หนังสือ ตำบลเชี่ยวเหลียง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง
คำนำ หนังสือชุมชนเชี่ยวเหลียง อำเภอกะเปอร์ จังหวัดระนอง จัดทำขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่ง ของโครงการมหาวิทยาลัยสู่ตำบลสร้างรากแก้วให้ประเทศตามนโยบายของกระทรวง การอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม0(อว.) เป็นโครงการที่สร้างอนาคต ให้กับo3,0000ตำบลทั่วประเทศโดยการขับเคลื่อนผ่าน “โครงการยกระดับเศรษฐกิจ และสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ0ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี”ซึ่งมีวัตถุ ประสงค์เพื่อให้เกิดการสร้างงาน และพัฒนาแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของตำบล0 อีกทั้งส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับทางด้านประวัติศาสตร์ของชุมชน รวมถึงการแก้ไขปัญหา ความยากจนของครัวเรือนในชุมชน และการยกระดับเศรษฐกิจสังคมรายตำบลแบบ บูรณาการ ทางคณะจึงได้จัดทำหนังสือประวัติศาสตร์ชุมชนขึ้นมาเพื่อที่จะเป็นประโยชน์ อย่างยิ่งต่อชุมชนและคนในชุมชน คณะผู้จัดทำ
คำนำ (ต่อ) ภายในหนังสือประวัติศาสตร์ชุมชนตำบลเชี่ยวเหลียง อำเภอกะเปอร์ จังหวัด ระนอง ประกอบไปด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ ขนาดและที่ตั้ง ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การคมนาคมประวัติความเป็นมาของชุมชน อีกทั้งโครงสร้าง ของชุมชนทางด้านเศรษฐกิจอาชีพ วัฒนธรรม รวมถึงโครงการในการยกระดับ เศรษฐกิจและสังคมรายตำบลแบบบูรณาการ โดยการนำองค์ความรู้ไปช่วยในการ บริหารชุมชน ด้วยการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้และเป็นแนวทางสำคัญสำหรับ ผู้ที่มีความสนใจ สามารถค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือชุมชนเล่มนี้ ขอขอบพระคุณ องค์การบริหารส่วนตำบล คณะผู้เชี่ยวชาญ ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านและ วิศวกรสังคมตำบลเชี่ยวเหลียงที่ได้จัดทำหนังสือชุมชนตำบลเชี่ยวเหลียงขึ้นมา และให้บรรลุล่วงสำเร็จไปด้วยดี ทั้งนี้หากผิดพลาดประการใดก็ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทำ
สารบัญ 01 ข้อมูลทั่วไป 02 ประวัติความเป็นมา 03 แผนที่ตำบลเชี่ยวเหลียง 04 ลักษณะภูมิประเทศและลักษณะภูมิอากาศ 05 ธรรมชาติที่สำคัญ 08 ป่าไม้ 09 การคมนาคม 10 สถานที่สำคัญ 11 ข้อมูลด้านประชากร 12 ข้อมูลด้านการศึกษาและศาสนา
สารบัญ 13 การปกครอง 14 ทำเนียบคณะผู้ใหญ่บ้าน 15 ทำเนียบผู้ปกครองตำบลเชี่ยวเหลียง 16 ประวัติหมู่บ้านตำบลเชี่ยวเหลียงและไทม์ไลน์ ตำบลเชี่ยวเหลียง 17 เหตุการณ์สำคัญ 33 ระบบเศรษฐกิจ 34 การเกษตร 35 ปศุสั ตว์ 36 อุตสาหกรรม 37 การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ 38 แรงงาน
สารบัญ 39 ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม 40 ประเพณีสวดกลางบ้าน 41 ประเพณีถ่อแพทวนน้ำ พายเรือทวนน้ำ 42 ประเพณีเกี่ยวข้าวประจำปี 43 ผลิตภัณฑ์ของตำบล 44 ปลาดุกร้า 45 ไทม์ไลน์กระบวนการทำปลาดุกร้า 47 น้ำพริกปลาดุกร้า 48 ไทม์ไลน์กระบวนการน้ำพริกปลาดุกร้า
สารบัญ 50 ภูมิปั ญญาท้องถิ่น 51 ผสมยาสมุนไพรแผนโบราณ 52 นวดแผนโบราณ 53 จักสาน 54 หมอดิน 55 ช่างแกะสลักไม้ 56 อาหารประจำท้องถิ่น 57 ภาคผนวก
ส่ วนที่ 1 ข้ อ มู ล ทั่ ว ไ ป
ประวัติความเป็นมา เนื่องจากสมัยก่อนยังไม่มีถนน การคมนาคมต้องใช้เรือในการสัญจรไปมาระหว่าง หมู่บ้านกับอำเภอ โดยใช้คลองกะเปอร์เป็นเส้นทางสัญจร ซึ่งมีน้ำลึกมาก มีโค้งน้ำไหลเชี่ยว และแรงมาก จึงเรียกว่าเชี่ยวหลาก และบริเวณนั้นมีต้นเหลียงอยู่เป็นจำนวนมาก ประกอบ กับช่วงหลังน้ำไม่เชี่ยวแล้ว ชาวบ้านจึงเรียกชื่อใหม่ว่า \"เชี่ยวเหลียง\" มาจนถึงปัจจุบันนี้
แผนที่ตำบลเชี่ยวเหลียง
ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ ป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ ลั ก ษ ณ ะ ภู มิ อ า ก า ศ พื้ น ที่ ส่ ว น ใ ห ญ่ มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ที่ ร า บ สู ง มี ภู เ ข า แ ล ะ มี ที่ ร า บ ร ะ ห ว่ า ง ภู เ ข า มี ค ล อ ง เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง ไ ห ล ผ่ า น ต ล อ ด ทั้ ง ปี เ ห ม า ะ แ ก่ ก า ร เ ก ษ ต ร
ธรรมชาติที่สำคัญ บึ ง บั ว ห ล ว ง
น้ำ ต ก เ ห ว ภู มิ
ป่าไม้ เ ป็ น ป่ า ไ ม้ ป ร ะ เ ภ ท ป่ า ดิ บ ชื้ น ใ น เ ข ตื้ น ที่ นี้ ดิ น มี ค ว า ม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ จึ ง ทำ ใ ห้ มี พ ร ร ณ ไ ม้ น้ อ ย ใ ห ญ่ น า น า ช นิ ด พ ร ร ณ ไ ม้ ที่ สำ คั ญ ไ ด้ แ ก่ ต ะ เ คี ย น หิ น ก ะ บ า ก ย า ง น า จำ ป า ไ ข่ เ ขี ย ว ต า เ สื อ ห ลุ ม พ อ เ สี ย ด ช่ อ อิ น ท นิ ล ม ะ เ ม่ า ก่ อ แ ซ ะ ม ะ เ ฟื อ ง ช้ า ง ไ ท ร ย้ อ ย ใ บ คู่ ส ะ ต อ ม ะ ป ริง แ ล ะ เ ต่ า ร้ า ง สำ ห รั บ พ ร ร ณ ไ ม้ ที่ เ ป็ น อ า ห า ร ข อ ง สั ต ว์ ป่ า ไ ด้ แ ก่ ม ะ ก อ ก ป่ า ไ ท ร ม ะ ม่ ว ง ป่ า พ ะ เ นี ย ง ก ร ะ ท้ อ น ป่ า ม ะ ห า ด ห ว้ า ข นุ น ป่ า ไ ผ่ ผ า ก ร ะ กำ แ ล ะ ห ว า ย เ ป็ น ต้ น แ ล ะ พ ร ร ณ ไ ม้ พื้ น ล่ า ง ต่ า ง ๆ ห ล า ก ช นิ ด เ ช่ น ป า ล์ ม เ ฟิ ร์ น แ ล ะ ก ล้ ว ย ไ ม้ เ ป็ น ต้ น มี ห น่ ว ย พิ ทั ก ษ์ ป่ า เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง เ ข ต รั ก ษ า พั น ธ์ สั ต ว์ ป่ า ค ล อ ง น า ค า
การคมนาคม ก า ร สั ญ จ ร ไ ป ม า จ า ก อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ - ตำ บ ล เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง ใ ช้ เ ส้ น ท า ง อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ - บ้ า น น า มี ร ถ ป ร ะ จำ ท า ง วิ่ ง ผ่ า น ระยะทางประมาณ 15 กม.
สถานที่สำคัญ ศ า ส น ส ถ า น ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย วั ด / สำ นั ก ส ง ฆ์ จำ น ว น 2 แ ห่ ง ไ ด้ แ ก่ สำ นั ก ส ง ฆ์ เ ว ฬุ วั น ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 1 บ้ า น น้ำ แ ด ง วั ด ค ง ค า รี ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 2 บ้ า น ย่ า ว ย า ว ส ถ า น ศึ ก ษ า ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย โ ร ง เ รีย น ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า ศู น ย์ พั ฒ น า เ ด็ ก เ ล็ ก 1 แ ห่ ง ไ ด้ แ ก่ โ ร ง เ รีย น บ้ า น เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 5 ตำ บ ล เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง ศู น ย์ พั ฒ น า เ ด็ ก เ ล็ ก ตั้ ง อ ยู่ ห มู่ ที่ 5 บ้ า น น า ใ น ตำ บ ล เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง ส า ธ า ร ณ สุ ข มี ห น่ ว ย บ ริก า ร ส า ธ า ร ณ สุ ข ดั ง นี้ โ ร ง พ ย า บ า ล ส่ ง เ ส ริม ส่ ว น ตำ บ ล เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง
ด้านประชากร ข้ อ มู ล จำ น ว น ป ร ะ ช า ก ร / จำ น ว น ค รั ว เ รือ น / ก า ร ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ / เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ตำ บ ล เ ชี ย ว เ ห ลี ย ง อำ เ ภ อ ก ะ เ ป อ ร์ จั ง ห วั ด ร ะ น อ ง มี ค รั ว เ รือ น ทั้ ง สิ้ น 4 7 8 ค รั ว เ รือ น ป ร ะ ช า ก ร 1 , 4 1 2 ค น แ บ่ ง เ ป็ น เ พ ศ ช า ย ๗ ๑ ๒ ค น เ พ ศ ห ญิ ง 7 0 0 ค น
ด้านการศึกษา ค น ร ะ ดั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ป ร ะ ช า ช น ตำ บ ล เ ชี่ ย ว เ ห ลี ย ง จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศึ ก ษ า จำ น ว น 634 คน 235 คน จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ต อ น ป ล า ย / ป ว ช . จำ น ว น 46 คน 71 คน จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ อ นุ ป ริญ ญ า / ป ว ส . จำ น ว น 3 คน จ บ ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ ป ริญ ญ า ต รี จำ น ว น จ บ ก า ร ศึ ก ษ า สู ง ก ว่ า ป ริญ ญ า ต รี จำ น ว น ด้านศาสนา ป ร ะ ช า ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ นั บ ถื อ ศ า ส น า พุ ท ธ
ด้านการปกครอง อ้างอิง : https://www.matichon.co.th
ทำเนียบคณะผู้ใหญ่บ้าน ลำดับที่ รายชื่อ หมู่ ผู้ใหญ่บ้าน นายสุภ าพ ประสิทธิพร หมู่ที่ 1 บ้าน น้ำแดง 1 ผู้ใหญ่บ้าน นายสุภาพ จันทร์หอม หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว 2 ผู้ใหญ่บ้าน นายธารินทร์ พลสิทธ์ หมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลี่ยง 3 ผู้ใหญ่บ้าน นายชูศักดิ์ ทับปาน หมู่ที่ 4 บ้านขุนรอง 4 ผู้ใหญ่บ้าน นายอนุภาพ ตันนุ้ย หมู่ที่ 5 บ้านนาใน 5 ผู้ใหญ่บ้าน นายธวัชชัย บุรีรัตน์ หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล 6 กำนัน นายบุญจักร สงคราม หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร 7
ทำเนียบผู้ปกครองตำบลเชี่ยวเหลี่ยง ลำดับที่ รายชื่อ ลำดับที่ รายชื่อ 1 นาย หีต คำกล้า 8 นายเชาวลิ ต มณีรัตน์ 2 3 นายเคล้า สิทธิเดช 9 นายบุญจักร สงคราม 4 นายเพชร ทองเพ็ญคำ 5 6 นายเงิน วงศ์สากร 7 นายนวล น้อยชนะ นายป้วน คำกล้า นายสุทน พลสิทธิ์
ประวัติหมู่บ้านตำบลเชี่ยวเหลียงและไทม์ไลน์ ตำบลเชี่ยวเหลียง
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2368 1 มีการสร้างวัดคงคารีที่หมู่ 2 บ้านย่านยาว 2471 2 นายภพ สมบุญ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว 2472 3 นายเชื้อ พลสิทธิ์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านนาใน -พระครูสุขอุรัจฉโท ได้ทำการสอนหนังสือให้แก่เด็กครั้งแรก 2475 4 โดยใช้ศาลาวัดคงคารี -นายเงิน วงศ์ษากร ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านนาใน พร้อมทั้งได้รับตำแหน่ง กำนันตำบลเชี่ยวเหลียงในปีเดียวกัน -ชาวบ้านในพื้นที่เริ่มมีการทำสวนผลไม้แบบผสมผสาน 2477 5 -นายนวล น้อยชนะ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -ชาวบ้านส่วนใหญ่ใช้เรือเป็นพาหนะในการเดินทางระหว่างหมู่บ้านไป อำเภอกะเปอร์
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2482 6 -นายชื่น แก้วรุ่ง ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 -นายเงิน วงศ์ษากร หมดวาระจากการดำรงตำแหน่งกำนัน ตำบลเชี่ยวเหลียง และได้แต่งตั้งนายนวล น้อยชนะ ให้ดำรงตำแหน่ง กำนัน ตำบลเชี่ยวเหลียง 2489 7 -นายนวล น้อยชนะ ได้บริจาคที่ดินจำนวน 1 ไร่ ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านย่าน ยาวเพื่อสร้างอาคารเรียนหลังแรกซึ่งใช้ไม้ไผ่ในการสร้าง 2490 8 หลวงปู่ฮอด(ก่อนอุปสมบท)ให้ได้เข้ามาอยู่ที่หมู่บ้านย่านยาว 2492 9 -โรงเรียนบ้านเชี่ยวเหลียงได้รับงบประมาณในการสร้างอาคารเรียนหลัง ที่ 2 ด้วยงบประมาณ 500 บาท ที่หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว 2495 10 -นายลอย ทองทิพย์ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล -ชาวบ้านส่วนใหญ่เริ่มทำสวนแบบผสมผสาน เช่น สวนปาล์ม ยางพารา หมาก มังคุด ทุเรียน
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2500 11 -นายอ่อน รัชนิพนธิ์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -ชาวบ้านส่วนใหญ่สัญจรโดยทางน้ำใช้เรือเป็นพาหนะระหว่างหมู่บ้าน 2506 12 -นายพัน จันทร์หอม ได้รับแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว 2510 13 -ชาวบ้านในตำบลได้เริ่มมีการทำอาชีพร่อนแร่ดีบุกในคลอง อาทิเช่น คลองน้ำแดง คลองทุ่งใหญ่ คลองย่านยาว คลองเชี่ยวเหลียง เพื่อเอาไป ขายในอำเภอกะเปอร์โดยใช้เรือในการบรรทุก 2511 14 -มีการสร้างถนนลูกรังเพื่อใช้ในการเดินทางโดยได้มีการเริ่มใช้เกวียน ช้าง เป็นพาหนะในการเดินทางระหว่างหมู่บ้านไปยังอำเภอ -นายแสงเดือน ศรีนุวงศ์ ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง 2514 15 -มีการสร้างโรงเรียนชนะบำรุงในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -ย้ายโรงเรียนเชี่ยวเหลี่ยงจากหมู่ที่ 2 บ้านย่านยาวมาสร้างใหม่ในพื้นที่ หมู่ที่ 5 บ้านนาในในปัจจุบัน
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2515 16 -มีการทำถนนลาดยางสายแรกที่หน้าโรงเรียนชนะบำรุงระยะทาง 600 เมตร -โรงเรียนเชี่ยวเหลียงได้ทำการอาคารเรียน แบบ ป 1. ก 2516 17 -สร้างโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเชี่ยวเหลียง 2517 18 -โรงเรียนบ้านเชียวเหลียงได้ทำการสร้างบ้านพักครูแบบสามัญ 2519 19 -โรงเรียนเชี่ยวเหลียงมีการสร้างอาคารเรียน แบบ 008 2520 20 -นายชาลี คชเดช ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 4 บ้านขุนรอง -มีการสร้างสำนักสงฆ์ธุดงค์เขาพังในพื้นที่ หมู่ที่ 5 บ้านนาใน 2522 21 -นายเอียด ปานเปีย ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล 2524 22 -วัดคงคารีสร้างอุโบสถไม้ทรงไทยโบราณในพื้นที่ หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -ทหารได้ทำการขับไล่คอมมิวนิสต์ และชาวบ้านออกจากพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2525 23 -นายปราโมทย์ เกิดนิล ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -มีรถรับจ้างโดยสารจากหมู่บ้านไปอำเภอ 2527 24 -นายเจียงศักดิ์ วงศ์ทองได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -โรงเรียนบ้านเชี่ยวเหลียงได้มีการสร้างอาคารอเนกประสงค์แบบ สปช 202/26 2529 25 -ชาวอีสานได้มีการย้ายถิ่นฐานเข้ามาอาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง เป็นจำนวนมาก -ชาวบ้านในพื้นที่ได้มีการนำไม้ไผ่มาสานเข่งใส่ถ่านเป็นอาชีพเสริม 2530 26 -สร้างสำนักสงฆ์เวฬุวันในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ทำการเดินเสาไฟฟ้าผ่านตำบลเชี่ยวเหลียง ไปยัง ตำบลบ้านนา -นายสุธน พลสิทธิ์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งกำนัน ตำบลเชี่ยวเหลียง 2531 27 -ชาวจังหวัดสุราษฏร์ธานีได้มีการย้ายถิ่นฐานเข้ามาอาศัยอยู่ในพื้นที่หมู่ที่ 1 -การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้มีการเดินสายไฟเข้าในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2533 28 -มีการทำถนนลาดยางเส้นแรกในพื้นที่หมู่ที่ 1 และหมู่ที่ 2 -การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ขยายไฟฟ้าเข้าเขตพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านขุนรอง -หลวงปู่ฮอด ได้มรณภาพที่วัดคงคารี 2534 29 -การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้ขยายไฟฟ้าเข้าเขตพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -นายเชาวลิต มณีรัตน์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 บ้านขุนรอง 2535 30 -ชาวบ้านในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านขุนรองได้เริ่มมีการนำกาแฟมาปลูกเพื่อทำ สวนกาแฟ 2536 31 -ได้มีการจัดตั้งกองทุนแม่ของแผ่นดินในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านขุนรอง และ หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล -จัดตั้งกลุ่มสตรีอาสาพัฒนาในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาใน 2537 32 -นายนุกุล สุนทรพัฒน์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาตำบล -นายเชาวลิต มณีรัตน์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประธานสภา ตำบลเชี่ยวเหลียง
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2538 33 -นายไพทูลย์ พลสิทธิ์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -นายเชาวลิต มณีรัตน์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งกำนัน ตำบลเชี่ยวเหลียง 2540 34 -นายมานิตย์ มณีรัตน์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง นายกองค์การบริหารส่วน ตำบลเชี่ยวเหลียง -ชาวบ้านในตำบลเริ่มได้มีการทำสวนยางพาราเป็นส่วนใหญ่ -ได้มีการจัดตั้งหน่วยบริการประชาชนที่หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -สร้างองค์การบริหารส่วนตำบลเชี่ยวเหลียง -ตั้งสถานที่ทำการไปรษณีย์เอกชนในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาใน -นายนฤทธิ์ บุรีรัตน์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล 2541 35 -นายจเร ประสิทธิพร ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -จัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตหมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -มีการแยกหมู่บ้านหมู่ที่ 5 บ้านนาในแยกออกเป็นหมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2542 36 -สถานีอนามัยเชี่ยวเหลียงได้รับรางวัลสถานีอนามัยดีเด่น ระดับจังหวัด อันดับที่ 2 2543 37 -นายสุรพงศ์ เกิดนิล ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง นายก องค์การบริหารส่วนตำบลเชี่ยวเหลียงต่อจากนายมานิตย์ มณีรัตน์ -สร้างศาลาเอนกประสงค์ประจำหมู่บ้านในหมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -สร้างศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชนในพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล และ หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร -โรงเรียนบ้านเชี่ยวเหลียงสร้างสนามฟุตบอลและลานอเนกประสงค์ 2544 38 -จัดตั้งกลุ่มกองทุนหมู่บ้านทุกหมู่บ้านในตำบลเชี่ยวเหลียง 2545 39 -ชาวบ้านได้เริ่มมีการปลูกปาล์มน้ำมันในพื้นที่หมู่ที่ 1, 2, 4 ,6, 7 -จัดตั้งกลุ่มฌาปณกิจสงเคราะห์ -มีการขยายไฟฟ้าเข้าในพื้นที่หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล 2546 40 -สร้างถนนลาดยางระหว่างหมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหลไปยังตำบลบ้านนา -ก่อตั้งกลุ่มแม่บ้านฉุกเฉินในพื้นที่หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2547 41 -องค์การบริหารส่วนตำบลเชี่ยวเหลียงได้ทำการยุบไปรวมกัน -นายนิพนธิ์ ธาราวงศ์ษา ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร 2548 42 -จัดตั้งกลุ่มเย็บหญ้าคาหมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -ผู้นำชุมชน กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ได้มีการจัดงานประจำปีของตำบลเชี่ยวเหลียง ในวันลอยกระทงที่สะพานข้ามคลองย่านยาวหมู่ที่ 2 และมีกิจกรรมการแข่งขัน ล่องแพ การแสดงรำวงเวียนครก 2549 43 -ชาวบ้านได้เริ่มมีการทำสวนทุเรียนในพื้นที่หมู่ที่ 1 ,2 ,3 ,4 -นายสมพร นิยม ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 3 -สร้างสะพานแขวนในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านขุนรอง -สร้างหอกระจายข่าวในพื้นที่หมู่ที่ 4 บ้านขุนรอง -จัดตั้งกลุ่มอาชีพแม่บ้านในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาใน และหมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล 2550 44 -จัดตั้งกลุ่มแอโรบิคในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -จัดตั้งกลุ่มอาชีพปาล์มน้ำมันในที่สาธารณะประโยชน์ของหมู่ที่ 5 บ้านนาใน
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2551 45 -นายบุญจักร สงคราม ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร -นายประเสริฐ ช่วยมิตร ได้รับแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหน่วยพิทักษ์ป่าไม้ เชี่ยวเหลียง 2552 46 -สร้างเขื่อนชลประทานในพื้นที่หมู่ที่ 5 บ้านนาใน 2553 47 -โรงเรียนในเขตอำเภอกะเปอร์ได้มีการจัดกิจกรรมเข้าค่ายลูกเสือที่ หน่วยพิทักษ์ป่าไม้เชี่ยวเหลียง 2554 48 -ผู้ใหญ่ กำนัน ผู้นำชุมชนได้มีการฟื้นฟูประเพณีลอยกระทงและกำหนดให้ วันลอยกระทงเป็นงานประจำปีของตำบล -จัดตั้งกลุ่มปาล์มน้ำมันในพื้นที่สาธารณะประโยชน์ในพื้นที่หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -เปิดศูนย์การศึกษานอกระบบของตำบลเชี่ยวเหลียงในพื้นที่หมู่ 5 บ้านนาใน 2555 49 -นายเฉลิม ทองทิพย์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพได้รับโล่ชนะเลิศประกวดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2556 50 -นายชูศักดิ์ ทัปปาน ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรง ตำแหน่งผู้ใหญ่ หมู่ที่ 4 บ้านขุนรอง -นายบุญจักร สงคราม ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร ได้รับแต่งตั้งให้ ดำรงตำแหน่ง กำนันตำบลเชี่ยวเหลียง -หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับสองประกวด ศูนย์เรียนรู้ระดับจังหวัด -หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร ได้รับรางวัลดีเยี่ยมระดับเขต 11 งานกิจกรรม ตำบลจัดการสุขภาพวิสาหกิจชุมชนยั่งยืน 2557 51 -หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิต ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับจังหวัดหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียงต้นแบบ -สภาณีวิทยุโทรทัศน์กองทับบก 5 ได้มาถ่ายทำรายการสาธารณสุขเพื่อ ประชาชนในหมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิตร -หมู่ที่ 7 บ้านชลนิมิต ได้รับรางวัลหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงอยู่เย็น เป็นสุขระดับจังหวัดรับโล่รางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระเทพรัตนะ ราชสุดาสยามบรมราชกุมารี -นางเครือวัล สงคราม ได้รับรางวัล อสม.ดีเด่นระดับชาติ
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2558 52 -นางวรรจรัน นครชัย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดงได้จัดตั้งกลุ่ม ผลิตดอกไม้จันทน์จากใบยางพารา -จัดตั้งกลุ่มเลี้ยงวัวหมู่บ้านของหมู่ที่ 2 หมู่ที่ 4 และหมู่ที่ 6 -นายธารินทร์ พลสิทธิ์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -สร้างหอกระจายข่าวหมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -สร้างลานกีฬาเอนกประสงค์หมู่บ้านในหมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -นายประเทือง มีสุข ได้รับตำแหน่งหัวหน้าหน่วยพิทักษ์ป่าไม้เชี่ยวเหลียง -นายประเทือง มีสุข และเจ้าหน้าที่หน่วยพิทักษ์ป่าเชี่ยวเหลียงพร้อมกับ ผู้นำชุมชนผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 เข้าเดินสำรวจเส้นทางธรรมชาติและน้ำตก เหวภูมิในเขตพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -สร้างประปาหอสูงในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -โครงสร้างท่อประปาในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -โครงการขุดบ่อน้ำตื้นในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -ก่อสร้างระบบประปาแบบบาดาล ขนาดกลาง ในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -โรงเรียนบ้านเชี่ยวเหลียงเป็นโรงเรียนประถมศึกษาปลอดบุหรี่ต้นแบบ ระดับดีเด่น อันดับ2
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2559 53 -จัดตั้งกลุ่มเลี้ยงผึ้งในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -ผู้ใหญ่บ้าน กำนัน ผู้นำชุมชนได้มีการฟื้นฟูประเพณีการถ่อแพทวนน้ำ และประเพณีการถีบหัวแพทำบุญสะเดาะเคราะห์ สวดพานยักษ์ ให้เป็น งานประจำปีของตำบลโดยจัดขึ้นที่สะพานหมู่ที่บ้านย่านยาว -จัดตั้งกลุ่มเลี้ยงวัวในพื้นที่หมู่ที่ 3 บ้านเชี่ยวเหลียง -สร้างสะพานข้ามคลองระหว่างหมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 2560 54 -เกิดการอุทกภัยน้ำป่าไหลหลากในหมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 หมู่ที่ 3 และหมู่ที่ 4 -นายสภาพ จันทร์หอม ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -นายอนุภาพ ตันนุ้ย ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง ผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 5 บ้านนาใน -หมู่ที่ 4 บ้านขุนรองได้จัดตั้งกลุ่มปุ๋ยหมัก -รพ.สต.เชี่ยวเหลียงผ่านการนำเสนอผลงานบทเรียนการดำเนินงาน โครงการจังหวัดปลอดบุหรี่ -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเชี่ยวเหลียงได้รับรางวัลรองชนะเลิศการ ประกวดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดีเด่นระดับจังหวัด
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2561 55 -นางวรรจรัน นครชัย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดงได้จัดตั้งกลุ่ม ผูกผ้าและรับผูกผ้าตามงานพิธีต่างๆ -จัดตั้งชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเชี่ยวเหลียงผ่านเกณฑ์การประเมินตาม มาตรฐานตำบลส่งเสริมเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ฟันไม่ผุ พัฒนาการสมวัย -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเชี่ยวเหลียงได้รับรางวัลชมเชยการคัดเลือก ผลงานตำบลจัดการสุขภาพและนวัตกรรมชุมชนดีเด่น ระดับเขตสุขภาพที่ 11 -โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพเชี่ยวเหลียงได้เข้าร่วมโครงการจังหวัด ระนองร่วมใจ ลด ละ เลิก การใช้พลาสติกและโฟม 2562 56 -จัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชนบ้านย่านยาวหมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -จัดตั้งศูนย์เรียนรู้แม่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -จัดตั้งศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านย่านยาวหมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว -นายธวัชชัย บุรีรัตน์ ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านหล่อไหล -สร้างศูนย์เตรียมความพร้อมรับภัยพิบัติที่หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -โรงเรียนบ้านเชี่ยวเหลียงได้รับรางวัลสถานศึกษาปลอดภัย
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2563 57 -นางวรรจรัน นครชัย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง ได้จัดตั้ง คณะรำกลองยาวรับงานรำหน้านาค หรือในงานต่างๆ -นางจีรนันท์ ภาคอารีย์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว จัดทำ กลุ่มแปรรูปอาหารจากการนำปลาดุกที่เลี้ยงมาทำปลาดุกร้าเพื่อ เป็นอาชีพเสริม -นางจีรนันท์ ภาคอารีย์ ได้มีการแปรรูปจากปลาดุกร้ามาทำน้ำพริก ปลาดุกร้า -นางจีรนันท์ ภาคอารีย์ ได้มีการรวมกลุ่มแม่บ้านนำกล้วยที่มีอยู่ใน สวนมาแปรรูปทำกล้วยฉาบ -สร้างหอกระจายข่าวประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง -นางจีรนันท์ ภาคอารีย์ ได้รับประกาศนียบัตรการปลูกผักสวนครัว ต้นแบบระดับจังหวัดตามโครงการสตรีแบ่งปันรักปลูกพืชผัก ปลอดภัย -โรงเรียนบ้านเชี่ยวเหลียงเข้าร่วมรณรงค์การจัดการขยะในหน่วย งานด้ายการสร้างจิตสำนึกความรู้ในการผลิตและบริโภคที่เป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม
พ.ศ. ปี เหตุการณ์สำคัญ และอื่น 2564 58 -นางวรรจรัน นครชัย ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 1 บ้านน้ำแดง ได้จัดตั้ง คณะรำกลองยาวรับงานรำหน้านาค หรือในงานต่างๆ -นางจีรนันท์ ภาคอารีย์ ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 2 บ้านย่านยาว จัดทำ กลุ่มแปรรูปอาหารจากการนำปลาดุกที่เลี้ยงมาทำปลาดุกร้าเพื่อ เป็นอาชีพเสริม -นางจีรนันท์ ภาคอารีย์ ได้มีการแปรรูปจากปลาดุกร้ามาทำน้ำพริก ปลาดุกร้า -นางจีรนันท์ ภาคอารีย์ ได้มีการรวมกลุ่มแม่บ้านนำกล้วยที่มีอยู่ใน สวนมาแปรรูปทำกล้วยฉาบ-เจ้าหน้าที่หน่วยพิทักษ์ป่าไม้เชี่ยวเหลียง และเจ้าหน้าที่ศูนย์วิจัยและบำรุงพันธุ์สัตว์จังหวัด สุราษฎร์ธานีได้มีการเดินสำรวจสัตว์บกและสัตว์น้ำในเขตพื้นที่ป่าไม้ ตำบลเชี่ยวเหลียง -โรงเรียนบ้านเชี่ยวเหลียงได้รับรางวัลการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็น โรงเรียนดีไม่มีอบายมุข
ระบบเศรษฐกิจ
การเกษตร เ ก ษ ต ร ร้ อ ย ล ะ 8 1 ข อ ง จำ น ว น เ ก ษ ต ร ก ร ทั้ ง ห ม ด ใ ช้ พื้ น ที่ ทำ ก า ร เ ก ษ ต ร แ บ บ ไ ร่ น า ส ว น ผ ส ม แ ล ะ เ ก ษ ต ร ผ ส ม ผ ส า น ร้ อ ย ล ะ 2 0 ข อ ง จำ น ว น เ ก ษ ต ร ก ร ทั้ ง ห ม ด ใ ช้ พื้ น ที่ ทำ ก า ร เ ก ษ ต ร แ บ บ เ ชิ ง เ ดี่ ย ว พื ช ที่ ป ลู ก ม า ก ไ ด้ แ ก่ ป า ล์ ม น้ำ มั น ย า ง พ า ร า ก า แ ฟ ไ ม้ ผ ล พื ช ผั ก
การปศุสัตว์ การปศุสัตว์ ส่วนใหญ่ เป็นการเลี้ยงสัตว์เพื่อบริโภคในครัวเรือน มีเลี้ยงโค เพื่อจำหน่ายเพียงไม่กี่รายประกอบด้วยการเลี้ยงโคเนื้อ จำนวน 74 ครัวเรือน สุกร 80 ครัวเรือน ไก่ 360 ครัวเรือน
อุตสาหกรรม อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ป็ น อุ ต ส า ห ก ร ร ใ น ค รั ว เ รือ น อ า ศั ย แ ร ง ง า น จ า ก ส ม า ชิ ก ใ น ค ร อ บ ค รั ว แ ล ะ แ ร ง ง า น ใ น พื้ น ที่ เ ป็ น ห ลั ก โ ร ง ง า น ข น า ด ใ ห ญ่ ยั ง ไ ม่ มี
การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ปิ ด บ ริก า ร เ ป็ น ร้ า น โ ซ ห่ ว ย ร้ า น อ า ห า ร ต า ม สั่ ง ร้ า น ข้ า ว ร า ด แ ก ง ร้ า น ค้ า สิ น ค้ า ก า ร เ ก ษ ต ร ส ถ า น ที่ รั บ ซื้ อ ป า ล์ ม น้ำ มั น รั บ ซื้ อ ย า ง พ า ร า ปั๊ ม น้ำ มั น ข น า ด เ ล็ ก ไ ม่ มี ร้ า น ส ะ ด ว ก ซื้ อ ห รือ ร้ า น ค้ า ป ลี ก ข น า ด ใ ห ญ่ ก ลุ่ ม อ า ชี พ ไ ด้ แ ก่ ก ลุ่ ม สั ม ม า ชี พ ก ลุ่ ม ข่ า ต ะ ไ ค ร้ ก ลุ่ ม เ ลี้ ย ง โ ค ก ลุ่ ม เ ลี้ ย ง ป ล า ฯ ล ฯ
แรงงาน ส่ ว น ใ ห ญ่ ทำ อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ใ ช้ แ ร ง ง า น ใ น ค รั ว เ รือ น เ ป็ น ห ลั ก ส่ ว น ที่ ใ ช้ แ ร ง ง า น ต่ า ง ด้ า ว เ ช่ น เ มี ย น ม า ร์ จำ น ว น ไ ม่ ม า ก นั ก
ความเชื่อ ประเพณีและพิธีกรรม
ประเพณีสวดกลางบ้าน
ถ่อแพทวนน้ำ พายเรือทวนน้ำ ทีบหัวแพ
ประเพณีเกี่ยวข้าวประจำปี
ผลิตภัณฑ์ของตำบล
ปลาดุกร้า
Search