างบ้านของเขา ใช้เวลาการเปิดรับแสงนาน 8 ชั่วโมง ด้วยสารไวแสงบิทูเมน (Bitumen) ฉาบบนแผ่นโลหะท่ีผสม

3 ระหว่างดีบุกกับตะกั่ว นาไปล้างด้วยสารละลายไลท์ปิโตรเล่ียม (Light Petroleum) ผสมกับน้ามันลาเวนเดอร์ (Lavender) บรเิ วณที่ถกู แสงสารบิทเู มนจะแข็งตัว บริเวณท่ีไม่ถูกแสงจะอ่อนตัว ทาให้ถูกล้างออกไปจนหมด เหลือแต่ผิวของแผ่นโลหะเป็นสีดา นับว่าเปน็ ภาพถา่ ยภาพแรกของโลก ในปี ค.ศ. 1826 ภาพถา่ ยแรกของโลก โดย โจเซฟ เนยี ฟฟอร์ เนียฟซ์ ท่ีมา : http://cool.conservation-us.org /byorg/abbey/an /an26/An26-3/an26-307.html

4 ต่อมาปี ค.ศ. 1837 หลุยส์ จาคเกอร์ แมนเด ดาแกร์ (Louis Jacques Mande Daguerre) จิตรกรชาวฝร่ังเศส ได้ใช้แผ่น ทองแดงฉาบผิวหน้าด้วยเงิน (Silver) แล้วนาไปอังไอโอดีน (Iodine) ทาให้เกิดเกลือเงินไอโอได (Silver Iodide) เพื่อให้เป็น สารไวแสง แล้วนาไปถ่ายภาพโดยใช้เวลาประมาณ 30 นาที จากน้ันนาแผ่นทองแดงที่ถูกแสงแล้วไปอังไอปรอท ซึ่งจะเกาะติด ผิวเฉพาะบริเวณที่ถูกแสงเท่าน้ัน จากนั้นนาไปแช่น้าเย็น และทา ให้คงสภาพ โดยแช่สารละลายของเกลือแกง หรือไฮโป ส่วนใดท่ี ไม่ถูกแสงจะละลายออกไป ภาพท่ีได้จะมีความละเอียด คมชัด กว่าภาพของโจเซฟ เนียฟฟอร์ เนียฟซ์ ลักษณะของภาพจะกลับ ซ้ายเป็นขวาเหมอื นภาพทีม่ องผา่ นกระจกเงา เรียกว่า กระบวนการ ถ่ายภาพดาแกโรไทป์ (Daguerrotype) ภาพถา่ ยทิวทัศนข์ องดาแกร์

5 ภาพถ่ายหุ่นนิ่งของดาแกร์ ทม่ี า : http://en.wikipedia.org/wiki/File:Daguerreotype_Daguerre_Atelier _1837.jpg และในปี ค.ศ. 1840 วิลเล่ียม เฮนรี่ ฟอกซ์ ทัลบอท (William Henry Fox Talbot) นักวิทยาศาสตร์และนักคณิตศาสตร์ชาว อังกฤษ ได้พัฒนากระบวนการถ่ายภาพ ด้วยการถ่ายภาพเน กาทฟิ ลงบนกระดาษทฉ่ี าบผิวหนา้ ดว้ ยซลิ เวอร์ไอโอไดด์ หลังจาก นาไปเข้ากล้องถ่ายภาพ และถ่ายภาพแล้ว นากระดาษมาล้างใน น้ายาสร้างภาพ ซึ่งใช้ส่วนผสมของเงินไนเตรทกับกรดแกลลิก เขาเรยี กน้ายาน้ีวา่ แกลโรไนเตรท ออฟ ซิลเวอร์ (Gallonitrate of Silver) เม่ือนาไปผา่ นกระบวนการสร้างภาพและคงสภาพแล้ว จะได้ภาพพอซิทิฟที่สมบูรณ์ กระบวนการถ่ายภาพเนกาทิฟ – พอ

6 ซทิ ฟิ ของทัลบอทน้ี เรียกช่ือว่า “แคโลไทป์” (Calotype) ซ่ึงเป็น ตน้ แบบในการพัฒนาสร้างฟลิ ม์ เนกาทฟิ ในยุคต่อมา ภาพถา่ ยแบบแคโลไทป์ของทัลบอท ที่มา : http://www.mhs.ox.ac.uk/features/ephotos/ephoto13.ht m#photo

7 1.2 ประวตั ิการถ่ายภาพของไทย ประวตั ิการถา่ ยภาพของไทย การถ่ายภาพเร่ิมเข้ามาประเทศไทยคร้ังแรกในสมัยรัชกาลท่ี 3 เมื่อประมาณปี พ.ศ. 2388 โดยสังฆราชปาเลอกัวส์ (Jean- Baptiste Pallegoix) ชาวฝร่ังเศสเป็นคนสั่งซื้อกล้องถ่ายภาพแบบ ดาแกโรไทป์ และนาเข้ามาโดยบาทหลวงลาร์โนดี (Jean-Baptiste Francois Louis Larnaudie) ภาพถ่ายส่วนมากจะเป็นภาพวัด ทวิ ทัศน์ริมฝั่งแมน่ ้าเจ้าพระยา เน่อื งจากคนไทยในสมัยนั้นยังไม่กล้า ถ่ายภาพ เพราะกลัวว่าเมื่อถ่ายภาพเหมือนตัวเองแล้วจะทาให้อายุ สน้ั ลง ภาพสงั ฆราชปาเลอกัวสก์ บั เด็กไทย 2 คน ท่มี า : ศกั ดา ศิรพิ ันธ,์ุ 2535.

8 และบุคคลแรกที่ยอมให้ถ่ายภาพ คือ พระบาทสมเด็จพระจอม เกลา้ เจา้ อย่หู วั รชั กาลท่ี 4 เป็นพระมหากษัตริย์พระองค์แรกของ ประเทศไทย ท่ีทรงยอมให้ฉายพระรูป โดยฉายคู่กับสมเด็จ พระเทพศิรินทราบรมราชินี ในปี พ.ศ. 2399 เพ่ือไม่ให้ขุนนาง และประชาชนหลงงมงายในความเชื่อท่ผี ดิ ๆ ภาพพระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจ้าอย่หู วั รัชกาลที่ 4 ฉายค่กู ับสมเด็จ พระเทพศิรนิ ทราบรมราชินี ทีม่ า : ศักดา ศริ พิ นั ธ,์ุ 2535.

9 1.3 ความหมายและความเป็นมา การถ่ายภาพมาจากภาษาอังกฤษว่า“Photography” มีรากศัพท์มาจากภาษากรีก 2 คา คือ “Phos” และ “Graphein” คาว่า “Phos” หมายถึง แสงสว่าง และ “Graphein” หมายถึง การเขียน เม่ือรวมคาทั้งสองแล้วจึงมีความหมายว่า การเขียนด้วย แสงสว่าง การถ่ายภาพเป็นเร่ืองที่ศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการ ผลิตภาพ โดยอาศัยองค์ประกอบพ้ืนฐาน 3 ประการ ได้แก่ กล้อง ถ่ายภาพ วัสดุไวแสง และแสงสว่าง ฉะนั้นในการผลิตภาพถ่าย จะต้องมีความรู้และทักษะการใช้กล้องถ่ายภาพ และอุปกรณ์ ประกอบ ฟิล์มกระดาษอัดภาพ น้ายาชนิดต่าง ๆ ที่ใช้ใน กระบวนการล้างฟิล์มและอัดขยายภาพ หลักการในการถ่ายภาพ รวมทงั้ ความรู้ดา้ นศิลปะ แสง สี การจัดองค์ประกอบของภาพ เป็น ต้น ตามประวัติการสื่อความหมายของมนุษย์ พบว่า มนุษย์ร้จู กั การใช้ภาพในการติดตอ่ ส่ือสารทาความเข้าใจระหว่างกัน และกันได้ ก่อนท่ีมนุษย์ จะรู้จักการใช้ภาษาพูดและภาษาเขียน โจ ฮันน์ อะมอส คอมินิอุส (Johann Amos Comenius) เป็นบุคคล คนแรกท่ีได้นาภาพมาประกอบบทเรียนในหนังสือ Orbis Picture ซึ่ ง ถื อ ไ ด้ ว่ า เ ป็ น ห นั ง สื อ เ ล่ ม แ ร ก ข อ ง โ ล ก ที่ มี ภ า พ ป ร ะ ก อ บ

10 จุดประสงค์ก็คือ เพื่อให้ผู้อ่านได้มองเห็นภาพท่ีเป็นรูปธรรม เข้าใจ ในเนือ้ หาสาระได้ถกู ต้อง และรวดเร็วย่ิงขึ้น ดงั คากลา่ วทว่ี า่ “ภาพหน่งึ ภาพมคี วามหมายมากกวา่ คาพูดหรอื การเขยี นนับพันคา”

11

บทที่ 2 เทคโนโลยีการถา่ ยภาพน่งิ

ดว้ ยระบบดจิ ติ อล

14 เทคโนโลยีการถา ยภาพ บทท่ี 2 เทคโนโลยกี ารถา่ ยภาพนิ่ง ดว้ ยระบบดิจติ อล 2.1 หลักการทางานของการบนั ทกึ ภาพนิง่ ระบบดจิ ิตอล หลักการทางานของกล้องดิจิทัลมีความคล้ายคลึงกับกล้อง 35 มม. ที่ใช้ฟิล์มธรรมดาท่ัวไป คือมีเลนส์สาหรับรับแสงที่สะท้อนจากวัตถุ และมีรูปรับแสง (Aperture) ซ่ึงสามารถปรับขนาดได้ มีชัตเตอร์ สาหรับเปิดรับแสงในปริมาณและนานเท่าใด ส่วนความแตกต่างจะ อยู่ที่ตัวรับแสงของกล้อง กล้องดิจิทัลใช้ตัวรับแสงที่เรียกว่า CCD (Charge-Couply Device) ทาหน้าที่เป็นตัวรับแสงแทนฟิล์ม และ CCD นจี้ ะมีทางยาวโฟกัสที่สั้น ทาให้ได้มุมมองของภาพ (Angle of View) แคบ เน่ืองจากตัวรับภาพมีขนาดที่เล็กกว่าฟิล์มกล้องดิจิทัล

เทคโนโลยกี ารถายภาพ 15 มีการทางานในขั้นตอนต่าง ๆ ของกล้อง 35 มม. คือ การล้าง อัด ขยาย เอาไว้ในขั้นตอนเดียวกันแบตเตอรี่ท่ีใช้ในกล้องดิจิทัลมี 2 แบบคือ แบตเตอร่ีท่ีใช้ได้ครั้งเดียว ไม่สามารถนากลับมาใช้ได้อีก และแบตเตอรรี่ที่นากลับมาใช้งานได้อีกโดยการชาร์จ กล้องดิจิทัล จึงมคี วามสนิ้ เปลืองพลังงานมากกว่ากลอ้ ง 35 มม. เนื่องจากกล้อง ดิจทิ ลั มีส่วนประกอบของการแสดงผลออกมาทางช่องมองภาพแบบ LCD ซึ่งเปรยี บได้กับชอ่ งมองภาพของ กล้องแบบธรรมดา และหาก เป็นกล้องดิจิทัลรุ่นใหม่ท่ีมีความละเอียดสูงจะมีช่องมองภาพอยู่ทั้ง 2 แบบ คือ ช่องมองภาพแบบออปติคอลและแบบดิจิทัล การ ทางานของกลอ้ งดิจิทลั ประกอบดว้ ยระบบตา่ ง ๆ ดังน้ี 2.2 ประโยชน์ขอ้ ดีของส่ือดจิ ติ อล 1. ความคงทน คุณภาพของสิ่งที่อยู่ใน “ Digital Media ” การ เส่ือมสภาพจะใช้เวลานานกว่า เพราะรูปแบบของข้อมูลท่ีจัดเก็บ แบบ . สองระดบั ” (0 กบั 1) โอกาสที่จะผิดเพ้ียนจะเกิดข้ึนได้ยาก กว่า ข้อมูลแบบต่อเนื่อง เช่น การบันทึกภาพลงในวีดิทัศน์แบบ อนาลอก กับการบันทึกภาพลงวีดิทัศน์ ในระบบดิจิตอล เมื่อเส้น เทปยืด การอ่านข้อมูลกลับมาในแบบดิจิตอลนั้น จะทาได้ง่ายกว่า และสามารถทาให้ได้ข้อมูลกลับมาได้เหมือนเดิมได้ง่ายกว่า แต่ สาหรับอนาลอก จะให้คุณภาพของภาพ ทลี่ ดลงโดยทนั ที

16 เทคโนโลยีการถายภาพ 2. รูปแบบของการนาไปใชง้ านทาไดห้ ลากหลายวิธี ข้อมูลท่ีจัดเก็บ ในแบบดิจิตอล ถือได้ว่า เป็นข้อมูลกลาง ที่สามารถแปลงไปสู่ รูปแบบอื่นได้ง่ายเช่น ถ่ายรูปด้วยกล้องดิจิตอล เม่ือได้เป็น ข้อมลู ภาพออกมาแลว้ จากน้ัน สามารพิมพ์ภาพลงบนกระดาษหรือ การแสดงภาพบนจอคอมพิวเตอร์ หรือแสดงภาพบนจอทีวี ก็ได้ เชน่ กัน 3. การนาไปผสมผสานกบั ส่ือรปู แบบอ่นื เชน่ ภาพถ่าย นามารวมกับ เสยี ง มกี ารแสดงแบบ Multi-Media 4. การปรับแต่ง (Edit) เป็นการปรับแต่งสื่อท่ีเป็นภาพถ่าย วิดีโอ เสียงนกร้อง นามาปรับแต่งให้ดีขึ้น กว่าเดิม การสอดแทรก ส่ิง เหล่านีท้ าใหน้ ่าดู นา่ ฟัง มากกวา่ ปกติ มคี วามวิจิตพิสดาร

เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 17

บทท่ี 3 อุปกรณถ์ ่ายภาพ



20 เทคโนโลยกี ารถายภาพ บทท่ี 3 อุปกรณถ์ า่ ยภาพ 3.1 ชนดิ กล้องดิจิตอล 1.กลอ้ งคอมแพ็ค กลอ้ งคอมแพ็คดิจติ อลเป็นกล้องดจิ ิตอลทอี่ อกแบบมาให้ใชง้ านได้ งา่ ย เพยี งศึกษาวิธใี ชง้ านเพยี งเลก็ นอ้ ยกส็ ามารถใชง้ านได้ โดย หลักการแล้วกลอ้ งคอมแพค็ ดิจิตอลมีหลกั การทางานเหมอื นกับ กล้องคอมแพ็คทใี่ ช้ฟลิ ์มถ่ายภาพ ในปัจจบุ นั เป็นกล้องทนี่ ยิ มใช้กัน อย่างแพรห่ ลายเนื่องจากใชง้ านง่ายและราคาไมแ่ พงมากนกั กล้อง คอมแพ็คดจิ ิตอลในปัจจบุ นั ได้มกี ารพัฒนาและออกแบบให้ผใู้ ช้ สามารถเลอื กใชง้ านได้สะดวก เช่น ระบบการซมู ภาพ ระบบการวดั แสงอตั โนมัติ ระบบการบนั ทึกภาพเคลื่อนไหว

เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 21 2. กลอ้ งดิจติ อลชนดิ สะท้อนภาพเลนส์เดยี่ ว (DSLR - Digital Single Lens Reflex) กลอ้ งดจิ ติ อลชนิดสะท้อนภาพเลนสเ์ ดีย่ ว เป็นกล้องถ่ายภาพ ดจิ ติ อลที่มีการพฒั นาจากกลอ้ งขนาด 35 มม.ทใ่ี ชฟ้ ิล์ม โดยมีหลักการทางานเหมือนกับกลอ้ งถ่ายภาพ สะท้อนภาพเลนส์เดย่ี วแบบใช้ฟลิ ์ม จะแตกตา่ งกนั ตรงที่กล้อง ดจิ ติ อลจะใชแ้ ผน่ การด์ เปน็ ตวั รบั และบนั ทึกข้อมูล ในปัจจบุ ันกล้อง ถา่ ยภาพดิจิตอลชนิดสะท้อนภาพเลนส์เดีย่ วจะมคี วามละเอียดของ ภาพสูง นอกจากนั้นยงั ไดเ้ พ่ิมประสิทธภิ าพในการทางานให้สามารถ ใชง้ านได้สะดวกขน้ึ โดยเพ่ิมเติมในสว่ นของประสทิ ธภิ าพในการ ทางาน เช่น ระบบการวดั แสง , ระบบการตัง้ ความไวชตั เตอร์ , ระบบบนั ทึกภาพเคล่ือนไหวต่อเน่ือง

22 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ 3. กล้อง DSLR-Like กลอ้ งประเภทนี้คือกล้องทหี่ น้าตาเหมือน DSLR (ข้อ 2) ทา อะไรตา่ งๆไดเ้ หมือน DSLR แตเ่ ปลย่ี นเลนสไ์ ม่ได้และเซนเซอร์รับ ภาพขนาดเท่ากล้องคอมแพค็ (Compact)

เทคโนโลยีการถายภาพ 23 4. กลอ้ ง Mirrorless กล้องประเภทนเี้ ป็นกล้องแบบเดยี วกบั DSLR ตา่ งกันตรงไมม่ ี กระจกสะท้อนภาพเท่านน้ั เอง ทาใหม้ ีขนาดที่เลก็ กวา่ DSLR มาก ได้เปรียบเรื่องการพกพาที่ใกล้เคียงคอมแพค คุณภาพไฟลร์ ูป เทา่ ๆกบั DSLR BASIC PHOTOGRAPHY พนื้ ฐานการถา่ ยภาพทค่ี วรรู้ รวมพ้นื ฐานการถ่ายภาพครบเครื่องในอลั บมั้ เดยี ว เร่ิมต้นได้ง่าย อา่ นคนเดียวก็ได้ พยายามทาใหเ้ ข้าใจง่ายท่ีสดุ แล้ว เริม่ ตั้งแตเ่ รอ่ื งรู รับแสง, ความเรว็ ชัตเตอร์, ISO, ทางยาวโฟกสั , คอมโพซิชั่น และ โหมดการถา่ ยภาพ คอื พยายามอธิบายใหง้ า่ ยทส่ี ดุ แล้วกใ็ ห้ทุกคนท่ี

24 เทคโนโลยีการถายภาพ อยากถ่ายภาพเริ่มต้นได้ง่ายที่สดุ ครบั หวังวา่ จะเปน็ ประโยชน์ สาหรับคนทอ่ี ยากเร่มิ ตน้ ถ่ายภาพนะครบั APERTURE – รรู บั แสง เรื่องของรูรับแสง เลนสท์ ่รี ูรบั แสงกวา้ ง แสงจะเขา้ ท่ีกล้องมาก ถา่ ยภาพกลางคืนไดด้ คี รบั และทสี่ าคญั คือทาให้เกิดเอฟเฟคทีช่ อบ มากคือหน้าชดั หลงั เบลอ สว่ นรรู ับแสงแคบ คอื ตรงกนั ข้าม ภาพจะเขา้ ท่ีกล้องน้อยลง แต่จะ ไดเ้ อฟเฟคท่ีเกิดการชดั ลึก คือภาพชัดทัง้ ภาพเลย เหมาะกับการ ถา่ ยภาพวิวทวิ ทศั น์ครบั พืน้ ฐานการถ่ายภาพ เรือ่ งรูรบั แสง

เทคโนโลยีการถา ยภาพ 25 SHUTTER SPEED – ความเร็วชัตเตอร์ วา่ กนั ดว้ ยเรือ่ งของความเร็วชตั เตอร์ ความเร็วชตั เตอร์หลกั เลยคอื เราใช้จับภาพทีเ่ คล่ือนไหวให้น่ิงครบั แตก่ ็ผลกระทบเหมือนกนั คือ เมอ่ื ความเร็วชัตเตอร์เราเพิม่ ขึ้น แสงจะเข้ากลอ้ งน้อยลง เพราะงนั้ การใชค้ วามเร็วชตั เตอร์ที่สงู ควรใชใ้ นสถานท่ี ทอี่ ยู่กลางแจ้ง มแี สง มากครับ เพ่อื จะไดไ้ ม่ต้องเพ่ิม ISO แต่ Speed Shutter ท่ีช้าลงจะทาใหเ้ ราเก็บแสงไดม้ ากขึ้น และก็ เป็นอกี เทคนิคหนึ่งทเี่ ราใชใ้ นการลากแสงไฟนน่ั เองดังนนั้ การจะ ใช้ชตั เตอร์เท่าไหรน่ ้นั ไม่มกี ฎตายตวั นะครบั อยกู่ บั วา่ เราอยากได้ ภาพแบบไหน และเรากาลงั เจอสถานการณไ์ หนนน่ั เองครบั พ้นื ฐานการถ่ายภาพ เร่ืองความเร็วชัตเตอร์

26 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ ISO – ค่าความไวแสง ISO เปน็ ความไวแสงทกี่ ล้องมีครับ ถา้ ย่งิ ISO มาก กล้องกจ็ ะไว แสงมาก ข้อดีคือ ISO สงู จะทาใหเ้ ราถา่ ยภาพในทมี่ ืดได้ แต่การที่ ISO สูงมากกจ็ ะทาใหเ้ กดิ สัญญาณรบกวนหรอื วา่ Noise นัน่ เอง ครับ ดังนนั้ การเลอื กใช้ ISO กค็ วรดูดว้ ยว่าเราต้องการอะไรในภาพตอน นนั้ ถ้าเราถ่าย Landscape กลางแจ้ง มีขาตง้ั เราก็ไม่ต้องดัน ISO ครบั ใช้ต่าทีส่ ดุ ท่ีกลอ้ งให้ก็ได้ แต่ถ้าหากเราถ่ายภาพในอาคาร เราไม่สามารถเพ่ิมรรู บั แสง หรอื ลดสปีดจนถอื กล้องได้แลว้ เรากค็ วรเลือกท่จี ะดนั ISO เพอื่ ให้กล้อง รับแสงไดไ้ วขน้ึ ครับ มี Noise ดกี ว่าไม่ไดภ้ าพเลยนะครบั พื้นฐานการถ่ายภาพ ค่า ISO หรอื ความไวแสง

เทคโนโลยีการถา ยภาพ 27 FOCAL LENGTH – ทางยาวโฟกสั ทางยาวโฟกสั ถ้าจะให้ละเอียดวันนึงคงไม่จบแน่ ทางยาวโฟกสั ที่ อยากให้มือใหมเ่ ข้าใจง่าย ๆ คอื กจ็ ะมี 3 ระยะด้วยกันคือ 1. มุมกว้าง ระยะประมาณ 50mm ลงมาครับ ส่วนใหญ่ปัจจุบัน เลนส์กว้างที่ใช้มาก ๆ คือ Ultra Wide ระยะประมาณ 12mm – 16mm เพราะว่าถา่ ยภาพได้อลังการงานสร้างมาก 2. ระยะ Normal ระยะ 50mm ครับ เป็นช่วงระยะประมาณ สายตา ถ่ายง่าย และเลนส์ 50mm เป็นเลนส์ครูท่ีมือใหม่ทุกคน ควรใช้ครับ เพราะเราจะรู้สไตล์ตัวเองได้จากเลนส์ 50mm น่ันเอง วา่ ควรใชเ้ ลนสแ์ คบหรอื กว้างกนั แน่ 3. ระยะ Telephoto คอื เลนส์ที่มีช่วงซูมมาก ๆ เหมาะกับการถ่าย ดึงภาพไกล ๆ อย่างทิวทัศน์เน้นมุมแคบ ดึงภาพจากภูเขามาได้เลย หรือว่าถ่ายภาพบุคคลที่เน้นเจาะคร่ึงตัวก็จะใช้ Tele ประมาณ 85mm ครบั ระยะเลนส์ท่ีเหมาะสมน้ันอยู่ท่ีเราจะเลือกใช้ แต่สิ่งสาคัญคือเม่ือ ช่วงทางยาโฟกัสเลนส์มากข้ึน มุมภาพที่รับได้ก็จะแคบลงครับ ควร เข้าใจถึงข้อจากดั ตรงน้ีด้วยนะ

28 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ พื้นฐานการถ่ายภาพ เรอ่ื งทางยาวโฟกัส WHITE BALANCE – ค่าสมดลุ แสงสีขาว White Balance จะคอยทาหน้าท่คี วบคมุ ให้สขี องภาพออกมาตรง อย่างที่ตาเหน็ โดยดูจากสมดลุ ของแสงสีขาวน่นั เองครับ ประโยชนข์ อง White Balance คอื อะไร อยา่ งที่บอกวา่ เมือ่ กลอ้ งรับภาพ รับแสงเข้ามา เม่ือสใี นภาพเกิด อาการผิดเพยี้ น ตดิ สสี ้มเยอะเกนิ ไป หรือสีฟ้าเยอะเกินไป กลอ้ งก็ จะคอยปรับค่า White Balance ใหส้ มดุลกบั ภาพท่ีเราเหน็ ทาให้ ภาพของเราออกมาสีตรงนั่นเองครับ สังเกตว่าอาการสีเพี้ยน ๆ นี้ มักจะเกิดเมื่อเราถา่ ยภาพในอาคารในหอ้ ง ท่แี สงจะไม่มากนัก ซึง่ อาการนจ้ี ะเกิดกบั กล้องมือถือหรือกล้องมิลเรอรเ์ ลส (mirrorless)

เทคโนโลยีการถา ยภาพ 29 ก็ได้ แล้วในเมื่อกล้องปรบั ใหเ้ รา ทาไมเราต้องมาเรียนเรื่อง White Balance กันละ่ ? คา่ ของ White Balance มีอะไรบา้ ง และ หมายถงึ อะไร? ค่าของ White Balance โดยหลักแลว้ จะมีอยู่ 8 อย่างด้วยกนั ครับ ไมต่ ้องจาทั้งหมดนะครบั ให้เขา้ ใจวา่ กลอ้ งมีโหมดอะไรบา้ ง แลว้ ถ้า จะเลอื กปรบั โหมดเองควรไปที่ไหน Auto – กล้องคิดใหจ้ ะเปน็ การปรับค่าแสงสมดลุ สีขาวแบบ อัตโนมตั ิ Tungsten – แก้สีส้มในภาพโดยใส่สีนา้ เงิน สีฟา้ เข้าไป Fluorescent – แก้สนี า้ เงิน สีเขียวในภาพ โดยใส่สีม่วงลงไป Daylight – แก้สีฟ้าอ่อน ซ่ึงจะเปน็ สที ีเ่ กิดจากดวงอาทิตย์ในตอน กลางวัน โดยใสส่ ีส้มเขา้ ไป Flash – แก้สีฟ้าอ่อน คลา้ ยกับDaylight โดยใส่สสี ้มสเี หลอื งไป Cloudy – แก้สฟี า้ ทเี่ กดิ จากการมเี มฆ จะมีสีฟา้ มากกวา่ ปกติ กล้องก็ใส่สสี ้มเข้าไป Shade – แกส้ ฟี ้า ทเี่ กดิ จากการถ่ายภาพในร่ม ซงึ่ อาจจะมีสฟี า้ มากกวา่ ปกติ กล้องจะใส่สี สม้ เขา้ ไป Custom – เลือกปรับเตมิ สขี อง White Balance เอง ในกรณที ีเ่ รา เลอื กปรบั ค่า White Balance แลว้ แตส่ กี ็ยังออกมาไม่ตรง

30 เทคโนโลยีการถายภาพ พน้ื ฐานการถา่ ยภาพ – White Balance คืออะไร COMPOSITION & RULE OF THIRD – การจัดองค์ประกอบภาพ และ กฎสามสว่ น เราจะเห็นได้ว่าในช่องมองภาพของกล้องเราท่ีผู้ผลิตทามาจะมี จุดตัด 9 ช่อง ซ่ึงจะแบ่งเป็น 3 ส่วนหลักในแนวตั้ง และ 3 ส่วน หลักในแนวนอน โดยจุดตัดนี้เราจะใช้วิธีการจัดองค์ประกอบ รว่ มกนั สองแบบครับ วิธีแรกท่ีจะใช้ก่อนเลยคือ กฎสามส่วน วิธีน้ีมักจะใช้แบ่งสัดส่วน ของพ้ืนดินและท้องฟ้า ถ้าต้องการนาเสนอท้องฟ้าให้เด่น ก็เป็น ท้องฟ้า 2 ส่วน พ้ืนดิน 1 ส่วน, ถ้าเน้นพื้นดินก็ พ้ืนดิน 2 ส่วน ทอ้ งฟ้า 1 ส่วน

เทคโนโลยกี ารถายภาพ 31 จากนั้นเราจะสร้างจุดสนใจให้กับแบบ ถ้าเราสังเกตเวลาถ่ายภาพ เราจะไม่วางจุดสนใจไว้ตรงกลางภาพเทา่ ไหร่ วิธีการนั้นคือวางแบบ หลักให้อยู่ตรงจุดตัด 9 ช่อง ดูต้นไม้น้ีนะครับ ถูกวางไว้ในจุดตัด อย่างชัดเจน ทาใหแ้ บบดนู ่าสนใจ กฎสามส่วน – Rule of Third MODE AUTO – โหมดถา่ ยภาพอตั โนมัติ Auto Modes, โหมดอัตโนมัติ ,โหมด Auto (เหมาะสาหรับมือใหม่ ท่สี ุด) โหมดนีแ้ ทบจะไมต่ ้องอธบิ ายกเ็ ขา้ ใจกันได้ โหมด Auto เปน็ โหมด กล้องทจ่ี ะทาใหท้ ุกคนในโลกใบน้ีสามารถถ่ายภาพได้เลย เพราะ การคานวณทุกอย่างกล้องคิดให้ ซึง่ หลายคนมักจะคิดว่าโหมดนี้ ถ่ายภาพได้ออกมางั้น ๆ แต่แทจ้ รงิ แล้วปัจจบุ นั เทคโนโลยถี ูกพัฒนา

32 เทคโนโลยีการถา ยภาพ มาไกลมาก และเก็บปัญหารายละเอยี ดมาพัฒนาเพ่ือให้ Auto Mode น้ันมปี ระสทิ ธิภาพทสี่ ุด ดงั นัน้ โหมด Auto ไมไ่ ดด้ อ้ ยอยา่ งท่ี เราคดิ ย่งิ ทุกวันน้ีเราบอกว่ากลอ้ งโทรศัพทด์ มี ากกเ็ ปรียบได้ว่า กลอ้ งดิจิตอลในโหมดกล้องออโตยคุ น้กี ็มปี ระสิทธิภาพยิ่งกว่าทเ่ี รา คดิ อีก สถานการณ์ทีเ่ หมาะสมจะใช้โหมด Auto เรียกว่าไดห้ มด เพยี งแตว่ ่าเราจะไดภ้ าพแบบมาตรฐานของตวั กลอ้ ง ท่คี ดิ ให้ เหมาะสาหรบั มือใหม่ทีย่ งั ตง้ั คา่ โหมดอน่ื ไม่เก่ง หรือยงั ไม่ รู้จักวิธคี ิดของกลอ้ งในโหมดอ่ืนเลย โหมดนีจ้ ะทาใหค้ นเลน่ ระดบั เริม่ ตน้ จรงิ ๆ อ่นุ ใจว่ายังมีโหมดท่ีช่วยใหเ้ ขาถา่ ยภาพไดด้ ี แม้จะยัง ไม่ดีทส่ี ดุ ก็ตาม พื้นฐานการถ่ายภาพ โหมดอัตโนมตั ิ

เทคโนโลยีการถา ยภาพ 33 MODE PROGRAM (P) – โหมดโปรแกรม Mode P, โหมดโปรแกรม โหมดกล้อง P หรอื โหมดถ่ายภาพ Program เปน็ อกี โหมดทมี่ กี าร ทางานคล้ายกบั Auto มาก กลอ้ งจะคดิ ทุกอยา่ งใหแ้ ต่จะอนญุ าต ให้เราต้ังค่าบางอย่างได้ตามใจ เชน่ ISO (ค่าความไวแสง), White Balance (แสงสุมดลุ สขี าว), ค่าชดเชยแสง หรือแม้แต่โปรไฟล์สี ของการถา่ ยภาพ (Picture Style) สถานการณ์ทเ่ี หมาะจะใชโ้ หมด Program เหมอื นกบั โหมด Auto ทุกอย่าง เพยี งแต่ค่าทเ่ี ราปรบั แตง่ เพม่ิ จะ สง่ ผลตอ่ ภาพที่ออกมาด้วย เป็นโหมดทีค่ วรฝกึ ใช้เพ่ือเรียนรู้การ ทางานของกล้องก่อนจะเรม่ิ ใชโ้ หมดที่เร่ิมใหเ้ ราปรบั ไดย้ ืดหย่นุ มากกว่านี้ ถ้าเราร้จู ักกลอ้ งของเรามากข้นึ เรากส็ ามารถคุมภาพท่ี ออกมาไดม้ ากข้ึนไปดว้ ย Mode Program (P) – โหมดโปรแกรม

34 เทคโนโลยกี ารถายภาพ PORTRAIT MODE – โหมดการถา่ ยภาพบุคคล โหมด Portrait, โหมดถา่ ยภาพบุคคล (สาหรบั มือใหมส่ ุด ที่อยากให้ กล้องปรับการตั้งค่าสาหรบั ภาพบุคคล) เมือ่ เปลยี่ นเปน็ โหมด Portrait หรือโหมดถ่ายภาพบคุ คล กล้องจะ เลือกรูรบั แสงขนาดกวา้ งสุดไวก้ ่อนเสมอ (F น้อย รูรบั แสงกวา้ ง) เพอื่ ทาให้พื้นหลังมกี ารละลายมากทสี่ ดุ และถา้ เปน็ กลอ้ งท่ถี ูก ออกแบบมาให้มีฟเี จอร์พิเศษที่จะมาเสรมิ ความสามารถของโหมด Portrait กล้องมักจะนามาใช้ดว้ ย เช่น หน้าเนียน หรือว่าผวิ สว่าง ข้นึ ซง่ึ ความสามารถนี้ก็จะต่างกันไปตามรุ่นกล้องครบั สถานการณท์ ีเ่ หมาะสมจะใช้โหมด Portrait เหมาะกบั ตอนทตี่ อ้ งการถ่ายภาพแฟน ภาพบุคคลเปน็ หลักตามชอ่ื โหมดเลย โดยที่กล้องจะเลือกความเหมาะสมทุกอย่างให้ตามท่ี กลอ้ งคิดไว้ให้ เปน็ โหมดท่ีสะดวกกับมือใหม่และใชง้ านง่ายมากครับ *เพ่มิ เติมสาหรบั มอื ใหม่ที่อาจจะสงสัยว่าแล้วโหมดอ่นื สาหรบั คนที่ ถ่ายภาพเก่ง ๆ แลว้ ทาไมไม่ใชโ้ หมดนก้ี นั ก็มตี ัวอยา่ งหลายแบบ ครบั เชน่ ชา่ งภาพต้องการคมุ ความชดั ลกึ ของตัวแบบ อาจจะไม่ได้ ใชค้ ่ารูรับแสงกวา้ งสดุ , หรอื ว่าเขาไมต่ ้องอยากจะถา่ ยเอาหน้าเนียน , หรอื ต้องการชดเชยคา่ รายละเอยี ดต่าง ๆ เอง ถ่ายย้อนแสงสวย ๆ เพราะเขาสามารถคุมภาพถา่ ยยอ้ นแสงไดด้ แี ล้ว ชา่ งภาพจะเลือก โหมดกลอ้ งตามทตี่ ัวเองตอ้ งการจะใชใ้ หเ้ หมาะสมครับ

เทคโนโลยกี ารถายภาพ 35 Portrait Mode – โหมดการถา่ ยภาพบุคคล LANDSCAPE MODE – โหมดถา่ ยภาพทิวทัศน์ โหมด Landscape, โหมดทิวทศั น์, โหมดถ่ายภาพวิว (สาหรบั มือใหม่สุดที่อยากจะถ่ายภาพวิว) โหมดกล้องสาหรับมือใหม่ตวั น้ี จะบอกว่าการคานวณจะตรงกนั ข้ามจากโหมด Portrait เลย เพราะเขาจะกาหนดให้กลอ้ งถ่ายภาพ แบบชัดทงั้ ภาพ รรู บั แสงทถี่ กู ตัง้ ค่าจะเล็ก เพราะการถา่ ยภาพ ทิวทัศน์จะเน้นการชดั ทัง้ ภาพเปน็ หลกั บางครงั้ กล้องในโหมดนี้จะมี ความเรว็ ของชตั เตอรท์ ่ลี ดลงเพื่อให้ใช้รรู บั แสงทีแ่ คบ, ISO ต่าท่ีสุด ดังน้ันมือใหม่ที่ยังตั้งกล้องไม่เก่ง และอยากถ่ายภาพวิว ควรมีขาต้ัง ติดไปด้วยครับ เพราะเม่ือแสงเร่ิมน้อยแล้วต้ังแต่ช่วงห้าโมงเย็น หรือสถานท่ี ท่ีมีแสงสลัว แสงน้อยลง กล้องจะเลือกปรับ Shutter Speed ลงมา อาจจะถือถ่ายตามปกติยากหน่อยครับ ควรมีขาต้ัง

36 เทคโนโลยกี ารถา ยภาพ เสมอ แล้วก็ช่างภาพ Landscape ทุกคนก็ต้องมีขาตั้งเป็นเรื่อง ปกติ (อธิบายไว้เผื่อบางคนคิดว่าโหมดนี้ทาไมวุ่นวาย ต้องมีขาตั้ง ดว้ ยเหรอ อะไรแบบนน้ั ) สถานการณ์ทเ่ี หมาะจะใช้โหมด Landscape เมอื่ ไหรท่ เ่ี ราอยากจะถ่ายภาพววิ โหมดนีจ้ ะตอบโจทยม์ ือใหมไ่ ดด้ ี ทส่ี ดุ ครบั อย่างทผ่ี มบอก ใหจ้ าไว้เลยว่าถา้ แสงน้อย โอกาสทภี่ าพ เบลอจะเยอะขึน้ เพราะกล้องจะลดสปีดลงมา ควรมีขาตัง้ กล้อง ครับ โหมดถ่ายภาพวิว – Landscape Mode

เทคโนโลยกี ารถายภาพ 37 SPORT MODE – โหมดถา่ ยภาพกีฬา โหมด Sport, Sport Mode, โหมดถา่ ยภาพกีฬา (เหมาะสาหรับ มอื ใหม่สุด ที่อยากจะจบั ภาพทเ่ี คลื่อนไหวดว้ ยความเรว็ สงู ให้หยดุ นง่ิ เช่น เด็กวิ่ง คนว่งิ รถวิ่ง คนกระโดด นกบนิ อะไรก็ตามที่ เคล่ือนที่เรว็ ) โหมดน้ีกล้องจะให้ความสาคัญ Shutter Speed เป็นหลัก เพ่ือให้ ได้ภาพท่ีหยดุ นิ่ง และการโฟกสั ก็จะถูกเซ็ตให้สามารถสนับสนุนการ จับภาพท่ีรวดเร็วด้วย เป็นโหมดท่ีมือใหม่ท่ีอยากถ่ายภาพลูก หรือ เด็ก ๆ วิ่งเล่นกันครับ ข้อจากัดท่ีควรรู้ไว้คือ เมื่อความเร็วชัตเตอร์ สูงข้ึน แสงจะเข้าที่กล้องน้อยลง กล้องมักจะต้ังค่ารูรับแสงให้กว้าง แต่เม่ือแสงยังเข้าไม่มากพอ กล้องก็จะเริ่มขยับค่า ISO (ความไว แสง) ให้มากขึ้น เพ่ือให้ปริมาณแสงเพียงพอ ข้อเสียท่ีตามมาคือถ้า ถ่ายในอาคาร ในห้อง แล้วใช้โหมดน้ี โอกาสท่ี Noise ในภาพจะมี ค่อนขา้ งมาก อาจจะต้องเขา้ ใจขอ้ จากดั นิดนงึ ครบั สถานการณท์ เี่ หมาะจะใช้โหมด Sport เมือ่ ต้องการถ่ายภาพเด็กว่ิง ถ่ายภาพรถว่งิ เรว็ ๆ หรอื ภาพกีฬาครับ เปน็ โหมดกลอ้ งท่ีเหมาะสาหรับมือใหมอ่ ีกโหมดหน่ึง ใครบอกว่า ถา่ ยรูปเดก็ แล้วภาพเบลอ แนะนาหมุนไปโหมดน้ีแลว้ กดไดเ้ ลยครบั

38 เทคโนโลยกี ารถายภาพ โหมดถา่ ยภาพกีฬา – Sport Mode MACRO MODE – โหมดมาโคร, โหมดถา่ ยภาพระยะใกล้ โหมด Macro, Macro Mode, โหมดมาโคร (สาหรบั มอื ใหม่ทอ่ี ยากถ่ายภาพ Macro) แมว้ ่านอ้ ยคนจะถ่ายภาพมาโคร แตก่ ม็ ีแน่นอน ถ้าผมเปน็ มือใหม่ แล้วต้องการถ่ายภาพเห็ดขนาดเล็ก หรอื ภาพสิ่งของเล็ก ๆ ก็จะ เลอื กโหมดน้ีแนน่ อน มาโครโหมดถา้ อยใู่ นกล้อง Compact หรอื กลอ้ งขนาดเลก็ ใชง้ ่าย ๆ จะยง่ิ ทรงพลงั มาก เพราะเขาจะปรบั ต้งั ค่าทกุ อยา่ งให้ถา่ ยได้ “ใกล้” และถา่ ยได้ “ชัด” นัน่ เองครบั สถานการณ์ท่ีเหมาะจะใช้โหมด Macro เมือ่ ต้องการถา่ ยภาพวัตถุสง่ิ ของขนาดเล็ก เพื่อเน้นรายละเอียดของ

เทคโนโลยกี ารถายภาพ 39 วัตถุเล็กนอ้ ยออกมา สามารถใชโ้ หมดน้ีไดเ้ ลยครับ หรอื ถา้ จะลอง ประยกุ ต์หน่อยกเ็ อาโหมด Macro นี้มาลองถา่ ยขนตา ถา่ ยภาพ โคลสอัพต่าง ๆ แตต่ ้องระมดั ระวังเรื่องรายละเอียดทีไ่ มต่ ้องการจะ โผล่ออกมา เชน่ สิว ขน รายละเอยี ดเล็ก ๆ ในสว่ นพื้นผิวที่เราไม่ ต้องการ Macro Mode – โหมดมาโคร, โหมดถ่ายภาพระยะใกล้ Night Portrait, Night – โหมดถ่ายภาพกลางคืน โหมด Night, โหมดถา่ ยภาพกลางคืน, Night Mode กล้องบางรุ่นมี Night Portrait ด้วย (สาหรับมือใหม่อยากถ่ายภาพกลางคืน) โหมดนี้เป็นโหมดที่ทาให้ชัตเตอร์ช้าลงเพื่อเก็บแสงในที่กลางคืนให้ มากข้ึน เวลาที่เก็บภาพมาแบคกราวน์จะมีรายละเอียดเพ่ิมข้ึน จะ ไม่เป็นสีดาจม ๆ เวลาเปิดแฟลชก็จะทาให้กล้องไม่ต้องยิงแฟลช

40 เทคโนโลยีการถา ยภาพ ออกมาแรงมากเกินไปครับ เหมาะสาหรับมือใหม่ที่อยากจะ ถ่ายภาพกลางคืน กล้องบางตัวมีโหมด Night Portrait ซึ่งกล้องก็ จะไม่ลด Speed Shutter ให้ต่าเกินไป เน้นเปิดรูรับแสงกว้าง ประมาณนี้ครับ แต่ถ้าหากว่าต้องเปิด Night Mode แล้วถ่ายภาพ สถานท่ี หรืออะไรทีน่ ่งิ ๆ ใชข้ าตง้ั แลว้ ปิดแฟลชก็ได้ครบั สถานการณ์ทเ่ี หมาะจะใช้โหมดกลางคนื สภาพในทีแ่ สงน้อยมาก ๆ หรอื ถา่ ยตอนกลางคนื เลย เป็นโหมดสาหรบั มือใหม่ Night Portrait – โหมดถา่ ยภาพกลางคนื โหมด A – MODE A โหมด A, Mode A, Mode AV , Aperture Priority (สาหรับคนที่ ชานาญแลว้ ) โหมดนี้สาหรับคนทต่ี ้องการค่ารูรับแสงท่คี งที่ (F) เมือ่ เราตั้งค่ารรู บั แสงไว้แลว้ ค่าอนื่ ๆ กล้องจะเซ็ตให้เราเองครบั โดยที่เราอาจจะใช้ การเซต็ Auto อื่น ๆ รว่ มได้ เช่น Auto ISO Sensitivity เปน็ ต้น

เทคโนโลยีการถา ยภาพ 41 ครบั ส่วนใหญค่ นทถี่ า่ ยภาพ Portrait จะเลือกแบบนี้ครับ เนน้ การ คมุ ความชดั ตามท่ตี ้องการ สว่ นที่เหลือให้กล้องจดั การ สถานการณท์ ่เี หมาะจะใชโ้ หมด A การถ่ายภาพ Portrait ครับ ส่วนใหญเ่ น้นการทาใหห้ น้าชัดหลงั เบลอ เราก็จะเปดิ F1.4, F1.8 ค้างไว้ ส่วนทเี่ หลือใหก้ ล้องเลือกให้ เรา ปกตผิ มก็จะทาแบบน้ี เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงของปรมิ าณแสง กล้องกจ็ ะปรบั ค่า Speed Shutter ใหเ้ อง สบายดนี ะ โหมด A – Mode Aperture Priority โหมด S – SHUTTER PRIORITY โหมด S, TV, Shutter Priority (สาหรับคนทีช่ านาญแล้ว) โหมดนี้กลอ้ งจะให้ความสาคัญกับ Shutter Speed เปน็ หลัก โดย เราสามารถกาหนดค่า Shutter Speed ทตี่ ้องการไว้ ส่วนท่เี หลอื กล้องจะจัดการให้กบั เราเองครับ เราอาจจะใช้การเซ็ต Auto อื่น ๆ รว่ มได้ เหมอื นข้อกอ่ นหน้าน้ี เช่น Auto ISO Sensitivity เป็นตน้

42 เทคโนโลยีการถา ยภาพ ครบั สว่ นใหญ่คนท่ีถา่ ยภาพ Portrait จะเลือกแบบน้ีครับ เน้นการ คุมความชัดตามที่ต้องการ สว่ นท่ีเหลอื ให้กล้องจัดการ สถานการณท์ ีเ่ หมาะจะใช้โหมด S การถา่ ยภาพ Sport ต่าง ๆ เราก็จะเซต็ คา่ Speed Shutter ทส่ี ูง คา้ งไวเ้ ลวย หรอื การถ่ายภาพทีต่ อ้ งการคา่ Speed Shutter ตา่ คงทเี่ พือ่ ใชล้ ากเส้นไฟถนน เรากส็ ามารถเลือกตรงนี้คา้ งไว้ได้ เชน่ เดยี วกนั โหมด Shutter Priority โหมด M, MODE M, MANUAL (สาหรบั คนท่ีชานาญแล้ว) โหมด M สาหรับคนท่ีชานาญแล้ว และก็รู้ว่าการควบคุมแต่และ แบบในสไตล์ของตนเอง แบบไหนท่ีเข้ากับส่ิงท่ีต้องการมากที่สุด เราสามารถปรับต้ังค่าทุกอย่างได้อิสระ ท้ังความเร็วชัตเตอร์, ค่า ความไวแสง, รูรับแสง และอ่ืน ๆ ท่ีต้องการได้อย่างอิสระ บางคร้ัง

เทคโนโลยีการถา ยภาพ 43 อาจจะเลือกการต้ังค่า Auto ในบางส่วนได้เช่น Auto ISO แบบท่ี ลิมิต ISO สูงสุดที่รบั ไวไ้ ด้ สถานการณท์ เี่ หมาะจะใชโ้ หมด M ได้หมด ถา้ เรารวู้ า่ การตงั้ คา่ ของกล้องใหเ้ ขา้ กับสถานการณ์น้นั มักจะเป็นการถ่ายภาพที่ไมต่ ้องการเปลย่ี นแปลงค่าบ่อยนัก เช่น ถ่ายภาพสนิ ค้า หรือแฟชัน่ ในงานสตดู ิโอ หรือจะเอามาใช้ในการ ถา่ ยภาพปกตกิ ็ได้ถ้าเราถนัดการเซต็ คา่ แบบนี้ครับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook