Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวอย่างไฟล์

ตัวอย่างไฟล์

Published by ซอลาฮุดดีน อิจิ, 2021-02-03 02:03:11

Description: ตัวอย่างไฟล์

Search

Read the Text Version

หลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหวั ฯ óĂðøąöćè öđĊ Āêñč ú øąĀüŠćÜ öõĊ ĎöĉÙčšöÖîĆ ĔîêüĆ ìĊęéĊ ÙüćöøšĎ Ùèč íøøö øøšĎ ĂïǰøĎúš ąđĂĊ÷éǰøĎšÖüšćÜ àęĂČ ÿêĆ ÷ŤÿčÝøêĉ ǰ×÷ĆîĂéìîǰĒïŠÜðîŦ ÖŠĂî ĀúÜĆ I4S ;:EEC Lg*V `I6GO C LS*'C IS78¬Z _JEK2$V+ LC6ZG¬@EOCES<$TE_=GgWD;`=G*

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง “เศรษฐกจิ พอเพยี ง” เปน ปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ฯ พระราชทาน พระราชดําริชี้แนะแนวทางการดําเนินชีวิตแกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา ๓๐ ป ตั้งแตกอนเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนยำ แนวทางการแกไขเพอ่ื ใหร อดพน และสามารถดาํ รงอยูไดอ ยา งมน่ั คงและยง่ั ยนื ภายใต กระแสโลกาภวิ ตั นและความเปลีย่ นแปลงตา งๆ กรอบแนวคดิ เปน ปรชั ญาทช่ี แ้ี นะแนวทางการดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ติ นในทาง ทค่ี วรจะเปน โดยมพี น้ื ฐานมาจากวถิ ชี วี ติ ดง้ั เดมิ ของสงั คมไทย สามารถนาํ มาประยกุ ต ใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัย และวิกฤต เพื่อความมั่นคง และ ความยั่งยืน ของการ พัฒนา คุณลักษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนํามาประยุกตใชกับการปฏิบัติตน ไดในทกุ ระดบั โดยเนน การปฏบิ ตั บิ นทางสายกลาง และการพฒั นาอยา งเปน ขน้ั ตอน ก โครงการอบรมหลกั สูตรทองถิ่นตน แบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพึ่งตนเอง

=ES-‰T%O*_JEK2$V+@O_@WD* ìćÜÿć÷ÖúćÜ óĂðøąöćè öĊđĀêñč ú öõĊ ĎöÙĉ šöč ÖĆî ĔîêüĆ ìĊéę Ċ đÜĂęČ îĕ×ÙüćöøĎš đÜČĂę îĕ×Ùèč íøøö øĂïøšǰĎ øĂïÙĂïǰøąöĆéøąüÜĆ àĂęČ ÿĆê÷ŤǰÿčÝøĉêǰÿêðĉ âŦ âćǰ×÷îĆ ǰĂéìîǰĒïŠÜðîŦ îĈĕðÿŠĎ -WIV7¬_JEK2$V+¬L*S 'C¬LVg*`I6GOC $TIM;TODT *LC6ZG¬C;Sg '*¬D*gS DY; คาํ นยิ าม ความพอเพยี งจะตองประกอบดวย3 คณุ ลักษณะ พรอมๆ กัน ดงั น้ี 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไมเ บยี ดเบยี นตนเองและผอู น่ื เชน การผลติ และการบริโภคทอ่ี ยูในระดบั พอประมาณ 2. ความมเี หตผุ ล หมายถงึ การตดั สนิ ใจเกย่ี วกบั ระดบั ของความพอเพยี งนน้ั จะตองเปนไปอยางมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปจจัยท่เี ก่ยี วของตลอดจนคํานึงถึง ผลท่คี าดวาจะเกิดขึ้นจากการกระทํานัน้ ๆ อยา งรอบคอบ 3. การมภี ูมิคมุ กนั ท่ดี ีในตวั หมายถึง การเตรียมตวั ใหพ รอมรับผลกระทบ และการเปลย่ี นแปลงดา นตา งๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ โดยคาํ นงึ ถงึ ความเปน ไปไดข องสถานการณ ตางๆ ที่คาดวา จะเกดิ ขน้ึ ในอนาคตทั้งใกลและไกล เงอ่ื นไข การตดั สนิ ใจและการดาํ เนนิ กจิ กรรมตา งๆ ใหอ ยูในระดบั พอเพยี งนน้ั ตอ งอาศยั ทัง้ ความรู และคณุ ธรรมเปนพืน้ ฐาน กลา วคอื 1. เงอ่ื นไขความรู ประกอบดว ย ความรอบรเู กย่ี วกบั วชิ าการตา ง ๆ ทเ่ี กย่ี วขอ ง อยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพอ่ื ประกอบการวางแผน และความระมดั ระวงั ในขน้ั ปฏบิ ตั ิ ทจ่ี าํ ทาํ ใหบ รรลวุ ตั ถปุ ระสงค 2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสรางประกอบดวย มีความตระหนักใน คณุ ธรรม มคี วามซ่ือสัตยสจุ รติ และมคี วามอดทน มีความเพียร ใชสตปิ ญ ญาในการ ดําเนนิ ชวี ิต ไมโลภ ไมตระหน่ี แนวทางปฏิบัติ/ผลที่คาดวาจะไดรับ จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี งมาประยกุ ตใช คอื การพฒั นาทส่ี มดลุ และยง่ั ยนื พรอ มรบั ตอ การเปลย่ี นแปลง ในทกุ ดาน ทงั้ ดา นเศรษฐกิจ สงั คม ส่ิงแวดลอ มความรแู ละเทคโนโลยี โครงการอบรมหลกั สูตรทอ งถนิ่ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงพึง่ ตนเอง ข

ค โครงการอบรมหลกั สตู รทองถนิ่ ตน แบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพ่งึ ตนเอง

สารจากนายกเทศมนตรตี าํ บลฟาฮาม “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวพระราชดําริใน พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู ฯั ว ทพ่ี ระราชทานมานานกวา ๓๐ ป เปน แนวคดิ ทต่ี ง้ั อยบู นรากฐานของวฒั นธรรมไทย เปน แนวทาง การพฒั นาทต่ี ง้ั บนพน้ื ฐานของทางสายกลางและความไมป ระมาท คํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล การสรา งภมู คิ มุ กนั ในตวั เอง ตลอดจนใชค วามรูและคุณธรรม เปนพ้ืนฐานในการ ดํารงชวี ติ ที่สาํ คัญจะตอ งมี “สติ ปญ ญา และความเพยี ร” ซ่งึ จะนําไปสู “ความสุข” ในการดาํ เนินชวี ติ อยางแทจรงิ เทศบาลตําบลฟาฮาม ไดนอมนําเอาปรัชญาดังกลาวมาปฏิบัติในตําบล ฟาฮาม และบูรณาการรวมกับการบริหารงานในเทศบาลตําบลฟาฮาม ใหพนักงาน ไดเรียนรูจากการปฏิบัติจริง และจัดตั้งศูนยการเรียนรูเพื่อใหประชาชน ในตําบล ฟา ฮาม มชี วี ิตความเปนอยทู ี่ดีขึ้นและเปนศูนยร วม ใหท ุกภาคสวนทํางานดว ยความ สามัคคี ความปรองดองสมานฉนั ท ทําใหก จิ การงานตางๆ สําเร็จลุลว งไปดวยดี นายปรชี า วรกุล นายกเทศมนตรตี ําบลฟาฮาม สารบัญ หนา • ปาฐกถาพิเศษ เร่อื ง 2 “ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อการพฒั นาที่ยัง่ ยนื โดย ฯพณฯ องคมนตรี น.พ.เกษม วัฒนชยั 21 24 • เศรษฐกจิ พอเพยี งทเี่ ปน รูปธรรมในชมุ ชน • สรุปผลการดําเนินโครงการและการใหข อมูลพิจารณา แกผูรว มโครงการประกอบการประชมุ กลมุ ยอย

“จะปดทองหลังองคพ ระปฏิมา” คลงั สมอง วปอ.เพ่อื สังคม NATIONAL DEFENCE COLLEGE ALUMIN THINK TANK “คุณคาของปรัชญาตามเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาคน ที่สําคัญ คือ การมุงพัฒนาคนใหมีทั้งความรูความสามารถเต็มที่ มีความเขมแข็ง มีอิสระ มีเกียรตศิ กั ดิศ์ รี มคี ุณธรรม และจริยธรรม พงึ่ พาตนเอง หลักของปรัชญาดงั กลาว เปน พลงั สาํ คญั ยง่ิ ใหป จ เจกบคุ คล องคก ร และประเทศ สามารถดาํ รงอยอู ยา งมน่ั คง ในภาวะวิกฤตแสะสถานการณท ่ีเปล่ียนแปลง” ฯพณฯ องคมนตรี น.พ.เกษม วัฒนาชัย การปาฐกถาพิเศษโครงการพัฒนาผนู าํ ตามแนวพระราชดาํ ริและปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 28 เมษายน 2550 2 โครงการอบรมหลกั สตู รทอ งถิ่นตน แบบตามแนวพระราชดําริ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงพ่ึงตนเอง

ปาฐกถาพเิ ศษ เรอ่ื ง “ปรชั ญาตามเศรษฐกจิ พอเพยี ง เพื่อการพัฒนาที่ย่งั ยืน” โดย ฯพณฯ องคมนตรี น.พ.เกษม วฒั นาชยั โครงการพัฒนาผูนาํ ตามแนวพระราชดาํ ริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง เมื่อ 28 เมษายน 2550 ดําเนินการโครงการโดย คลงั สมอง วปอ.เพอ่ื สงั คม กลา วนาํ ขอแสดงความชน่ื ชมกับคลงั สมอง วปอ.เพ่ือสงั คม และคณะผูอาํ นวยการ บริหารโครงการ “พฒั นาผูน ําตามแนวพระราชดาํ ริ และปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ซง่ึ ประกอบดว ย พอ.อ.เอกชยั ศรวี ลิ าศ คณุ วรมิ า โพธสิ มบตั ิ และคณุ วลั ภา บรุ ษุ พฒั น ท่ีไดร ว มกนั ดําเนินโครงการอยางตั้งใจจริงและตอ เน่ืองในป 2549-2550 โดยมผี ูร วม โครงการประมาณ 800 คนเศษ อยบู นความเชอื่ ถือศรัทธาและความมงุ หมายใหเ กดิ ประโยชนแ กส ว นรวมประเทศชาตแิ ละประชาชนอยางแทจ รงิ พิจารณาเห็นวาในการดําเนินงานและการออกแบบหลักสูตรตามโครงการน้ี ผบู รหิ ารโครงการ ไดใหค วามระมดั ระวงั ในการดาํ เนนิ การ โดยมงุ ความประหยดั และ ใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยจัดการดําเนินโครงการในระยะเวลาสั้น มีผูทรงคุณวุฒิ มากมายใหความรูและประสบการณสาขาตางๆ อยางครบถวน นอกจากนั้น ยังได จัดใหมีการเดินทางไปศึกษาพื้นที่ เพื่อการสรางความเขาใจใหชัดเจน นําปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตไปปฏิบัติจริง มุงใหผูรวมโครงการศึกษาเรียนรูและ นาํ ไปปฏบิ ตั ิ โดยความรูจรงิ และเชือ่ มน่ั ดว ยตนเอง โครงการอบรมหลกั สูตรทอ งถน่ิ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพึ่งตนเอง 3

สําหรับผูผานการฝกอบรมจากโครงการหลายรุนที่ผานมา ไดทราบจาก ผูบริหารโครงการวามุงเพื่อใหผูผานการศึกษา นําความรูไปปฏิบัติตามหนาที่ความ รบั ผดิ ชอบ ในสว นราชการ ภาคเอกชน และพื้นท่ีตางๆ ซึ่งเปน เร่ืองที่ดี และได รับทราบวา โครงการจะจัดใหมีการติดตามผลดําเนินการเพื่อทราบความกาวหนา ทําใหโครงการมีความคุมคาอยางแทจริง จึงขอฝากขอพิจารณาไววา ควรให ความสาํ คญั เกย่ี วกบั การตดิ ตามประเมนิ ผล โดยเฉพาะเรอ่ื งการปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม ของผผู า นการอบรม ทง้ั ในระดบั บคุ คล องคก ร การบรหิ ารจดั การทส่ี ง ผลดที กุ ระดบั มีการสรางเครือขายการดําเนินการรวมกันตอเนื่อง เมื่อการดําเนินการ ในขอการ ปฏิบัติมีประสบการณและพัฒนาใหดีสอดคลองกับหนาท่ีความรับผิดชอบภูมิสังคม ของแตละภาคสวน ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน ปรชั ญาทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ฯ ทรง มพี ระราชดาํ รสั ชแ้ี นะแนวทางดําเนนิ ชีวติ แกพสกนกิ รชาวไทยมาโดยตลอดนาน กวา 30 ป และไดพ ระราชทานพระบรมราชานญุ าตใหน าํ ไปเผยแพร เมอ่ื วนั ท่ี 29 พฤศจกิ ายน 2542 เปนแนวทางการปฏิบัตพิ ฒั นาและบรหิ ารของทกุ ฝา ย และประชาชนโดยท่วั ไป มีสาระดังน้ี 4 โครงการอบรมหลกั สูตรทองถน่ิ ตน แบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพ่ึงตนเอง

“เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่เตรียมการปองกันโดยมีระบบภูมิคุมกัน ทด่ี ี และเตรยี มการปอ งกนั โดย มรี ะบบภมู คิ มุ กนั ทด่ี ชี ถ้ี งึ แนวการดาํ รงอยแู ละปฏบิ ตั ติ น ของประชาชนในทุกระดับ ตงั้ แต ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถงึ ระดบั รฐั ทงั้ ใน การพัฒนา และบริหารประเทศใหดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา เศรษฐกิจ เพ่ือใหกาวทนั ตอ โลกาภิวัตน ความพอเพยี ง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอ การมีผลกระทบใดๆ อนั เกดิ จากการเปลีย่ นแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่งในการนํา วชิ าการตา งๆ มาใชในการวางแผน และการดาํ เนนิ การทกุ ขน้ั ตอน และขณะเดยี วกนั จะตองเสรมิ สรา งพื้นฐานจติ ใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนา ทขี่ องรัฐ นกั ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับใหมีจิตสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย สุจริต และให ความรอบคอบรูเหมาะสม ดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุล และความพรอมตอรองรับการเปลี่ยนแปลง อยางรวดเร็ว และกวางขวางทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจาก โลกภายนอกไดเ ปนอยา งดี คุณคาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คุณคาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีคุณคากวางขวางครอบคลุมมากกวา และเสริมทฤษฎีเศรษฐศาสตรกระแสหลักใหเขมแข็งสมบูรณย่ิงข้ึนและสอดคลอง กบั หลกั การของทกุ ศาสนา ทง้ั นก้ี รมการศาสนาไดป ระสานใหผ รู บั ผดิ ชอบ ดา นศาสนา ทุกศาสนารับไปศึกษาพิจารณา ไดรับคําตอบกลับมาวาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงมีความสอดคลองตรงกันกับหลักธรรมทุกศาสนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีเปาประสงคใหการพัฒนากาวทันโลกาภิวัตนมีคุณคาในการพัฒนาคนและความ ยั่งยื่น องคการสหประชาชาติไดประเมินวาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีประโยชน อยางยิง่ ในสถานการณท่ีเปลยี่ นแปลง ดงั ทน่ี ายโคฟ อานนั เลขาธกิ ารสหประชาชาติ ไดประกาศไวในราชสุดุดีเฉลิมพระเกียรติในพิธีทูลเกลาฯ ถวายรางวัลความสําเร็จ สูงสดุ ดา นการพฒั นามนุษย เม่ือ 26 พฤษภาคม 2549 ความตอนหนึ่ง ดังนี้ โครงการอบรมหลักสูตรทองถ่นิ ตน แบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพ่ึงตนเอง 5

“…ดว ยพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของใตฝ า ละอองธลุ พี ระบาททม่ี ตี อ ประชาราษฎร ไดรบั พระราชทานปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ซ่ึงชถี้ งึ แนวทางการพฒั นาทเี่ นน ความ สมดลุ ความพอประมาณ ความมีเหตุผลสํานกึ ในคณุ ธรรม และการมภี มู ิคมุ กันตัว ที่ดี พอที่จะตานทานและลดผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงตางๆ จากกระแส โลกาภิวัตนดวยปรัชญาดังกลาวนี้ องคการสหประชาชาติ จึงมุงเนนเพียรพยายาม และสงเสริมการพัฒนาคนใหความสําคัญตอความอยูดีมีสุขของประชาชนใหความ เปนเปาหมาย และศูนยกลางในการพัฒนา มีปณิธานที่จะสงเสริมประสบการณ นําแนวทางการปฏิบัติในการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงคุณคาอยางหาที่สุด มิได มาชว ยจดุ ประกายแนวความคดิ ในปรชั ญาดังกลา วสูนานาประเทศตอไป…” นอกจากนั้นเมื่อเดือนมกราคม 2550 UNDP ไดจัดทํารายงานการพัฒนา คนแหงประเทศไทย โดยเสนอเร่อื งราวการพฒั นาทย่ี ัง่ ยนื ตามแนวพระราชดาํ ริ และ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาคนโดยเนนสรางความอยูดีมีสุข การให ความสําคญั กบั การพัฒนามนุษย มงุ พฒั นาคนใหเต็มตามศักยภาพท้งั ความรู ความ สามารถคณุ คาพ้ืนฐานดา นจติ ใจและคุณธรรม ทง้ั นี้ UNDP ไดเ ผยแพรรายงานการ พัฒนาคน แหงประเทศไทยตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทั่วโลก และจดั ทํารายงาน ดังกลาวเผยแพรก วา 160 ประเทศ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การเผชญิ ภาวะวิกฤต และสถานการณเ ปล่ยี นแปลง ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนหลักที่มีคุณคาเพื่อการเผชิญปจจัยเส่ียงและ สถานการณเปลี่ยนแปลง โดยนําความรอบรูหลักวิชาการความเทาทันสถานการณ ความเขมแข็ง ความมีเหตุผล และความรอบคอบระมัดระวังเปนปจจัยสนับสนุน ดําเนินการ ทั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพิจารณาเห็นวาสถานการณ ภายใน และภายนอกประเทศมีความเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอดยากทจี่ ะหลกี เลีย่ งให พนหนทางดําเนินการที่ดี คือ การระมัดระวังประคับประคองตนเอง และมีความ ประหยัด เพ่อื ดาํ รงอยูไดโดยมั่นคงราบรื่นดงั พระราชดํารัส ที่ประราชทานเนือ่ งใน วโรกาศวนั ขน้ึ ปใหม เมื่อ 31 ธันวาคม 2521 ความวา “วถิ ีทางดาํ เนินของบานเมือง 6 โครงการอบรมหลกั สูตรทองถนิ่ ตนแบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงพึง่ ตนเอง

และของประชาชนโดยทั่วไป มีความเปลี่ยนแปลงมาโดยตลอด เนื่องจากมีความ วิปริตผันแปรของวิถีแหงเศรษฐกิจสังคม การเมืองและอื่นๆ ของโลกยากยิ่งที่เรา หลีกใหพนได จึงตองระมัดระวังประคับประคอง ตัวเรามากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่อง การเปน อยูโดยประหยัดเพอ่ื ที่จะอยูใหร อด และกาวหนาตอไปโดยสวสั ด”ี หากพิจารณาลักษณะและธรรมชาติของการเปล่ียนแปลงใหชัดเจนจะพบ วามีความตอเนื่องและเปนวงจรมีทั้งขาขึ้นขาลงหลักการเผชิญสถานการณจึงควร ไมป ระมาทและมสี ตทิ ง้ั ในยามทร่ี งุ เรอ่ื งหรอื ตกตำ ดว ยการเตรยี มการหรอื ระงบั ยบั ยง้ั ความเปลี่ยนแปลงและผลกระทบอยางรอบคอบ ทั้งนี้สถานการณเปลี่ยนแปลง มีสาเหตุมาจากภายในและภายนอกทั้งสาเหตุที่ควบคุมไดและไมไดมีผลกระทบทั้ง 4 ดา น ทงั้ ดานวตั ถุ สงั คม สงิ่ แวดลอมและวัฒนธรรม และผลกระทบตา งๆ เหลานน้ั อาจรวดเรว็ รนุ แรงและกวา งขวาง จงึ จาํ เปน ตอ งมคี วามรอบคอมระมดั ระวงั เปน อยา งยง่ิ รวมทง้ั ตอ งใชห ลกั สายกลาง ความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล และมรี ะบบภมู คิ มุ กนั ที่ดเี ปนเครื่องมอื สาํ คญั ในการพจิ ารณา ตดั สนิ ใจ และดาํ เนนิ การ มีผูรูประเมินสถานการณความเปลี่ยนแปลงภายหลังสงความเย็น ไววา ความเปลย่ี นแปลงระยะตอ ไปจะมมี ากอยางไมม ีท่สี ิ้นสุด แตกตางจากระยะทผี่ า นมา โดยเฉพาะโลกจะเผชญิ กบั พลังความเปล่ยี นแปลงในเชงิ ทําลายลางมากขึน้ และการ กาวเดินตอไปในอนาคตจะเผชิญกับเหตุการณที่ไมคาดหมายมีความไมราบรื่น สง ผลกระทบหลายดา น การประเมนิ สถานการณเ ชน นป้ี รากฏผลทเ่ี ปน จรงิ ในประเทศ และระหวางประเทศ อาทิปรากฏสถานการณความไมสงบในพื้นที่จังหวัดชายแดน ภาคใต ภาวะโรคระบาดภัยธรรมชาติและความขดั แยง ในสังคมปจ จบุ นั ทัง้ น้ีปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอเพียงจะเปนกรอบการบริหารและการปฏิบัติ ใหเผชิญและบริหาร จดั การสถานการณเ ปลย่ี นแปลงตา งๆ และภาวะวกิ ฤตดว ยความมสี ติ ไมป ระมาท ใช หลกั เหตผุ ล และเตรยี มการปอ งกันโดย มรี ะบบภมู คิ ุมกันทดี่ ี เพื่อผา นพนเหตุการณ เหลาน้นั โดยราบร่นื หรือ มผี ลการะทบนอยทส่ี ดุ โครงการอบรมหลกั สูตรทองถ่ินตนแบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพง่ึ ตนเอง 7

คณุ ธรรม ความรู และภมู คิ มุ กนั ทด่ี ี เปน พลงั รองรบั ผลกระทบ หลักการดําเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจใหบรรลุผลนั้น ผูนําภาครัฐและ เอกชนตอ งยึดมน่ั ในเง่ือนไขคุณธรรม จริยธรรม ความซอ่ื สตั ยส ุจรติ และความรอบรู นําหลักวิชาการมาประกอบการวางแผนทุกขั้นตอน มีเงื่อนไขในการดําเนินชีวิตท่ดี ี ทัง้ ความอดทน ความเพยี ร ความมสี ติ ความรอบคอบ ทั้งนี้ หลักการดังกลาวสามารถประยุกตใชไดดี ในการบริหารจัดการ การดํารงตน และการปฏิบัติหนาที่ โดยเฉพาะการใชหลักคุณธรรมนําความรู การมี คุณธรรมมาเปนเครื่องกํากับจิตใจยึดมั่นในความดีความจริง ความงามจะทําใหชวี ติ และการบริหารกิจการงานดําเนินไปไดโดยกาวหนาดวยดี ทั้งนี้สังคมมีเครื่องชี้วัด ความดีความจริงและความงามอยูทั้งตามหลักศาสนธรรม จริยธรรม เกณฑทาง กฎหมาย เกณฑท างสงั คม และหลกั ธรรมมาภิบาลหรือบรรษัทภบิ าล ซงึ่ สามารถนํา ไปใชเ ปน หลักดํารงตน หรือสามารถนํามาปรบั ใชในกจิ กรรมตางๆ ไดเปน อยา งดี ในการดําเนินตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของผูรวมโครงการ “พัฒนา ผนู าํ ตามแนวพระราชดาํ รแิ ละปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง” ทม่ี าจากภาครฐั ภาคเอกชน ผนู าํ ชมุ ชน และทองถน่ิ ควรใหค วามสาํ คัญกบั การจัดระบบ ภมู ิคุม กนั ทีด่ ี ท้ังดา น เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอมใหความสําคัญกับการดําเนินการลักษณะตางๆ อาทิ การจัดการใหม กี ารออม การวางแผน และจัดระบบประกันความเสย่ี ง เนน การ ลงทนุ เพอ่ื การพฒั นา การสรา งความรรู กั สามคั คีในสงั คม ชมุ ชน องคก ร และระดบั ชาติ ยึดมั่นในคุณธรรม สรางความอยูเย็นเปนสุขใหประชาชน จัดการอนุรักษ พัฒนา ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ มทะนบุ าํ รงุ ศลิ ปะ วฒั นธรรม การดาํ เนนิ การตา งๆ เหลา น้ี จะสรา งความเขม แขง็ ในการดาํ รงชวี ติ การบรหิ ารจัดการปองกันผลกระทบ จากสถานการณเ ปลย่ี นแปลงภายนอก และภาวะวกิ ฤตไดเ ปน อยา งดี ทง้ั น้ี การนอ มนาํ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ใชร ะดบั ครอบครวั จะสง ผลใหค รอบครวั มน่ั คง เขม แขง็ โดยตองคํานึงอยูเสมอวาผูนําไปปฏิบัติตองมีศีลธรรม คุณธรรม และความรอบรู จึงจะประสบผลอยา งสมบูรณ 8 โครงการอบรมหลักสูตรทองถ่ินตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงพง่ึ ตนเอง

หลักการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงใหความสําคัญอยางยิ่งกับคุณธรรม สง ผลใหก ารดาํ เนนิ การและการบรหิ ารทง้ั ระดบั ชมุ ชน ระดบั ชาติ และภาคธรุ กจิ ดาํ เนนิ ไปอยางมีประสิทธิภาพและยั่งยืน คุณธรรม เปนสิ่งกํากับจิตใจซึ่งจะแปรเปลี่ยน มาเปน พฤติกรรมหรอื การกระทํา คนมคี ุณธรรมคือคนทม่ี ีสง่ิ กาํ กบั จติ ใจเร่ืองความดี และความจริง สวนคนไรคุณธรรมหรือผูบริหารที่ขาดคุณธรรม คือ ผูที่มีสิ่งกํากับ จติ ใจเรอ่ื งความไมด งี าม และความอปั ลกั ษณ สงั คมทเ่ี ขม แขง็ ควรตอ งมหี ลกั คณุ ธรรม นําความรอู ยา งแทจ ริง สงั คม หรอื ระดบั องคก รภาครฐั ภาคเอกชนและชมุ ชนมเี ครอ่ื งชวี ติ ความดี ความจรงิ และความงามท่ีสาํ คญั คอื 1.) หลักของศาสนาธรรม ผูบริหารหรือองคกร มีศีลธรรมเปนหลักในการ บรหิ ารองคกร 2.) หลักของจริยธรรมที่ประกอบดวยจริยธรรมทั่วไป จริยธรรมเฉพาะกลุม หรอื กลมุ หรอื เฉพาะวิชาชีพ 3.) หลกั เกณฑท างกฎหมาย ซง่ึ สงั คมตอ งปฏบิ ตั ิ คอื หลกั นติ ธิ รรม การบรหิ าร บา นเมืองตามหลักความเปน ธรรมอยางแทจรงิ 4.) เกณฑท างสงั คมอนั ประกอบดว ยขนบธรรมเนยี ม ประเพณี และมารยาท 5.) หลกั ธรรมาภบิ าล และหลกั บรรษัทภิบาล 6.) หลักการประจาํ ครอบครวั และประจาํ ตระกูล พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดพระราชทานชุดความรูท่ีเก่ียวกับคุณธรรม ไวม ากในพระราชดาํ รสั ในโอกาสตา งๆ และไดพ ระราชทานไวเ ปน หลกั ปฏบิ ตั แิ ละเงอ่ื นไข ดาํ เนนิ การตามปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยการดาํ เนนิ การใหบ รรลผุ ลตามปรชั ญา เศรษฐกจิ พอเพยี ง ซง่ึ ผนู าํ บรหิ ารระดบั สงู ทกุ ภาคสว นรบั ไปดาํ เนนิ การ ตอ งมเี งอ่ื นไข เรือ่ งคณุ ธรรมกํากบั การ ปฏบิ ตั ิจงึ จะประสบผล โครงการอบรมหลกั สูตรทอ งถ่ินตน แบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพึง่ ตนเอง 9

หลกั การทรงงาน หลักการและปรัชญาในการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว มคี ณุ คา ยง่ิ สามารถประยกุ ตใชก บั ผบู รหิ ารทกุ ระดบั ทง้ั ภาครฐั ภาคเอกชนและชมุ ชน ในวโรกาสทรงครองราชยครบ 60 ป สาํ นกั เลขาธกิ าร กปร.ไดจดั ทําเอกสารรวบรวม หลักการทรงงานไวรวม 23 ประการ ซึ่งผูนําและผูบริหารภาคราชการ และภาค เอกชน สามารถนําไปพิจารณาปรบั ใชในการบรหิ าร และการพฒั นาดงั นี้ ประการที่ 1 ศึกษาขอ มูลอยางเปน ระบบ การศึกษาขอมูลอยางเปนระบบ มีประโยชนม ากสาํ หรบั การบริหารทุกภาคสวน ใหดําเนินไปโดยมีปจจัยเก่ียวของสมบูรณและ มเี ปา หมายชัดเจน ทั้งนีก้ ารที่พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัวจะพระราชทานโครงการใด โครงการหนึ่ง จะทรงศึกษาขอมูลรายละเอียดอยางเปนระบบ ทั้งขอมูลเบื้องตน เอกสาร และแผนที่ รวมทั้งการสอบถามจากเจาหนาที่วิชาการ และราษฎรในพื้นที่ ใหไดรายละเอยี ดทช่ี ดั เจน เพื่อทจี่ ะพระราชทานความชวยเหลอื ไดอ ยา งถกู ตอ งและ รวดเร็วตรงตามความตอ งการของประชาชน ประการท่ี 2 ระเบิดจากขางใน ทรงใหความสําคัญกับการพัฒนาที่ตองสรางความเขมแข็งใหคนในชุมชน ใหมีสภาพพรอมที่จะรับการพัฒนาเสียกอน มิใชการนําเอาความคิดหรือบุคคลจาก สงั คมภายนอกเขา ไปกาํ หนดใหช มุ ชนหรอื หมบู า นทย่ี งั ไมท นั ใดมีโอกาสเตรยี มตวั และ หลักการนี้สามารถนําไปปรับใชในการบริหาร ทั้งในระดับองคกรและชุมชน ไดอยา ง เกิดประโยชน ประการที่ 3 แกปญหาท่จี ดุ เล็ก ทรงมองปญหาในภาพรวม (แมคโคร) กอนเสมอ แตการแกปญหาจะเริ่ม จากจุดเลก็ ๆ (ไมโคร) คอื การแกไขปญ หาเฉพาะหนา ทีค่ นมักจะมองขาม เนื่องจาก การมองปญหาในภาพรวมจะวิเคราะหสถานการณไดครบ และการแกไขปญหาให 10 โครงการอบรมหลักสตู รทอ งถนิ่ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพง่ึ ตนเอง

กวางขวางทั้งหมดอาจยากที่จะบรรลุผล การเริ่มจากจุดเล็กที่ถูกตอง จะขยายไปสู ความสําเร็จโดยสมบรู ณ “…ถาปวดหัวคิดอะไรไมออก…ตองแกไขการปวดหัวน้ีกอน…เพื่อใหอยูใน สภาพทคี่ ิดได… ” ประการที่ 4 ทาํ ตามลาํ ดบั ขัน้ ตอน ทรงเริ่มตนจากสิ่งที่จําเปนที่สุดของประชาชนเสียกอน ไดแก สุขภาพ สาธารณสขุ จากนน้ั จงึ เปน เรอ่ื งสาธารณปู โภคขน้ั พน้ื ฐาน และสง่ิ จาํ เปน ในการประกอบ อาชีพ ทงั้ นี้ เปนไปตามหลักพัฒนาตามแนวพระราชดาํ ริทีว่ า “การพฒั นาประเทศจาํ เปน ตอ งทาํ ตามลาํ ดบั ขน้ั ตอ งสรา งพน้ื ฐาน คอื ความ พอมี พอกนิ พอใช ของประชาชนสวนใหญเ ปน เบือ้ งตนกอ น ใชวิธีการและอปุ กรณ ที่ประหยัด แตถูกตองตามหลักวิชาเมื่อไดพื้นฐานที่มั่นคงพรอมพอสมควร และ ปฏบิ ตั ิไดแลว จงึ คอยสรางเสริมความเจริญ และฐานะเศรษฐกิจขัน้ ท่สี งู ขึ้นโดยลาํ ดบั ตอไป…” ประการที่ 5 ภูมสิ งั คม หลักการพัฒนาตามแนวพระราชดํารขิ องพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ทรง คาํ นงึ ถงึ (1) ภูมิประเทศของบริเวณน้นั (ดิน, นำ, ปา, เขา ฯลฯ) (2) สังคมวิทยา (นิสัยใจคอของผคู น ตลอดจนวัฒนธรรมประเพณขี องทอ งถิ่น) โครงการอบรมหลักสูตรทอ งถ่นิ ตน แบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพ่งึ ตนเอง 11

ประการที่ 6 พจิ ารณาและดําเนนิ การอยา งเปน องคร วม พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ทรงมีวิธีคดิ อยา งองครวม (holistic) หรอื มอง อยางครบวงจร ทรงมองเหตุการณที่เกิดขึ้น และแนวทางแกไขอยางเชื่อมโยงกัน เพื่อการดําเนินการแกไขปญหาเปนไปโดยรอบดานได ประโยชนสูงสุดและไมสงผล กระทบดานใดดา นหนงึ่ ประการท่ี 7 ไมตดิ ตํารา หลกั การพฒั นาตามแนวพระราชดาํ รนิ น้ั มลี กั ษณะของการพฒั นาทอ่ี นโุ ลม และรอมชอมกับสภาพธรรมชาติส่ิงแวดลอมและสภาพของสังคมจิตวิทยาแหงชุมชน คือ ไมผูกมัดติดกับวิชาการและเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมกับสภาพชีวิตความเปนอยู ที่แทจริงของคนไทยปกติ ชุมชนและทองถิ่นเพื่อใชในการแกไขปญหาสอดคลอ งกับ ความเปนจริงและบรรลผุ ลไดโดยสมบรู ณ ประการท่ี 8 หลกั ความประหยัด/เรียบงา ย และไดประโยชนส ูงสดุ ประหยดั เรยี บงา ย ไดป ระโยชนส งู สดุ คอื การพฒั นาและชว ยเหลอื ราษฎรนน้ั ทรงใชห ลกั ในการแกป ญ หาดว ยความเรยี บงา ยและประหยดั ราษฎรสามารถทาํ ไดเ อง หาไดในทอ งถน่ิ และประยกุ ตใชส ง่ิ ทม่ี อี ยูในภมู ภิ าคนน้ั ๆ มาแกไขโดยไมต อ งลงทนุ สงู หรอื ใชเทคโนโลยีทยี่ ุงยากนัก ท้ังน้ี เปน ไปตามแนวพระราชดําริทวี่ า “ใหปลูกปาโดยไมตองปลูก โดยใหขึ้นเองตามธรรมชาติ จะไดประหยัด งบประมาณ” ประการท่ี 9 ทาํ ใหงาย Simplicity ทรงคดิ คน ดดั แปลง ปรับปรุง และแกไขงานการพัฒนาประเทศตามแนว พระราชดําริโดยงาย ไมยุงยากซับซอน ทรงโปรดที่จะทําสิ่งยากใหกลายเปนงาย ทาํ สิง่ ทสี่ ลบั ซบั ซอนใหเขาใจงาย “ทาํ ใหงา ย” 12 โครงการอบรมหลกั สูตรทองถ่ินตน แบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพึ่งตนเอง

ประการท่ี 10 การมสี วนรว ม ทรงเปน นกั ประชาธปิ ไตย เปด โอกาสใหส าธารณชนประชาชน หรอื เจา หนา ท่ี ทกุ ระดบั ไดม ารว มกนั แสดงความคดิ เหน็ โดยเฉพาะเกย่ี วกบั เรอ่ื งทต่ี อ งคาํ นงึ ถงึ ความ คิดเห็นของประชาชน หรือ ความตองการของสาธารณชน ดงั พระราชดํารสั ทวี่ า “…ตอ งหดั ทาํ ใจใหก วา งขวางหนกั แนน รจู กั รบั ฟง ความคดิ เหน็ แมก ระทง่ั การ วพิ ากษว จิ ารณผ อู น่ื อยา งชาญฉลาด เพราะการรจู กั รบั ฟง อยา งชาญฉลาดทแ่ี ทจ รงิ นน้ั แทจริง คือ การระดมสติปญญา และประสบการณอันหลากหลายมาอํานวย การปฏบิ ัตบิ ริหารงานใหป ระสบความสาํ เรจ็ ทีส่ มบูรณนัน้ เอง” ประการที่ 11 ประโยชนสวนรวม ทรงเคยพระราชทานพระราชดํารัสไวในลักษณะที่ทรงรําลึกถึงประโยชน สวนรวมเปนสําคัญเสมอ ดังพระราชดํารัสที่วา “…ใครตอใครก็มาบอกวาขอให คิดถึงประโยชนสวนรวมอาจมานึกถึงในใจวา ใหๆ อยูเรื่อยแลวสวนตัวจะไดอะไร ขอใหคิดวาคนที่ใหเพื่อสวนรวมนั้น มิไดใหแตสวนรวมอยางเดียวเปนการใหเพื่อ ตวั เองสามารถทีม่ สี วนรวมทจี่ ะอาศยั ได…” โครงการอบรมหลักสูตรทองถิน่ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพงึ่ ตนเอง 13

ประการที่ 12 บรกิ ารทจ่ี ดุ เดยี ว ทรงให “ศูนยศ ึกษาการพัฒนาอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ” เปน ตน แบบ ในการบริการรวมทีจ่ ดุ เดียว เพ่อื ประโยชนตอประชาชนทจี่ ะมาใชบรกิ ารจะประหยดั เวลาและคาใชจา ย โดยมหี นวยงานราชการตางๆ มารวม ดําเนินการและใหบ รกิ าร ประชาชน ณ ที่แหงเดียว ดังพระราชดํารัสที่วา “..เปนสองดานก็หมายถึงวา ที่สําคัญปลายทาง คือ ประชาชนจะไดรับประโยชน และตนทางของเจาหนาที่ จะใหประโยชน ประการที่ 13 ใชธรรมชาติชวยธรรมชาติ ทรงเขาใจถึงธรรมชาติและทรงตองการใหประชาชนใกลชิดกับธรรมชาติ ทรงมองอยางละเอียดถึงปญหาของธรรมชาติ หากเราตองการแกไขธรรมชาติ จะตอ งใชธรรมชาตเิ ขา ชวยเหลอื เชน การแกไขปญหาปาเสอ่ื มโทรม โดยพระราชทาน พระราชดาํ รกิ ารปลกู ปาโดยไมต อ งปลกู (ตน ไม) ปลอยใหธ รรมชาติชว ยในการฟนฟู ธรรมชาติ ประการที่ 14 ใชอธรรมปราบอธรรม ทรงนาํ ความจรงิ ในเรอ่ื งความเปน ไปแหง ธรรมชาตแิ ละกกเกณฑข องธรรมชาติ มาเปนหลักการและแนวปฏิบัติท่ีสําคัญในการแกไขและปรับปรุงเปลี่ยนแปลงสภาวะ ที่ไมป กตเิ ขาสรู ะบบทเี่ ปน ปกติ เชน การนํานำดีขับไลนำ เสยี การใชผักตบชวาบาํ บดั นำเสยี โดยดูดซึมสง่ิ สกปรกปนเปอ นในนำ 14 โครงการอบรมหลักสตู รทอ งถิ่นตนแบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงพ่ึงตนเอง

ประการที่ 15 ปลูกปา ในใจ ทรงมีแนวทางในการทรงงาน และการพัฒนาวา การที่จะฟนฟูทรัพยากร ธรรมชาติใหก ลบั คนื มาตอ งปลกู จติ สาํ นกึ ใหค นรกั ปา เสยี กอ น ดงั พระราช ดาํ รสั ทว่ี า ” …เจาหนาที่ปาไม ควรจะปลูกตนไมในใจคนเสียกอนและแลวคนเหลานั้น ก็จะพากนั ปลูกตน ไมล งแผนดนิ และรกั ษาตนไมดวยตนเอง…” ประการท่ี 16 ขาดทนุ คอื กาํ ไร ทรงมีหลกั การสําคัญในการทาํ งาน คือ “การให และการเสียสละเปน การ กระทาํ อนั มผี ลเปนกําไร คือความอยดู มี สี ขุ ของราษฎรดังพระราชดาํ รัสที่วา “ขาดทนุ คอื กําไร Our Loss is our gain การเสยี คอื การไดประเทศกก็ าวหนา และการท่ีคนจะอยูดีมสี ขุ นน้ั เปนการนับท่เี ปนมูลคา ของเงินไมได” หลกั การคือ “…ถาเราจะทาํ อะไรท่เี ราเสยี แตในทสี่ ดุ เรากเ็ สียน้นั เปนการได ทางออ มตรงกบั งานของรฐั บาลโดยตรง เงนิ รฐั บาลหรอื อกี ในหนง่ึ คอื เงนิ ของประชาชน ถาอยากใหป ระชาชนอยูดีกินดีก็ตองลงทุน” ประการท่ี 17 หลักพึ่งพาตนเอง หลักการพัฒนาตามแนวพระราชดําริมุงแกไขปญหาในเบ้ืองตนดวยการ แกไขปญ หาเฉพาะหนา เพอ่ื ใหป ระชาชนแขง็ แรงพอทจ่ี ะดาํ รงชวี ติ ไดต อ ไป แลว ขน้ั ตอน ตอไปก็คือ การพัฒนาใหประชาชนสามารถอยูในสังคมไดตามสภาพแวดลอมและ สามารถ “พึ่งตนเองได” ในที่สุดซึ่งเปนการวางรากฐานเขมแข็งใหแกชุมชนและ ประชาชนอยา งแทจ รงิ มผี ลทง้ั ทางตรงและออ มตอ ความเขม แขง็ มน่ั คงระดบั ชาติ โครงการอบรมหลกั สูตรทองถิ่นตน แบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพ่ึงตนเอง 15

ประการที่ 18 การพออยพู อกิน สาํ หรบั ประชาชนทต่ี กอยใู นวงจรแหง ความทกุ ขน น้ั ไดพ ระทานความชว ยเหลอื ใหสามารถอยูในขน้ั “พออยูพ อกนิ ” เสยี กอนแลวจงึ คอ ยขยบั ขยายใหม ีขีดสมรรถนะ ที่กา วหนา ตอ ไป ดงั พระราชดาํ รสั ทีว่ า “…ถาโครงการดี ในไมช าประชาชนจะไดกาํ ไร จะไดผ ล ราษฎรจะอยูดกี ินดีข้นึ จะไดประโยชนตอ ไป” ประการท่ี 19 เศรษฐกจิ พอเพยี ง หลักการทรงงานที่สําคัญยิ่งคือเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวทางดําเนินชีวิต เพอ่ื สรา งความเขม แขง็ หรอื ภมู คิ มุ กนั ทกุ ดา น ซง่ึ สามารถทาํ ใหอ ยูไดอ ยา งสมดลุ ในโลก แหง การเปลย่ี นแปลง ทง้ั นป้ี รชั ญาน้ีไดม กี ารประยกุ ตใชท ง้ั ระดบั บคุ คลองคก าร ชมุ ชน และทกุ ภาคสวนมาแลวอยา งไดผล ประการท่ี 20 ความซือ่ สัตย สจุ ริต และจรงิ ใจตอกนั ทรงใหความสําคัญกับหลักการทรงงาน ซึ่งเกิดประโยชนตอทุกภาคสวน รวมทั้งผูบริหารภาครัฐและเอกชนในเรื่องความซื่อสัตยสุจริต และจริงใจตอกัน ดังพระราชดํารทิ ว่ี า “…ผูท่มี ีความสุจรติ และบริสทุ ธ์ิใจ แมจ ะมีความรูนอ ยกย็ อ มทาํ ประโยชนใหแกสวนรวมไดมากกวาผูที่มีความรูมากแตไมมีความสุจริต ไมมีความ บริสทุ ธ์ิใจ” ประการท่ี 21 ทาํ งานอยา งมีความสุข พระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั ทรงพระเกษมสาํ ราญ ทรงมคี วามสุขทกุ คราว ท่ีชว ยเหลือประชาชนดา นพระราชดาํ รทิ ีว่ า “..ทํางานกับฉันฉนั ไมม อี ะไรจะใหนอกจาก การมีความสุขรว มกันในการทํา ประโยชนใหกบั ผอู ื่น…” 16 โครงการอบรมหลักสูตรทองถ่ินตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงพึ่งตนเอง

ประการท่ี 22 ความเพียร : พระมหาชนก พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ฯ ทรงรเิ รม่ิ ทาํ โครงการตา งๆ ในระยะแรกท่ีไมม ี ความพรอมมากนักและทรงใชพระราชทรัพยสวนพระองคทั้งส้ินแตพระองคก็มิได ทอพระราชหฤทยั มุงม่นั พัฒนาบา นเมืองใหบังเกดิ ความรม เย็นเปนสุข คุณคา และ ความสําคญั ของหลกั แหง ความเพยี รน้นั ไดเ ปน ทปี่ ระจกั ษในพระราชนพิ นธม หาชนก ประการที่ 23 ร-ู รักสามัคคี ทรงใหค วามสาํ คญั แกค วามรรู กั สามคั คี และไดพ ระราชทานเรอ่ื งน้ีในโอกาส ตางๆ ทง้ั น้ีความหมายของความรูรกั สามคั คีตามแนวพระราชดาํ รัสดังนี้ รู : การท่เี ราจะลงมอื ทาํ สิ่งใดนั้น จะตอ งรูเสยี กอ น รูถึงปจจยั ทงั้ หมด รถู ึง วิธแี กป ญ หา รัก : เมือ่ เรารคู รบกระบวนความแลวจะตอ งเห็นคณุ คาเกิดศรัทธาเกดิ ความ รักทจ่ี ะเขาไปลงมอื ปฏบิ ตั ิแกไขปญ หานน้ั ๆ สามัคคี : เมื่อถึงขั้นลงมือปฏิบัติตองคํานึงเสมอวาเราทําคนเดียวไมได ตองรว มมือรวมใจกนั สามคั คกี นั เปน หมคู ณะ จงึ เกิดพลังในการแกไขปญหาใหลุลวง ดว ยดี โครงการอบรมหลักสตู รทอ งถ่นิ ตน แบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพง่ึ ตนเอง 17

ในวโรกาสงานพระราชพธิ ฉี ลองพธิ ฉี ลองสริ ริ าชสมบตั ิ 60 ป เมอ่ื 9 มถิ นุ ายน 2549 พระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ฯ ไดพ ระราชทานกระแสพระราชดาํ รสั ในการเสดจ็ ออกสมาคมเก่ยี วกับคณุ ธรรม ความสุจริต ความสามคั คี เมตตาธรรม ความเทย่ี ง ธรรม และการยดึ มน่ั ในหลกั เหตผุ ลดังนี้ “…คุณธรรมซึ่งเปนที่ตั้งของความรักความสามัคคี ที่ทําใหคนไทยสามารถ รวมมือรวมใจรักษาและพัฒนาชาติบานเมือง ใหเจริญรุงเรืองสืบตอกันมาไดตลอด รอดฝง ” ประการแรก คอื การทีท่ กุ คนคิดทาํ ดว ยความเมตตา มงุ ดีมุงเจริญตอกัน ประการที่สอง คือ การที่แตละคนตางชวยเหลือเกื้อกูลกันประสานงาน ประสานประโยชนกันใหง านทีท่ ําสาํ เร็จผลทั้งแกต นแกผ ูอน่ื และแกประเทศชาติ ประการที่สาม คอื การที่ทกุ คนประพฤตปิ ฏบิ ัติตนอยูในความสุจริตในกฎ กติกา และในระเบียบแบบแผนโดยเทาเทยี มเสมอกนั ประการทส่ี ่ี คอื การทต่ี า งคนตา งพยายามทาํ ความคดิ เหน็ ของตนใหถ กู ตอ ง เท่ียงตรงและมั่นคงอยูในเหตุในผลประโยชนของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการ พัฒนาทกุ ดาน คุณประโยชนของการนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใชน้ันมีมากที่สําคัญ อาทิ การบริหารพัฒนาการ ดําเนินชีวิตและกิจการมีความสมดุล ทั้งยามปกติและ ยามวิกฤต มีภูมิคุมกันที่เขมแข็งพรอมรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ทั้งดาน วตั ถุ สังคมแวดลอม และวฒั นธรรมชวี ติ และกิจการเจรญิ รุดหนาไปอยางมัน่ คง 18 โครงการอบรมหลักสตู รทองถน่ิ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพ่ึงตนเอง

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั ฯ พระราชทานไวน น้ั สามารถทน่ี าํ ไปใชป รบั ปรงุ หรอื ไปใชเ ปน หลกั เพอ่ื ใหเ ศรษฐกจิ ของประเทศและของโลก พฒั นาดขี น้ึ และทรงเนน ยำ ถงึ ความหมายของเศรษฐกจิ พอเพยี ง (sufficiency economy) ซง่ึ เปน คาํ ใหมของพระองคอีกคร้งั ในป พ.ศ.2543 ในวโรกาส เฉลิมพระชนมพรรษา “หมายความวา ประหยดั แตไมใชข เ้ี หนยี ว ทาํ อะไรดว ยความอะลมุ อลว ยกนั ทาํ อะไร ดว ยเหตุผลจะเปน เศรษฐกิจพอเพยี งแลวทกุ คนจะมคี วามสขุ ” นอกจากน้ันยังไดพระราชทานพระราชดํารัสเตือนสติในเรื่องการกูเงินดังนี้ “การกเู งิน ที่นาํ มาใชในส่งิ ท่ีไมท าํ รายไดน ้นั ไมดี อันนเ้ี ปนขอสําคญั เพราะวาถากเู งนิ แลวทาํ ใหมีรายได กจ็ ะเทา กับจะใชหนี้ได ไมต อ งคิดติดหน้ีไมตองเดอื ดรอ นไมตอ ง เสียเกียรต”ิ คุณคาของปรัชญาเศรษฐกิจ และการพัฒนาตามแนวทางพระราชดําริ มีอยูมาก และเปนที่ประจักษมิใชเฉพาะภายในประเทศ แตรวมถึงในวงการระหวาง ประเทศ โดยเฉพาะการพฒั นาคนและความยง่ั ยนื ดงั ทอ่ี งคก ารสหประชาชาติไดท ลู ฯ ถวายความสําเรจ็ สงู สุดในการพฒั นามนุษย เมอ่ื วนั ที่ 26 พฤษภาคม 2549 รวมท้ัง กษัตริยแหงบรูไนดารุสซาลาม ไดถวายพรชัยมงคลเมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2549 แสดงถงึ ความชืน่ ชมในพระราชกรณยี กิจ และการพฒั นามนษุ ยท ่ีมคี ุณคา นานปั การ คุณคาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาคนที่สําคัญคือการ มงุ พฒั นาคนใหม ที ง้ั ความรู ความสามารถเตม็ ทม่ี คี วามเขม แขง็ มอี สิ ระมเี กยี รตศิ กั ดศ์ิ รี มคี ณุ ธรรมและจรยิ ธรรม พง่ึ พาตนเองหลกั ของปรชั ญาดงั กลา ว เปน พลงั ยง่ิ ใหป จ เจก บคุ คล องคก ร และประเทศสามารถดาํ รงอยอู ยา งมน่ั คงในภาวะวกิ ฤต และสถานการณ ที่เปลี่ยนแปลง โครงการอบรมหลกั สตู รทอ งถ่ินตน แบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพึง่ ตนเอง 19

เศรษฐกจิ พอเพียง ทเี่ ปนรปู ธรรมในชุมชน มีขอสังเกตจากบริบทชุมชนตอเศรษฐกิจพอเพียง โดยพบวา “ความรูของ ชุมชนไทยในชนบทภาคการเกษตร มเี ร่ืองราวของความพอเพยี งดํารงอยูแ ลว ท้ังใน วิถชี วี ิตและการผลติ ” นอกจากนีย้ งั พบอกี วา “การดาํ รงชวี ิต (ความรู ประสบการณ และภูมิปญญา) ของคนในชนบทภาคการเกษตรซึ่งตองพึ่งพิงระบบธรรมชาติ ความสัมพันธท างสังคม และวฒั นธรรมมีความสอดคลอ งกับหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ พอเพียง” ความพอเพียงท่เี กิดข้นึ จริงในชุมชนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปน การเกิดขนึ้ ทงั้ ในระดับบคุ คล ครวั เรอื น และกลมุ กจิ กรรมโดยสามารถ เกิดขึน้ หรอื นําไปปฏบิ ตั ิไดใน 3 ระดบั ซึง่ ไดแ ก 1) ระดับจิตสํานึก 2) ระดับปฏบิ ตั ิ 3) ระดบั บงั เกดิ ผลและรบั ผลจากการปฏบิ ัติ โดยมรี ายละเอียดดังนี้ ระดบั จติ สาํ นกึ เพอื่ ใหเ กดิ การสรา งจติ สาํ นกึ และปรบั ทศั นคตสิ กู าร พ่ึงตนเอง โดย - สรางความรูค วามเขาใจ ในปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงอยา งถองแท - ประเมินตนเอง เพื่อใหรูจักตนเอง รูศักยภาพของตนเอง รูปญหาหรือ วกิ ฤตทปี่ ระสบอยู - เกดิ ความคิด “พง่ึ ตนเอง” โดยใชศ กั ยภาพทม่ี อี ยแู กป ญหา - ตง้ั ใจทจ่ี ะใชช วี ติ “อยอู ยา งพง่ึ ตนเอง” พง่ึ ตนเองไดโดยลดความตอ งการ (กิเลส) และทาํ ประโยชนแ กส วนรวมมากขน้ึ ระดับการปฏบิ ัติ เปน แนวทางปฏิบัตเิ พอ่ื ใหเ กดิ การพ่งึ พาตนเองในข้นั ตอน คอื - อยูอยา งพึ่งตนเองในระดับครอบครัว โดยสมาชิกตอ งรูจกั พึ่งตนเองดว ย การรวมกัน ทํากิจกรรมลดรายจาย เชน ลด ละ เลิกอบายมุข ไมใชจายฟุมเฟอย 20 โครงการอบรมหลักสตู รทองถิ่นตนแบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพ่งึ ตนเอง

ไมส รา งหน้ี ลดรายจาย/ลดตน ทุนการผลิต เชน ผลติ ปยุ ชีวภาพลดการใชส ารเคมีใน การเกษตร ปลูกพืชผกั สวนครัว และเลย้ี งสตั วและเลย้ี งสตั วขนาดเลก็ ไวบริโภค โดย ยดึ หลกั “ปลกู ทกุ อยางท่กี นิ /กินทกุ อยางทปี่ ลูก และใชทุกอยางทท่ี ํา/ทําทกุ อยางที่ใช ปลกู พืชสมนุ ไพร เพื่อใชร กั ษาโรค และรจู กั การเก็บออม เปน ตน” - มีวิถีชีวิตอยูอยางพอเพียง โดยดําเนินชีวิตดวยการเดินทางสายกลาง ไมเ บียดเบยี นตนเอง ไมเบยี ดเบยี นผูอนื่ และสิง่ แวดลอม เชน ทําเกษตรทฤษฎีใหม เกษตรผสมผสาน วนเกษตร กษตรอินทรีย เกษตรชวี ภาพ เกษตรไรสารพิษ เกษตร ธรรมชาติ สวนสมนุ ไพรชมุ ชนแปรรปู ผลผลติ ทางการเกษตร เขา รว มเปน สมาชกิ กลมุ ตา งๆ ดา นทนุ ดา นอาชพี ดา นสงิ่ แวดลอมและดา นสวสั ดิการ เปนตน - รวมกลุมในสังคม “อยูรวมกันอยางเอื้ออาทร” ดวยการมีความคิดที่จะ แจกจายแบงปน ใหกับผูอนื่ ซ่ึงจะทําใหไดเพื่อน และเกิดวัฒนธรรมที่ดีลดความเห็น แกตัว โดยจะเห็นไดวาในชุมชนที่เขมแข็งจะมีการรวมกลุมกันหลากหลายและกลุม ตางๆ เหลานั้นถือไดวาเปน “ทุนทางสังคมที่สามารถขับเคลื่อนกิจกรรม เพื่อการ ชว ยเหลอื ตนเอง” ชวยเหลือซง่ึ กนั และกันในลักษณะของความเออ้ื อาทร เชน กลมุ ออมทรพั ยเ พอ่ื การเกษตร กลมุ ผปู ระกอบการสนิ คา หนง่ึ ตาํ บลหนง่ึ ผลติ ภณั ฑ (OTOP) และกลุม อนุรักษแหลง นำ และปา ไมช ุมชน เปน ตน นอกจากนี้ยังพบวา ในแตละชุมชนมีการรวมกลุมกันจัดกิจกรรมตางๆ ที่ แตกตางกันไปตามความพรอม เพื่อแบงปนผลประโยชนรวมกันทั้งในดานวัตถุและ จิตใจอื่นๆ อีก เชน กลุมสวัสดิการ กลุมฌาปนกิจสงเคราะห กองทุนสงเคราะห ผูยากไร และกลุมอนุรกั ษศลิ ปวัฒนธรรมประเพณี เปนตน ระดับบังเกิดและรับผลจากการปฏิบัติ โดยผลจากการปฏิบัติกอประโยชน โดยตรงแกผูเกี่ยวของในทุกระดับใหแกบุคคล ครอบครัว กลุม/องคกร และชุมชน เชน - ความพอเพยี งในระดบั ครอบครวั เชน ครวั เรอื นมคี วามเปน อยทู พ่ี ง่ึ ตนเอง ไดอ ยา งมคี วามสขุ ทง้ั ทางกายและทางใจไมเ บยี ดเบยี น ตนเองและผอู น่ื ไมม ภี าระดา น หนส้ี ินของตนเองและครอบครวั สามารถหาปจ จยั สีม่ าหาเลีย้ งตนเองและครอบครวั มสี ว นเหลือเปนเงินออมของครอบครวั และยกระดบั รายไดพ น ความยากจน เปนตน โครงการอบรมหลกั สตู รทองถ่นิ ตนแบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพ่ึงตนเอง 21

- ความพอเพยี งระดบั ชมุ ชน เชน มีการรวมกลุมทําประโยชนเพื่อสว นรวม บรหิ ารทรพั ยากรในชมุ ชนใหส ามารถนาํ ไปดาํ เนนิ ชวี ติ ไดอ ยา งถกู ตอ งและสมดลุ เพอ่ื ใหเ กดิ ความเปนอยูทีพ่ อเพียงของชุมชนโดยรวมและชุมชนอยูเ ยน็ เปนสขุ เปน ตน - ความพอเพียงในระดบั กลุม เชน การรวมกลุมของชมุ ชนหลายๆ แหง ทม่ี ี ความพอเพยี งรว มแลกเปลย่ี นความรู สบื ทอดภมู ปิ ญ ญา และรว มกนั พฒั นาตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง และสรางเครือขายเชื่อมโยงระหวางชุมชนแหงความพอเพียงใน ท่ีสดุ เปน ตน จากบริบทของชุมชนกับความพอเพียงท่ีเกิดข้ึนในวิถีชีวิตของผูคนในชนบท ที่กลาวถึงแลว เพื่อใหสามารถคัดเลือกหมูบานเศรษฐกิจพอเพียงตัวอยางที่มีความ เปน รปู ธรรม สอดคลองกับปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง และเปน ความ พอเพียงท่ีได เกิดขึ้นจรงิ แลว ในระดบั ชมุ ชน (หมูบาน) เพอื่ ใหสามารถเปน รปู แบบ ตัวอยา ง และ แนวทาง สกู ารขยายผลตามเปา หมายทก่ี ระทรวงมหาดไทยกาํ หนด จงึ กาํ หนดพจิ ารณา ลักษณะ ของกิจกรรมความพอเพียงใน 6 ดา น คือ 1) ดา นลดรายจา ย 2) ดานการเพิม่ รายได 3) ดา นการออม 4) ดานการดํารงชวี ติ 5) ดา นการอนรุ กั ษและใชทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม 6) ดานการเออื้ อาทร 22 โครงการอบรมหลักสตู รทองถิน่ ตนแบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพง่ึ ตนเอง

สรปุ ผลการดําเนินโครงการ และการใหขอ มลู พจิ ารณาแกผรู วมโครงการ ประกอบการประชุมกลุมยอ ย โดย วริมา โพธสิ มบัติ ผบู รหิ ารโครงการพัฒนาผนู ําตามแนวพระราชดําริ และปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง คลงั สมอง วปอ.เพ่อื สังคม นายปรีชา วรกุล นายกเทศมนตรีตาํ บลฟา ฮา ม ผูผา นการอบรมหลักสตู ร โครงการพฒั นาผูนาํ และองคก รตน แบบเผชญิ วิกฤตตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง ระหวางวนั ท่ี 6-12 กมุ ภาพันธ 2552 ณ วทิ ยาลยั ปองกันราชอาณาจักร กรงุ เทพฯ สรุปเนือ้ หาสาระการอบรมผนู ําทองถนิ่ จากทีมวิทยากรนกั วิชาการผูทรงคุณวุฒิ ผมู ปี ระสบการณในแตละดา น จากทั่วทุกภาคของประเทศไทย เพ่อื เปน ขอ มูลแนวทางการขยายเครอื ขา ย นําไปสกู ารปฏบิ ตั อิ ยา งจิงจงั และตอเนื่อง โครงการอบรมหลักสูตรทอ งถิ่นตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพง่ึ ตนเอง 23

1. วตั ถปุ ระสงคของโครงการ - สรางการเรยี นรูสูการปฏิบตั ิท่เี ขม ขน ผา นพนวิกฤติสูค วามย่งั ยืน - สรา งผนู าํ หรอื องคก ร อบต.ตน แบบ ชมุ ชนตน แบบ และโรงเรยี นตน แบบ แลวขยายผลในวงกวา ง - หนุนเสริมปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเปนวัฒนธรรมในสังคมคำจุนความ ม่ันคงของแผนดนิ - มงุ รวมพลงั แสดงความจงรกั ภกั ดดี ว ยการปฏบิ ตั ิ ตอบสนองพระราชดาํ ริ และพระราชปณิธาน “ความมนั่ คงของประเทศชาตแิ ละ ประโยชนส ุขประชาชน” 2. ผลดาํ เนนิ การ - ใหความรูท ่ีสาํ คญั รวม 5 เรื่อง คือ 1.) สาระและคณุ คา ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.) ภาวะวกิ ฤต ผลกระทบ โอกาส ศกั ยภาพของประเทศ ชมุ ชน และทอ งถิ่น 3.) นโยบาย ยุทธศาสตร แผน และแนวทางดําเนินการของทางราชการ (นโยบายและการดาํ เนนิ งานของรฐั บาลทเ่ี กย่ี วขอ ง แผนฯ 10 หลกั การกระจายอาํ นาจ หลกั ธรรมาภบิ าล นโยบายและแนวทางการปฏิบัติอนื่ ) 4.) การจดั การความรู การจดั การทรพั ยากร และการจดั การเทคโนโลยเี พอ่ื การพฒั นาชุมชน/ทอ งถน่ิ 5.) แผนการชมุ ชน 3. สาระ และคณุ คา ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - เปน กรอบนาํ ทางในการดาํ เนนิ ชวี ติ /พฒั นาบรหิ ารทง้ั ระดบั ประเทศ องคก ร ชุมชน และทอ งถ่ินใหมีฐานรากมน่ั คง พฒั นาตามลําดบั ขนั้ ตอน เผชญิ สถานการณ และภาวะวิกฤตอยา งเขม แขง็ กาวสูความย่ังยนื - เปนหลักการสําคัญเพื่อขจัดความยากจน ลดความเสี่ยงทางเศรษฐกิจ และยกระดบั ความรบั ผดิ ชอบของทกุ ภาคสว นตอ สงั คมมคี ณุ คา มิใชเ ฉพาะภาคเกษตร 24 โครงการอบรมหลกั สูตรทอ งถนิ่ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพ่ึงตนเอง

- เปนหลักการที่มีคุณคาในการพัฒนาศักยภาพชุมชน เนนการพัฒนาคน ใหม คี วามรคู วามสามารถเตม็ ท่ี และเนน การพง่ึ พาตนเอง ไมม งุ หวงั รอคอยโครงการ และความชวยเหลอื จากรฐั แตดา นเดียว - ผนู ําและองคก รระดับทอ งถ่นิ ชุมชน และโรงเรยี น รวมทงั้ ผูรว มประชุม ทกุ ภาคสว นเปน องคก รทม่ี พี ลงั และมคี วามสาํ คญั ในการนาํ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สูก ารปฏบิ ัตินําพาประเทศผา นพนวกิ ฤต 4. ภาวะวกิ ฤตโอกาสและการดาํ เนินการระดับ - ประเทศไดรับผลกระทบทางเศรษฐกิจรุนแรงจากวิกฤตการเงินในสหรัฐ สง ผลกระทบรนุ แรงทกุ ภาคสว น การสง ออก/การสรา งงาน การจางงานและลด….. มีภาวะวิกฤตดานอื่นในประเทศ โดยเฉพาะดานสังคมความขัดแยงแตกแยกในชาติ วิกฤตดานอนื่ ในประเทศ โดยเฉพาะดา นสังคมความขัดแยง แตกแยกในชาติ วิกฤต ดานทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม การพัฒนาประชาธปิ ไตย - ประเทศไทยโดยเฉพาะชมุ ชนและทอ งถน่ิ มตี น ทนุ การเศรษฐกจิ และสงั คม อยูมาก ทั้งดานผลิตผลเกษตรความอุดมสมบูรณมั่นคงดานอาหาร ทั้งพืชเกษตร เพื่อการดํารงชีวิตของตน อาหารสัตวและพลังงานทดแทนมีความพรอมและ ความงามดา นธรรมชาติ ทรพั ยากร แหลง นำ ปา ไม ทด่ี นิ วฒั นธรรมปราชญช าวบา น ภูมิปญญาทองถิ่น รวมทั้งประชาชนที่มีคุณคาทางจิตใจที่ดีอยูจํานวนมากศักยภาพ ขดี ความสามารถในการพฒั นาพรอ มรวมมือฝาพนวกิ ฤต - ความอยรู อดของชมุ ชนและทอ งถน่ิ ในอนาคต ตอ งใชห ลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง คนื สูค วามเปน ธรรมชาติ สรางความมั่นคงดา นพืชพรรณ ธญั ญาหาร สรางสงั คมที่ เปนสุขและเขมแข็ง พึ่งตนเอง และหวังพึ่งตลาดภายในประเทศมากกวาภายนอก ใชศักยภาพ และตน ทนุ ในประเทศใหเกดิ ประโยชนส งู สดุ - ใหความสําคัญกับการใชประโยชนทรัพยากรและตนทางเศรษฐกิจสังคม ที่มีอยู พรอมไปกับสงเสริมใชประโยชนการกระจายอํานาจสูทองถิ่นอยางเปนระบบ ใหเกิดประโยชนแ กป ระชาชนอยางแทจริงเนนใหประชาชน มสี ว นรวม โครงการอบรมหลกั สตู รทองถิน่ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพง่ึ ตนเอง 25

- ผลกระทบและปญ หาจากวกิ ฤตเศรษฐกิจปจ จุบนั การเผชิญคนเดียวอาจ จะเผชญิ กบั ปญ หามากและกลายเปน โศกนาฏกรรม แตห ากรว มมอื กนั มคี วามเขม แขง็ และศึกษาใชประโยชนจ ากโอกาสท่มี ีอยจู ะเปน โอกาสทอง - การบรหิ ารชมุ ชนใหเ ขม แขง็ ควรตอ งมีแผนชุมชน มกี ารบริหารจัดการที่ดี ทั้งการจัดการความรู จัดการทรัพยากร และการใชประโยชนจากเทคโนโลยีอยาง เหมาะสม ใหความสําคัญกับการมีสวนรวมและการพัฒนาแผนชุมชนอยางทันสมัย ตอ เนื่อง เนน ใหชมุ ชนไฝหาความรเู พอื่ การพัฒนา 5. การประยุกตใชปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเผชิญวกิ ฤต - ชุมชนทองถิ่นและโรงเรียนควรศึกษาสภาวะแวดลอมภายใน/ภายนอก วิเคราะหปญหาสถานการณ โอกาส และผลกระทบจาก ภาวะวิกฤตของตนเอง ใหครบถวน รวมทั้งศึกษาปญหาความยากจนหนี้สินในชุมชน ภูมิปญญาทองถิ่น พชื พรรณธญั ญาหารในชมุ ชน ศกั ยภาพและปญ หาในโรงเรยี นเพอ่ื นาํ ไปสกู ารวางแผน การกําหนดกลยุทธดําเนินการชัดเจน ยึดหลักการดําเนินการคอยเปนคอยไปเริ่มที่ จติ ใจเร่มิ ทต่ี นเอง พัฒนาความสาํ เรจ็ จากจุดเล็กไปสจู ุดใหญ - นาํ หลกั ของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง หลกั พัฒนาตามแนวพระราชดาํ ริ และพระราชดํารัสที่เกี่ยวของ เปนกรอบในการบริหารและพัฒนาองคกร บุคลกร เยาวชน และประชาชน โดยเฉพาะการยดึ มน่ั ประโยชนส ขุ ของประชาชนสรา งความรกั สามคั คีใหเ ขม แขง็ พฒั นาคนใหม คี วามรคู วามสามารถเตม็ ทพ่ี ง่ึ พาตนเองได ยดึ หลกั คณุ ธรรม ความซ่อื สตั ยสจุ รติ ในการบรหิ าร ไฝหาความรู ความเทาทนั สถานการณ ความมีเหตุผล ความอดทน ความเพียร ความประหยัด ความมีสติ รอบคอบ ระมดั ระวงั การมีภมู คิ มุ กันทีด่ ีและการรกั ษาทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม - กําหนดกิจกรรมดําเนินการหรือตอยอดการดําเนินการที่สอดคลองกับ ศักยภาพ ปญหาและสภาพแวดลอมของชุมชน ทองถิ่น และโรงเรียน ทั้งอาชีพ ประชากร/วฒั นธรรมในพื้นที่ ภูมิปญญาทอ งถิ่น ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอ ม พืชพันธุธัญญาหาร ปญหาความยากจน และหนี้สินของประชาชน ดําเนินการตาม ระเบียบของทางราชการ และเสนอแนวทางแกไข อุปสรรคปญหาตามชองทาง 26 โครงการอบรมหลักสูตรทอ งถิ่นตน แบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพ่งึ ตนเอง

วางกลยุทธและศิลปะที่ดีในการจัดการจัดกิจกรรมตางๆ (กิจกรรมดําเนินการ อาทิ สวัสดิการชุมชน กิจกรรมการออมทรัพย การรวมกลุมพัฒนาและจําหนายพืชผล เกษตร การสรางสวนสมุนไพร…) - สนับสนุนการจัดการการดําเนินงานแผนชุมชนอยางเปนระบบ ใหแผน ชุมชนเปนเครื่องมือสะทอนปญหาความตองการของชุมชน และเพื่อใหการดําเนิน โครงการและกิจกรรมมีผลตอพ้ืนที่อยางแทจริงนําหลักการของปรัชญาแนวทาง พระราชดําริและพระราชดํารัสท่ีเก่ียวของประกอบการจัดการทําแผนอยางเหมาะสม (อาทิ หลกั ความรู ความมเี หตผุ ล การมีภมู ิคุมกัน การมีสว นรว ม ความสามัคคีและ ประโยชนสุขประชาชน) 6. ขอพจิ ารณาประกอบการประชมุ กลมุ - สรา งเจตนารมณพ ลงั ความคดิ รว มกนั มงุ นาํ ความรทู ่ไี ดร บั 3-4 วนั ทผ่ี า นมา และปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสูการปฏิบัติเปนรูปธรรม มุงนําปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งกา วผา นขอ จาํ กดั เดนิ สกู ารดาํ เนนิ การจรงิ ทเ่ี ขม แขง็ และงอกงามมงุ ตอบสนอง พระราชดาํ ริและพระราชปณิธาน - ใชเ วทถี กแถลง และโครงการอบรมครง้ั นอ้ี ยา งคมุ คา ใหเ กดิ ประโยชนส งู สดุ ตอ ชุมชน/ทอ งถนิ่ โรงเรียน หนนุ เสรมิ การนาํ ประเทศผานวกิ ฤต - นอ มนาํ หลักการตามแนวพระราชดาํ รสั ที่มีคณุ คาองคก รตา งๆ ประกอบ การคดิ พจิ ารณาและดําเนนิ การ(อาทิ เรือ่ งการพฒั นาคนใหพ ึง่ ตนเอง การมีสว นรว ม ความสามคั คี และความสจุ รติ ) “อตตฺ า หิ อตฺตโน นาโถ” “ตนแลเปน ทีพ่ ึง่ ของตน” โครงการอบรมหลักสูตรทอ งถิ่นตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งพงึ่ ตนเอง 27

28 โครงการอบรมหลกั สตู รทอ งถนิ่ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงพง่ึ ตนเอง

โครงการอบรมหลกั สตู รทองถิ่นตน แบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งพึ่งตนเอง 29

30 โครงการอบรมหลกั สตู รทอ งถนิ่ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงพง่ึ ตนเอง

ศ.นพ.เกษม วัฒนชัย องคมนตรี มอบรางวลั เกยี รติยศดีเดน แด เทศบาลตําบลฟาฮา ม โครงการพฒั นาสรา งความเขมแขง็ ใหช มุ ชน ตามปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง จดั โดย คลงั สมอง วปอ.เพอ่ื สงั คม วทิ ยาลยั ปอ งกันราชอาณาจักร เมอ่ื วันที่ 31 พฤษภาคม 2555 โครงการอบรมหลักสูตรทอ งถิ่นตน แบบตามแนวพระราชดาํ ริ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงพ่ึงตนเอง 31

โครงการเพม่ิ ศกั ยภาพบคุ ลากรเทศบาลตาํ บลฟา ฮา ม เพื่อเพมิ่ ประสทิ ธิภาพ การพฒั นาตนเอง พัฒนาชุมชน สกู ารพฒั นาทองที่ ตามแนวพระราชดาํ รปิ รชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ประจําปง บประมาณ พ.ศ.2558 32 โครงการอบรมหลักสูตรทอ งถน่ิ ตนแบบตามแนวพระราชดําริ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงพ่งึ ตนเอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook