Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบ--รวม--ตัดสรุปปี++

เอกสารประกอบ--รวม--ตัดสรุปปี++

Published by planningnfelp, 2020-09-14 11:58:19

Description: เอกสารประกอบ--รวม--ตัดสรุปปี++

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการประชมุ คณะกรรมการสํานักงานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดลําปาง ครัง้ ที่ ๑/๒๕๖๓ วันองั คารที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ หองวงั ธาร โรงแรม รเี จนท ลอดจ ลาํ ปาง อําเภอเมอื งลําปาง จังหวดั ลําปาง สํานักงาน กศน.จงั หวัดลําปาง http://www.lpa.nfe.go.th/

วาระการประชุม คณะกรรมการสาํ นักงานสงเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ลาํ ปาง คร้ังที่ ๑/๒๕๖๓ วันอังคารที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๓ เวลา ๐๙.๓๐ น. ณ หองวังธาร โรงแรม รเี จนท ลอดจ ลาํ ปาง อําเภอเมืองลําปาง จงั หวัดลําปาง *********************************** ระเบียบวาระท่ี ๑ เรอ่ื งประธานแจง ใหทป่ี ระชมุ ทราบ ๑.๑ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ๑.๒ คาํ ส่ังกระทรวงศึกษาธิการ ที่ สป๒๕๘/๒๕๖๑ เรอ่ื งแตงตั้งคณะกรรมการสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวัดลาํ ปาง ลงวนั ที่ ๑๔ กมุ ภาพันธ ๒๕๖๑ เอกสารหมายเลข ๑ ( ระเบียบวาระท่ี ๒ เรอ่ื งการรบั รองรายงานการประชุม ๒.๑ รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั จังหวดั ลาํ ปาง คร้งั ท่ี ๑/๒๕๖๒ (เมื่อวันที่ ๖ มถิ นุ ายน ๒๕๖๒) เอกสารหมายเลข ๒ ( มติทป่ี ระชมุ :……………………………………………………………………………………………………………………..... ระเบียบวาระที่ ๓ เรือ่ งสืบเน่ือง ๓.๑ การดําเนินงานตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั จังหวดั ลําปาง จากการประชมุ คร้งั ที่ ๑/๒๕๖๒ เอกสารหมายเลข ๓ มติที่ประชมุ :……………………………………………………………………………………………………………………..... ระเบียบวาระที่ ๔ เรอ่ื งเสนอเพอื่ ทราบ ๔.๑ กรอบทิศทางการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ และสรุปผลการดําเนินงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสํานกั งาน กศน.จงั หวัดลําปาง เอกสารหมายเลข ๔ และ Clip VDO มตทิ ี่ประชมุ :……………………………………………………………………………………………………………………..... ระเบียบวาระท่ี ๕ เรื่องเสนอเพือ่ พจิ ารณา ๕.๑ การใหคําปรึกษา ความรวมมือ การสงเสริมและสนับสนุนภาคีเครือขาย การติดตามการดําเนินงาน และขอเสนอแนะของคณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลําปาง ในการ พัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยใหม ีคณุ ภาพ มตทิ ป่ี ระชมุ :……………………………………………………………………………………………………………………..... ระเบยี บวาระที่ ๖ เร่อื งอืน่ ๆ (ถา มี) ๖.๑ ......................................... ๖.๒ ......................................... มตทิ ่ีประชมุ :…………………………………………………………………………………………………………………….....

:.i rir#r n : s yr:r.r fi n urB n r ddJhfl<zr,cr\"' tSal ttritmiqn6usflr;:Jn1:ri.rta3ltnr:frnuruon:vruuasnr:finurmrudourfr'u6'tilioGirilrr rfio\"Lrlnr:rirtfiunr:usio#ou*rnrr:rar:rirtaS:rnr:finuruofl:vulJLravnr:finur a,ilVlilluJoord,ot{'t'vu1flua{u?oa']u'r{ tl.JuLUnlr.rnanSuvt:?{nlyunqilailun l1TUnt:rtr:lntttuu{ n'l:vlu01n roirry^trura<uri.ltosn::rnr:{uxqru'1fr ttavnr:il:vq}Jllo{Ftruvn::lnr:drrailnr:fr'nu1uofl:yLJlJL[au nr:firru'lnru6'our6'unq{Lvrv,uJ141un: LLaun{uufl::rnt:d.:laBrnr:finrgruon:uuuLLnvnr:6nurnru u. v uau{u?vfr vrr.Fl. loddd o, oflulfl fl114ufi or fi'tJdruro mu nr ruluu'rrl lr od ? ::naol tia u].r'r n :1 ba r::nufi r rrvi'rvr:v:rtrjry{fr drrta.aBunr.:f4inuruon:uuuttaun'nfinrcrmrildourfru vr.n. bddo drurrirfr'rnruvn::rnr:ai'iraiil nr:6nuruon:uu1JLtav.flr:6nurmudourrt'u6'rr,tirrrirrJ'x rJ:snor6'rurnnran-rriotrjd o. frirrlunr:o-'tr,r{nrirr.Jx tJ:vDlunr:3Jntr U ' fl:TlJnl: Le. il #o{'u,ripr rit-l rt 6n. tflurt:t'tu{rrrftjrt nr:}Jfl'tT d, ff'1o'l,9:il4u6'irn{erritjrt nr:lJfll: d. Ltr{{'qr)au)o o'tuTprrfrr.irr nTT}Jnt: b. feir) uur#aJtnr btavn?ru\"t flun{rodrr46ue-)r16'ryierrirrhr nTTiln1: 6'r. u1unor6nr:lBur:riru6'srnierrirrjm ilT:ltnlT d. ururfru tjmrr{ flTTufl-}T 1e,| ! d. ul{u?aflE vl:ralt'uurrd nr:}Jnt: J oo. u'tuu:irud ao::lq fl::1J n 1T oo. y\\iru:'t'iliupnu-lun (r{tdru frSorlTl) n::]J nlT otE. u1{fi 't?BBrnr: fl ruflJ1 tfi u n::1J n1: a)a)dAd n::1J n1T 6)6n. u'l{ nn u1a nufu fi 3J F]'tuu?l od. u'ruqiraor rirur,luQu,rU n:5:J nlT od. uruTnra #u:nuIt Bnn n::}tn1: ob. rYdrur u fl'r:r{rrin{ ru n fl u. {'rrniprrirr-lrt U nT:IJn1:|LAUtAfl',.lUn1T Tnut#\"\"\"

Le I 61 9 n::unr:rirI taairnr:frn4 uruon:v!u[Lnv nr:fr4nurnr:r6'oa utd'u{'rrairrrirr-]r.r un u tfinrruv 4o a yuu'tyAl -Fl'i , q ,3 }J0',lu1 Fl 0 LlJu o. t#ritrJinrcruavirufio\"[unr:fi'erutnt:o-nnr:finuruon:vuuuavnr:finu1Fnr.r uuuddr 0fiu1flunun1ntn:0?''ru to. ritmiuuauafllJfiuIunrfirntotira tfio{'nnr:finu1uon:uuuuavnr:finulrt'u.lo'[utd'u \"6ltYfiaoonrYd'outriuui luuruttauil'rF]:!1uifrnruvn::unr:iir'rair afliauuuavil:vatunruirrfionr:finur u0fl :uuuLtasfl 1:Eflu]aliloDU1fl unlyuFl ,. 6nnrunt:rirtfiunr:o-nn'r:6nu1u0n:uuuLLavnt:finurmuo'ourfi'Erto.ia01ufinu'r uavilriru{rudo-nnr:finu1uon:uulJuavnr:finurnuo'oarda lfi'finrunrv!lLnu}Jtrt:[ruqrT lfiriruupr l4 :uuta v a o n ndo t rTu fi o u r t n r :vl-er u r r o lt.J : v tu rt yr'r n : r u fr or n r : rfi o n r : ylYsu u rfr o r fi u <. rJfruh.lru6unufinruvn::rnr:d.:taiu arirar;urravil:vatunxtili?:tfi0fl1:finul duu u0fl :,uuu LLau n1:fi RU1 Fl1il 00u1 fl ulJou141]1 u !i Y'X Y ra-,, Xa, y u, ?1{U Ft{ttFtuFluruunu L! ! #\"tt ru iau-,fii gd,$ qilnrfi'ud v\\.fl. l.Edbo Fr ^f (uruD:u,dEJaGGd,. rnu:a ra:ruLfl :ugaau) a)Edl4SA a :? I n1 :fl :u?1 T?{ fi n u]0n1: :fi}ru d-3 1

รายงานการประชุม คณะกรรมการสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ลําปาง ครั้งท่ี ๑/๒๕๖๒ วันพฤหัสบดีท่ี ๖ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ ณ หอ งประชมุ ๑ สํานกั งาน กศน.จังหวดั ลาํ ปาง ***************************************** ผมู าประชมุ ๑. นายสรุ พล บุรนิ ทราพันธ รองผวู า ราชการจงั หวัดลาํ ปาง (แทน) ผูวาราชการจงั หวัดลําปาง ๒. วา ท่ี ร.ต. นาวนิ มง่ิ เชอ้ื ปลัดอําเภอ (แทน) ปลดั จังหวัดลําปาง ๓. นางสาวรจุ ริ า หลาวงศา นกั วชิ าการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ (แทน) เกษตรจังหวัดลาํ ปาง ๔. นายภูวดล อุตรพงศ นกั ทรัพยากรบคุ คล (แทน) สาธารณสุขจงั หวัดลําปาง ๕. นางจารณุ ี เขมะรังสี แรงงานจังหวดั ลาํ ปาง ๖. นางกรพนิ ธุ วงศเ จรญิ พฒั นาสังคมและความมน่ั คงของมนษุ ยจ งั หวัดลําปาง ๗. นายภัทรพงศ เถายศ นกั วชิ าการศกึ ษาชาํ นาญการ (แทน) นายกองคก ารบริหารสวนจังหวัดลาํ ปาง ๘. นายบญุ เตมิ ปงวงค ผทู รงคณุ วุฒดิ า นภูมิปญ ญาทอ งถ่นิ ๙. นางนวลศรี พรหมไชยวงศ ผทู รงคณุ วฒุ ดิ านเศรษฐกิจ ๑๐.นายเรวัฒน สธุ รรม ผทู รงคณุ วฒุ ดิ านการศกึ ษา ๑๑.พระจนิ ดานายก (คําอาย สริ ิธมโฺ ม) ผูทรงคณุ วุฒิดา นศาสนา ศลิ ปะและวัฒนธรรม ๑๒.นางสาวศิรพิ ร ปญญาเสน ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นพัฒนาสงั คมและชุมชน ๑๓.นายจําลอง คําบุญชู ผูทรงคณุ วุฒดิ านวิจัยและประเมนิ ผล ๑๔.นายโกมล ภัทรฤทธกิ ุล ผูทรงคุณวุฒดิ า นสาธารณสขุ ๑๕.นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ลําปาง ผูไมมาประชุม ผูท รงคณุ วฒุ ดิ า นการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย ๑. นางกัลยาลักษณ สมิตานนท ผูเขา รว มประชุม ๑. นายสจั จพล จันทราช ผูอํานวยการ สถานวี ิทยุ อสมท.จังหวัดลําปาง ๒. นายฐติ ิพฒั น จําลองปน ปลดั อําเภอ (เจาพนกั งานปกครองชาํ นาญการ) ๓. นางสาวสดี า จนั ทรอนิ ตา หัวหนา กลุมอาํ นวยการ ๔. นางสาวจรรยารตั น แกว ปน ขันธ หัวหนา กลมุ ยุทธศาสตรและการพัฒนา ๕. นางสาวจิรภา โทกุล หัวหนา กลมุ สงเสริมการศกึ ษานอกระบบ ๖. นางปารชิ าติ ปอ มไธสง หวั หนา กลมุ สง เสริมการศึกษาตามอธั ยาศยั และ หัวหนา กลมุ สงเสรมิ ภาคเี ครอื ขายและกจิ การพเิ ศษ

-๒– ๗. นางสาวสมพร เอย่ี มสาํ อางค หัวหนา กลมุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา ๘. นายเกียรตพิ งษ จักจมุ นกั วิชาการศกึ ษา ๙. วาท่ี ร.ต.หญงิ วราภรณ วงศช ยั ครอู าสาสมคั ร ฯ ๑๐.นางสาวสนุ สิ า ใหมท ํา นักวชิ าการเงินและบัญชี ๑๑.นางสาวจนิ ตนา แกว ดวงติบ๊ นกั จัดการงานทวั่ ไป ๑๒.นางสาววาทนิ ี จาํ รูญขจรเกยี รติ นกั วชิ าการพัสดุ ๑๓.นางสาววรารัตน ปกติ นักวิเคราะหน โยบายและแผน ๑๔.นายอุดม เอ่ียมฤทธิ์ นกั วิชาการคอมพวิ เตอร ๑๕.นายอนวุ ฒั น วงเวียน นกั วิชาการศกึ ษา เรมิ่ ประชุมเวลา ๑๓.๓๐ น. นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปางไดรบั มอบหมายจากผวู าราชการจังหวัดลําปาง เปนประธานในการประชุมคณะกรรมการสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัดลําปาง คร้ังที่ ๑/๒๕๖๒ วันพฤหัสบดีที่ ๖ มถิ ุนายน ๒๕๖๒ กลาวเปดการประชุมและดําเนินการตามระเบียบวาระการ ประชุม ดงั ตอไปน้ี ระเบียบวาระที่ ๑ เรอ่ื งท่ีประธานแจง ใหท่ปี ระชุมทราบ นายสุรพล บุรินทราพนั ธ รองผูวา ราชการจงั หวัดลาํ ปางแทนผูวา ราชการจังหวัดลาํ ปาง : การประชุมคร้ัง นถี้ ือเปน คร้งั แรก การประชุมนเ้ี พื่อรับทราบการดําเนนิ งาน รับฟงปญหา เพื่อรวมกันดาํ เนนิ การแกไข โดยสวนตัว ไดรับทราบภารกิจการดําเนินงานของสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางจากการประชมุ คณะกรรมการศึกษาธิการ จังหวัดลําปาง (กศจ.) ซึ่งทําใหเห็นวาสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางมีความพยายามในการแกไขปญหาตางๆ เมื่อ เดก็ ไมมที เ่ี รยี นนั้นสถานศกึ ษาสังกัดสาํ นักงาน กศน. เปนสถานศึกษาท่ีรองรับการแกปญ หาประชากรวัยเรียนท่ีอยู นอกระบบการศึกษา ใหผดู อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษาไดมีโอกาสในการเรียนรู เพื่อแกปญหาของ การกระจายโอกาสและความเสมอภาคของโอกาสทางการศกึ ษา อยางไรก็ตามเราตางมุงหวังและพยายามสงเสรมิ กศน. และหนวยงานทางการศึกษา มีคุณภาพสามารถดําเนินการผลิตนักเรียนใหมีคณุ ภาพ ซึง่ อยูท่ีพวกเราทุกคน ตองรวมรับผิดชอบดวยกัน ดวยปญหาอุปสรรค อาทิ เด็กเกเร ยาเสพติด ของสถานศึกษาตางๆ ท่ีเกิดข้ึนถอื เปน ปญหาสังคมอยางหน่ึง ซึ่งเห็นไดวา กศน. เปนอีกหน่ึงหนวยงานที่พยายามดําเนินการแกไขปญหาสังคม และลด ความเหลอ่ื มลา้ํ ทเ่ี กิดข้ึน จงึ อยากเหน็ สถานศกึ ษาสังกัดสํานกั งาน กศน. มคี วามทัดเทียมกับสถานศึกษาอื่นๆ ฝาก ผูอ ํานวยการสํานกั งาน กศน.จังหวัดลาํ ปางชว ยดําเนินการ การประชุมคณะกรรมการสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยในคร้ังแรกน้ีและครั้ง ตอไป เราจะไดรวมกันรับฟงรายงานผลการดําเนินงาน และพิจารณาเสนอแนะแนวทางในการแกไขปญหา เพื่อ เปนแนวทางในการสงเสริมดําเนินงาน ของสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จงั หวดั ลําปางใหมปี ระสทิ ธิภาพตอ ไป มติทปี่ ระชุม รบั ทราบ

-๓– ระเบียบวาระที่ ๒ เรอ่ื งการรองรับรายงานประชมุ ๒.๑ รายงานการประชุมคณะกรรมการสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวัดลําปาง ครง้ั ที่ ๑/๒๕๖๑ (เมอ่ื วันที่ ๒๕ เมษายน ๒๕๖๑) นายคเชนทร มะโนใจ ผูอ ํานวยการ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : รายงานการประชมุ คณะกรรมการ สงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลําปาง คร้ังที่ ๑/๒๕๖๑ (เมือ่ วันที่ ๒๔ เมษายน ๒๕๖๑) เอกสารหมายเลข ๑ จํานวน ๑๔ หนา ไดนํารายงานน้ีสงใหกับคณะกรรมการไดตรวจสอบเบ้ืองตน แลว หากมสี ว นใดท่ีตองการแกไ ข ยนิ ดีนอมรับ นายสุรพล บุรินทราพนั ธ รองผูวา ราชการจงั หวดั ลําปาง แทนผูว าราชการจงั หวดั ลาํ ปาง : ควรดําเนนิ การ จดั ประชุมคณะกรรมการสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวัดลําปาง ปละ ๒ ครั้ง เพื่อ การตดิ ตามการดาํ เนนิ งาน การรวมกนั แกไ ขปญ หาไดอ ยางตอเนื่อง นายคเชนทร มะโนใจ ผูอ ํานวยการ สาํ นักงาน กศน.จงั หวดั ลําปาง : ขออนุญาตนําเรียนหารือสํานักงาน กศน.สว นกลาง มตทิ ่ปี ระชุม รับรองการรายงานประชุมครงั้ ท่ี ๑/๒๕๖๑ ระเบียบวาระท่ี ๓ เร่ืองสบื เน่ือง มติทป่ี ระชุม ไมมี ระเบยี บวาระที่ ๔ เรื่องเสนอเพื่อทราบและพิจารณา 4.1 คาํ ส่งั กระทรวงศกึ ษาธิการ ท่ี สป๒๕๘/๒๕๖๑ เร่อื งแตงตงั้ คณะกรรมการสงเสริมการศกึ ษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดลาํ ปาง ลงวันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๑ นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : เอกสารหมายเลข ๒ เปนคําสั่ง กระทรวงศึกษาธกิ าร ท่ี สป๒๕๘/๒๕๖๑ เรื่องแตงต้ังคณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยจังหวัดลําปาง ลงวันท่ี ๑๔ กุมภาพันธ ๒๕๖๑ โดยมีผูวาราชการจังหวัดเปนประธาน ปลัดจังหวัด ลําปางเกษตรจังหวัดลําปาง สาธารณสุขจังหวัดลําปาง แรงงานจังหวัดลําปาง พัฒนาสังคมและความม่ันคงของ มนษุ ยจงั หวัดลาํ ปาง และนายกองคการบรหิ ารสวนจังหวัดลาํ ปางเปน กรรมการโดยตําแหนง มผี ทู รงคุณวุฒิในดาน ตางๆ จํานวน ๘ ทาน และมีผูอํานวยการสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางเปนกรรมการและเลขานุการ ซึ่ง คณะกรรมการมอี าํ นาจหนาท่ี ๑. ใหค าํ ปรกึ ษาและรวมมือในการพัฒนาการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยกับภาคี เครือขา ย ๒. สงเสริมและสนับสนุนภาคีเครือขาย เพื่อจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยให สอดคลองกับนโยบายและมาตรฐานท่ีคณะกรรมการสง เสริม สนับสนุนและประสานความรวมมือการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยกาํ หนด ๓. ติดตามการดําเนินการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษาและ หนวยงานที่จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหมีคุณภาพและมาตรฐานตามท่ีกําหนดและ สอดคลอ งกับทศิ ทางการพัฒนาของประเทศ รวมทัง้ ความตองการเพอ่ื การพัฒนาทอ งถน่ิ

-๔– ๔. ปฏิบัติงานอื่นตามท่ีคณะกรรมการสงเสริม สนับสนุนและประสานความรวมมอื การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยมอบหมาย นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปางใน : กรรมการ ทานใดตองการสอบถามเพิ่มเตมิ หรือไม นางกรพินธุ วงศเจริญพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัดลําปาง : คําส่ังนี้เปนการยกเลิก คาํ สั่งเดมิ ใชหรือไม และตองระบใุ นคําสั่งเปน กรรมการผูทรงคณุ วุฒิหรอื ไม หรือระบุเปน กรรมการเชน เดียวกันแบบ น้ี นายคเชนทร มะโนใจ ผอู าํ นวยการ สาํ นกั งาน กศน.จังหวัดลาํ ปาง : รายนามคณะกรรมการต้ังแตล ําดับ ท่ี ๘ นายบญุ เตมิ ปงวงค ถงึ ลําดับท่ี ๑๕ นายโกมล ภัทรฤทธิกุลที่เปนกรรมการผทู รงคณุ วฒุ ิ นางกรพินธุ วงศเจริญ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดลําปาง : ดังน้ันตองระบุเปน กรรมการผูทรงคณุ วฒุ ิ นายสุรพล บรุ นิ ทราพนั ธ รองผวู าราชการจงั หวดั ลําปาง แทนผวู าราชการจังหวัดลาํ ปาง : ตามความเปน จริงตอ งระบเุ ปน ผูทรงคุณวฒุ ิใชหรอื ไม ขอ เทจ็ จรงิ เปน อยา งไร นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานกั งาน กศน.จังหวดั ลําปาง : คําสั่งน้ีลงนามโดยรัฐมนตรีวาการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : รายช่ือ กรรมการผูค ณุ วุฒิ ทางเราไดมกี ารเสนอรายชอื่ ไปหรือไม นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : ไดดําเนินการการสรรหาและ คัดเลือกกรรมการผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจังหวัด ลําปาง โดยมีการดําเนินการรับสมัครและตรวจสอบคุณสมบัติของผูสมัคร และพิจารณาคัดเลือก ซึ่งไดมีการ ประกาศรายช่อื ผผู า นการคดั เลือกเปนกรรมการผูท รงคณุ วฒุ ิ และสงรายช่ือไปยงั สํานักงาน กศน. สว นกลาง นายสรุ พล บุรนิ ทราพันธ รองผูว าราชการจังหวัดลาํ ปาง แทนผวู า ราชการจงั หวัดลําปาง : กรรมการทานใด ตองการสอบถามเพ่ิมเติมหรือไม นอกจากมีงบประมาณในการจัดการประชุมคณะกรรมการ ทางสวนกลางมี งบประมาณใหดําเนินการในเร่อื งอืน่ ๆ หรอื ไม นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : งบประมาณท่ีไดรับจัดสรรน้ันมี เฉพาะสาํ หรับเปนคา ดําเนินการในการจัดประชมุ คณะกรรมการเทาน้นั มติท่ปี ระชุม รบั ทราบ

-๕– 4.1 สรุปผลการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ รอบ ๖ เดือน (ไตรมาส ๑ – ๒ ระหวาง เดือนตุลาคม ๒๕๖๑ – มีนาคม ๒๕๖๒) และการดําเนินงานตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการ สง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ลาํ ปาง จากการประชมุ ครัง้ ท่ี ๑/๒๕๖๑ นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : การประชมุ ในวันน้ีมีผูอํานวยการ สถานีวทิ ยุ อสมท.จงั หวัดลําปาง เขา รว มประชมุ ดวย นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ขอเชิญ ผอู าํ นวยการ สถานวี ิทยุ อสมท.จงั หวัดลาํ ปาง นายสจั จพล จนั ทราช ผูอํานวยการ สถานีวทิ ยุ อสมท.จงั หวดั ลําปาง : จากรายงานการประชุมที่ผานมา ไดรับทราบวางานของสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง มีภาระงานมาก มีการดําเนินงานครอบคลุมในหลากหลาย ชวงอายุ ตามท่ที า นประธานไดกลาวไปแลว วาเปน หนว ยท่รี องรับผูทด่ี อ ย พลาด ขาดโอกาสทางการศึกษา ในปจจุบันตองยอมรับวาทั้งภาครัฐและภาคเอกชนยังขาดการประชาสัมพันธใหไดรับทราบถึงภารกิจท่ี หนวยงานไดดาํ เนินการอยา งท่ัวถงึ ในสวนของสถานีวิทยุ อสมท.จังหวัดลาํ ปาง มีความพรอมในการสนับสนุนการ ประชาสัมพนั ธของทกุ ภาคสว น นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ขอบคุณ ผูอํานวยการ สถานีวิทยุ อสมท.จังหวัดลําปาง สําหรับความรวมมือในการท่ีจะประชาสัมพันธหนวยงานการ ดําเนินงานและขา วสารตางๆ มีคาใชจายหรือไม นายสัจจพล จันทราช ผอู าํ นวยการ สถานวี ิทยุ อสมท.จงั หวัดลําปาง : ไมมีคา ใชจ า ย นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : สรุปผลการดําเนินงานประจําป งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ รอบ ๖ เดือน (ไตรมาสที่ ๑-๒ ระหวางเดือนตุลาคม ๒๕๖๑ ถึง มีนาคม ๒๕๖๒) และ การดําเนนิ การตามขอเสนอแนะของคณะกรรมการสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัด ลําปาง จากการประชุมครั้งท่ี ๑/๒๕๖๑ หลังจากเสร็จส้ินการประชุมแลวก็ไดมอบหมายใหอําเภอไปดาํ เนินการ ตามขอ เสนอแนะของคณะกรรมการ (รับชมวดี ิทัศน) มีรายละเอียดดังนี้ สํานกั งานสง เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั จังหวัดลําปาง หรือ สาํ นกั งาน กศน. จังหวัดลําปาง สงั กดั สํานักงาน กศน. สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ มีหนาทใี่ นการสงเสริมสนบั สนนุ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั โดยใหประชาชนไดร บั การศกึ ษาอยางตอ เนอ่ื ง ผูเรียนไดร บั ความรูและทกั ษะพื้นฐานในการแสวงหาความรแู ละไดเ รียนรูใ นสาระที่สอดคลองกับความสนใจ เพือ่ ไปสู จุดมุงหมาย “คนไทยไดเ รยี นรตู ลอดชวี ิตอยางมีคุณภาพ” ปรชั ญา“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ ปรัชญาคดิ เปน” วิสยั ทศั น “คนลาํ ปางไดร ับโอกาสการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชีวติ อยา งมีความสขุ และมคี ุณภาพ สามารถดาํ รงชวี ิตท่เี หมาะสมกบั ชว งวัย สอดคลอ งกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง และมีทักษะทจ่ี าํ เปน ใน โลกศตวรรษท่ี ๒๑”

-๖– ผลการดาํ เนนิ งาน การจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ๑. การจัดการเรียนการสอนตามตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ (ประถมศึกษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย) โดยสถานศึกษา ในสงั กัดจํานวน ๑๓ แหง ในภาคเรยี นที่ ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๑ มีนักศึกษาระดับประถมศกึ ษา จํานวน ๘๘๓ คน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน จํานวน ๒,๔๔๑ คน และระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จาํ นวน ๔,๑๘๔ คน ๒. การจดั การเรยี นการสอนหลักสูตรประกาศนยี บัตรวิชาชพี (ปวช.) สาขาเส้อื ผา แฟชน่ั จัดโดย กศน. อําเภอเมอื งลาํ ปาง ในภาคเรียนที่ ๒ ปก ารศึกษา ๒๕๖๑ มนี กั ศึกษาจํานวน ๗๖ คน ๓. การประเมินเทียบโอนความรแู ละประสบการณ ซงึ่ มีศูนยเ ทียบระดับการศึกษาจาํ นวน ๑๐ แหง ๔. การจดั กจิ กรรมสงเสรมิ การรหู นังสอื มีผูรบั บริการจํานวน ๑,๓๓๐ คน เพ่ือสรางโอกาสทางการศึกษาและกระจายโอกาสทางการศึกษาโดยคํานึงถึงการสรางความเสมอภาค ความเปนธรรมใหเกิดขึ้นแกชาวลําปางทุกกลุมรวมถึงผูยากไรผูดอยโอกาส ผูพิการผูบกพรองทางกาย/ทางการ เรยี นรู ชนกลมุ นอย โดยสนับสนุนการจดั การศึกษาตามวัยและพัฒนาการอยา งมคี ณุ ภาพต้ังแตกอ นวยั เรียนจนจบ การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐานและการจดั การศกึ ษาชุมชนเพอื่ มุง ใหเกดิ สังคมแหงการเรยี นรแู ละการศึกษาตลอดชีวิต การจดั การศึกษาตอเน่อื ง ๑.การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพเปนการจัดการศึกษาที่มุงเนนใหผูเรียนมีความรูเจตคติและมี ทักษะในอาชีพตามวัตถุประสงคของหลักสูตรประกอบดวยทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัติงานการใชเทคโนโลยี สารสนเทศพื้นฐานการคดิ แกป ญหาการส่อื สารและทกั ษะเกี่ยวกับความปลอดภัยในอาชีพมีคุณลักษณะท่ีสาํ คัญใน เรอ่ื งความซ่ือสัตยสุจริตความคิดเชิงบวกความมงุ มัน่ ในการทํางานการทํางานรว มกบั ผอู ื่นการรักษาส่งิ แวดลอมและ การคํานึงถึงประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตนการจัดกระบวนการเรียนรูเนนการปฏิบัติจริงและการเรยี นรูจาก วทิ ยากรหรือผูรทู ี่ประกอบอาชีพน้ันๆตามโครงการศูนยฝก อาชพี ชมุ ชนของสํานักงาน กศน. ๒. การจดั การศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ิตเปนการจดั การเรียนรทู ใี่ หความสําคัญกับการพัฒนาคนทุก ชว งวัยใหม คี วามรเู จตคตแิ ละทกั ษะทจ่ี ําเปน สาํ หรับการดํารงชีวติ ในสงั คมปจ จุบันสามารถเผชิญสถานการณต างๆท่ี เกดิ ข้ึนในชวี ติ ประจําวนั ไดอยา งมีประสิทธภิ าพและเตรยี มพรอมสาํ หรับการปรับตัวใหทันตอการเปล่ียนแปลงของ ขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคตโดยเนนการฝกปฏิบัติใหผเู รียนเกดิ ทักษะชวี ิต๑๐ประการ โดยมี จุดมุงหมายใหผูเรียนมีความรูความเขาใจที่ถูกตองเห็นความสําคัญท่ีจะตองเรียนรูเพื่อนําไปใชประโยชนหรือ ปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมมที ศั นคตคิ า นิยมทถี่ กู ตอ งไดฝ ก ทักษะชีวิตทีจ่ าํ เปนเพอื่ ปอ งกนั แกไ ขปญหาทีเ่ กดิ ขนึ้ ๓. การจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชนเปนการจัดกระบวนการใหบุคคลรวมกลุมเพื่อ แลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกันสรางกระบวนการจิตสาธารณะชวยเหลือซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชน อยางยั่งยืนโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนวปฏิบัติตลอดจนการเรียนรูการใชเทคโนโลยีที่ เหมาะสมโดยเนนการจดั การเรยี นรผู านกจิ กรรม

-๗– ๔. การสงเสริมการเรียนรูตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไดแก การเรียนรูตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมการทําบัญชีครัวเรือนรูจักการใชชีวิตท่ีพอเพียง เห็นคุณคาของ ทรัพยากรตางๆ ฝก การอยรู วมกบั ผูอ นื่ อยางเอ้ือเฟอ เผอ่ื แผและแบง ปน มจี ติ สํานึกรักษสิ่งแวดลอม และเห็นคุณคา ของวฒั นธรรม คานิยม เอกลักษณ และความเปน ไทย การจดั การศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการพัฒนาหองสมุดประชาชนทุกแหง ประกอบดวยหองสมุดประชาชนจังหวัด ๑ แหง หองสมุดประชาชนอําเภอ ๑๓ แหง ใหสามารถเปนกลไกในการเชื่อมโยงการเรียนรูตลอดชีวิตของประชาชนได อยางมีคุณภาพ เพ่ือสงเสริมและสนับสนุนนโยบายดานการสงเสริมการอาน และรวมเปนสวนหน่ึงในการ ขบั เคล่อื น “ลําปางนครแหงการอาน” พัฒนา กศน.ตําบล ๑๐๐ แหง และศนู ยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟา หลวง” จํานวน ๑๓ แหง ใหมีศักยภาพในการจดั และสงเสริมการเรียนรูของประชาชนในชุมชน เปนศูนยกลางการสรางโอกาสและ กระจายโอกาสทางการศึกษา เปนแหลงเรียนรตู ลอดชีวิตของชุมชนเพื่อการเรียนรทู ี่เหมาะสมในทกุ พื้นท่ี เตมิ เต็ม ระบบการศกึ ษา ใหร องรบั การเปนสงั คมแหงการเรยี นรอู ยา งแทจ ริง สงเสริม บานหนังสือชุมชน ๕๒๕ แหง โดยจัดหาหนังสือและสื่อสิ่งพิมพอ่ืนสาํ หรับบานหนังสือโดย จัดโครงการบรรณสัญจร ประสานความรวมมือกับภาคีเครือขายในจัดกิจกรรมเสริมสรางนสิ ัยรกั การอานของ กลมุ เปาหมาย ใหเ ขาถึงทุกครอบครวั รวมทั้งสรางความรูความเขา ใจใหผใู ชบรกิ ารเกี่ยวกับระเบียบวนิ ัยและขอพึง ปฏิบตั ใิ นการใชบ า นหนงั สือ ชวยกนั ดแู ลรกั ษาและพัฒนาบานหนงั สือ ผลการดาํ เนินงานตามนโยบายรัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร (พลเอก สุรเชษฐ ชัยวงศ) ๑.การดําเนนิ งาน “โครงการชมุ ชนตน แบบตามโครงการไทยนิยม ยัง่ ยนื ” ดําเนินการคัดเลือกชุมชนตน แบบระดับตําบล ๑๐๐ ชุมชน ระดับอําเภอ ๑๓ ชุมชน ระดับจังหวัด ๑ ชมุ ชน โดยมีการสงเสรมิ และพัฒนายกระดับชมุ ชนตน แบบระดบั ตําบลเผยแพรและสรา งการรบั รูแกป ระชาชน ๒. การขยายผลการดาํ เนินงานการแกไขปญ หาประชากรในวยั เรียนท่อี ยูนอกระบบการศกึ ษา ๑) ดาํ เนินการสํารวจขอมูลประชากรในวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษาจังหวัดลําปาง จํานวน ๙,๗๐๒ คน ๒) มีกลุมเปาหมายเขาเปนนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ภาคเรยี นท่ี ๒ ปก ารศึกษา ๒๕๖๑ ทั้ง ๑๓ อําเภอ รวมจํานวนทัง้ สนิ้ ๑๘๓ คน ๓. การขยายผลการอบรมหลกั สตู รการคา ออนไลน ๑) อบรมพัฒนาเพิ่มศักยภาพใหกับวิทยากรแกนนําหลักสูตรดิจิทัลวิทยากรแกนนํา ครู ก จํานวน ๒คน วิทยากร ครู ข จํานวน ๑๓ คน วิทยากร ครู ค จํานวน ๑๐๐ คน ๒) อบรมประชาชนหลักสูตรการคาออนไลน หลักสูตรการตลาดและการสรางมูลคาใหกับสินคา จํานวน ๑,๕๐๗ คน หลกั สูตรการโปรโมทสินคา จาํ นวน ๑,๕๑๔ คน ๔. การสง เสริมใหประชาชนอา นออกเขยี นได ๑) จัดกิจกรรมสง เสริมการรูหนงั สือ ตามหลักสูตรการรหู นงั สอื พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๗ จาํ นวน ๑,๓๓๐ คน

-๘– ๒) การประเมินระดับการเรียนรูหนงั สอื ของนักศึกษา กศน. (การอานออกเขียนได) ในภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๑ มีนักศึกษาที่เขาประเมินแลว ดังนี้ ระดับประถม จํานวน๒๓๑คน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน จํานวน ๕๘๒คนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน ๘๙๑คน รวมท้ัง ๓ ระดับมีนักศกึ ษาเขารับการประเมินระดับการรู หนังสือจํานวนทง้ั ส้นิ ๑,๗๐๔ คน ๕. การรณรงคเ ร่อื งการเพิ่มอัตราการอาน ๑) สง เสรมิ หองสมุดประชาชนจงั หวดั /อําเภอจัดมุมสงเสรมิ การอา นสาํ หรบั เดก็ และเยาวชน ๒) กิจกรรมบานหนังสือชุมชน สงเสริมสถานศึกษาดําเนนิ การจัดกิจกรรมสงเสริมการอานในบาน หนงั สือชุมชนจํานวน ๕๒๕ แหง ๓) กิจกรรมครอบครวั รักการอานหองสมดุ ประชาชนจดั กิจกรรมครัวครวั รักการอานในบานหนังสือ ชุมชน และจัดโครงการอานปนสุขเพ่ือเด็กนอย...บนดอยบานเฮา\" เพ่ือเปนการสงเสริมและสนับสนุนเด็กและ เยาวชนในพื้นท่ีราบสูง จํานวน ๓ แหง คือ ศศช.บานแมกา อําเภอแจหม ศศช.บานหวยน้ําตื้น อําเภองาว และ ศศช.บา นปางมว ง อาํ เภอเมอื งปาน ๔) พฒั นาหองสมุดเคล่ือนท่สี าํ หรับชาวตลาดเพ่อื สงเสรมิ ใหป ระชาชนชาวตลาดไดรับความรู ความ บันเทิงสามารถนําไปประยุกตเ พ่ือคุณภาพชวี ติ ของตนเอง ครอบครัว และผูใกลช ิด ๕). รถหอ งสมุดเคลอ่ื นที่ ๕.๑) รถหองสมุดเคลื่อนท่ีสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางออกใหบริการสงเสริมการอาน รว มกับหนว ยงานภาคเี ครอื ขายและสถานศึกษาในพื้นที่ ๑๓ อําเภอ ๕.๒) รถหองสมุดเคล่ือนที่สูชุมชน (รถมินิโมบาย) \"รถอานฉัน\"จํานวน ๑๓ คัน (สถานศกึ ษา ๑๓ แหง ๆ ละ ๑ คนั ใหบ ริการกจิ กรรมสงเสริมการอานในพน้ื ท่ี-ชมุ ชน ๖. การสง เสรมิ ดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน ๑) การสงเสริมดูแลสุขภาวะของประชาชนในพ้ืนที่โดยการจัดกิจกรรมสอดแทรกการเรียน การ สอน (พบกลุม ) ของนักศึกษาและรปู แบบอ่ืนๆมีเนื้อหาเก่ียวกับ ๑) ปญหาสุขภาวะที่เกิดจากแม ๒) ปญหาที่เกิด จากเด็ก (แรกเกดิ - ๕ ขวบ) ๓) ปญหาสขุ ภาวะทเี่ กดิ จากโรค NCDs๔) ปญหาสขุ ภาวะของผสู งู อายุ ๒) กิจกรรมจัดปายประชาสัมพันธในหองสมุดประชาชนจังหวัดลําปาง จํานวน ๑ แหง และ หองสมดุ ประชาอําเภอ จํานวน ๑๓ แหง เพื่อใหประชาชนในพื้นท่ีไดร บั ความรู ความเขาใจในการสง เสรมิ ดูแลสุข ภาวะของตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน นายคเชนทร มะโนใจ ผอู ํานวยการ สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ลาํ ปาง : วีดิทัศนท่ีรับชมเปนการนําเสนอผล การดําเนินงานท่ีไดประสานความรวมมือกับภาคีเครือขาย เพ่ือประโยชนของประชาชนอยางแทจริง แมวา บคุ ลากรของสาํ นักงาน กศน.จังหวัดลําปางจะมีจํานวนนอย ซง่ึ ไดรับความเมตตาของคณะกรรมการที่ใหขอชี้แนะ ขอแนะนาํ และใหก ําลังใจบุคลากร กศน. การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน มีนักศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพนื้ ฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ ในภาคเรียนท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๒ รวมทั้งหมด ๗,๕๘๔ คน และมี นักศกึ ษาหลักสูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) จํานวน ๗๖ คน ซง่ึ ไดจดั การศกึ ษารว มกบั ศูนยเรียนรูการพัฒนา สตรแี ละครอบครวั ภาคเหนอื จังหวัดลําปาง

-๙– ในสวนของการจัดการศึกษาตอเนื่อง เพิ่มเติมจากท่ีรับชมผานวีดิทัศน มีการจัดโครงการ Smart ONIE เพอ่ื สราง Smart Farmer โดยจัดฝกอบรมเกษตรกรตนแบบ Master Trainer เพ่ือใหเกษตรกรตนแบบ มีความรู ทักษะ ทางดานการเกษตร และการตลาดยุคใหม เปนตนแบบเกษตรที่สามารถรว มมอื กับ กศน. ในการถายทอด องคความรูใหแกเกษตรกรอ่ืน ๆ โครงการอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารดานอาชีพ เปดสอนภาษาอังกฤษ เพ่ือการสื่อสารใหแกกลุมอาชีพ ที่สอดคลองกับธุรกิจบริการ รานคา และกลุมธุรกิจดานการทองเท่ียว และ โครงการจัดหลกั สตู รการอบรมดแู ลผูสงู อายุ กระทรวงศึกษาธิการ หลกั สูตร ๗๐ ชั่วโมง เพื่อผลิตผูดูแลผูสงู อายุใน ระดับชมุ ชนท่ีมีศักยภาพในการดูแลผูสูงอายุในภาวะพึ่งพิงภายในครอบครัว หรือไปประกอบอาชีพอิสระในการ ดแู ลผูสงู อายุในภาวะพึ่งพงิ รว มกับกระทรวงสาธารณสุขและองคกรปกครองสวนทอ งถน่ิ การศึกษาตามอัธยาศัย หองสมุดประชาชน บานหนังสือชุมชน อาสาสมัครสงเสริมการอาน หองสมุด เคลื่อนที่ บรรณสัญจร สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง และสถานศึกษาในสังกัด รวมกับทุกภาคสวนรวมกัน ดําเนนิ การสง เสรมิ การอานและพฒั นาการเรยี นรูอ ยางตอเนอื่ ง ๔.๓ การใหคําปรึกษา ความรวมมือ การสงเสริมและสนับสนุนภาคีเครือขาย การติดตามการ ดาํ เนนิ งานและขอ เสนอแนะของคณะกรรมการสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ลาํ ปาง ในการพัฒนาการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหม คี ณุ ภาพ นายเรวัฒน สุธรรม ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา : นอกจากการจัดเก็บขอมูลผลการดําเนินงานเชิง ปริมาณแลว ควรจดั เก็บในเชงิ คุณภาพดวย เชน หนว ยเคลือ่ นทร่ี ถโมบายนับจํานวนครง้ั ทร่ี บั บรกิ ารหรอื นับจํานวน ผรู บั บริการ นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : นับจํานวนผรู ับบรกิ าร นายเรวัฒน สุธรรม ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา : เหตุใดผูรับบริการจึงมีจํานวนนอย และเม่ือ ผูรับบรกิ ารเขามาใชบริการแลวมีผลเปนอยางไร เมื่อเราจัดกิจกรรมสงเสริมการอาน ณ จุดเดิมน้ันมีผรู ับบริการ มารวมกิจกรรมคนเดิมมารับบริการซํ้าหรือไม หากมารับบริการซ้ําแสดงถึงวาบุคคลน้ันมีนิสัยรกั การอาน เชน จุด บริการที่ We Market ผรู บั บรกิ ารในแตละสปั ดาหเปนบคุ คลเดมิ หรอื บคุ คลใหม และบรกิ ารยมื หนังสอื ผูย ืมกลบั มา ใชบรกิ ารยืมอกี หรอื ไม หากเกบ็ ขอมูลในสวนนีส้ ามารถนํามาประเมินผลเชิงคุณภาพไดวาผูรับบริการมีนิสัยรกั การ อา นเพิ่มขึ้นหรอื ไมอ ยางไร นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : การออกใหบริการโดยสวนใหญมี จุดใหบริการท่ีหลากหลายตามท่ีหนวยงานและสถานศึกษามีกําหนดจัดกิจกรรม ในสวนของจุดบริการที่ We Market สวนใหญแลวผูมาจบั จายซ้ือของแลว ก็กลบั ขอนอมรบั คาํ แนะนํา นางปารชิ าติ ปอมไธสง หัวหนากลุมสงเสริมการศึกษาตามอธั ยาศัย : สําหรับกิจกรรมหอ งสมุดเคลื่อนที่ สูชุมชน รถโมบายหองสมุดเคล่ือนที่(รถมนิ ิบัส) มีจํานวน ๑ คนั ซง่ึ ออกใหบริการในจุดท่มี ีพ้ืนที่ในการจัด สวนรถ อานฉัน เปนมอเตอรไซคสามลอพวงกระบะทายบรรทุกของ เริ่มออกใหบริการในชวงเดือนกันยายน ๒๕๖๑ สามารถขับข่ีไปในซอกซอยของหมูบา นได ซึ่งผูใชบริการมีความหลากหลาย และการออกใหบริการนั้นไมซํ้าพ้ืนท่ี เดิม

- ๑๐ – สวนพ้ืนที่ท่ีนํารถอานฉันออกใหบริการเปนประจําอยางตอเน่ือง เชน กศน.อําเภอเมืองลําปาง ณ We Market ทุกเชา วันอาทิตย เวลา ๐๖.๐๐-๑๑.๐๐ น. ถนนเสนทางไปวัดพระเจาทันใจดานขา งโรงเรียนอนุบาล ลําปาง และงานถนนศิลปะ ลานเด็กยิ้ม ริมนํ้าวัง “Street Art Fest” ทุกเย็นวันเสาร ตั้งแตเวลา ๑๗.๐๐ น.เปน ตนไป มีสมุดใหยืมประจํารถโมบาย ซึ่งสามารถยืม-คืนหนังสือไดมีการบันทึกสถิติการยืมผานระบบหองสมุด อัตโนมัติไว และกศน.อําเภอแจหม รถอานฉันออกใหบริการ ณ ตลาดถนนคนเดินหนาวัดศรีหลวง ตําบลแจหม ทกุ เย็นวนั อาทิตย ตงั้ แตเ วลา ๑๖.๐๐ น.เปนตนไป นายสุรพล บุรนิ ทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวดั ลําปาง : เห็นดวยกับ การเก็บขอมูลตามท่ีทานเรวัฒนไดเสนอแนะ ซ่ึงเราควรเก็บขอมูล ๑. บุคคลที่เขารวมกิจกรรมในทุกคร้ังที่รถ หอ งสมดุ เคล่อื นท่อี อกบริการ ๒. บคุ คลผนู ัน้ มาใชบริการซํา้ อกี หรือไม และควรจัดทําแบบสอบถามเพื่อนําขอมูลท่ี ไดมาพัฒนาปรับปรุงแกไข และรับทราบขอมูลวาสงิ่ ใดเปนส่ิงจูงใจใหคนมาอานหนังสือ การสงเสริมการอาน แมวาผูอานจะอานหนังสือใด อาทิ หนังสือวิชาการ บันเทิง สารคดี น้ันนับวาเปนการอาน ควรหาวิธีการในการ สรางแรงจูงใจใหประชาชนอานหนังสือ และควรทํางานเชิงรุก การคัดเลือกสื่อ หนังสือใหเหมาะสมกับการออก หนวยเคล่ือนท่ีในแตละแหง ควรศกึ ษารูปแบบแนวคิดของตลาดนัด เหตุใดคนถึงชอบ เน่ืองจากมีสินคา ที่ตองการ มีราคาถูก และเปน สินคา ท่ีใชในชีวติ ประจําวัน นายเรวฒั น สธุ รรม ผทู รงคุณวฒุ ดิ า นการศกึ ษา : หองสมุดจะเงียบเหงา เราตองนาํ หนงั สือออกเดินทาง ไปหาผรู บั บรกิ าร นายสุรพล บรุ นิ ทราพนั ธ รองผวู าราชการจงั หวดั ลาํ ปาง แทนผูวาราชการจังหวดั ลาํ ปาง : เราตองทํางาน เชงิ รกุ โดยการนําหนังสอื ไปออกไปใหผรู บั บริการ นายโกมล ภัทรฤทธิกุล ผูทรงคุณวุฒิดานสาธารณสุข : ขอสอบถามถึงปญหาการดําเนินงานของ สาํ นกั งาน กศน.จงั หวัดลําปาง ใน ๑ ป ทผี่ า นมา ที่เหน็ วาควรไดรับการปรบั ปรุงและพัฒนา ประมาณ ๒-๓ ขอ นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : ปญหาและอุปสรรคในการ ดําเนินงานท่ีประสบน้ัน สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางของเราเชอื่ ม่นั วาเราทําได ทุกปญ หาและอุปสรรคที่พบจึง ถอื วาไมเ ปนปญ หาและอปุ สรรคในการทํางาน ปญหาท่พี บ คือ เรื่องบุคลากรไมเพียงพอ เรอ่ื งครุภัณฑไมเ พียงพอ เรือ่ งงบประมาณทมี่ ีอยอู ยา งจาํ กัดนั้น มีการบริหารการใชจายตามงบไดรับจัดสรรจากตนสังกัด สําหรับหนวยงาน ภาคเี ครือขา ยน้นั ไดรับความรว มมอื เปนอยา งดี สาํ นักงาน กศน.จังหวัดลําปางสามารถแกไขปญหาและอุปสรรคให ลุลวงไดดวยความรวมมอื รวมใจของบคุ ลากรทุกคน รวมไปถงึ ความรว มมือจากคณะกรรมการฯ และภาคเี ครือขา ย นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผวู าราชการจงั หวัดลาํ ปาง แทนผวู าราชการจังหวัดลําปาง : กศน.อําเภอ แตล ะแหง พบปญ หาใดที่เห็นวาหนักทส่ี ุด นายจําลอง คําบุญชู ผูทรงคุณวุฒิดานวิจัยและประเมินผล : ทางสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางตองการ ไดร ับการระดม การสงเสรมิ ทางดา นใดมากทีส่ ดุ

- ๑๑ – นางสาวสมพร เอ่ียมสําอางค หัวหนากลุมนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา : จากท่ีไป นิเทศ ติดตามการดําเนินงานในพื้นที่นั้น ไดดําเนินการสอบถามสภาพปญหาจากคณะครู ปญหาท่ีพบคือ งบประมาณไมเพียงพอตอการดําเนินกิจกรรม ครู กศน. มีวิธีการในการแกไขปญหาโดยการขอความรวมมือจาก หนวยงานภาคเี ครอื ขา ย ในสว นของงบประมาณ วัสดอุ ุปกรณ อาคารสถานท่ี รวมไปถึงวิทยากร และอีกเร่ืองหนึ่ง คือการบริหารจัดการเวลาเกี่ยวกับภาระหนาที่ไดรับมอบหมายในหว งเวลาเดียวกันที่ผานมา เพื่อใหสอดคลองกับ ภาระหนาทีท่ ไ่ี ดร ับมอบหมาย นายโกมล ภัทรฤทธกิ ลุ ผทู รงคณุ วุฒิดานสาธารณสุข : ปญหาตามท่ีกลา วมาน้ันมี ๒ แบบ คือท่ีมีอยูใน มือเรา และทอี่ ยนู อกมือเรา ดังน้นั จะเหน็ ไดว าปญหาที่อยูในมือเราน้นั สามารถพฒั นาได โดยสวนตัวไดมโี อกาสเขา รวมการประชุมประมาณ ๕-๖ ป ซ่ึงไดใหขอเสนอแนะในการดําเนินงานวาควรนําเสนอการดําเนินงานในเชิง คุณภาพเพิ่มเตมิ จากขอมูลการรายงานผลการดําเนินงานในเชิงปริมาณ พบปรากฏในหนาท่ี ๕ ของรายงานการ ประชุมคร้ังท่ีแลวตามเอกสารแนบ เร่ืองการสงเสริมการเรียนรูหนังสือ วามีผูผานการทดสอบการอานเขียนได จํานวน ๒๔๔ คน ประมาณรอยละ ๑๙ หากเปนผูท่ีอานหนังสือ เขียนหนังสือไมไดน ้ัน สามารถอานออกเขียนได เพิ่มขึ้น ๒๐๐ กวาคนใน ๑ ป ถือวายอดเย่ียมมาก เปนเร่ืองไมงายที่สามารถทําได เปนผลการดําเนินงานเชิง ประจักษ และเรื่องการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผูเรียนระดับชาติ (National Test : NT) ยังไมเห็น ปรากฏในการรายงานผลการดําเนินงาน ในรายวิชาภาษาอังกฤษ และรายวิชาคณิตศาสตรมีผลการทดสอบเปน อยางไร มีการพัฒนาหรือไมอยางไร เนื่องดวยเปนตัวชี้วัดคุณภาพการจัดการเรยี นการสอน เรื่องการศึกษาเพ่ือ พัฒนาอาชีพ การมีตลาดหรือชองทางในการจําหนายสินคารองรับหรือไม คุณภาพของช้ินงานเปนอยางไร สิ่งที่ไมส ามารถแกไ ขไดคืองบประมาณและเวลา แตส ามารถแกไ ขในวิธีคิดวิธีการทาํ งาน เร่อื งการจดั การเรียนการ สอนควรตองบริหารเวลาใหเหมาะสมกบั ภาระงานท่ีไดรับมอบหมาย งานหลกั ของ กศน. คาดวาเกี่ยวกับเรื่องการ สงเสริมการรูหนงั สือ การศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน การเรียนรูตลอดชีวิต สวนเร่ืองการจัดการ ขยะ การพฒั นาอาชีพ การเมืองการปกครอง ประชาธิปไตย ลวนมีหนว ยงานอ่ืนที่รับผิดชอบอยู กศน.ควรสงเสรมิ การเรยี นรูตลอดชวี ติ การมีจิตสาธารณะ เมือ่ มีภาระงานมากควรทํางานหลกั ของ กศน.กอ น นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวดั ลําปาง : ขอนอ มรับคําแนะนํา ในเรอ่ื งการ ทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) จะนําขอมูลมาบรรจุเพ่ิมเติม ขอ นําเสนอผลการดําเนินงานในเร่ืองของการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ นอกจากไดดําเนินการจัดการเรียนการ สอนดานอาชีพ ยังมกี ารสอนในเร่ืองของการคา ขายออนไลน ภายใตศูนยจําหนายสินคาและผลิตภัณฑ ออนไลน OOCC นายเรวัฒน สุธรรม ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา : ควรสรุปขอมูลผูไมรูหนังสือสงใหคณะกรรมการ ภายหลัง

- ๑๒ – นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : ในสวนของการสงเสริมการรู หนงั สอื ใหก ับผูไมร ูห นงั สอื ผทู อี า นไมคลองเขียนไมคลอง ใชขอมูลผลการสํารวจตัวชี้วัดขอ มูลความจําเปนพื้นฐาน (จปฐ.) ตัวช้ีวัดที่ ๑๙ คนอายุ ๑๕ - ๖๐ ปเต็ม อานเขียนภาษาไทยและคดิ เลขอยางงายไดทุกคน ของสํานักงาน พฒั นาชมุ ชน ซงึ่ สํานกั งาน กศน.จงั หวัดลาํ ปางรวมเปนคณะกรรมการระดบั จงั หวัด และการดําเนินการแกไขนั้นได มอบหมายใหผูรับผิดชอบกิจกรรมสง เสรมิ การรหู นงั สือของ กศน.อาํ เภอ ดาํ เนินการตรวจสอบครัวเรือนท่ีตกเกณฑ วามีความประสงคร วมกิจกรรมการสอนอานเขียนภาษาไทยและคิดเลขอยางงาย หรือรวมกิจกรรมสงเสริมการรู หนังสือ กับทาง กศน. หรือไม และอีกสวนหนึ่งเปนผูลืมหนังสือ ซึ่งเม่ือไดดําเนินการเสร็จส้ินแลวจักนําขอ มูลการ ดําเนินงานสงเสริมการรูหนังสือ และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) นําสง ใหค ณะกรรมการตอ ไป ระดับประถมศกึ ษา ระดับจงั หวดั ระดบั ภาค ระดับประเทศ ๔๐.๘๓ กลมุ สาระการเรยี นรู ๓๑.๔๕ ๔๐.๑๐ ๔๓.๑๖ ทกั ษะการเรยี นรู (๔๐๑) ๓๗.๖๙ ๓๓.๒๒ ๓๕.๙๘ ความรพู ้ืนฐาน (๔๐๒) ๕๐.๑๗ ๓๕.๘๒ ๓๙.๕๐ การประกอบอาชพี (๔๐๓) ๔๐.๙๙ ๔๓.๘๙ ๔๙.๑๕ การดาํ เนินชวี ิต (๔๐๔) ๔๐.๒๓ ๓๙.๕๐ ๔๓.๒๗ การพฒั นาสงั คม (๔๐๕) ระดบั จงั หวดั ๓๘.๕๑ ๔๒.๒๑ คา เฉลี่ย ๔๖.๐๓ ๒๙.๖๐ ระดับภาค ระดบั ประเทศ ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ๔๒.๐๒ ๔๖.๙๔ ๔๔.๗๗ ๔๓.๕๖ กลุมสาระการเรยี นรู ๓๙.๙๒ ๓๐.๙๔ ๓๐.๕๔ ทกั ษะการเรยี นรู (๔๑๑) ๔๐.๙๐ ๔๑.๐๒ ๓๙.๘๘ ความรูพื้นฐาน (๔๑๒) ๔๕.๙๖ ๔๔.๔๒ การประกอบอาชพี (๔๑๓) ระดบั จงั หวัด ๓๘.๓๓ ๓๗.๗๗ การดาํ เนินชวี ติ (๔๑๔) ๔๕.๗๓ การพัฒนาสงั คม (๔๑๕) ๒๖.๖๖ ๔๐.๒๐ ๓๙.๒๓ ๔๐.๙๙ คาเฉลี่ย ๓๙.๓๗ ระดับภาค ระดบั ประเทศ ๓๐.๑๓ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ๓๖.๕๘ ๔๔.๑๗ ๔๓.๐๖ ๒๗.๓๑ ๒๗.๐๙ กลุมสาระการเรยี นรู ๓๙.๗๗ ๓๘.๖๙ ทกั ษะการเรยี นรู (๔๒๑) ๓๘.๘๒ ๓๗.๘๙ ความรูพน้ื ฐาน (๔๒๒) ๒๙.๖๖ ๒๘.๙๘ การประกอบอาชีพ (๔๒๓) การดาํ เนินชวี ิต (๔๒๔) ๓๕.๙๕ ๓๕.๑๔ การพฒั นาสังคม (๔๒๕) คาเฉล่ีย

- ๑๓ – นางสาวสมพร เอยี่ มสําอางค หัวหนากลุมนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา : สรุปขอมูล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) คร้ังท่ี ๒ ปการศึกษา ๒๕๖๑ สอบเม่ือวันอาทิตยที่ ๑๗ กุมภาพันธ ๒๕๖๒ พบวาในระดับประถมศึกษา คะแนนเฉล่ียระดับจังหวัดสูงกวา คะแนนเฉล่ียระดับภาค และตํ่ากวาคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ แตคะแนนเฉลี่ยยังนอยกวารอยละ ๕๐ ในระดับ ของมัธยมศึกษาตอนตนในกลุมสาระการเรียนรูทักษะการเรียนรู ทักษะการประกอบอาชีพทักษะการดําเนินชวี ิต ทกั ษะสังคม คะแนนเฉลย่ี สงู กวา ระดับภาคและระดบั ประเทศ ในระดับรายอาํ เภอ กศน.อําเภอที่มีคะแนนเฉล่ียสูง กวารอยละ ๕๐ เชน อําเภอเถิน อําเภอเมืองลําปาง อําเภอแมเมาะ อําเภอเกาะคา อําเภอสบปราบ อําเภอเสริม งาม ซง่ึ มีการสรปุ ผลการประเมินและสงคนื ขอมูลใหกับสถานศึกษาในสังกัดทงั้ ๑๓ แหง เพื่อใชเปนขอมลู ในการ จัดทําแนวทางการพัฒนาและยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษาตอ ไป นายเรวัฒน สุธรรม ผทู รงคณุ วุฒิดานการศกึ ษา : แยกเปน รายวชิ าคณิตศาสตร ภาษาไทยหรอื ไม นางสาวสมพร เอี่ยมสําอางค หัวหนากลมุ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา : แยกเปน กลุมสาระการเรียนรู จํานวน ๕ กลุมสาระ นายโกมล ภัทรฤทธิกุล ผูทรงคุณวุฒิดานสาธารณสุข : ควรแยกรายวิชาคณิตศาสตร และรายวิชา ภาษาอังกฤษ โดยมีขอมูลยอนหลัง ๕ ป เพือ่ เปนการเปรียบเทยี บผลการจดั การศึกษา นายคเชนทร มะโนใจ ผูอาํ นวยการ สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ลาํ ปาง : รับทราบและดําเนินการและจัดสง ขอมูลตามที่ทานคณะกรรมการเสนอแนะ นายโกมล ภัทรฤทธิกุล ผูทรงคุณวุฒดิ า นสาธารณสขุ : ทราบมาวากําลังจะเปล่ียนช่ือเปน “การเรียนรู ตลอดชีวิต” ควรจัดทําแบบทดสอบยอยในการทดสอบประสิทธิผลในการเรยี นรู ซ่ึงอาจเปนรูปแบบการอานจาก สมารทโฟน หรือจากแหลง อนื่ เปน เร่ืองที่เขาอยากเรียนรูหรือติดตามขาวสารน้นั การนาํ รถหองสมุดเคลื่อนท่ีออก ใหบริการ มีผูใชบริการอานหนังสือในหองสมุดเพิ่มข้ึน จังหวัดลําปางเปนนครแหงการอาน มีการสังเกตวา ชาวบา นความสนใจการเรียนรูตลอดชีวติ หรอื สนใจในอา นหนังสือหรือไม ถือเปน เร่อื งที่ทาทายและเปนการสราง สิง่ ใหม เคยใหข อเสนอแนะในเรือ่ งเทคนิคการสอนของครูกับนักเรยี น หากนักศึกษามีผลการเรยี นที่ตํ่าลง เทคนคิ การสอนของครมู กี ารเปล่ียนหรอื ไมอ ยา งไร หากลดลงตอ งเปลี่ยนเทคนิคการสอน นายจาํ ลอง คาํ บุญชู ผูทรงคุณวุฒิดานวิจัยและประเมินผล : เขารวมการประชุมคณะกรรมการฯ เปน คร้ังท่ี ๒ ไดเห็นวางานของ กศน.น้ันหนักมีภารกิจท่ีหลากหลาย ศึกษานิเทศกควรหาอาสาสมัครเพ่ือชวย ดําเนินงานขอมูลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ฝาก ๒ ประเดน็ ดงั นี้ ๑. ครูคือกลไกสําคัญของการทําใหคนอานหนังสือ ฉลาดขึ้น เกงข้ึน ควรใหครูมีการแลกเปล่ียนเรียนรู กระบวนจดั การเรยี นการสอนระหวา งกัน (การสรางชุมชนการเรียนรทู างวิชาชีพ : PLC) ของ กศน.อําเภอ ท้ัง ๑๓ แหง ใชวิธีการศึกษาในเชิงพฤติกรรมของมนุษย และมีการยกยองชมเชยเพื่อสรางขวัญกําลังใจ ซ่ึงอาจเชิญครู มารว มในการประชมุ นี้ดว ย จากจาํ นวนครใู นขอมูลบุคลากรตามเอกสารแนบ ๓ มีครู กศน. แยกเปน ๓ ประเภท

- ๑๔ – คือครอู าสาสมคั ร ฯ ๓๘ คน ครูอาสาสมคั รในพนื้ ท่สี ูงอกี ๒๑-๒๒ คน และครู กศน.ตําบล ๙๕ คน รวม ๑๕๕ คน รวมกันดําเนนิ งาน ๒. สวนเร่ืองกิจกรรมสงเสริมการอาน ควรมีการจัดรูปแบบของการจัดกิจกรรมสงเสริมการอานท่ีแปลก ใหมและหลากหลาย เชน มีบริการสงหนังสือใหกับผูรับบริการ คลายกับบริษัท Kerry เม่ือผูรับบริการอานแลว สง คืนหนงั สือ พรอ มทง้ั บรรยายความรูสกึ ผานทาง Facebook หรอื Line เพ่อื ใหทราบถงึ ขอ มูลเชิงคณุ ภาพ นายสุรพล บุรนิ ทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวดั ลําปาง : อาจเปนการ ทาํ งานทย่ี ากลําบาก เร่ืองงบประมาณเปนที่ทราบกนั ดวี ามีอยา งจํากดั ฝากทางสาํ นกั งาน กศน.ดําเนินการ นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : ขอนอมรับขอเสนอแนะของทาน คณะกรรมการ ในสวนของครู กศน. ตําบล อยูประจําตําบลละ ๑ คน การทํางานน้ันมีการสรางความสัมพนั ธกับ หนวยงานภาคีเครือขาย มีการประสานขอความรวมมือครูในระบบโรงเรยี นชวยในการสอนเสริม ทางสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางมกี ารสรา งขวญั และกาํ ลงั ใจ สงเสริมการคดั เลือกครดู เี ดน และมีประชมุ แลกเปล่ียนเรียนรูซง่ึ กัน และกนั นายสุรพล บุรินทราพนั ธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ทาง ปลดั อําเภอควรจัดทมี ชุดปฏบิ ตั ภิ ารกจิ เชน เกษตรตําบล สาธารณสุขตาํ บล เรื่องการอานหรอื การเผยแพรความรู ตางๆ ขอใหดําเนินการจดั ทาํ หนังสอื เสนอสาํ นักงานจงั หวัดอนมุ ตั ิภารกจิ วาที่ ร.ต. นาวิน ม่งิ เช้ือ ปลดั อาํ เภอ (แทน) ปลัดจังหวดั ลําปาง : การปฏิบัติการทํางานในพ้ืนที่มอี ยูแลว ตอ งดําเนนิ การในรปู แบบของบรู ณาการ ซึ่งบรบิ ทของแตล ะหนวยงานแตกตา งกนั นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : การท่ีได ดาํ เนินการอยแู ลวน้ันตองชวยการดาํ เนินการมิใชตา งคนตา งดาํ เนินการ เมื่อครงั้ ดํารงตาํ แหนงนายอาํ เภอเถินนัน้ มี การสั่งการใหท กุ หนวยดาํ เนินการ เมือ่ ทกุ อําเภอรวมกนั ดาํ เนินการผลงานท่ีปรากฏยอมเปน ผลงานรวมของจงั หวัด ซ่ึงขอใหลงมอื ทาํ เตม็ ทใ่ี หเห็นเปน รูปธรรม เขา ใจดีวา กศน. ไมม ีกําลังพลในการทํางานทุกหนวยงานเราตองรวมมือ กัน นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : รบั ทราบจากผูอํานวยการ กศน. อาํ เภอทกุ แหงวาในการทํางานในพ้ืนท่ีนั้น ไดร บั ความอนุเคราะหจ ากทานนายอําเภอทุกทานใหก ารสนับสนุนอยาง ดีย่ิง ถึงแมในกศน.ตําบลมีครู กศน.ตําบล เพียงแหงละ ๑ คน แตยังมีนักศึกษา กศน. ในละตําบลท่ีพรอมจะให ความรวมมอื ในการปฏบิ ัตภิ ารกจิ กับทางอาํ เภออยา งเต็มท่ี นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ขอให สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง สํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดลําปาง ทํางานในเชิงรุก นายอําเภอ สามารถสั่งการใหการชวยเหลอื และใหค วามสนใจในเร่อื งตางๆ ในอําเภอ มใิ ชรอใหห นวยงานรองขอ ขอใหจุนเจือ เกอ้ื กลู กนั ใหม องงานทกุ งานลวนสําคญั จึงจักถอื วา บรู ณาการการทํางานกนั

- ๑๕ – นายบุญเตมิ ปงวงค ผทู รงคณุ วุฒดิ า นภมู ิปญ ญาทอ งถิน่ : มคี วามคุน เคยกบั กศน. มายาวนาน ในฐานะที่ เปนประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาของกศน.อําเภอสบปราบดวยน้ัน นกั ศึกษาถือเปนหัวใจหลักของ กศน. ไดท ราบถงึ การมจี าํ นวนนักศกึ ษาลดลง อยา งตอ เนอ่ื งจากหลายปจจัย สวนหน่ึงมาจากการศึกษาเรียนรดู วยตนเอง จากสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร โทรศัพทมอื ถือ จะมีวิธีการรวมกันอยางไรในการเพ่ิมจํานวนนักศึกษา และสถานศึกษาควรใหค วามสาํ คัญกบั การมสี ว นรว มของคณะกรรมการสถานศกึ ษาซ่งึ มาจากหลากหลายอาชีพ ใน การดําเนนิ การจดั กิจกรรมตา งๆ ของสถานศกึ ษา นางสาวรุจิรา หลาวงศา นักวิชาการสงเสริมการเกษตรชํานาญการ (แทน) เกษตรจังหวัดลําปาง : สํานักงานเกษตรจังหวัดลําปาง จะมีศูนยเรียนรูการเพ่ิมประสิทธิภาพการเกษตร (ศพก.) ซึ่งศูนยการเรียนรูมี องคป ระกอบ ๔ อยาง คอื เกษตรกร แหลง เรยี นรู หลักสูตร และฐานการเรยี นรู ซ่งึ ทาง กศน. สามารถรวมดาํ เนิน กิจกรรมฐานการเรียนรูของการสงเสริมอาน ณ ศพก. มีการศึกษาดูงานและอบรมเกษตรกรทุกป ใน ๑ ป ไมต่ํา กวา ๑,๐๐๐ คน ซ่ึงหลังจากน้ีมีแผนในการขยายเครือขาย ๑ อําเภอจะตอ งมีเครือขาย ๑๐ เครือขาย เนนตาํ บล ละ ๑ เครอื ขาย ซึ่งขณะนี้มี ๑๗๙ เครือขา ย ซึง่ ศนู ยเรยี นรูเกษตรทฤษฎีใหม เกษตรผสมผสานในทุกตําบล และจะ มีตลาดเกษตรกรลาํ ปาง ทกุ วันเสาร-อาทิตย เวลา ๐๖.๐๐-๑๔.๐๐ น. แยกเฮือนสายคํา ทางไปราชภัฏลําปาง ซ่ึง จะเปดอยางเปนทางการส้ินเดือนมิถุนายน ๒๕๖๒ น้ี เพื่อใหเกษตรกรที่ทําการเกษตรจริงเขาไปจําหนายสินคา เนนสินคา เกษตรท่ปี ลอดภยั จากสารเคมตี กคา ง ซ่ึงสํานกั งาน กศน.จงั หวัดลําปาง สามารถนํารถหองสมุดเคลื่อนที่ ไปใหบ รกิ ารแกเกษตรกรหรอื ผูบริโภคไดศึกษาเรยี นรไู ด นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ฝากทาง สํานักงานเกษตรจังหวัด หากมีการจัดกิจกรรมในลักษณะนี้ ใหแจงทางสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง หรือ หนวยงานอ่ืนใหทราบเพ่ือรวมกันจัดกิจกรรมดวย ขอใหทุกหนวยงานทํางานเชิงรุก บูรณาการการทํางานรวมกัน มใิ ชต า งคนตา งทํา นายเรวัฒน สุธรรม ผูทรงคุณวุฒดิ านการศึกษา : ควรสนับสนุนใหเกษตรกรที่จบการศึกษาในระดับ ประถมศกึ ษา ศึกษาตอ ในระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน และระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย และควรมกี ารสํารวจ ชวงอายุของเกษตรกรหรือ Smart Farmer เพื่อใหสํานักงาน กศน.จงั หวัดลําปาง ใชเปนขอมูลในการยกระดับ การศึกษาของประชากรวัยแรงงานและเกษตรกรใหสูงขึ้น ทุกหนวยบูรณาการทํางานรวมกันเปนภาพรวมของ จังหวัด ซึ่งเห็นควรบรรจุในยุทธศาสตรของสํานักงานศึกษาธิการจังหวัดลําปาง ในปจจุบันตองเปนการเกษตร นวัตกรรม ดานการเกษตรของประเทศญ่ีปุนกาวหนามาก ใชนวัตกรรมในการขายสินคาทางการเกษตร เราตอง ผนกึ กาํ ลังในการยกระดับกอน ซึ่งตองมกี ารสํารวจขอ มูล แลวทางสํานกั งาน กศน.จงั หวัดลําปาง จึงจะสามารถเขา ไปดาํ เนนิ การ นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : รวมถึง ผูสูงอายุ และปราชญชาวบานน้ันเปนสว นสําคัญอยางมาก เพราะมีองคความรูในเร่อื งตางๆ ดังนั้นใหสํานักงาน เกษตรจงั หวดั ลาํ ปางรวบรวมขอมลู ทางดา นการเกษตร อาทิ หนวยงานท่เี กี่ยวของ เรอื่ งเก่ียวกับ Smart Farmer น้าํ ดิน วถิ ีชวี ติ ผูส งู อายุ ปราชญชาวบา น

- ๑๖ – สํานักงานพัฒนาสงั คมและความม่ันคงของมนุษยจังหวัดลําปางที่ดําเนินการในเร่ืองผูสูงอายุขอใหบูรณา การการดาํ เนินงานรว มกบั หนว ยงานอ่ืน สํานักงานเกษตรจังหวัดลําปางขอใหนําขอเสนอแนะของทานเรวัฒนไป ดําเนนิ การ ขอใหทกุ หนวยบรู ณาการทาํ งานรวมกนั หากเรารวมกนั ดาํ เนินการงบประมาณอาจเพยี งพอ เชน การ ดําเนินการเกี่ยวกับผูสูงอายุ ท้ังสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถ่ินจังหวัด สํานกั งานพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษยจังหวัดลําปางอาจมีงบประมาณสําหรับโครงการน้ี สํานักงานแรงงานจังหวัดลําปางรว มพัฒนา แรงงานฝมอื คุณภาพ (Super Worker) สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางและหนวยงานที่เกี่ยวของตองรวมมอื กัน ดําเนินงาน จังหวัดลําปางมีการจัดตั้งโรงเรียนผูสูงอายุ (อยูในเรือนจํา) ซึ่งมีแหงเดียวในประเทศไทย เราจะมี วธิ ีการอยา งไรในการดงึ ความรคู วามสามารถของผูสงู อายุออกมา เม่ือพนโทษสามารถประกอบอาชีพเพื่อเลี้ยงชีพ ตนเองและครอบครวั ได นายโกมล ภทั รฤทธิกุล ผทู รงคณุ วฒุ ดิ า นสาธารณสุข : นักศึกษา กศน. เกษตรกร ผสู งู อายุ ควรตองมีการ เก็บขอมูลวากลุมใดตองการความรูในเรื่องใด ไดทราบขอมูลของเกษตรกรคนหน่ึงที่ไปทํางานในตางประเทศได พัฒนา Application เก่ยี วกับการเกษตรท้ังดานการเพาะปลูก วิธีการเพิ่มผลผลิต สภาพภูมิอากาศ ดังน้ันควรมี การพัฒนา Application สําหรับเกษตรกร ผูสูงอายุ เด็กท่ีพิการ เน่ืองดวยจะมีผูเรียนท่ีน่ังเรียนในหองเรียนลด นอยลง การตดิ ตามผเู รยี นมาพบกลุมคอ นขา งลาํ บาก นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ขอความ รว มมอื นายแพทยโ กมล จดั ทาํ โครงการเพิม่ ระดบั เชาวนปญ ญา (Intelligence Quotient : IQ) ใหเดก็ ไดหรอื ไม นายโกมล ภทั รฤทธกิ ลุ ผทู รงคณุ วฒุ ดิ านสาธารณสุข : เรอ่ื งการเพม่ิ ระดับเชาวนปญญา : IQ น้ันทางกรม สุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุขไดดําเนินการอยูแลว ซ่ึงประกอบดวยโรคขาดสารไอโอดีนและโลหิตจาง ใน เด็ก ซงึ่ เด็กในชวง ๔ ปแรกจะรบั IQ ไดมากทสี่ ุด ในปจจุบันมีปจจัยอื่นมาเกี่ยวของ อาทิ เดก็ รบั ประทานขนม หวานมาก รับประทานอาหารนอย เจ็บปวยบอ ย ดงั ทีไ่ ดก ลาววา การมีความรูสามารถชวยได เชนเร่ืองปญ หาไฟปา ภาวะซบเซาของการทองเท่ยี ว ปญ หาสขุ ภาพ หากมีการพัฒนา Application เพอื่ สรางการรับรูและยกระดบั การ เรียนรไู ด เชน ปญ หาไฟปา ตองเนนการแกไขที่คนจุดไฟมิใชการดบั ไป นายสรุ พล บรุ นิ ทราพนั ธ รองผวู าราชการจังหวดั ลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : การศึกษา คือ สิ่งทจ่ี ะพฒั นาคนไดดีทส่ี ดุ เม่ือคร้งั ปฏิบัติหนาท่ีนายอําเภอเถิน ไดดําเนนิ การพัฒนาเด็กในครรภ จากผลการวิจัย ของสหรัฐอเมรกิ า ในขณะท่แี มต ้งั ครรภพูดคุยกบั เด็กในทองมีการสงั่ สอนน้ัน เด็กรบั รูแตไมสามารถพูดได เมื่อเด็ก คลอดตองคอยอบรมสั่งสอนในเรื่องที่ดีระดบั เชาวนปญญา : IQ ของเด็กที่ออกมาจากครรภมารดาจะมีระดับสูง กวาปกติ เพราะเด็กทีไ่ ดร บั การสื่อสารจากมารดาสงผลใหเดก็ ไดมีการใชค วามคดิ ตงั้ แตอ ยูในทองจะรูจักผิดชอบชว่ั ดีกวาเด็กทคี่ ลอดออกมาเล้ียงดูตามธรรมชาติ เราจึงตองจัดทําโครงการเพ่ือพัฒนาระดบั เชาวนปญญา : IQ ของ เดก็ นายโกมล ภทั รฤทธิกลุ ผูท รงคณุ วฒุ ดิ านสาธารณสุข : ปญหาคณุ แมวัยใสนับเปนปญหาในลําดับตนของ ประเทศไทยเชนกัน มีหลายปจจัยทเ่ี กยี่ วของ

- ๑๗ – นายสรุ พล บุรินทราพันธ รองผูวา ราชการจงั หวัดลําปาง แทนผวู าราชการจังหวัดลําปาง : เปรียบเสมือน เครือ่ งซกั ผาชนดิ เดียวกัน เมื่อผาท่ีนาํ มาซักแตกตางกนั หากผาเนื้อดีไมเปนไรแตห ากเปน ผา เนือ้ ไมดีมกั เปอ ยยุย นางกรพินธุ วงศเจริญ พัฒนาสงั คมและความมั่นคงของมนุษยจังหวัดลําปาง : ทําอยางไรจึงทราบวาผู มาใชบรกิ ารสงเสรมิ การอาน มาใชบริการอานซ้าํ หรือไม เชน เกบ็ ขอมูลโดยใชบ ตั รสะสมแตมของจุดบริการรถอาน ฉัน และมีการใหรางวลั กับผูใ ชบริการอยางตอ เน่อื ง ซ่ึงอาจมอบรางวัลเปน หนังสือ ๑ เลม นายภัทรพงศ เถายศ นักวชิ าการศึกษาชํานาญการ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (แทน) นายก องคการบริหารสว นจังหวัดลาํ ปาง : องคการบริหารสวนจังหวัดลําปาง มีการบริหารจัดการสถานศึกษาในสังกัด องคกรปกครองสว นทองถิ่น จึงมิอาจจัดสรรงบประมาณใหทางสํานกั งาน กศน.จังหวัดลําปางไดโดยตรงเกี่ยวกับ การจัดการศึกษา แตหากสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง ตองการใหองคการบริหารสว นจังหวัดลําปางชวยเหลือ หรือรวมดําเนินการในเร่ืองใด เชน การศึกษาตามอัธยาศัย การฝกอบรมสอนอาชีพระยะส้ัน สามารถจัดทํา โครงการเพอ่ื ขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณได นายสุรพล บรุ ินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : องคการ บริหารสวนจังหวดั ลําปาง ยนิ ดีชว ยเหลอื ทกุ กจิ กรรมที่จะดําเนนิ การใชหรอื ไม นายเรวัฒน สุธรรม ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา : กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั เปนบทบาทและหนา ทโี่ ดยตรงขององคก ารบรหิ ารสว นจงั หวัดลําปาง นายภัทรพงศ เถายศ นักวชิ าการศึกษาชํานาญการ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (แทน) นายก องคการบริหารสวนจังหวัดลําปาง : สํานักงานการตรวจเงินแผนดนิ (สตง.) เคยชี้แจงการดําเนินงานและการใช งบประมาณ บางอยางแมเปนหนาท่ีแตขาดอํานาจดําเนินการ บางอยางไมสามารถกระทําได ตองใหหนวยงานให อาํ นาจกอ น นายภทั รพงศ เถายศ นกั วชิ าการศกึ ษาชํานาญการ กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (แทน) นายก องคการบริหารสวนจงั หวดั ลาํ ปาง : มีขอทวงติงจากสํานกั งานการตรวจเงินแผน ดิน (สตง.) การเทศนมหาชาติ เปน ประเพณีของชาติ หนว ยงานไมตอ งดําเนนิ การ บุคคลควรทาํ ดว ยตนเอง นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ใน ปงบประมาณหนาขอใหตัง้ งบประมาณในการจดั งานบญุ ต้งั ธรรมหลวงเวยี งละกอน (เทศนมหาชาติ) ทุกหนวยงาน เรามาชวยกันดาํ เนินการ การศกึ ษานน้ั มีความสาํ คัญยิ่ง นางจารุณี เขมะรังสี แรงงานจังหวัดลําปาง : อยากทราบวาผูรับบริการอยูในชวงวยั ใด มีการสงตอ ขอมลู ผูจบการศึกษาหรือไม หากมีการเช่ือมโยงขอมูลระหวางกันสํานักงานจัดหางานจังหวัดลําปางสามารถแจง ตําแหนงงานวา ง หรือหางานท่เี หมาะสม ซ่ึงเปนหลักประกันใหผูที่เขามาศึกษามั่นใจวามาเรียนแลวมีอาชีพมีงาน ทํา อาจสงผลใหมีจํานวนนักศึกษาเพ่ิมขึ้นได สวนการดําเนินงานในดานการเกษตรน้ันมีหลายหนวยงาน ดําเนินการเชนกัน ควรเชื่อมโยงขอมูลบูรณาการรวมกัน ผูท่ีทํางานในโรงงาน/สถานประกอบการอาจมีความ ตอ งการในการเพิ่มวุฒกิ ารศกึ ษา สามารถเรยี นออนไลนไ ดหรอื ไม

- ๑๘ – นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สาํ นักงาน กศน.จังหวัดลาํ ปาง : อายุของผูเรยี น กศน. ต้ังแต ๑๕ ป บริบูรณ จนถงึ ๖๐ ป จัดการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ท้งั ระดับประถม ระดับมัธยมศึกษาตอนตน ระดับมัธยมศกึ ษาตอน ปลาย หากเดก็ นักเรียนทอ่ี ายไุ มถ ึง ๑๕ ปบรบิ รู ณไมส ามารถเรยี นในโรงเรยี นสังกัดสาํ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาได นั้น ทางสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสามารถสงตัวเด็กใหเรียนกับทาง กศน. สวนในสถานประกอบการทาง สํานักงาน กศน. มีการศึกษาทางไกล ซ่ึงจัดการเรียนการสอนผานสื่อดิจิทัล เดี๋ยวจะประสานกันซึ่งเรามี สถาบันการศึกษาทางไกล สามารถเรยี นไปดวยทาํ งานไปดว ยได นายเรวัฒน สุธรรม ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา : สํานักงาน กศน. จังหวัดลําปาง มีการจัดการศึกษา นอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ในเรอื นจาํ ทัณฑสถาน คายทหาร นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผวู า ราชการจังหวัดลําปาง แทนผวู า ราชการจงั หวดั ลําปาง : ตองบูรณาการ รว มกัน เพราะทาง กศน. ไดดาํ เนินการอยู ซง่ึ การประชมุ ในวันนี้เพราะมารว มกันแกไขปญ หา นางจารุณี เขมะรังสี แรงงานจังหวดั ลาํ ปาง : จาํ นวนนักศึกษาลดลงควรดใี จ นายสุรพล บุรนิ ทราพันธ รองผูวา ราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : นายอําเภอ หลายทา นจบการศึกษาจาก กศน. นายโกมล ภทั รฤทธิกลุ ผูทรงคุณวุฒดิ านสาธารณสขุ : เม่ือกลาวถึงเรอ่ื งแรงงาน ในแตละปทาง กศน. มี การจัดกจิ กรรมพัฒนาอาชพี คอนขา งมาก นอกจากฝกอบรมครบตามจํานวนเปาหมายแลวขอใหคาํ นึงถึงการมีงาน ทํา มีรายไดเ พิม่ หลังเขา รบั การฝกอบรม นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวาราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวัดลําปาง : ควรเชิญ สํานักงานจดั หางานจงั หวัดลาํ ปาง รวมใหขอเสนอแนะในการไปทาํ งานตา งประเทศ (เกาหลี ญ่ปี ุน ) นางจารุณี เขมะรังสี แรงงานจังหวัดลําปาง : ขอฝากประชาสัมพันธ กรมการจัดหางาน กระทรวง แรงงาน เปด รบั สมัครทดสอบภาษาเกาหลแี ละทักษะการทาํ งาน (Point System) คร้ังที่ ๗ เพ่ือไปทาํ งานประเทศ เกาหลีใตใ นกิจการอตุ สาหกรรมการผลติ เกษตร/ปศสุ ัตว และกิจการกอ สราง ระหวางวันท่ี ๗-๙ มิถุนายน ๒๕๖๒ ผูสนใจยืน่ ใบสมคั รดวยตนเอง ณ หอประชมุ ศาลากลางจงั หวัด ลําปาง นายคเชนทร มะโนใจ ผูอํานวยการ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง : สํานักงาน กศน.จังหวัดลาํ ปาง จะ ดําเนินการประสานกับสาํ นกั งานจัดหางานจังหวัดลําปาง ในเรอื่ งตลาดแรงงาน สวนเรอื่ งการจัดกิจกรรมพัฒนา อาชีพไดเนนย้ํากบั ผูอํานวยการ กศน.อําเภอ ในการเปดหลักสูตรอาชีพท่เี ปนความตอ งการของชุมชนโดยสัมพันธ กับทรพั ยากรท่ีมีในชมุ ชน ซี่งอาจเปน ลักษณะของการตอ ยอดอาชพี และมตี ลาดจาํ หนา ยสินคารองรับ นายเรวฒั น สุธรรม ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา : ทาง กศน. ควรมีสวนรวมในการเขาไปสงเสริมการ เรยี นรใู หกับผทู ไ่ี มผ า นทดสอบภาษาเกาหลแี ละทกั ษะการทํางาน นางจารณุ ี เขมะรังสี แรงงานจงั หวัดลาํ ปาง : ผเู ขา ทดสอบตอ งทดสอบภาษาเกาหลีเปน ลําดบั แรก

- ๑๙ – นายเรวัฒน สธุ รรม ผูทรงคุณวุฒิดา นการศกึ ษา : ทางสาํ นกั งานแรงงานจังหวัดลําปางควรจัดกลุม ผูเขา ทดสอบภาษาเกาหลีและสถานที่ เพือ่ ใหทางสํานกั งาน กศน.จังหวดั ลาํ ปางไดเขา ไปสง เสรมิ การเรียนรู นางจารณุ ี เขมะรงั สี แรงงานจังหวัดลาํ ปาง : เคยไดมีการจัดกลุมสง เสริมใหความรูกบั ผูที่จะเขาทดสอบ ภาษาเกาหลีโดยไมคิดคาใชจาย ผลปรากฏวามีผูลงทะเบียนเขารวมนอย เน่ืองจากมีสถาบันสอนภาษา เปดรับ สมคั รทดสอบภาษาเกาหลีและทักษะการทํางาน (Point System) คร้ังท่ี ๗ เพื่อไปทํางานประเทศเกาหลีใตครง้ั น้ี จังหวดั ลาํ ปางเปนศนู ยรับสมคั รสอบ สว นการทดสอบนนั้ ทางบริษัทจากประเทศเกาหลีใตดาํ เนินการเอง นายโกมล ภัทรฤทธิกุล ผูทรงคุณวุฒดิ านสาธารณสุข : การจัดกิจกรรมใดๆ มักดําเนินการสอนในวัน จันทร-ศุกร ซ่ึงสวนใหญน้ันไมวางเขารวมกิจกรรม เชนพิพิธภัณฑท่ีจวนผูวาราชการหลังเกาปดทําการวันเสาร- อาทติ ย มติทป่ี ระชุม รบั ทราบ ระเบียบวาระท่ี ๕ อื่นๆ นายเรวัฒน สุธรรม ผูทรงคุณวุฒิดานการศึกษา : เรื่องที่ ๑ ไดรบั การประสานงานจากสวนกลางเรื่อง หองสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เล็งเห็นวาพื้นที่ในอําเภอแมเมาะมีความเหมาะสม และมีกองทุนพัฒนา ชุมชนในพื้นท่ีรอบโรงไฟฟา การกอสรางหองสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จะใชงบประมาณประมาณ ๑๐ ลานบาท เรือ่ งท่ี ๒ สมัชชาการศึกษาจังหวัดลาํ ปาง ไดขอรับการสนับสนุนงบประมาณในการดําเนินงานกับกลุม เด็กปฐมวัยท่ีไมมีโอกาสเรียน และกลุมตกหลนจากระบบโรงเรียน โดยจะดําเนินการจัดเก็บขอมูล และใหการ ชวยเหลือ สนบั สนนุ ใหเดก็ สามารถเรยี นตอได จดั สรา งกลไกการศกึ ษา เร่ืองท่ี ๓ เร่ืองการปลูกตนไมในจังหวัด ควรนําหลักภูมิปญญาของกะเหร่ียงที่อยูกับปาไมแหลงตนน้ํา ควรสงเสริมใหนักศึกษา กศน. ทุกคนปลูกตนไม เน่ืองจากเปนนโยบายของจังหวัดลําปาง เปนการอนุรักษ ธรรมชาติและรกั ษาสิ่งแวดลอม ซึ่งไดเคยเสนอความคิดเห็นในสภากาแฟใหหนวยงานราชการ วัด และสถานที่ ตางๆ ติดสปริงเกอร ไวบนหลังคาปลอยพนละอองน้ําใหชุมเย็น รวมกันเพิม่ ความชมุ ชน้ื ในอากาศ นายสุรพล บุรินทราพันธ รองผูวา ราชการจังหวัดลําปาง แทนผูวาราชการจังหวดั ลําปาง : ประชากรใน จงั หวัดลาํ ปางรวมกันปลูกตนไมท ุกคน สามารถปลกู แทนกันได ขณะน้ีติดปญหาผลิตกลาไมไ มทัน เนื่องดว ยกลา ไม ท่ีเหมาะสมกับการปลูกตองสูง ๑ เมตร ซ่ึงทานผูวาราชการจังหวัดลําปางไดมอบนโยบายโครงการ “ลําปางเย็น สบายเขียวสวยดวยมือเรา” โดยมีวตั ถุประสงคเพื่อฟนฟูสภาพปา เพ่ิมพ้ืนท่ีปา สงเสริมการปลูกไมยืนตน ไมมคี า ไมเ ศรษฐกิจ ไมผ ล ไมด อก สรา งความตระหนักถึงคณุ คาของปาไม การอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม ตามแนวคิด “ปลูกปาในใจคน” เนนปลูกควบคูกับการดูแลรักษา ๑ คน ๑ ตน ขยายผลครอบคลุมทุกพื้นท่ี เปา หมาย ๗๔๑,๐๐๐ ตน ดําเนินการระยะแรกระหวางป ๒๕๖๒-๒๕๖๓ การปลูกตนไทรกับตนโพธิ์ ไมมีใครตดั ประเทศญปี่ ุนสง เสรมิ การปลูกตนไมและใหดแู ลจนกวา ตน ไมน้ันสามารถเจริญเตบิ โตหากตน ไมตายใหปลูกใหม

- ๒๐ – นายจําลอง คําบญุ ชู ผูทรงคุณวุฒิดานวิจัยและประเมนิ ผล : ช่ือหมบู านในจังหวัดลําปางสว นใหญน้ันต้งั ช่อื เปน ช่อื ของตนไม หากหมูบา นใดมีชื่อตน ไมใดควรปลกู ตนไมชนิดนนั้ ดังนั้นในองคกรปกครองสวนทองถ่ินควร จัดทําโครงการปลูกตน ไมท่ีเปนช่ือในพ้ืนที่ต้ัง และครู กศน. ควรชวยรณรงคปลูกตน ไมในตําบล ชุมชน หมูบานใน พ้ืนท่ีรับผิดชอบ องคการปกครองสวนทองถ่ินดําเนินการในสวนของการระดมทุนในการจัดหาตนไม ทาง กศน. ดาํ เนนิ การรวบรวมชื่อตน ไมในตาํ บล ชุมชน หมบู านในพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบ นางนวลศรี พรหมไชยวงศ ผูทรงคุณวุฒิดานเศรษฐกิจ : การปลูกตนไมในปาน้ัน เปนการปลูกท้ิงไวข าด การดแู ล ควรปลกู ในท่ที สี่ ามารถดแู ลรกั ษาไดงา ย นายบุญเติม ปงวงค ผูทรงคณุ วุฒิดานภูมิปญญาทองถิ่น : การปลกู ตนไมนั้นไมควรใชร ถแทรกเตอรไ ถ ท่ีดนิ เพอ่ื ปลกู ตน ไมใหม ซง่ึ เห็นวา ตนไมทข่ี ึน้ ตามธรรมชาติน้นั มีเปนทนุ หากจะปลูกควรจะปลูกทดแทนตนอ่ืนหรือ ปลกู เสริมตรงทีว่ าง ทผี่ านมา กศน.อําเภอสบปราบรวมกับชุมชนไดจัดทําโครงการพัฒนาวัดรา ง โดยการปลูกตน โพธิ์และตนไทร จํานวน ๕๐ ตน ขอสนบั สนุนขอเสนอแนะในการปลูกตนไมตามช่ือหมูบาน ชมุ ชน ตําบล เชน หมูบานปาแหนง คือ ตนแหนง เปนพืชสมุนไพร มีกล่ินหอม เปนสวนประกอบในการผลิตยาหอมบํารุงหัวใจ ขณะนที้ ่ีอําเภอสบปราบอยรู ะหวา งการเสนอทานผูวา ราชการตั้งศนู ยสุขภาพของจงั หวัดลําปาง จะรวบรวมพันธุไม สมุนไพรท่ีหายาก เชน ฮอสะพายควาย (กําลังชางสาร) สรรพคุณแกปวดหลงั ซึ่งขณะนี้ไดร ับการแตงต้ังเปนอุป นายก คนที่ ๑ ของสมาคมเครือขายคนรกั ษส่ิงแวดลอ มลําปาง และควรอนรุ ักษแ ละสงเสรมิ การปลกู ตน ขะจาว ซึ่ง เปนตนไมประจาํ จังหวดั ลาํ ปาง นายสุรพล บุรนิ ทราพันธ รองผวู า ราชการจงั หวัดลาํ ปาง แทนผวู าราชการจังหวดั ลําปาง : ขอขอบคุณใน ขอเสนอแนะของทุกทาน ในเร่ืองการปลูกปานั้นจังหวัดลําปางจะนําไปปฏิบัติ ท่ีไหนมีปาไมที่นั่นมีน้ํา “น้ําคือ ชีวิต” ดังพระราชดํารัสพระราชทานแกผอู ํานวยการสํานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาํ รแิ ละคณะ ณ สวนจิตรลดา เมือ่ วันที่ ๑๗ มนี าคม ๒๕๒๙ ตอนหน่ึงวา \"หลักสําคญั วาตอง มีนาํ้ บรโิ ภค น้ําใช น้ําเพอื่ การเพาะปลูกเพราะวาชวี ติ อยทู ่นี นั่ ถามีน้ําคนอยูได ถาไมมีนํ้าคนอยูไมได ไมม ีไฟฟาคน อยูได แตถามีไฟฟาไมมีน้ําคนอยูไมได\" เม่ือครั้งปฏิบัติหนาท่ีที่จังหวัดเชียงใหมไดคุยกับเจาหนาท่ีจากศูนย ปฏบิ ตั กิ ารฝนหลวง ไดท ราบมาวา ฝนทต่ี กนน้ั จะตกในพนื้ ท่ชี ุม นา้ํ พระราชจินดานายก (คาํ อาย สิริธมฺโม) ผูทรงคุณวุฒิดานศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม : พระสัมมา สัมโพธิญาณ ตรสั รูเ ปน องคส มเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา ณ ใตร ม โพธิ์พฤกษ และผูปฏิบัติธรรม ตางเห็นตน ไมท ุก ตนมีเทวดารักษา ตามความเชื่อโบราณการจะตัดตนไมใ หญนั้น ตองบอกกลาวเทวดาท้ังหลาย ตอ งนับถือผี เชน ผีเส้ือวัด (ผเี ส้ือ คือผีท่ีดูแลในอาณาเขตพ้ืนที่) ตองขอใหเขาดูแลรกั ษา ภูมปิ ญญาชาวบานเปนสิ่งทีส่ ําคญั บรรพ บุรุษผูลวงลับอยาไดท้ิงขวาง ควรทําบุญกรวดน้ําอุทิศสวนบุญสวนกุศล เถากระดูกนั้นไมควรนําไปทิ้งน้ํา วิญญาณตกอยูในน้ําจะมีความทุกขจะนึกถึงลูกหลาน ควรนําไปฝงดิน ใตโคนตนไม การลอยอังคารเถาถานที่ เหลือจากการเผาศพไปลอยในแมน้ําก็คือ ขี้เถา ดังน้ันอังคารมใิ ชกระดูก อังคารคือเถาถาน กระดูกคืออัฐิ ดงั นั้น กระดูกของบรรพบรุ ษุ ตองเกบ็ ใหดี หากไมม ีที่ฝง อฐั สิ ามารถนาํ ไปฝง ไดท ใี่ ตตน ไมของวัดพระเจดยี ซาวหลงั



1 การดาํ เนนิ งานตามขอ เสนอแนะ ของคณะกรรมการสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวดั ลาํ ปาง จากการประชมุ คร้งั ที่ 1/2562 (เมื่อวนั ท่ี 6 มิถนุ ายน 2562) 1. การจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพื้นฐาน 2. การจดั การศึกษาตอ เน่ือง 3. การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย โดยมรี ายละเอียดผลการดําเนนิ งานตามขอ เสนอแนะ ดงั นี้ 1. เรือ่ ง การจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน 1.1 การบูรณาการดําเนินงานรวมกนั ของทกุ ภาคสวน เปนภาพรวมของจังหวัด มีการจัดเกบ็ ขอ มูลผลการดาํ เนนิ งานเชิงปริมาณและเชงิ คณุ ภาพ การขอรับการสนบั สนนุ งบประมาณ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง ไดส งเสริมใหสถานศึกษาในสังกัด ดําเนนิ การจัดการศึกษานอกระบบ ระดบั การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน โดยบูรณาการทํางานรวมกับหนวยงานภาคีเครือขาย มีการจัดทําแผนปฏิบัติการ ของ สํานักงาน กศน.จังหวัด กศน.อําเภอ กศน.ตําบล รายบุคคล และรายงาน/การตรวจสอบ ขอมูลผลการ ดําเนินงานเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพระดับจังหวัด อําเภอ ตําบล รายบุคคล ตอตนสังกัด ผานระบบ ฐานขอ มลู เพ่ือการบริหารจดั การ สาํ นักงาน กศน. (DMIS) http://dmis.nfe.go.th/dmis/

2 1.2 การวเิ คราะหผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติดา นการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) แลว นาํ ผลการวเิ คราะหทีไ่ ดม าดําเนินงานจัดการศกึ ษา เนน ในเรื่องสาระความรขู องเน้ือหาวชิ า ทส่ี ําคัญ หากนักศึกษามีผลการเรียนทลี่ ดต่ําลง ครูตอ งเปลย่ี นเทคนิคการสอน ผลการดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง ไดสงเสริมใหสถานศึกษาในสังกัด มีการนําผลการทดสอบ การศึกษาระดับชาติดานการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ภาพรวมของสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน กศน.จงั หวัดลําปาง ซ่ึงเปนคะแนนเฉลี่ยในระดับจังหวัด โดยใชคา เฉล่ียของคะแนนท่ีนกั ศกึ ษาสอบไดในระดับ ประถมศกึ ษา ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เฉลี่ยทุกหมวดวิชา 5 สาระ จากผลการ ทดสอบท่จี ัดสอบปละ 2 ครงั้ จํานวน 3 ปงบประมาณ ดงั น้ี ปง บประมาณ 2563 ใชผ ลการสอบครั้งท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2562 และครง้ั ที่ 1 ปการศึกษา 2563 ปง บประมาณ 2562 ใชผ ลการสอบครัง้ ท่ี 2 ปการศกึ ษา 2561 และครง้ั ที่ 1 ปก ารศกึ ษา 2562 ปง บประมาณ 2561 ใชผ ลการสอบครงั้ ท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2560 และครั้งท่ี 1 ปการศกึ ษา 2561 ผลคะแนนเฉลี่ยปงบประมาณ 2563 เปรียบเทียบ ปงบประมาณ 2562 และปงบประมาณ 2561 พบวา ระดบั ประถมศกึ ษา เทียบกับป 2562 มีคะแนนเฉล่ีย เพ่ิมขึ้น 1.00 และเทียบกับป 2561 มคี ะแนน เฉล่ยี ลดลง 0.74

3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน เทียบกับป 2562 มคี ะแนนเฉล่ีย เพิ่มขึ้น 0.84 และเทียบกับป 2561 มี คะแนนเฉลี่ยเพม่ิ ขนึ้ 0.17 ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย เทียบกับป 2562 มีคะแนนเฉล่ีย ลดลง 0.53 และเทียบกับป 2561 มี คะแนนเฉล่ยี ลดลง 1.25 คาเฉลี่ยรวมทุกระดบั เทียบกับป 2562 มีคะแนนเฉลยี่ เพิม่ ขึน้ 0.44 และเทียบกับป 2561 มีคะแนน เฉล่ยี ลดลง 0.60 ผลการเปรียบเทียบกบั คะแนนเฉลย่ี การทดสอบN-NET ระดบั จังหวัด : ระดับภูมิภาค : ระดับประเทศ (ครัง้ ท่ี 2 ปการศึกษา 2562) สาระวชิ า ประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษาตอนตน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย คะแนน การวิเคราะห คะแนน การวเิ คราะห คะแนน การวิเคราะห ทกั ษะการเรยี นรู 40.79 สงู กวา ระดบั ภาค 36.71 สงู กวา ระดบั ประเทศ 32.34 สูงกวา ระดบั ภาคและ ต่าํ กวาระดบั ประเทศ ต่ํากวาระดบั ภาค ระดับประเทศ ความรูพ ้ืนฐาน 31.40 ต่ํากวาระดบั ภาค 34.45 ต่ํากวาระดบั ภาคและ 29.70 ต่ํากวา ระดับภาคและ และระดบั ประเทศ ระดับประเทศ ระดับประเทศ การประกอบอาชพี 42.03 สูงกวาระดบั ภาค 43.35 สงู กวา ระดบั ภาคและ 44.25 สงู กวาระดบั ประเทศ และระดบั ประเทศ ระดับประเทศ ต่ํากวาระดบั ภาค การดําเนินชีวิต 42.99 ต่าํ กวาระดบั ภาค 44.73 สงู กวาระดบั ประเทศ 38.10 สงู กวา ระดบั ประเทศ และระดบั ประเทศ ต่ํากวาระดับภาค ต่าํ กวาระดับภาค การพฒั นาสังคม 42.82 สูงกวา ระดบั ภาค 43.07 สงู กวา ระดบั ภาคและ 31.65 สูงกวาระดบั ประเทศ ต่าํ กวาระดบั ประเทศ ระดับประเทศ ต่ํากวาระดบั ภาค เฉลี่ย 40.01 ต่าํ กวาระดบั ภาค 40.46 สูงกวาระดบั ประเทศ 35.21 สงู กวาระดบั ประเทศ และระดบั ประเทศ ต่ํากวา ระดับภาค ต่าํ กวาระดับภาค คะแนนเฉล่ียระดบั จงั หวัด สงู กวา ระดับภาคและระดับประเทศ คะแนนเฉลย่ี ระดบั จังหวดั สงู กวา ระดบั ภาค ต่าํ กวา ระดับประเทศ คะแนนเฉลีย่ ระดบั จงั หวดั สูงกวา ระดับประเทศ ตาํ่ กวาระดบั ภาค คะแนนเฉล่ยี ระดับจังหวดั ตา่ํ กวาระดบั ภาคและระดับประเทศ สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง และสถานศึกษาในสังกัดทั้ง 13 แหง ไดดําเนินการสรางบทเรียน แบบทดสอบออนไลน ดําเนินโครงการติวเขมเติมเต็มความรใู หกับผูเรียนในทุกภาคเรียน เพื่อเปนการเตรยี ม ความพรอมใหผูเรยี นในการทดสอบการศึกษาระดับชาติ ดานการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) โดยการ สอนเสริมความรูในรายวิชาท่ีมีผลคะแนนสูง และเปนจุดแข็ง เปนการเพ่ิมการเรียนรูใหกับผูเรียนมากย่ิงขึ้น เพื่อยกผลการสอบใหมีคาเฉล่ียที่สูงกวาระดับภาคและระดับประเทศ และดําเนินการจัดกิจกรรมพัฒนา คณุ ภาพผูเ รียนดา นการพัฒนาวิชาการ อาทิ 1) การจดั ทาํ แผนการเรยี นรรู ายบุคคลเพื่อนําขอมูลจากผูเรียนและสามารถนําวางแผนการเรียนการ สอนไดอ ยางเหมาะสม การจัดทําแผนการเรียนรูในการสอนเสริมใหกับนักศกึ ษาท่ีคาดวาจะจบในแตละภาค เรียนในสาระวชิ าความรพู ้ืนฐาน (วิทยาศาสตร คณติ ศาสตร ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ) และวิชาทน่ี กั ศึกษามีผล

4 การสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่ํากวาเกณฑ เพื่อใหมงุ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน และมคี ะแนนเฉลีย่ ของผลการทดสอบ การศกึ ษาระดับชาติ ดา นการศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น (N-NET) ใหสงู ข้ึน 2) พัฒนาวธิ ีการจัดการเรียนรูและส่ือประกอบการเรียน สงเสริมใหครูใชส่ือโทรทศั นเพื่อการศึกษา ในการจัดการเรียนการสอน โดยการใหนักศึกษารับชมรายการติวเขมเตมิ เต็มความรู ทางสถานโี ทรทัศนเพื่อ การศึกษา (ETV ) โดยกาํ ชบั ใหนักศึกษา กศน. ทบทวนเนื้อหาของวิชาเรียนกอนการสอบการประเมินคณุ ภาพ การศึกษานอกระบบระดับชาติ (N-NET) 3) จัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนดานการพัฒนาวิชาการ โดยการจัดคายวิชาการพัฒนาการ เรยี นรใู หก ับผูเ รียน 4) จัดสอบดวยระบบอิเล็กทรอนิกส (E-Exam) เพื่อรองรับการประเมินคุณภาพการศึกษานอก ระบบระดบั ชาติ (N-NET) หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กับ นักศึกษา กศน. ท่ีพลาดและขาดสอบการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ (N-NET) ของ สถาบันทดสอบทางการศึกษาแหงชาติ (องคการมหาชน) หรือ สทศ. ซ่ึงจังหวัดลําปาง มี กศน.อําเภอเมือง ลาํ ปาง เปน ศนู ยท ดสอบดวยระบบอิเลก็ ทรอนิกส สํานกั งาน กศน. (ศนู ยส อบ E-Exam เพ่ือ N-NET) 1.3 ควรใหครูมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรูกระบวนจดั การเรียนการสอนระหวา งกัน ผลการดําเนินงาน สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง และสถานศึกษาในสังกัด ไดดาํ เนินการพัฒนาครู กศน. และบุคลากรท่ี เก่ียวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและเรียนรู ในดานทกั ษะการจัดการเรียนการสอนออนไลน Google Classroom พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาโดยการขับเคลื่อนกระบวนการ “ชุมชนแหงการเรียนรูทาง วิชาชีพ” (PLC) สูสถานศึกษาเพื่อยกระดับคณุ ภาพการศึกษาสําหรับครู กศน. และดานการนิเทศภายในของ สถานศึกษาสังกัด

5 2. เรือ่ ง การจดั การศกึ ษาตอเนอื่ ง 2.1 กิจกรรมการจัดการศึกษาเพอื่ พัฒนาอาชีพ ผลการดําเนนิ งาน สาํ นกั งาน กศน.จงั หวัดลาํ ปาง ไดสง เสริมใหสถานศกึ ษาในสังกัด ดําเนนิ การจัดการศกึ ษาพฒั นาอาชีพ ใหกลมุ เปา หมายและประชาชนมรี ายไดแ ละมีงานทาํ อยางยั่งยนื เชงิ ปริมาณ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทผี่ านมามผี รู ับบริการ จํานวนทง้ั สน้ิ 15,615 คน มีผูจ บหลกั สูตร 15,575 คน คิดเปน รอยละ 99.74 ดังน้ี - กจิ กรรมการพฒั นาอาชีพ หลกั สูตรระยะสั้นไมเ กนิ 30 ชัว่ โมง มผี รู บั บริการ 10,742 คน มีผจู บหลักสตู ร 10,736 คน คิดเปน รอ ยละ 99.94 - กจิ กรรมวิชาชพี ชา งพื้นฐาน หลกั สูตร 31 ช่วั โมงข้ึนไป มผี รู บั บริการ 3,558 คน มผี ูจ บ หลกั สตู ร 3,526 คน คิดเปน รอยละ 99.10 - กิจกรรม 1 อาํ เภอ 1 อาชีพ มผี รู ับบรกิ าร 1,315 คน มผี ูจ บหลกั สูตร 1,313 คน คิดเปน รอย ละ 99.85 เชงิ คณุ ภาพ ผรู บั บริการไดร ับความรู มเี จตคติ และมีทกั ษะ ในอาชีพอาทิ หลักสูตรเกษตรธรรมชาติครบวงจร หลกั สตู รการเกษตรอินทรีย หลักสูตรสมุนไพรเพ่อื สุขภาพ หลักสูตรการเย็บกระเปาผาดนมือ หลักสูตรกระเปา หนังลายผาปกชนเผา หลักสูตรธุรกิจการทาํ ขนมไทย หลักสตู รการแปรรูปและการถนอมอาหาร หลักสูตรการ แปรรูปผลิตภัณฑจากเห็ด หลักสูตรการแปรรูปกลวย หลักสูตรการจัดดอกไมและการตกแตงสถานท่ี ตาม วัตถุประสงคของหลักสูตร ประกอบดวย ทักษะเกี่ยวกับการปฏิบัตงิ าน การใชเทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน การคิดแกปญ หา การส่ือสาร และทักษะเก่ียวกับความปลอดภัยในอาชีพ มีคุณลักษณะทีส่ ําคัญในเร่ืองความ ซื่อสัตยสุจริต ความคิดเชิงบวก ความมุงม่ันในการทํางาน การทํางานรวมกับผูอ่ืน การรักษาสิ่งแวดลอ ม และ การคํานงึ ถึงประโยชนสวนรวมมากกวาสวนตน การจัดกระบวนการเรียนรูเนนการปฏิบัติจริง และการเรียนรู จากวทิ ยากรหรอื ผรู ทู ป่ี ระกอบอาชีพนั้น ๆ ตามโครงการศนู ยฝ ก อาชีพชมุ ชนของสํานกั งาน กศน. 2.2 กจิ กรรมเพ่อื พัฒนาสังคมและชุมชน ผลการดาํ เนนิ งาน สํานกั งาน กศน.จังหวดั ลําปาง ไดสง เสริมใหส ถานศึกษาในสังกัด ดําเนินการจัดการศึกษาเพ่ือ พัฒนาสงั คมและชุมชน มหี ลกั สตู รระยะส้ันท่ีหลากหลาย เชงิ ปริมาณ มผี ูร ับบริการ จาํ นวน 6,426 คน มีผจู บหลักสูตร 6,426 คน คดิ เปน รอยละ 100 เชิงคุณภาพ ผูรับบริการไดร วมกลมุ เพือ่ แลกเปล่ียน เรียนรรู วมกัน สรางกระบวนการจิตสาธารณะ ชวยเหลือ ซึ่งกันและกันในการพัฒนาสังคมและชุมชนอยางย่ังยืน โดยยึด หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเปนแนว ปฏบิ ตั ิ ตลอดจนการเรียนรกู ารใชเทคโนโลยที ่เี หมาะสม โดยเนน การจัดการ เรียนรผู า นกจิ กรรม

6 3. เรอ่ื ง การจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย 3.1 กจิ กรรมสง เสรมิ การอาน ผลการดําเนนิ งาน สํานักงาน กศน.จังหวดั ลําปาง และสถานศึกษาในสงั กดั รว มสรา งเสริมนิสัยรกั การอาน และสรา งวนิ ัย ในการอานเพ่ือการเรยี นรูต ลอดชวี ิต และสรางเจตคตใิ หเห็นคณุ คา และประโยชนของการอาน 1. มีหองสมุดประชาชนจังหวัด จํานวน 1 แหง และหองสมุดประชาชนอําเภอ จํานวน 13 แหง เปนศูนยกลางการเรียนรู ศึกษา คนควา มีบรรยากาศที่เอ้ือตอการเรียนรู โดยผูรับบริการไดเรียนรูอยางมี ความสุข และมีคุณภาพ จัดนิทรรศการเพ่ือการศึกษา มีกิจกรรมสงเสริมการอานท่ีหลากหลาย ทั้งกิจกรรม สงเสริมการอานภายใน-ภายนอกหองสมุดประชาชน การเขาถึงชุมชนตางๆในลักษณะเคล่ือนท่ี ใน ปงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผูใชบริการสมัครเปนสมาชิกหองสมดุ ประชาชน จํานวน 171,827 คน มี ผูใชบริการหองสมุดประชาชน จํานวน 482,895 คน (จํานวนนับซํา้ ) มีผูเขารวมกิจกรรมทั้งภายในและ ภายนอกหองสมุดประชาชน จาํ นวน 321,992 คน 2. มี กศน.ตําบล จํานวน 100 แหง เปนศูนยการศึกษาตลอดชีวิตชุมชน เพื่อสงเสริมและสนับสนุน การจดั การศึกษาในระบบการศึกษา นอกระบบการศึกษา และการศกึ ษาตามอธั ยาศัย ใหมีคุณภาพทส่ี อดคลอง กบั นโยบายทางการศึกษา โดยยึดชุมชนเปน ฐานในการดาํ เนินงาน โดย กศน.ตาํ บลมบี ทบาทเปนผูประสานงาน และอาํ นวยความสะดวก 3. มีบานหนังสือชุมชน 577 แหง เพ่ือใหประชาชนในพื้นท่ี มีแหลงบริการการสงเสริมการอาน ท่ี สอดคลองกับความตองการของกลมุ เปาหมาย และจัดส่ือที่หลากหลายใหเหมาะสม ตรงกับความตองการของ ผูรับบริการ เพื่อใหผูรับบริการไดศึกษา คนควา สืบคน และเรียนรูอยางมีความสุขและมีคุณภาพ เพื่อพัฒนา คุณภาพชวี ติ ใหดีข้นึ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผรู ับบริการ จาํ นวน 90,706 คน 4. มหี องสมุดเคล่ือนทีส่ าํ หรับชาวตลาดตามพระราชดําริสมเด็จพระเทพฯ จาํ นวน 13 แหง เพ่ือให ชุมชนชาวตลาดไดมีหนงั สอื อา นเปนประจํา ชว ยสงเสรมิ การเรียนรูแ ละการอานของชาวตลาด ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผรู บั บริการ จาํ นวน 18,144 คน 5. มีอาสาสมัครสงเสริมการอาน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผูรับบริการ จํานวน 1,351 คน รวมกับครู กศน.ตําบล และบรรณารักษหองสมุดประชาชน รวมกันปลูกฝงการอานและสรางเจตคติใหชาว ลําปางเห็นคณุ คาและประโยชนของการอาน และมสี ว นสําคัญในการประชาสัมพันธสงเสริมใหทุกคน ทกุ ภาค สวนเขามามสี วนรวมในการสงเสริมการอา น 3.2 รถหองสมดุ เคล่ือนที่ ผลการดาํ เนนิ งาน มหี นว ยบรกิ ารเคลื่อนทส่ี ามารถออกใหบริการแกผรู ับบริการทีอ่ ยูหางไกลแหลงเรียนรู ใหไดรับการ สงเสริมการอาน เพ่ือพัฒนาการเรียนรูเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ไมตองเดินทางออกจากพ้ืนท่ี โดยมีรถโมบาย ใหบริการ จํานวน 1 คัน รถมินิโมบาย จํานวน 13 คัน ในปงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีผูรับบริการ จํานวน 11,590 คน

กรอบทศิ ทางการดําเนนิ งานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของ สาํ นกั งาน กศน.จังหวัดลําปาง ปรัชญา “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ ปรชั ญาคิดเปน” วิสยั ทัศน “คนลําปางไดรับโอกาสการศึกษาและการเรียนรูตลอดชีวิตอยางมีความสุขและมีคุณภาพ สามารถ ดํารงชีวิตท่ีเหมาะสมกับชวงวัย สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และมีทักษะที่จําเปนในโลก ศตวรรษที่ ๒๑” พนั ธกจิ ๑. จัดและสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ เพ่ือยกระดับการศึกษา พัฒนาทักษะการเรียนรูของประชาชนชาวลําปางทุกกลุมเปาหมายใหเหมาะสมทุกชวงวัย และพรอมรับการ เปลี่ยนแปลงบรบิ ททางสงั คม และสรางสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยา งมคี วามสขุ ๒. สงเสริม สนับสนุน และประสานภาคีเครือขาย ในการมีสว นรวมจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย และการเรียนรูตลอดชีวิต รวมท้ังการดําเนินกิจกรรมของศูนยการเรียนและแหลงการเรียนรูอ่ืนใน รปู แบบตางๆ ๓. สงเสริมและพัฒนาการนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใชใหเกิดประสิทธิภาพใน การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหก บั ประชาชนอยางทวั่ ถึง ๔. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู สื่อและนวัตกรรม การวัดและประเมินผลในทุก รูปแบบใหสอดคลอ งกับบริบทในปจ จุบนั ๕. พัฒนาบุคลากรและระบบการบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ เพื่อมุงจัดการศึกษาและการเรียนรูที่มี คุณภาพ โดยยึดหลักธรรมาภบิ าล เปา ประสงค ๑. ประชาชนชาวลําปางผูดอย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปไดรับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาตอเน่ือง และการศึกษาตาม อธั ยาศยั ทม่ี คี ณุ ภาพอยางเทาเทียมและทว่ั ถึง เปนไปตามสภาพ ปญหา และความตองการของแตละกลมุ เปาหมาย ๒. ประชาชนชาวลําปางไดรบั การยกระดับการศกึ ษา สรางเสริมและปลกู ฝงคุณธรรม จรยิ ธรรม และความ เปนพลเมือง อันนําไปสูการยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสรางความเขมแข็งใหชุมชน เพ่ือพัฒนาไปสูความม่ันคง และยัง่ ยืนทางดานเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม ประวัตศิ าสตร และสง่ิ แวดลอ ม ๓. ประชาชนชาวลาํ ปางไดรับโอกาสในการเรียนรู และมเี จตคติทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีท่ีเหมาะสม สามารถคดิ วเิ คราะห และประยกุ ตใชในชวี ิตประจาํ วัน รวมทัง้ แกป ญ หาและพัฒนาคุณภาพชีวิตไดอ ยา งสรา งสรรค ๔. ประชาชนชาวลาํ ปางไดร ับการสรา งและสงเสริมใหม นี สิ ัยรักการอานเพือ่ การแสวงหาความรดู วยตนเอง กรอบทิศทางการดําเนินงานประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จังหวัดลาํ ปาง หนา ๑

๕. ชุมชนและภาคีเครือขายทุกภาคสวนของจังหวัดลําปาง รวมจัด สงเสริม และสนับสนุนการดําเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั รวมทง้ั การขบั เคลื่อนกิจกรรมการเรียนรขู องชมุ ชน ๖. สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางและสถานศึกษาในสังกัดพัฒนา เทคโนโลยีทางการศึกษา เทคโนโลยี ดิจทิ ัล มาใชใ นการยกระดบั คณุ ภาพในการจัดการเรียนรูและเพม่ิ โอกาสการเรียนรูใหก บั ประชาชน ๗. สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางและสถานศึกษาในสังกัดพัฒนาส่ือและการจัดกระบวนการเรียนรู เพื่อ แกปญ หาและพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ทีต่ อบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบทดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตรและสงิ่ แวดลอม รวมท้งั ตามความตองการของประชาชนและชุมชนในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ๘. สํานักงาน กศน.จังหวัดลําปางและสถานศึกษาในสังกัดมีระบบการบริหารจัดการที่เปนไปตามหลักธรรมา ภบิ าล ๙. บคุ ลากรของสํานักงาน กศน.จังหวดั ลําปางและสถานศึกษาในสังกัดไดรับการพัฒนาเพือ่ เพ่ิมสมรรถนะ ในการปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อยา งมีประสทิ ธภิ าพ ตัวชีว้ ดั ความสําเร็จตามยุทธศาสตรและจดุ เนน ตัวช้วี ัดเชงิ ปรมิ าณ ๑. จาํ นวนผเู รียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาชั้นพ้ืนฐานท่ีไดรบั การสนับสนุนคา ใชจายตามสิทธิที่ กาํ หนดไว ๒. จํานวนของคนไทยกลมุ เปาหมายตาง ๆ ทเี่ ขารว มกิจกรรมการเรียนร/ู เขารบั บริการกิจกรรมการศึกษา ตอเน่ือง และการศึกษาตามอธั ยาศัยทีส่ อดคลอ งกบั สภาพ ปญ หา และความตองการ ๓. รอยละของกําลังแรงงานที่สาํ เรจ็ การศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนตน ขนึ้ ไป ๔. จํานวนภาคีเครือขายท่ีเขามามีสวนรวมในการจัด/พัฒนา/สงเสริมการศกึ ษา (ภาคีเครือขาย :สถาน ประกอบการ องคก ร หนวยงานทมี่ ารว มจดั /พฒั นา/สง เสริมการศกึ ษา) ๕. จํานวนประชาชน เดก็ และเยาวชนในพ้ืนท่ีสูง และชาวไทยมอแกน ไดร ับบรกิ ารการศึกษาตลอดชีวิต จากศูนยก ารเรียนชุมชนสังกัดสํานักงาน กศน. ๖. จาํ นวนผรู บั บรกิ ารในพนื้ ท่ีเปาหมายไดร บั การสง เสริมดา นการรหู นังสือและการพัฒนาทักษะชีวติ ๗. จาํ นวนนกั เรยี นนกั ศึกษาท่ไี ดรบั บรกิ ารตวิ เขม เต็มความรู ๘. จาํ นวนประชาชนท่ไี ดรบั การฝก อาชีพระยะส้ัน สามารถสรา งอาชีพเพอื่ สรา งรายได ๙. จํานวน ครู กศน. ตาํ บล ไดรับการพัฒนาศักยภาพดานการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพือ่ การ สอ่ื สาร ๑๐. จาํ นวนประชาชนทีไ่ ดร บั การฝก อบรมภาษาตางประเทศเพอ่ื การสอ่ื สารดานอาชพี ๑๑. จํานวนผูสูงอายภุ าวะพง่ึ พงิ ในระบบ Long Term Care มีผูดแู ลท่ีมคี ณุ ภาพและมาตรฐาน ๑๒. จาํ นวนประชาชนทผ่ี า นการอบรมจากศูนยดจิ ทิ ัลชมุ ชน ๑๓. จํานวนศนู ยก ารเรยี นชุมชน กศน. บนพ้นื ทส่ี ูง ที่สง เสรมิ การพัฒนาทกั ษะการฟง พดู ภาษาไทยเพ่ือการ สื่อสาร รวมกนั ในสถานศึกษาสงั กัด สพฐ. ตชด. และ กศน. ๑๔. จาํ นวนบคุ ลากร กศน. ตําบลท่สี ามารถจัดทําคลงั ความรูได ๑๕. จํานวนบทความเพอื่ การเรียนรตู ลอดชีวติ ในระดบั ตาํ บลในหัวขอตาง ๆ กรอบทิศทางการดําเนนิ งานประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นกั งาน กศน.จังหวัดลาํ ปาง หนา ๒

๑๖. จาํ นวนหลักสตู รและสื่อออนไลนท่ีใหบริการกบั ประชาชน ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้น พน้ื ฐาน การศึกษาตอเนอื่ ง และการศกึ ษาตามอัธยาศยั ตัวช้วี ัดเชงิ คุณภาพ ๑. รอยละของคะแนนเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ การศึกษานอกระบบ (N-NET) ทุก รายวชิ าทกุ ระดบั ๒. รอยละของผเู รยี นทไี่ ดรับการสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานเทียบกับคาเปา หมาย ๓. รอ ยละของประชาชนกลุมเปาหมายที่ลงทะเบยี นเรียนในทุกหลักสูตร/กิจกรรมการศึกษาตอเนื่องเทยี บ กับเปา หมาย ๔. รอ ยละของผูผานการฝกอบรม/พฒั นาทกั ษะอาชีพระยะสน้ั สามารถนําความรูไปใชในการประกอบอาชพี หรอื พัฒนางานได ๕. รอยละของผูเ รียนในเขตพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใตท่ีไดรบั การพัฒนาศักยภาพ หรือทักษะดานอาชีพ สามารถมงี านทําหรอื นาํ ไปประกอบอาชพี ได ๖. รอยละของผจู บหลักสตู ร/กิจกรรมที่สามารถนําความรูค วามเขาใจไปใชไ ดต ามจุดมุงหมายของหลักสูตร กิจกรรม การศกึ ษาตอเนอ่ื ง ๗. รอ ยละของประชาชนทไ่ี ดรบั บริการมีความพึงพอใจตอการบรกิ าร/เขารว มกิจกรรมการเรียนรกู ารศึกษา ตามอัธยาศัย ๘. รอ ยละของประชาชนกลุมเปา หมายท่ีไดร ับบริการ/เขา รว มกิจกรรมท่ีมีความรูความเขาใจ/เจตคติทกั ษะ ตามจุดมงุ หมายของกจิ กรรมที่กาํ หนดของการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๙. รอยละของนักเรียน/นักศึกษาท่ีมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนในวิชาท่ีไดรบั บริการตวิ เขมเต็มความรูเพ่ิม สงู ขึน้ ๑๐. รอ ยละของผูสงู อายุทีเ่ ปนกลมุ เปาหมาย มีโอกาสมาเขา รว มกจิ กรรมการศึกษาตลอดชวี ิต นโยบายเรงดว นเพ่อื รวมขับเคลือ่ นยุทธศาสตรก ารพัฒนาประเทศ ๑.ยุทธศาสตรดานความมันคง ๑.๑ พฒั นาและเสรมิ สรา งความจงรักภกั ดตี อ สถาบันหลักของชาติ โดยปลูกฝงและสรางความตระหนักรูถ ึง ความสําคัญของสถาบันหลักของชาติ รณรงคเสริมสรา งความรักและความภาคภูมิใจในความเปนคนไทยและชาติ ไทย นอ มนาํ และเผยแพรศ าสตรพระราชา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงรวมถึงแนวทางพระราชดาํ รติ าง ๆ ๑.๒ เสริมสรางความรูความเขาใจท่ีถูกตอง และการมีสวนรวมอยางถูกตองกับการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ทรงเปนประมุข ในบรบิ ทของไทย มีความเปน พลเมอื งดี ยอมรบั และเคารพความ หลากหลายทางความคดิ และอดุ มการณ ๑.๓ สงเสริมและสนับสนุนการจัดการศกึ ษาเพ่ือปองกันและแกไขปญหาภัยคุกคามในรูปแบบใหม ทั้งยา เสพตดิ การคา มนษุ ย ภยั จากไซเบอร ภัยพบิ ตั ิจากธรรมชาติ โรคอุบัติใหม ฯลฯ ๑.๔ ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษาและสรางเสริมโอกาสในการเขาถึงบริการการศกึ ษา การพฒั นาทกั ษะ การ สรางอาชีพ และการใชชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม ในเขตพัฒนาพิเศษเฉพาะกิจจังหวัดชายแดนภาคใต และพ้ืนที่ ชายแดนอ่นื ๆ กรอบทศิ ทางการดําเนินงานประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสํานักงาน กศน.จังหวดั ลําปาง หนา ๓

๑.๕ สรางความรู ความเขาใจในขนบธรรมเนยี ม ประเพณี วัฒนธรรมของประเทศเพ่ือนบานยอมรับและ เคารพในประเพณี วัฒนธรรมของกลุมชาติพันธุ และชาวตางชาติท่ีมีความหลากหลาย ในลักษณะพหุสังคมท่ีอยู รวมกัน ๒ ยทุ ธศาสตรด านการสรางความสามารถในการแขงขัน ๒.๑ เรงปรับหลักสูตรการจัดการศกึ ษาอาชีพ กศน. เพ่ือยกระดับทักษะดานอาชีพของประชาชนใหเปน อาชีพที่รองรับอุตสาหกรรมเปาหมายของประเทศ (First S - curve และ New S-curve) โดยบูรณาการความ รว มมอื ในการพัฒนาและเสริมทกั ษะใหมดานอาชีพ (Upskill & Reskill) รวมถึงมุงเนนสรา งโอกาสในการสรางงาน สรางรายได และตอบสนองตอความตองการของตลาดแรงงานท้ังภาคอุตสาหกรรมและการบริการ โดยการพัฒนา อาชพี ที่เนน การตอ ยอดศกั ยภาพและตามบริบทของพ้นื ที่ ๒.๓ พัฒนาและสง เสรมิ ประชาชนเพอื่ ตอยอดการผลิตและจาํ หนา ยสนิ คาและผลิตภัณฑออนไลน ๑) เรงจัดตั้งศูนยใหคําปรึกษาและพัฒนาผลิตภัณฑ Brand กศน. เพื่อยกระดับคณุ ภาพของสินคาและ ผลิตภัณฑ การบริหารจัดการที่ครบวงจร (การผลิต การตลาด การสงออก และสรางชองทางจําหนาย) รวมทั้ง สง เสริมการใชประโยชนจ ากเทคโนโลยีดิจทิ ัลในการเผยแพรแ ละจําหนายผลิตภัณฑ ๒) พัฒนาและคดั เลือกสุดยอดสินคาและผลิตภัณฑ กศน. ในจังหวัด พรอมท้ังประสานความรว มมือกับ สถานีบริการนํ้ามนั ในการเปน ซอ งทางการจําหนา ยสุดยอดสนิ คา และผลิตภัณฑ กศน. ใหก วางขวางย่ิงขึ้น ๓ ยุทธศาสตรการพัฒนาและเสริมสรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย ๓.๑ พัฒนาครแู ละบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการจัดกิจกรรมและการเรียนรู เปนผเู ชอื่ มโยงความรูกับผูเรยี น และผูรับบริการ มคี วามเปน \"ครมู อื อาชพี \" มจี ิตบริการ มีความรอบรูและทันตอการเปล่ียนแปลงของสังคมและเปน ผอู าํ นวยการการเรียนรู\" ท่สี ามารถบรหิ ารจดั การความรู กจิ กรรม และการเรยี นรทู ีด่ ี ๑) เพิม่ อัตราขาราชการครูใหก บั กศน. อําเภอทกุ แหง โดยเรง ดาํ เนนิ การเรื่องการหาอตั ราตําแหนงการสรร หา บรรจุ และแตงต้งั ขา ราชการครู ๒) พฒั นาขาราชการครใู นรปู แบบครบวงจร ตามหลักสูตรท่เี ช่ือมโยงกับวิทยฐานะ ๓) พัฒนาครู กศน.ตําบลใหสามารถปฏิบัติงานไดอ ยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนเรื่องการพัฒนาทักษะการ จัดการเรียนการสอนออนไลน ทกั ษะภาษาตางประเทศ ทักษะการจดั กระบวนการเรียนรู ๔) พัฒนาศึกษานเิ ทศก ใหสามารถปฏิบตั ิการนเิ ทศไดอยา งมีประสิทธิภาพ ๕) พัฒนาบุคลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทใหมีทักษะความรูเรื่องการใชประโยชนจากดิจิทัลและ ภาษาตางประเทศที่จําเปน ๓.๒ พัฒนาแหลงเรียนรูใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมที่เอ้ือตอการเรียนรู มีความพรอมในการ ใหบรกิ ารกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู เปนแหลง สารสนเทศสาธารณะทง่ี ายตอการเขาถึง มบี รรยากาศที่เอื้อตอ การเรยี นรู เปนคาเฟพืน้ ทก่ี ารเรียนรูสําหรับคนทุกชวงวัย มีส่ิงอํานวยความสะดวก มีบรรยากาศสวยงามมีชีวิต ที่ ดึงดดู ความสนใจ และมคี วามปลอดภัยสาํ หรบั ผูใ ชบรกิ าร ๑) เรงยกระดับ กศน.ตาํ บลนํารอง ๑๓ แหง (อําเภอละ ๑ แหง)ใหเปน กศน.ตําบล ๕ ดี พรีเมี่ยมที่ ประกอบดว ย ครดู ี สถานทดี่ ี (ตามบริบทของพ้ืนที่) กจิ กรรมดี เครอื ขายดี และมนี วัตกรรมการเรียนรูทด่ี ีมปี ระโยชน ๓) พัฒนาหองสมุดประชาชน ใหเปน Digital Library โดยใหมีบริการหนังสือในรูปแบบ e - Book บรกิ าร คอมพิวเตอร และอินเทอรเ นต็ ความเร็วสูง รวมทั้ง Free Wifi เพอื่ การสบื คนขอ มลู กรอบทศิ ทางการดําเนนิ งานประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นกั งาน กศน.จังหวดั ลาํ ปาง หนา ๔

๓.๓ สง เสรมิ การจดั การเรียนรทู ที่ ันสมยั และมปี ระสิทธภิ าพ เออ้ื ตอ การเรยี นรสู ําหรับทกุ คน สามารถเรยี น ไดทกุ ทที่ ุกเวลา มกี จิ กรรมท่ีหลากลาย นา สนใจ สนองตอบความตอ งการของชุมชน เพื่อพฒั นาศกั ยภาพการเรยี นรู ของประชาชน รวมทั้งใชป ระโยชนจ ากประชาชนในชุมชนในการรว มจดั กจิ กรรมการเรียนรูเพื่อเชื่อมโยง ความสมั พันธข องคนในชมุ ชนไปสกู ารจัดการความรขู องชุมชนอยางยั่งยืน ๑) สงเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรูที่ปลูกฝงคุณธรรม สรางวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบตอ สวนรวม และการมีจิตอาสา ผานกิจกรรมรูปแบบตาง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจน สนับสนนุ ใหมีการจัดกจิ กรรมเพอื่ ปลกู ฝง คุณธรรม จรยิ ธรรมใหกบั บุคลากรในองคก ร ๒) จัดใหมีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก โดยจัดต้ังกองลูกเสือที่ลูกเสือมีความพรอมดานทักษะ ภาษาตางประเทศ เปนลูกเสือมัคคเุ ทศก จํานวน ๑ กอง เพ่ือสงเสรมิ ลกู เสือจติ อาสาพฒั นาการทองเที่ยวของจังหวัด ๓.๔ เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครือขาย ประสาน สงเสริมความรวมมือภาคีเครือขาย ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวนทองถ่ิน รวมทั้งสงเสริมและสนับสนุนการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อ สรางความเขาใจ และใหเกดิ ความรว มมอื ในการสงเสริม สนับสนนุ และจดั การศกึ ษาและการเรียนรูใหกับประชาชน อยางมคี ณุ ภาพ ๑) เรงจัดทําทําเนียบภูมิปญญาทองถ่ินในแตละตําบล เพ่ือใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถ่ินในการสราง การเรยี นรูจากองคค วามรใู นตัวบุคคลใหเกิดการถา ยทอดภมู ปิ ญ ญา สรา งคณุ คาทางวัฒนธรรมอยางยัง่ ยืน ๒) สงเสริมภูมปิ ญ ญาทองถนิ่ สูการจัดการเรียนรชู ุมชน ๓) ประสานความรวมมือกับภาคเี ครอื ขา ยเพ่อื การขยายและพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ใหเขา ถึงกลุมเปา หมายทุกกลุม อยางกวางขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กลุมผสู งู อายุ กลมุ อสม. ๓.๕ พัฒนานวตั กรรมทางการศกึ ษาเพ่ือประโยชนต อการจดั การศึกษาและกลมุ เปา หมาย ๑) พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน กศน. ท้ังในรูปแบบของการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน การพัฒนาทักษะชีวิต และทักษะอาชพี การศกึ ษาตามอธั ยาศัย รวมทง้ั การพัฒนาชองทางการคาออนไลน ๒) สงเสริมการใชเ ทคโนโลยใี นการปฏบิ ตั ิงาน การบรหิ ารจัดการ และการจดั การเรียนรู ๓) สง เสรมิ ใหมกี ารใชการวิจัยอยา งงายเพื่อสรา งนวตั กรรมใหม ๓.๖ พัฒนาศกั ยภาพคนดานทักษะและความเขา ใจในการใชเ ทคโนโลยีดิจทิ ัล (DigitalLiteracy) ๑) พัฒนาความรูและทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือพัฒนารูปแบบการ จดั การเรียนการสอน ๒) สงเสริมการจัดการเรยี นรูดานเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อใหประชาชนมีทักษะความเขาใจและใชเทคโนโลยี ดจิ ิทลั ท่สี ามารถนาํ ไปใชประโยชนใ นชีวิตประจาํ วัน รวมท้ังสรา งรายไดใ หกบั ตนเองได ๓.๗ พฒั นาทกั ษะภาษาตางประเทศเพื่อการส่อื สารของประชาชนในรปู แบบตาง ๆ อยางเปนรูปธรรม โดย เนนทกั ษะภาษาเพื่ออาชีพ ทั้งในภาคธุรกิจ การบรกิ าร และการทองเท่ียว รวมทั้งพัฒนาสื่อการเรียนการสอนเพ่ือ สง เสรมิ การใชภ าษาเพือ่ การสอ่ื สารและการพฒั นาอาชพี ๓.๘ เตรยี มความพรอ มการเขา สสู ังคมผสู ูงอายุท่ีเหมาะสมและมีคณุ ภาพ ๑) สงเสริมการจัดกิจกรรมใหก ับประชาชนเพ่ือสรางความตระหนักถึงการเตรยี มพรอ มเขาสูสังคมผูสูงอายุ (Aging Society) มคี วามเขาใจในพัฒนาการของชวงวัย รวมทั้งเรยี นรูและมสี วนรวมในการดูแลรับผิดชอบผูสูงอายุ ในครอบครวั และชุมชน กรอบทิศทางการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จงั หวัดลาํ ปาง หนา ๕

๒) พัฒนาการจัดบริการการศึกษาและการเรยี นรสู ําหรบั ประชาชนในการเตรียมความพรอมเขาสูวัยสูงอายุ ที่เหมาะสมและมคี ณุ ภาพ ๓) จัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาคุณภาพชีวิตสําหรับผูสูงอายุภายใตแนวคดิ \"Active Aging\"การศึกษาเพ่ือ พัฒนาคุณภาพชีวติ และพัฒนาทกั ษะชวี ติ ใหส ามารถดูแลตนเองทง้ั สุขภาพกายและสขุ ภาพจิตและรูจักใชประโยชน จากเทคโนโลยี ๔) สรางความตระหนักถึงคุณคาและศักด์ิศรีของผูสูงอายุ เปดโอกาสใหมีการเผยแพรภูมิปญญาของ ผสู งู อายุ และใหม ีสว นรวมในกิจกรรมดานตาง ๆ ในชมุ ชน เชน ดานอาชพี กฬี า ศาสนาและวัฒนธรรม ๕) จัดการศึกษาอาชีพเพ่อื รองรบั สงั คมผูสงู อายุ โดยบรู ณาการความรวมมือกับหนวยงานที่เก่ียวของ ในทุก ระดับ ๓.๑๐ สงเสริมการรูภาษาไทยใหกับประชาชนในรูปแบบตาง ๆ โดยเฉพาะประชาชนในเขตพ้ืนท่ีสูงให สามารถฟง พดู อา น และเขยี นภาษาไทย เพอ่ื ประโยชนในการใชช ีวติ ประจําวันได ๔ ยทุ ธศาสตรต นการสรา งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๔.๑ จัดต้ังศูนยการเรียนรูสําหรับทุกชวงวัย ท่เี ปน ศูนยการเรียนรูตลอดชีวิตที่สามารถใหบริการประชาชน ไดทุกคน ทกุ ชว งวัย ท่มี ีกจิ กรรมที่หลากหลาย ตอบสนองความตองการในการเรียนรูในแตละวัยและเปนศนู ยบริการ ความรู ศูนยการจัดกิจกรรมท่ีครอบคลุมทุกชวงวัย เพ่ือใหมีพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสมและมีความสุขกับการ เรียนรูตามความสนใจ ๑) เรงประสานกับสํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือจัดทําฐานขอมูลโรงเรียนท่ถี ูกยุบรวม หรอื คาดวา นาจะถูกยบุ รวม ๒) ประสานขอใชพืน้ ท่ีโรงเรยี นที่ถูกยบุ รวม เพ่ือจดั ตง้ั ศนู ยก ารเรียนรสู าํ หรับทุกชวงวยั กศน. ๔.๒ สง เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษาและการเรยี นรสู ําหรบั กลมุ เปา หมายผูพ ิการ ๑) จัดการศึกษาขน้ั พื้นฐาน การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและทักษะอาชีพ และการศึกษาตามอัธยาศยั โดยเนน รูปแบบการศกึ ษาออนไลน ๒) ทําความรวมมอื กบั ศูนยก ารศกึ ษาพิเศษประจําจงั หวัด ในการใชสถานท่ี วัสดุอุปกรณ และครภุ ัณฑดาน การศกึ ษา เพือ่ สนับสนุนการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรสู ําหรบั ลมุ เปา หมายผพู ิการ ๔.๓ ยกระดบั การศกึ ษาใหกับกลุมเปาหมายทหารกองประจําการ รวมท้ังกลุมเปาหมายพิเศษอ่ืน ๆ อาทิ ผูตองขัง คนพิการ เด็กออกกลางคัน ประชากรวัยเรียนท่ีอยูนอกระบบการศึกษาใหจบการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน สามารถนําความรทู ไ่ี ดรับไปพัฒนาตนเองไดอ ยา งตอ เนอื่ ง ๔.๔ พัฒนาหลกั สตู รการจดั การศกึ ษาอาชพี ระยะส้ัน ใหม คี วามหลากหลาย ทันสมัย เหมาะสมกบั บริบท ของพน้ื ท่ี และตอบสนองความตอ งการของประชาชนผรู บั บรกิ าร ๕. ยทุ ธศาสตรดา นการสรางการเตบิ โตบนคณุ ภาพชีวติ ท่เี ปนมิตรตอสง่ิ แวดลอ ม ๕.๑ สง เสริมใหม กี ารใหความรกู บั ประชาชนในการรับมือและปรับตัวเพื่อลดความเสียหายจากภัยธรรมชาติ และผลกระทบทเ่ี กี่ยวขอ งกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ๕.๒ สรา งความตระหนักถึงความสําคัญของการสรา งสังคมสีเขียว สงเสริมความรูใหกับประชาชนเกีย่ วกับ การคัดแยกตั้งแตตนทาง การกําจัดขยะ และการนํากลับมาใชชํ้า เพื่อลดปริมาณและตนทุนในการจดั การขยะของ เมือง และสามารถนําขยะกลบั มาใชประโยชนไ ดโ ดยงาย รวมท้ังการจดั การมลพษิ ในชุมชน กรอบทิศทางการดําเนินงานประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จังหวัดลําปาง หนา ๖

๕.๓ สง เสรมิ ใหห นวยงานและสถานศึกษาใชพ ลงั งานท่เี ปนมิตรกับสิ่งแวดลอ ม รวมท้ังลดการใชทรัพยากรท่ี สงผลกระทบตอส่งิ แวดลอ ม เชน รณรงคเ ร่อื งการลดการใชถงุ พลาสติก การประหยัดไฟฟา เปน ตน ๖. ยทุ ธศาสตรด า นการปรบั สมดุลและพฒั นาระบบหารบรหิ ารจดั การภาครฐั ๖.๑ พัฒนาและปรบั ระบบวิธีการปฏิบัติราชการใหทันสมัย มีความโปรงใส ปลอดการทุจรติ และประพฤติมิ ชอบ บริหารจดั การบนขอมูลและหลักฐานเชงิ ประจักษ มงุ ผลสมั ฤทธิม์ คี วามโปรงใส ๖.๒ นํานวัตกรรมและเทคโนโลยีระบบการทํางานที่เปนดิจิทัลมาใชใ นการบริหารและพัฒนางานสามารถ เช่ือมโยงกับระบบฐานขอมูลกลางของกระทรวงศึกษาธิการ พรอมทั้งพัฒนาโปรแกรมออนไลนท่ีสามารถเชื่อมโยง ขอมูลตาง ๆ ที่ทําใหการบริหารจัดการเปนไปอยางตอเน่ืองกันต้ังแตตนจนจบกระบวนการและใหประชาชน กลุม เปาหมายสามารถเขาถึงบรกิ ารไดอยา งทนั ที ทกุ ท่แี ละทกุ เวลา ๖.๓ สงเสริมการพัฒนาบคุ ลากรทุกระดับอยางตอเน่อื ง ใหมีความรูและทักษะตามมาตรฐานตาํ แหนง ให ตรงกบั สายงาน ความชาํ นาญ และความตองการของบุคลากร ภารกิจตอ เนื่อง ๑. ดา นการจดั การศกึ ษาและการเรยี นรู ๑.๑ การศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน ๑) สนบั สนนุ การจัดการศึกษานอกระบบตงั้ แตปฐมวัยจนจบการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน โดยดําเนินการใหผูเรยี น ไดรับการสนับสนุนคาจัดซื้อหนังสอื เรียน คาจัดกิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผูเรียน และคาจัดการเรียนการสอนอยาง ท่วั ถึงและเพยี งพอ เพือ่ เพิ่มโอกาสในการเขา ถึงบริการทางการศกึ ษาท่มี ีคุณภาพโดยไมเสยี คา ใชจาย ๒) จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานใหกับกลมุ เปาหมายผูดอ ย พลาด และขาดโอกาสทาง การศึกษา ทงั้ ระบบการใหบริการ ระบบการเรียนการสอน ระบบการวดั และประเมนิ ผลการเรยี น ผานการเรยี นแบบ เรียนรดู วยตนเอง การพบกลมุ การเรยี นแบบชั้นเรียน และการจัดการศึกษาทางไกล ๓) จัดใหมีการประเมินเพื่อเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรูและประสบการณที่มีความ โปรง ใส ยตุ ิธรรม ตรวจสอบได มีมาตรฐานตามท่กี ําหนด และสามารถตอบสนองความตองการของกลมุ เปาหมายได อยางมปี ระสิทธิภาพ ๔) จัดใหมีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเรียนที่มีคุณภาพที่ผูเรียนตองเรียนรูและเขารวมปฏิบัติกิจกรรม เพื่อ เปนสวนหนึ่งของการจบหลักสูตร อาทิ กิจกรรมเสริมสรางความสามัคคี กิจกรรมเกี่ยวกับการปองกันและแกไข ปญหายาเสพติด การบาํ เพญ็ สาธารณประโยชนอยางตอเนือ่ ง การสง เสรมิ การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา และการจัดตั้งชมรม/ ชุมนุม พรอมทั้งเปด โอกาสใหผ ูเรยี นนํากิจกรรมการบาํ เพ็ญประโยชนอ ่ืน ๆนอกหลกั สตู ร มาใชเ พม่ิ ชั่วโมงกิจกรรมให ผเู รียนจบตามหลกั สูตรได ๑.๒ การสง เสรมิ การรหู นังสือ ๑) พัฒนาระบบฐานขอมูลผูไมรูหนังสือ ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเปนระบบเดียวกันท้ัง สว นกลางและสวนภมู ภิ าค กรอบทศิ ทางการดําเนินงานประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสํานกั งาน กศน.จงั หวัดลาํ ปาง หนา ๗

๒) พัฒนาหลักสูตร สื่อ แบบเรียน เครื่องมือวัดผลและเครอื่ งมือการดําเนินงานการสงเสริมการรูหนังสือท่ี สอดคลองกับสภาพแตละกลุมเปา หมาย ๓) พัฒนาครู กศน. และภาคีเครือขายที่รวมจัดการศึกษา ใหมีความรู ความสามารถ และทักษะการจัด กระบวนการเรยี นรูใหกบั ผูไมรหู นงั สืออยา งมีประสทิ ธิภาพ และอาจจัดใหมีอาสาสมัครสงเสรมิ การรูหนังสือในพ้ืนท่ี ทีม่ ีความตอ งการจําเปนเปนพิเศษ ๔) สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาจัดกิจกรรมสงเสริมการรูหนังสือ การคงสภาพการรูหนังสือการพัฒนา ทักษะการรหู นังสอื ใหก บั ประชาชนเพ่ือเปน เครอ่ื งมอื ในการศกึ ษาและเรียนรูอยางตอเน่อื งตลอดชีวิตของประชาชน ๑.๓ การศึกษาตอเนอ่ื ง ๑) จัดการศกึ ษาอาชีพเพื่อการมีงานทาํ อยางย่ังยืน โดยใหความสําคัญกับการจัดการศึกษาอาชีพเพ่ือการมี งานทาํ ในกลมุ อาชพี เกษตรกรรม อตุ สาหกรรม พาณิชยกรรม คหกรรม และอาชพี เฉพาะทางหรอื การบรกิ าร รวมถึง การเนน อาชพี ชา งพื้นฐาน ที่สอดคลองกับศกั ยภาพของผูเ รยี น ความตองการและศักยภาพของแตละพืน้ ท่ี ตลอดจน สรางความเขมแขง็ ใหกับศนู ยฝกอาชีพชุมชน โดยจัดใหมีหนึ่งอาชีพเดนตอหนึ่งศูนยฝก อาชีพ รวมท้ังใหมีการกํากับ ตดิ ตาม และรายงานผลการจดั การศกึ ษาอาชีพเพื่อการมีงานทําอยา งเปนระบบและตอเน่อื ง ๒) จดั การศึกษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ิตใหกับทกุ กลมุ เปาหมาย โดยเฉพาะคนพิการ ผูสูงอายุทสี่ อดคลอ งกับ ความตองการจําเปนของแตละบุคคล และมุงเนนใหทุกกลุมเปาหมายมีทักษะการดํารงชีวิตตลอดจนสามารถ ประกอบอาชีพพึ่งพาตนเองได มีความรคู วามสามารถในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองใหอยูในสังคมไดอยางมี ความสุข สามารถเผชิญสถานการณตาง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ และเตรียมพรอม สาํ หรบั การปรบั ตัวใหท นั ตอ การเปลยี่ นแปลงของขาวสารขอมูลและเทคโนโลยีสมัยใหมในอนาคต โดยจัดกิจกรรมที่ มีเนื้อหาสาํ คญั ตา งๆ เชน สุขภาพกายและจติ การปองกันภยั ยาเสพตดิ เพศศกึ ษา คุณธรรมและคานิยมที่พึงประสงค ความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส ิน ผา นการศกึ ษารปู แบบตา ง ๆอาทิ คายพฒั นาทักษะชวี ิต การจดั ตงั้ ชมรม/ชุมนุม การสงเสริมความสามารถพเิ ศษตา ง ๆ ๓) จดั การศกึ ษาเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน โดยใชหลักสตู รและการจัดกระบวนการเรียนรูแบบบูรณาการ ในรูปแบบของการฝกอบรม การประชุม สัมมนา การจัดเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู การจัดกิจกรรมจิตอาสา การสรา ง ชุมชนนักปฏิบัติ และรูปแบบอ่ืนๆ ท่เี หมาะสมกับกลุมเปาหมาย และบริบทของชุมชนแตละพื้นที่ เคารพความคิด ของผูอ่ืน ยอมรับความแตกตางและหลากหลายทางความคิดและอุดมการณ รวมท้ังสังคมพหุวัฒนธรรม โดยจัด กระบวนการใหบุคคลรวมกลมุ เพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน สรางกระบวนการจิตสาธารณะ การสรางจิตสานึก ความเปนประชาธิปไตย การเคารพในสิทธิ และรับผิดชอบตอหนาท่ีความเปนพลเมืองดี การสงเสริมคุณธรรม จริยธรรม การบําเพ็ญประโยชนในชุมชน การบริหารจัดการน้ํา การรับมือกับสาธารณภัย การอนุรักษพลังงาน ทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ชว ยเหลือซึ่งกันและกนั ในการพฒั นาสงั คมและชุมชนอยางย่งั ยืน กรอบทิศทางการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จงั หวดั ลาํ ปาง หนา ๘

๔) การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงผานกระบวนการเรียนรูตลอดชีวิตใน รูปแบบตางๆ ใหกับประชาชน เพือ่ เสริมสรา งภูมิคุมกัน สามารถยืนหยัดอยูไดอยางม่ันคง และมีการบรหิ ารจัดการ ความเสี่ยงอยางเหมาะสม ตามทศิ ทางการพฒั นาประเทศสคู วามสมดุลและยง่ั ยืน ๑.๔ การศกึ ษาตามอธั ยาศัย ๑) สง เสริมใหม ีการพัฒนาแหลง การเรยี นรใู นระดบั ตาํ บล เพือ่ การถายทอดองคความรู และจัดกิจกรรมเพ่ือ เผยแพรอ งคค วามรใู นชมุ ชนไดอ ยางทว่ั ถึง ๒) จัดกิจกรรมสงเสริมการเรียนรูเพื่อปลูกฝงนิสัยรักการอาน และพัฒนาความสามารถในการอานและ ศักยภาพการเรียนรขู องประชาชนทกุ กลุมเปาหมาย ๓) สงเสริมใหม กี ารสรา งบรรยากาศ และส่ิงแวดลอมที่เอ้ือตอการอานใหเกิดข้ึนในสังคมไทยโดยสนับสนุน การพัฒนาแหลง การเรยี นรูใหเกิดข้ึนอยางกวางขวางและท่ัวถึง เชน พัฒนาหองสมุดประชาชนทุกแหงใหเปนแหลง เรียนรูตลอดชีวิตของชุมชน สงเสริมและสนับสนุนอาสาสมัครสงเสริมการอาน การสรางเครือขายสงเสริมการอาน จัดหนวยบริการเคล่ือนที่พรอมอุปกรณเพ่ือจัดกิจกรรมสงเสริมการอานและการเรียนรูที่หลากหลายใหบริการกับ ประชาชนในพ้ืนทตี่ า งๆ อยา งท่วั ถึง สม่ําเสมอ รวมทั้งเสรมิ สรางความพรอ มในดานสือ่ อุปกรณเ พื่อสนับสนุนการอาน และการจดั กจิ กรรมเพือ่ สง เสรมิ การอา นอยางหลากหลาย ๑.๕ พัฒนา กศน. ตาํ บล สู “กศน.ตําบล ๔G” ๑) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรที่เก่ียวของกับการจัดกิจกรรมการศึกษาและการเรยี นรู : GoodTeacher ใหเปน ตัวกลางในการเชื่อมโยงความรูกับผรู ับบรกิ าร มีความเปน “ครูมืออาชีพ” มีจิตบริการ มคี วามรอบรูและทัน ตอการเปล่ียนแปลงของสังคม เปนผูจัดกิจกรรมการเรียนรูและบริหารจัดการความรูท่ีดี รวมท้ังเปนผูปฏิบัติงาน อยางมีความสุข ๒) พัฒนา กศน.ตําบล ใหมีบรรยากาศและสภาพแวดลอมเอื้อตอการเรียนรูอยางตอเน่ือง : GoodPlace Best Check-In มคี วามพรอมในการใหบ ริการกจิ กรรมการศึกษาและการเรียนรู เปน แหลงขอมูลสาธารณะท่ีงายตอ การเขาถึง และสะดวกตอการเรียนรูตลอดชีวิตอยางสรางสรรค มีส่ิงอานวยความสะดวก ดึงดูดความสนใจและมี ความปลอดภัยสําหรับผูร บั บริการ ๓) สง เสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรภู ายใน กศน.ตาํ บล : Good Activities ใหม ีความหลากหลายนาสนใจ ตอบสนองความตอ งการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพการเรียนรูของประชาชน รวมทั้งเปดโอกาสใหชุมชนเขามา จัดกจิ กรรมเพ่อื เชอ่ื มโยงความสมั พันธของคนในชุมชน ๔) เสริมสรางความรวมมือกับภาคีเครือขาย : Good Partnership ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองคกร ปกครองสวนทองถิ่น รวมท้ังสงเสรมิ และสนับสนุนการมีสว นรวมของชมุ ชน เพื่อสรา งความเขาใจ และใหเกิดความ รว มมือในการสงเสรมิ สนบั สนุน และจัดการศกึ ษาและการเรียนรูใหก บั ประชาชนอยางมคี ณุ ภาพ กรอบทศิ ทางการดําเนนิ งานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นกั งาน กศน.จังหวดั ลําปาง หนา ๙

๑.๖ ประสานความรวมมือหนวยงาน องคก ร หรือภาคสวนตางๆ ที่มแี หลงเรียนรูอ่ืนๆ เชน พพิ ิธภัณฑ ศูนยเรียนรู แหลงโบราณคดี หองสมุด เพ่ือสงเสริมการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยใหมีรูปแบบที่หลากหลายและ ตอบสนองความตองการของประชาชน ๒. ดานหลักสูตรสอ่ื รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูการวดั และประเมินผลงานบริการทางวิชาการและการ ประกนั คุณภาพการศึกษา ๒.๑ สง เสริมการพัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรูและกิจกรรมเพ่ือสงเสริมการศกึ ษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่หลากหลาย ทันสมัย รวมทั้งหลักสูตรทองถ่ินท่ีสอดคลองกับสภาพบริบท ของพื้นที่ และความตอ งการของกลมุ เปา หมายและชุมชน ๒.๒ สงเสริมการพัฒนาสื่อแบบเรียน ส่ืออิเล็กทรอนิกสและสื่ออ่ืนๆ ท่ีเอื้อตอการเรียนรูของผูเรียน กลมุ เปาหมายทัว่ ไปและกลมุ เปา หมายพิเศษ ๒.๓ พัฒนารูปแบบการจัดการศกึ ษาทางไกลใหมีความทันสมัยดวยระบบหองเรียนและการควบคุมการ สอบออนไลน ๒.๔ พฒั นาระบบการประเมนิ เพือ่ เทียบระดับการศกึ ษา และการเทียบโอนความรแู ละประสบการณใหม ี คณุ ภาพ มาตรฐาน และสามารถตอบสนองความตอ งการของกลมุ เปาหมายไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ ๒.๕ พฒั นาระบบการวัดและประเมินผลการศกึ ษานอกระบบทุกหลักสูตร โดยเฉพาะหลักสูตรในระดับ การศกึ ษาข้ันพื้นฐานใหไดม าตรฐาน โดยการนําแบบทดสอบกลาง และระบบการสอบอิเลก็ ทรอนิกส(e-Exam) มา ใชอยางมีประสิทธิภาพ ๒.๖ สง เสรมิ และสนับสนนุ การศกึ ษาวิจยั พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกระบวนการเรยี นรู การวัดและ ประเมินผล และเผยแพรรูปแบบการจัด สงเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั เพื่อใหมกี ารนําไปสกู ารปฏบิ ตั อิ ยางกวา งขวางและมกี ารพัฒนาใหเหมาะสมกบั บริบทอยา งตอ เนอื่ ง ๒.๗ พฒั นาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาใหไดมาตรฐาน เพ่ือพรอมรับการประเมินคุณภาพ ภายนอก โดยพัฒนาบุคลากรใหมีความรู ความเขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญของระบบการประกันคุณภาพ และ สามารถดาํ เนินการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษาไดอยางตอ เนอื่ งโดยใชก ารประเมินภายในดวยตนเอง และ จัดใหมีระบบสถานศึกษาพี่เล้ียงเขาไปสนับสนุนอยางใกลชิด สําหรับสถานศึกษาที่ยังไมไดเขารับการประเมิน คุณภาพภายนอก ใหพฒั นาคุณภาพการจดั การศกึ ษาใหไ ดคณุ ภาพตามมาตรฐานทกี่ ําหนด ๓. ดานเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา ๓.๑ ผลิตและพฒั นารายการวิทยแุ ละรายการโทรทัศนเ พอ่ื การศกึ ษาใหเ ช่ือมโยงและตอบสนองตอการจัด กิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศกึ ษา เพื่อกระจายโอกาสทางการศึกษาสาํ หรับ กลุมเปา หมายตา งๆ ใหม ีทางเลือกในการเรียนรทู หี่ ลากหลายและมีคณุ ภาพ สามารถพัฒนาตนเองใหรเู ทาทันส่ือและ เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การส่อื สาร เชน รายการพัฒนาอาชพี เพ่ือการมีงานทํารายการติวเขมเติมเต็มความรู ฯลฯ เผยแพรท างสถานีวทิ ยุศกึ ษา สถานวี ทิ ยโุ ทรทศั นเพื่อการศกึ ษากระทรวงศกึ ษาธกิ าร (ETV) และทางอินเทอรเนต็ ๓.๒ พัฒนาการเผยแพรการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ผานระบบเทคโนโลยี ดิจทิ ลั และชอ งทางออนไลนตางๆ เชน Youtube Facebook หรือ Application อื่นๆ เพ่ือสงเสริมใหครู กศน. นํา เทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใชในการสรา งกระบวนการเรยี นรดู วยตนเอง (Do It Yourself : DIY) กรอบทศิ ทางการดําเนินงานประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นกั งาน กศน.จงั หวดั ลําปาง หนา ๑๐

๓.๓ พัฒนาสถานีวิทยุศึกษาและสถานีโทรทัศนเพ่ือการศึกษา เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและการ ออกอากาศใหกลุมเปาหมายสามารถใชเปนชองทางการเรียนรูที่มีคุณภาพไดอยางตอเน่ืองตลอดชีวิตโดยขยาย เครอื ขา ยการรับฟง ใหสามารถรับฟงไดทกุ ที่ ทุกเวลา ครอบคลุมพื้นที่ท่ัวประเทศ และเพม่ิ ชองทางใหสามารถรับชม รายการโทรทัศนไดท้ังระบบ Ku - Band C - Band Digital TV และทางอินเทอรเน็ต พรอมที่จะรองรับการพัฒนา เปน สถานวี ทิ ยโุ ทรทัศนเ พอ่ื การศกึ ษาสาธารณะ (Free ETV) ๓.๔ พัฒนาระบบการใหบริการส่ือเทคโนโลยีเพ่ือการศึกษาใหไดหลายชองทางทงั้ ทางอินเทอรเน็ตและ รูปแบบอ่ืน ๆ เชน Application บนโทรศัพทเคลื่อนที่ และ Tablet, DVD, CD, VCD และ MP๓ เปนตนเพ่ือให กลมุ เปาหมายสามารถเลอื กใชบ ริการเพอื่ เขาถงึ โอกาสทางการศึกษาและการเรยี นรไู ดตามความตองการ ๓.๕ สาํ รวจ วจิ ัย ติดตามประเมนิ ผลดา นการใชสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศกึ ษาอยางตอเน่อื ง และนําผลมา ใชใ นการพัฒนางานใหม คี วามถกู ตอง ทันสมยั และสามารถสง เสริมการศกึ ษาและการเรียนรตู ลอดชวี ิตของประชาชน ไดอยางแทจรงิ ๔. ดานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาํ รหิ รอื โครงการอนั เกย่ี วเนือ่ งจากราชวงศ ๔.๑ สงเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอัน เกีย่ วเน่อื งจากราชวงศ ๔.๒ จัดทําฐานขอมูลโครงการและกิจกรรมของ กศน. ที่สนองงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ หรือโครงการอนั เกยี่ วเนอื่ งจากราชวงศ ทสี่ ามารถนําไปใชในการวางแผน การติดตามประเมินผลและการพัฒนางาน ไดอยางมปี ระสิทธภิ าพ ๔.๓ สง เสริมการสรางเครือขายการดําเนินงานเพ่ือสนับสนุนโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริเพ่ือให เกดิ ความเขมแข็งในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ๔.๔ พัฒนาศูนยการเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แมฟาหลวง”ใหมีความพรอมในการจัดการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยตามบทบาทหนาที่ทีก่ ําหนดไวอ ยางมปี ระสทิ ธภิ าพ ๔.๕ จัดและสงเสริมการเรยี นรตู ลอดชีวิตใหสอดคลอ งกับวิถีชีวิตของประชาชนบนพื้นที่สูง ถ่ินทุรกันดาร และพื้นทช่ี ายขอบ ๖. ดา นบุคลากรระบบการบริหารจัดการและการมีสวนรวมของทกุ ภาคสวน ๖.๑ การพฒั นาบคุ ลากร ๑) พัฒนาบุคลากรทุกระดบั ทุกประเภทใหมีสมรรถนะสูงข้ึนอยางตอเนื่อง ท้งั กอนและระหวางการดํารง ตาํ แหนงเพอ่ื ใหมเี จตคติท่ดี ใี นการปฏบิ ัติงาน สามารถปฏิบัตงิ านและบริหารจัดการการดําเนนิ งานของหนวยงานและ สถานศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งสงเสริมใหขาราชการในสงั กัดพัฒนาตนเองเพ่ือเลือ่ นตําแหนงหรือเล่ือน วิทยฐานะ โดยเนน การประเมนิ วทิ ยฐานะเชงิ ประจกั ษ ๒) พัฒนาศึกษานิเทศก กศน. ใหมีสมรรถนะที่จําเปนครบถวน มีความเปนมืออาชีพ สามารถปฏิบัติการ นิเทศไดอยางมีศักยภาพ เพ่ือรวมยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใน สถานศึกษา ๓) พัฒนาหัวหนา กศน. ตาํ บล/แขวง ใหมีสมรรถนะสงู ขน้ึ เพื่อการบริหารจัดการ กศน. ตําบล/แขวงและ การปฏบิ ัตงิ านตามบทบาทภารกจิ อยางมปี ระสทิ ธิภาพ โดยเนนการเปนนกั จัดการความรูและผูอํานวยความสะดวก ในการเรียนรเู พื่อใหผูเรียนเกดิ การเรยี นรทู ่ีมปี ระสทิ ธิภาพอยา งแทจ รงิ กรอบทิศทางการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จังหวดั ลําปาง หนา ๑๑

๔) พฒั นาครู กศน. และบุคลากรท่ีเก่ียวของกับการจัดการศึกษาใหสามารถจัดรูปแบบการเรียนรูไดอ ยา งมี คุณภาพ โดยสงเสริมใหมีความรูความสามารถในการจัดทําแผนการสอน การจัดกระบวนการเรียนรูการวัดและ ประเมินผล และการวิจัยเบื้องตน ๕) พัฒนาศักยภาพบุคลากร ท่ีรับผิดชอบการบริการการศึกษาและการเรียนรู ใหมีความรูความสามารถ และมีความเปน มอื อาชีพในการจดั บรกิ ารสง เสรมิ การเรียนรตู ลอดชวี ติ ของประชาชน ๖) สงเสรมิ ใหคณะกรรมการ กศน. ทุกระดับ และคณะกรรมการสถานศึกษา มีสวนรว มในการบริหารการ ดําเนนิ งานตามบทบาทภารกจิ ของ กศน. อยางมีประสิทธภิ าพ ๗) พัฒนาอาสาสมัคร กศน. ใหสามารถทําหนาที่สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั ไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ ๘) พัฒนาสมรรถนะและเสริมสรางความสัมพันธระหวางบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือขายท้ังในและ ตางประเทศในทุกระดบั โดยจัดใหมกี ิจกรรมเพื่อเสริมสรางสัมพนั ธภาพและเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน ในรปู แบบทห่ี ลากหลายอยา งตอ เน่อื ง ๖.๒ การพฒั นาโครงสรา งพื้นฐานและอัตรากาลัง ๑) จัดทําแผนการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและดําเนินการปรับปรุงสถานท่ี และวัสดุอุปกรณใหมีความ พรอมในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู ๒) บรหิ ารอตั รากาํ ลังท่ีมอี ยู ท้ังในสว นท่ีเปนขาราชการ พนักงานราชการ และลูกจาง ใหเกิดประสทิ ธิภาพ สงู สดุ ในการปฏบิ ตั งิ าน ๓) แสวงหาความรวมมือจากภาคีเครือขายทุกภาคสวนในการระดมทรัพยากรเพื่อนํามาใชในการปรบั ปรุง โครงสรางพ้ืนฐานใหมีความพรอมสาํ หรับดําเนินกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และการ สง เสรมิ การเรียนรสู ําหรับประชาชน ๖.๓ การพฒั นาระบบบริหารจดั การ ๑) พฒั นาระบบฐานขอมลู ใหมคี วามครบถวน ถกู ตอง ทันสมัย และเชื่อมโยงกันทั่วประเทศอยางเปนระบบ เพ่ือใหหนวยงานและสถานศึกษาในสังกัดสามารถนําไปใชเปนเคร่ืองมือสําคัญในการบริหารการวางแผน การ ปฏิบัติงาน การติดตามประเมินผล รวมทั้งจัดบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอยางมี ประสิทธิภาพ ๒) เพ่ิมประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการงบประมาณ โดยพฒั นาระบบการกาํ กับ ควบคมุ และเรง รดั การเบกิ จา ยงบประมาณใหเ ปนตามเปา หมายท่กี ําหนดไว ๓) พฒั นาระบบฐานขอ มลู รวมของนักศึกษา กศน. ใหมีความครบถวน ถูกตอง ทันสมัยและเช่ือมโยงกันทั่ว ประเทศ สามารถสืบคนและสอบทานไดทันความตองการเพื่อประโยชนในการจัดการศึกษาใหกับผูเรียนและการ บริหารจดั การอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ๔) สง เสริมใหม ีการจดั การความรใู นหนวยงานและสถานศึกษาทุกระดับ รวมท้ังการศกึ ษาวิจัยเพื่อสามารถ นํามาใชใ นการพัฒนาประสิทธิภาพการดําเนินงานท่สี อดคลองกับความตองการของประชาชนและชมุ ชนพรอ มท้ัง พฒั นาขีดความสามารถเชิงการแขงขันของหนว ยงานและสถานศึกษา ๕) สรางความรวมมือของทุกภาคสวนท้ังในประเทศและตางประเทศ ในการพัฒนาและสงเสริมการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และการเรียนรูตลอดชวี ิต กรอบทศิ ทางการดําเนนิ งานประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสํานักงาน กศน.จังหวดั ลาํ ปาง หนา ๑๒

๖) สงเสริมการใชระบบสํานักงานอิเล็กทรอนิกส (E-office) ในการบริหารจัดการ เชน ระบบการลาระบบ สารบรรณอเิ ล็กทรอนิกส ระบบการขอใชร ถราชการ ระบบการขอใชหองประชมุ เปน ตน ๖.๔ การกํากบั นเิ ทศ ติดตาม ประเมนิ และรายงานผล ๑) สรางกลไกการกํากับ นเิ ทศ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการดําเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอัธยาศยั ใหเ ชื่อมโยงกับหนว ยงาน สถานศกึ ษา และภาคีเครอื ขา ยทงั้ ระบบ ๒) ใหหนวยงานและสถานศึกษาที่เก่ียวของทุกระดับ พัฒนาระบบกลไกการกํากับ ติดตามและรายงานผล การนํานโยบายสูการปฏิบัติ ใหส ามารถตอบสนองการดาํ เนินงานตามนโยบายในแตละเรอ่ื งไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพ ๓) สงเสริมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร และสื่ออื่น ๆ ท่ีเหมาะสม เพ่ือการกํากับนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และรายงานผลอยา งมีประสทิ ธิภาพ ๔) พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลการปฏิบัติราชการตามคํารับรองการปฏิบัติราชการประจําปของ หนวยงาน สถานศกึ ษา เพ่ือการรายงานผลตามตัวช้วี ัด ในคํารบั รองการปฏิบัติราชการประจําปของสํานักงาน กศน. ใหดาํ เนนิ ไปอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามเกณฑ วธิ ีการ และระยะเวลาทก่ี ําหนด ๕) ใหมกี ารเชื่อมโยงระบบการนิเทศในทกุ ระดบั ท้ังหนว ยงานภายในและภายนอกองคกร ต้งั แตส วนกลาง ภูมิภาค กลุมจงั หวดั จงั หวัด อาํ เภอ/เขต และตาํ บล/แขวง เพ่ือความเปนเอกภาพในการใชข อมลู และการพฒั นางาน การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย การขบั เคลอ่ื น กศน. สู กศน. WOW ๑. พัฒนาครู กศน.และบคุ ลากรทเ่ี ก่ยี วของกับการจดั กิจกรรมการศกึ ษาและเรียนรู : Good Teacher เปนผเู ช่ือมโยงความรูกับผูเรียนผรู ับบริการ มีความเปน “ครูมอื อาชีพ” มีจิตบรกิ าร มีความรอบรู และทัน ตอ การเปลย่ี นแปลงของสังคม เปน ผจู ัดกจิ กรรม การเรยี นรูและบรหิ ารจดั การความรทู ่ีดี ๑.๑ เพิ่มอตั ราขา ราชการครู กศน. จาํ นวน ๑๓ อตั รา (๑) ใหเ รงดําเนินการเร่อื งการหาอตั ราตาํ แหนง การสรรหา บรรจุ แตง ต้ัง ขา ราชการครู กศน. ๑๓ อัตรา เพื่อจดั สรรใหกับ กศน.อาํ เภอทุกแหง ๆ ละ ๑ อัตรา ๑.๒ พฒั นาครู และบคุ ลากร (๑) พฒั นาครู กศน.ตําบลเพ่ือใหสามารถปฏิบตั ิงานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนน เร่อื ง การ พัฒนาทักษะการจดั การเรียนการสอนออนไลน ทักษะภาษาตางประเทศ ทกั ษะการจดั กระบวนการเรยี นรู (๒) พฒั นาศกึ ษานเิ ทศก ใหสามารถปฏิบัติการนิเทศไดอ ยา งมีศกั ยภาพ (๓) พฒั นาบคุ ลากร กศน.ทุกระดับทุกประเภทใหม ีทักษะความรูเรื่องการใชประโยชนจากดิจิทลั และภาษาตา งประเทศท่จี ําเปน ๒. พฒั นา กศน.ตําบลใหม ีบรรยากาศและสภาพแวดลอ มทเี่ ออ้ื ตอ การเรยี นรู : Good Place – Best Check in ใหมคี วามพรอมในการใหบริการกิจกรรมการศกึ ษาและเรยี นรู เปนแหลง ขอ มูลสาธารณะทง่ี า ยตอ การเขาถึง มบี รรยากาศที่เออ้ื ตอ การเรยี นรเู ปน เสมอื นคาเฟก ารเรยี นรสู าหรบั ทกุ คนทกุ ชว งวยั มีสงิ่ อาํ นวยความสะดวก มีความ สวยงามทีด่ งึ ดดู ความสนใจ และมคี วามปลอดภยั สาํ หรับผูใ ชบริการ ๒.๑ ยกระดับ กศน.ตําบล ๑๓ แหง (อําเภอละ ๑ แหง) เปน กศน.ตําบล ๕ ดี พรีเมี่ยม ท่ี ประกอบดว ย ครูดี สถานทด่ี ี (ตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี) กิจกรรมดี เครอื ขา ยดี และมีนวตั กรรมดมี ปี ระโยชน ๒.๒ พัฒนาหองสมุดประชาชน จํานวน ๑๔ แหง ใหเปน Digital Library โดยใหมีบริการ Free Wi-Fi บริการหนังสอื ในรปู แบบ e-Book บริการคอมพวิ เตอรแ ละอนิ เทอรเน็ตเพอ่ื การสืบคนขอมูล กรอบทศิ ทางการดําเนนิ งานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จังหวดั ลาํ ปาง หนา ๑๓

๒.๓ ปรบั ปรงุ รถการอา นเคลือ่ นทเ่ี พอ่ื การเขา ถึงการอานในทุกพื้นท่ี ทุกชุมชน ๓. สงเสรมิ การจดั กิจกรรมการเรียนรูท่ที ันสมัยและมปี ระสทิ ธภิ าพ : Good Activities พัฒนากระบวนการเรียนรูใหมีความทันสมัย เอื้อตอการเรียนรู สาหรับทุกคน ท่ีสามารถเรียนรูไดทุกท่ี ทุก เวลา มกี ิจกรรมที่หลากหลาย นาสนใจ สนองตอบความตองการของชุมชน เพ่ือพัฒนาศักยภาพการเรียนรูของ ประชาชน รวมท้ังใชประโยชนจากประชาชนในชุมชนในการรวมจัดกิจกรรมการเรียนรูเพ่ือเชื่อมโยงความสัมพันธ ของคนในชมุ ชนไปสูการจัดการความรขู องชุมชนอยา งย่ังยืน ๓.๑ พัฒนาการจัดการศึกษาออนไลน กศน. โดยใหมีการเรียนออนไลนสายสามัญ การเรียน ออนไลน เรื่องทักษะอาชีพ และการพฒั นาเวบ็ เพจการคาออนไลน ๓.๒ ใหมีหลักสูตรลูกเสือมัคคุเทศก โดยจัดต้ังกองลูกเสือที่เปนลูกเสือท่ีมีความพรอมดา นทักษะ ภาษาตา งประเทศเปน ลกู เสอื มคั คเุ ทศกจ งั หวดั จํานวน ๑ กอง เพ่อื สงเสรมิ ลกู เสอื จิตอาสา พัฒนาการทองเท่ยี วของ จังหวดั ๓.๓ ปรับหลกั สูตรการจัดการศึกษาอาชีพ กศน. ใหเปน อาชีพท่ีรองรบั อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve) โดยพฒั นาอาชพี ทเ่ี นนการตอ ยอดศกั ยภาพและบริบทตามบรบิ ทของพ้นื ที่ ๔. เสรมิ สรา งความรวมมือกับภาคีเครือขาย : Good Partnerships ประสาน สงเสรมิ ความรว มมอื กับภาคีเครอื ขาย ท้ังภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม และองคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทง้ั สงเสริมและสนับสนนุ การมีสวนรวมของชุมชนเพ่ือสรา งความเขาใจ และใหเกิดความรว มมอื ในการ สง เสรมิ สนับสนนุ และจัดการศึกษาและการเรยี นรใู หก ับประชาชนอยา งมคี ณุ ภาพ ๔.๑ จดั ทําทาํ เนยี บภมู ิปญ ญาทอ งถน่ิ ในแตละตําบล เพ่ือใชประโยชนจากภูมิปญญาทองถ่ินในการ สรางการเรียนรจู ากองคความรใู นตัวบุคคลใหเ กดิ การถายทอดภมู ิปญ ญา สรา งคุณคา ทางวัฒนธรรมอยางยง่ั ยืน ๔.๒ สง เสริมภมู ปิ ญ ญาทองถิน่ สกู ารจดั การเรียนรชู มุ ชน ๔.๓ ประสานความรวมมือกับภาคีเครอื ขายเพ่ือการขยาย และพัฒนาการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ใหเ ขา ถงึ กลมุ เปาหมายทุกกลุม อยางกวา งขวางและมีคณุ ภาพ อาทิ กลมุ ผสู ูงอายุ กลุม อสม. ๕. พฒั นานวัตกรรมทางการศกึ ษาเพอื่ ประโยชนต อ การจัดการศึกษาและกลุม เปาหมาย : Good Innovation ใหพัฒนานวัตกรรมหรือสรางสรรคการดําเนินงานใหมๆ เพื่อสรางมูลคาใหกับผลิตภัณฑ พัฒนา กระบวนการเรยี นรใู หทนั สมัย ๕.๑ จัดตั้งศูนยใหคําปรึกษา และพัฒนาผลิตภัณฑ Brand กศน. เพ่ือยกระดับคุณภาพผลิตภณั ฑ การบรหิ ารจัดการการผลิต การสง ออก การตลาด และสรางชองทางการจําหนาย ตลอดจนสงเสริมการใชประโยชน จากเทคโนโลยีในการเผยแพรและจาํ หนายผลติ ภัณฑ ๕.๒ พัฒนาสินคา และผลิตภัณฑ กศน. พรอมท้ังใหมีการคัดเลือกสนิ คาและผลิตภัณฑท ่ีเปนสุด ยอด กศน. ของแตละจังหวัด เพื่อสงไปจัดจําหนายยังสถานีจําหนายน้ํามัน ซึ่งจะเปนการสรางชองทางจําหนาย สินคา และ ผลติ ภณั ฑใ หก วางขวางยิง่ ขึ้น ๕.๓ สง เสรมิ การใชเ ทคโนโลยใี นการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการ และการจดั การเรยี นรู ๕.๔ ใหม กี ารใชว ิจยั อยา งงา ยเพอื่ การสรา งนวตั กรรมใหม ๖. จดั ตัง้ ศนู ยการเรยี นรสู าํ หรบั ทุกชว งวัย : Good Learning Centre กรอบทิศทางการดําเนนิ งานประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสํานกั งาน กศน.จังหวดั ลําปาง หนา ๑๔

ที่เปนศูนยการเรียนรูตลอดชีวิตที่สามารถใหบรกิ ารประชาชนในชุมชนไดท กุ คน ทุกชวงวัย ท่ีมีกิจกรรมท่ี หลากหลาย สนองตอบความตอ งการในการเรียนรูใ นแตล ะชว งวัย และเปนศนู ยบรกิ ารความรู ศูนยการจัดกิจกรรมที่ ครอบคลุมทุกกลมุ วยั เพ่ือใหมีพัฒนาการเรียนรูท่ีเหมาะสม และมคี วามสขุ กับการเรียนรตู ามความสนใจ ๖.๑ ประสานกบั สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐานเพื่อจัดทําทําเนียบขอมูลโรงเรียนท่ี ถกู ยบุ รวม หรอื คาดวา นา จะถกู ยบุ รวม ๖.๒ ประสานขอใชพนื้ ท่ีโรงเรียนท่ถี กู ยบุ รวม เพ่ือจัดต้งั ศนู ยก ารเรียนรสู ําหรับทุกชวงวยั กศน. อํานาจหนาทีข่ องสํานกั งาน กศน.จังหวดั สืบเน่ืองจากพระราชบัญญัติสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยพ.ศ. ๒๕๕๑ มีผล บังคับใช เม่ือวันที่ ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ ซ่ึงสงผลใหมีสํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดเกิดข้นึ เปนหนวยงานในสังกัดเปล่ียนเปน สํานักงานสงเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยและมีสถานภาพเปนหนวยงานการศึกษาตาม พ.ร.บ. ระเบียบขาราชการครูและบุคลากรทางการ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมีช่ือยอวา สํานักงาน กศน.จังหวัด” ทําหนาที่เปนหนวยงานธุรการของคณะกรรมการ สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จังหวัด และตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการออกตาม ความนัยมาตรา ๒๕ แหง พ.ร.บ.สงเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ และ มาตรา ๔ แหง พ.ร.บ.ระเบียบขา ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๔๗ เม่ือวันท่ี ๔ มีนาคม ๒๕๕๑ โดยรัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ กาํ หนดอํานาจหนาท่ีบริหารจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั ภายในจงั หวัดดงั ตอไปนี้ ๑. จัดทาํ ยุทธศาสตรแ ผนพัฒนาและมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ในจังหวัด ใหสอดคลองกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษาชาติ แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศยั และความตองการของทองถนิ่ และชมุ ชน ๒. ศึกษา วิเคราะห วิจัยและรวบรวมขอมลู สารสนเทศ ดานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั ๓. วเิ คราะห จดั ตัง้ จัดสรร เงินงบประมาณใหแกสถานศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยของ สถานศกึ ษาและภาคเี ครอื ขา ย ๔. ประสาน สงเสริม สนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ของสถานศึกษา และภาคเี ครอื ขาย ๕. จัดระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษานอกระบบตามที่กฎหมายกําหนด ๖. สงเสริม สนับสนุนการเทียบโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรูและประสบการณและการเทียบ ระดบั การศกึ ษา ๗. สงเสริมและพัฒนาหลักสตู ร สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศกึ ษารว มกับสถานศึกษาและภาคี เครือขาย ๘. ระดมทรัพยากรดานตา ง ๆ รวมท้ังทรัพยากรบุคคล เพื่อการมีสว นรวมในการสงเสริมสนับสนุนการจัด และพฒั นาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๙. สงเสริม สนับสนนุ การวิจยั และพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ๑๐. พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั และภาคเี ครอื ขา ย กรอบทิศทางการดําเนินงานประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นกั งาน กศน.จังหวดั ลาํ ปาง หนา ๑๕

๑๑. สงเสริม สนับสนุน ติดตามและรายงานผลการดําเนินงานตามโครงการอันเนื่องมากจาก พระราชดําริ งานนโยบายพเิ ศษของรัฐบาลและงานเสรมิ สรา งความมั่นคงของชาติ ๑๒. กํากับ ดูแล นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของสถานศกึ ษาและภาคีเครอื ขา ย ๑๓. ปฏบิ ัติงานอน่ื ๆ ตามท่ไี ดร บั มอบหมาย ภายใตอํานาจหนาท่ีดงั กลาว สาํ นักงาน กศน. จังหวัดลาํ ปาง จึงไดออกแบบโครงสรางรองรบั จากกลุม ภารกิจภายใตคําวา “กลุม” จําแนกไปสูกลุมงาน และงานตามลําดับ โดยแตละงานจะแสดงภาระงานใหเห็นเปน แนวทางปฏิบัติท่ีชัดเจน ตลอดจนผลสําเร็จท่ีคาดหวังจากการปฏิบัติงานตางๆ ดวยและจัดโครงสรางการบริหาร ภายในหนวยงานออกเปน ๗ กลมุ ไดแ ก ๑. กลมุ อาํ นวยการ ๒. กลุมยทุ ธศาสตรแ ละการพัฒนา ๓. กลุมสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบ ๔. กลมุ สงเสรมิ การศึกษาตามอธั ยาศยั ๕. กลมุ สงเสรมิ ภาคีเครือขา ยและกิจการพิเศษ ๖. กลมุ นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ๗. กลุมตรวจสอบภายใน กรอบทศิ ทางการดําเนนิ งานประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จงั หวัดลาํ ปาง หนา ๑๖

ความเชอื่ มโยงระหวางยุทธศาสตรร ะดับตางๆ กับยทุ ธศาส ยุทธศาสตรช าติ ย. ๑ การสรางความ ย. ๒ การสรางความสามารถในการแขงขนั ย. ๓ กา (พ.ศ.๒๕๖๑-๒๕๘๐) มัน่ คง เสรมิ สร ย.๕ การเสรมิ สราง ย.๑ การเสรมิ สรางและพัฒนาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย ย.๑ กา ความมั่นคงแหงชาติ ย.๓ การสรางความเขม แขง็ ทางเศรษฐกิจและ พฒั นา แผนพัฒนาเศรษฐกิจ เพ่อื การพัฒนาประเทศ แขง ขนั ไดอ ยา งยงั่ ยนื ย.๙ กา และสงั คมแหง ชาติ สคู วามมนั่ คงและยง่ั ยนื ย.๗ การพัฒนาโครงการพ้ืนฐานและระบบโลจสิ ตกิ ส และพน้ื ย.๘ การพัฒนาวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยี วิจยั ฉบับที่สิบสอง และนวตั กรรม พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ ย.๙ การพฒั นาภาค เมอื ง และพน้ื ที่เศรษฐกจิ น. ๑ การปกปองและ น. ๖ การเพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ น. ๔ ก เชดิ ชูสถาบนั น. ๗ การสงเสริมบทบาทและการใชโ อกาสใน การทะ นโยบายรฐั บาล พระมหากษัตรยิ  ประชาคมอาเซยี น ศลิ ปะแ น. ๒ การรักษาความ น. ๘ การพัฒนาและสง เสริมการใชป ระโยชน มัน่ คงของรฐั และการ จากวิทยาศาสตร เทคโนโลยี การวจิ ยั และพัฒนา ตางประเทศ และนวัตกรรม แผนการศึกษา ย. ๑ การจดั การศกึ ษา ย. ๒ การผลติ และพัฒนากําลังคนการวจิ ยั และ ย. ๓ ก เพ่อื ความมน่ั คงของ นวัตกรรมเพ่มิ สรา งขดี ความสามารถในการ คนทกุ ช แหง ชาติ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ สงั คมและประเทศชาติ แขงขันของประเทศ สรา งสัง ยทุ ธศาสตร ย.๑ การจัดการศกึ ษา ย. ๒ การผลติ และพฒั นากําลังคน รวมทงั้ ย. ๓ ก กระทรวงศึกษาธิการ เพือ่ ความมนั่ คงของ งานวจิ ัย และนวตั กรรมทีส่ อดคลอ งกบั เสริมสร ป ๒๕๖๓ ชาติ ความตอ งการของการพัฒนาประเทศ ตลอดช ยุทธศาสตร ย.๑ พัฒนาการจดั ย.๒ พัฒนากาํ ลังคน การวิจยั เพอื่ สรา ง ย.๓ พัฒ การศกึ ษาเพือ่ ความ ความสามารถในการแขงขันของประเทศ ใหมคี ุณ สป. ศธ. ป ๒๕๖๓ มั่นคง นโยบายและจุดเนน ย. ๑ ดา นความม่นั คง ย. ๒ ดา นการสรางความสามารถในการแขงขนั ย. ๓ ดา กศน. ป ๒๕๖๓ เสรมิ สร กรอบทศิ ทางการดําเนนิ งานประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสํานกั งาน กศน.จงั หวดั ลาํ ปาง

สตร ประจําปง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน. ารพฒั นาและ ย.๔ ดา นการสรา งโอกาสบน ย. ๕ ดานการสรา งการ ย. ๖ ดานการปรบั สมดุลและ รา งศักยภาพคน ความเสมอภาคและความเทา เตบิ โตบนคณุ ภาพชีวิตทเ่ี ปน พฒั นาระบบการบรหิ าร ารเสริมสรา งและ เทยี มกนั ทางสงั คม มิตรกบั สง่ิ แวดลอ ม จัดการภาครฐั าศักยภาพทุนมนุษย ย.๑ การเสรมิ สรา งและ ย.๔ การเตบิ โตท่ีเปน มิตรกบั ย.๖ การบรหิ ารจัดการใน ารพฒั นาภาค เมือง พัฒนาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย ส่งิ แวดลอ มเพอื่ การพฒั นา ภาครฐั การปองกันการทจุ ริต นทีเ่ ศรษฐกิจ ย.๒ การสรา งความเปน ธรรม อยางยงั่ ยนื ประพฤตมิ ิชอบและธรรมาภิ และลดความเหลื่อมลา้ํ ใน ย.๗ การพัฒนาโครงการ บาล การศกึ ษาและเรียนรู สังคม พื้นฐานและระบบโลจิสตกิ ส ย.๙ การพฒั นาภาค เมือง ะนุบํารงุ ศาสนา ย.๙ การพฒั นาภาค เมือง ย.๙ การพฒั นาภาค เมอื ง และพน้ื ทเ่ี ศรษฐกิจ และวัฒนธรรม และพ้ืนที่เศรษฐกิจ และพ้นื ที่เศรษฐกจิ น.๓ ความเหลื่อมล้ํา น.๙ การรกั ษาความมั่นคง น.๑๐ การสง เสรมิ การบริหาร น.๕ สาธารณสขุ ของฐานทรัพยากร และการ ราชการแผนดนิ ที่มธี รรมาภิ สรา งสมดลุ ระหวา งการ บาลและการปองกนั ปราบปราม อนรุ กั ษกับการใชป ระโยชน ทจุ ริต และประพฤติชอบใน อยางย่ังยนื ภาครัฐ น.๑๑ กฎหมาย การพัฒนาศกั ยภาพ ย. ๔ การสรางโอกาส ความ ย. ๕ การจดั การศกึ ษา ย. ๖ การพัฒนาประสทิ ธภิ าพ ชว งวยั และการ เสมอภาค และความเทา เพ่อื สรา งเสรมิ คณุ ภาพชีวติ ที่ ของระบบบริหารจดั การศึกษา สงคมแหง การเรยี นรู เทยี มทางการศกึ ษา เปน มติ รกับสิ่งแวดลอ ม การพฒั นา และ ย. ๔ การสรา งโอกาสทาง ย. ๕ การจดั การศกึ ษาเพ่อื ย. ๖ การพัฒนาระบบบรหิ าร รางศักยภาพคน การศึกษาตอเนือ่ งตลอดชวี ิต สรา งเสริมคุณภาพชวี ิตท่เี ปน จดั การใหมปี ระสทิ ธิภาพ ชว งชวี ติ อยางทว่ั ถึงและเทา เทยี ม มิตรกบั ส่ิงแวดลอ ม ฒนาศักยภาพคน ย.๔ สรางโอกาสและความ ย.๕ สงเสริมและจดั การ ย.๖ พัฒนาระบบบรหิ าร ณภาพ เสมอภาคทางารศึกษา ศึกษาเพื่อเสริมสรางคุณภาพ จดั การใหมีประสทิ ธภิ าพ ชวี ติ ที่เปน มติ รกบั สงิ่ แวดลอ ม านการพฒั นาและ ย.๔ ดานการสรา งโอกาสบน ย. ๕ ดานการสรา งการ ย. ๖ ดานการปรบั สมดลุ และ รางศกั ยภาพคน ความเสมอภาคและความเทา เตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเปน พัฒนาระบบการบรหิ าร เทยี มกนั ทางสงั คม มติ รกับส่งิ แวดลอ ม จัดการภาครฐั หนา 17

โครงการทป่ี รากฏในแผนปฏิบตั กิ ารประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2563 สํานกั งาน กศน.จงั หวดั ลําปาง สํานักงาน กศน. จังหวัดลําปาง ไดจัดทําโครงการ/กิจกรรม เพ่ือรองรบั กฎหมายที่เก่ียวขอ ง กับนโยบาย รัฐบาล มติคณะรฐั มนตรี ตลอดจนแผนปฏิบัติราชการ และแผนปฏบิ ัติราชการทเ่ี กี่ยวของ รายละเอียดโครงการ กจิ กรรมหลกั เปาหมายการดําเนนิ งาน และงบประมาณ ไดแสดงในตารางแผนปฏิบตั กิ ารประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสาํ นักงาน กศน.จังหวัดลําปาง (กศน-กผ-๐๓) ๑. แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ (ดา นการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพคน) ๑.๑ คาใชจา ยเกย่ี วกบั บคุ ลากรภาครัฐ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาและการเรียนรูตลอดชีวิต ๒. แผนงานพื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสรางศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย ๒.๑ ผลผลติ ท่ี ๔ : ผูรบั บรกิ ารการศกึ ษานอกระบบ ๒.๑.๑ กจิ กรรมจดั การศกึ ษานอกระบบ ๒.๑.๒ กิจกรรมทนุ การศกึ ษาเดก็ สภาวะยากลาํ บากในเขตพน้ื ท่สี ูงภาคเหนือ ๒.๑.๓ กิจกรรมสง่ิ อํานวยความสะดวก สื่อ บริการ และการชวยเหลอื อืน่ ใดทางการศกึ ษา สาํ หรับคนพิการ ๒.๑.๔ โครงการเทยี บโอนความรเู ทียบระดบั การศึกษามิตคิ วามรคู วามคดิ ๒.๒ ผลผลติ ที่ ๕ : ผูรับบริการการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๒.๒.๑ กิจกรรมจัดการศกึ ษาตามอัธยาศัย ๒.๒.๒ กจิ กรรมจัดสรา งแหลงการเรยี นรูใ นระดับตาํ บล ๒.๒.๓ กจิ กรรมสนับสนนุ คา บรกิ ารเครอื ขา ยสารสนเทศเพอ่ื การจัดการศึกษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ๓. แผนงานยทุ ธศาสตรส รา งความเสมอภาพทางการศกึ ษา ๓.๑ โครงการสนับสนนุ คา ใชจ า ยการจัดการศกึ ษาตั้งแตร ะดับอนุบาลจนจบการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน ๔. แผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนบั สนุนดานการพฒั นาและเสรมิ สรา งศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย ๔.๑ โครงการขบั เคล่ือนการพฒั นาการศึกษาทีย่ ัง่ ยนื ๔.๑.๑ โครงการศนู ยฝกอาชีพชมุ ชน ๔.๑.๒ โครงการพฒั นาทักษะครู กศน. ตน แบบการสอนภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร ๔.๑.๓ โครงการภาษาองั กฤษเพื่อการส่อื สารดา นอาชพี ๕. แผนงานยุทธศาสตรพฒั นาศักยภาพคนตลอดชวงชวี ิต ๕.๑ โครงการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ ผูสงู อายุ ๕.๑.๑ โครงการความรว มมอื การผลิตผูดูแลผูสูงอายุ ระหวางกระทรวง ศึกษาธิการและ กระทรวงสาธารณสุข ๕.๑.๒ โครงการการจัดและสง เสริมการจดั การศึกษาตลอดชวี ติ เพอ่ื คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมองของผูสงู อายุ ๖. แผนงานยทุ ธศาสตรพ ฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมดิจิทัล ๖.๑ โครงการพัฒนาเศรษฐกจิ ดิจทิ ลั ๖.๑.๑ โครงการศูนยด จิ ิทลั ชมุ ชน กรอบทศิ ทางการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ของสํานักงาน กศน.จังหวัดลําปาง หนา 18


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook