Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระราชกรณียกิจฉบับสมบูรณ์.pdf

พระราชกรณียกิจฉบับสมบูรณ์.pdf

Published by weerinc60, 2017-11-19 12:34:47

Description: พระราชกรณียกิจฉบับสมบูรณ์.pdf

Search

Read the Text Version

พระราชกรณยี กจิ ด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 9 The Royal duties of King Rama IX about education.นายวาทติ จดั ทาโดย 60460910นางสาววภิ าพร เอมถนอม 60460927นายวรี ภทั ร สุหฤทดารง 60460934นางสาววรี ัชญา ซอนจาปา 60460941นางสาววรี ินทร์ คาวเิ ศษ 60460958นางสาวศวติ า เจริญเลศิ 60460965นางสาวศศิโสภา ไชยมหาพฤกษ์ 60460972นางสาวศิตา พ่วงก้อน 60460989นางสาวศุจิตราภรณ์ ตนั จนาพนั ธ์ 60460996นางสาวศุภานัน อทิ ธยิ าภรณ์ 60461009 บุญวฒั น์รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ า 001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปี การศึกษา 2560

พระราชกรณยี กจิ ด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 9 The Royal duties of King Rama IX about education.นายวาทติ จดั ทาโดย 60460910นางสาววภิ าพร เอมถนอม 60460927นายวรี ภทั ร สุหฤทดารง 60460934นางสาววรี ัชญา ซอนจาปา 60460941นางสาววรี ินทร์ คาวเิ ศษ 60460958นางสาวศวติ า เจริญเลศิ 60460965นางสาวศศิโสภา ไชยมหาพฤกษ์ 60460972นางสาวศิตา พ่วงก้อน 60460989นางสาวศุจิตราภรณ์ ตนั จนาพนั ธ์ 60460996นางสาวศุภานัน อทิ ธยิ าภรณ์ 60461009 บุญวฒั น์รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ า 001221 สารสนเทศศาสตร์เพื่อการศึกษาค้นคว้า มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ปี การศึกษา 2560

ก บทคดั ย่อ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ทรงสนพระราชหฤทยั ในการศึกษาของพสกนิกรเป็นอยา่ งยง่ิ ทรงมีพระราชปณิธานท่ีจะใหก้ ารศึกษาแก่ประชาชนอยา่ งทวั่ ถึงและมีคุณภาพ ทรงเห็นวา่ การศึกษามีความสาคญั ต่อการพฒั นาชีวติ ความเป็ นอยขู่ องประชาชนและต่อการพฒั นาประเทศ ซ่ึงพระองคท์ ่านไดท้ รงประกอบพระราชกรณียกิจนานปั การที่เป็นคุณประโยชน์อยา่ งใหญ่หลวงแก่การพฒั นาการศึกษาของไทยโดยมีพระบรมราโชบายส่งเสริมและสนบั สนุนการศึกษาทุกระดบั ทุกประเภท รายงานน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของรายวชิ าสารสนเทศศาสตร์เพือ่ การศึกษาคน้ ควา้ รหสั วชิ า 001221 กลุ่มเรียนท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร โดยมีจุดประสงคเ์ พ่ือศึกษาและเผยแพร่พระราชกรณียกิจและพระราชดาริดา้ นการจดั การศึกษาของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลท่ี 9 ซ่ึงท้งัพระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาในระบบโรงเรียน ที่มีจุดประสงคเ์ พื่อใหค้ วามรู้แก่เด็กนกั เรียนไทยซ่ึงจะเจริญเติบโตเป็ นกาลงั สาคญั ของประเทศชาติในอนาคต พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษานอกโรงเรียนเพ่ือใหก้ ารศึกษาแก่ผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนที่นบั เป็นหนงั สือที่มีประโยชน์เก้ือกลู การศึกษาเพิม่ พนู ปัญญาดว้ ยตนเองของประชาชน เรื่องการพฒั นาบุคคล ท่ีนอกจากพระองคท์ ่านจากจะทรงสร้างโรงเรียน และพระราชทานการศึกษานอกโรงเรียนใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทยแลว้ พระองคย์ งั ไดพ้ ระราชทานทุนการศึกษาและรางวลั แก่นกั เรียนที่เรียนดีและโรงเรียนท่ีจดั การศึกษาดีอีกดว้ ย รวมถึงการพระราชทานปริญญาบตั รดว้ ยพระองคเ์ อง เพ่อื ใหบ้ ณั ฑิตทุกคนมีความภาคภูมิใจในเกียรติยศที่มีโอกาสไดร้ ับพระราชทานปริญญาบตั รจากพระหตั ถ์ และการท่ีพระองคไ์ ดพ้ ระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จการศึกษาและพระราชทานนามแก่มหาวทิ ยาลยั นเรศวร โดยไดจ้ ดั ทาส่ือการเรียนการสอนจาก PowToon ซ่ึงเป็นแอปพลิเคชนั ที่ใชใ้ นการสร้างวีดีโอนาเสนอที่เนน้ การสร้างในรูปแบบการ์ตูนส้ันเพือ่เพิม่ ความน่าสนใจในการนาเสนอผลงาน เพื่อเป็นประโยชน์กบั ผทู้ ่ีกาลงั ศึกษาหาขอ้ มูลในเร่ืองน้ี

ข Abstract King Rama IX was very care for the education system and had intention to educate the peoplethoroughly. Also, he realized that education was vital to the development of the country and the quality ofThai people’s lives. He has done many royal duties that have greatly contributed to the development of Thai educationby creating policies to promote and support all levels of education.This report, complied by students who are majored in Faculty of Medicine, is part of Informations Sciencefor Study and Research course. The purpose is to study and disseminate King Rama IX’s royal duties. Forexample, the royal duties that support the education systems in the schools to educate Thai students whomwill grow as a major force of the country in the future. The royal duties that support the non-formaleducation to educate the underprivileged by creating The Thai Encyclopedia which is very useful insupporting the self-learning of the people. Not only creating schools and providing non-formal education to Thai people, but he also offersscholarships and awards to well-educated students and schools.Moreover, The King Rama IX had gave degrees to graduates himself to make all the graduates proud ofthemselves. To disseminate the royal duties of King Rama IX, we have created instructional media by usingPowtoon application to create short comic video to enhance the attraction in presentation and be thesource for those who are looking for information on this subject.

ค กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานฉบบั น้ีสาเร็จไดด้ ว้ ยการเอ้ือเฟ้ื อเผอ่ื แผข่ อ้ มูลที่เป็นประโยชน์ และความร่วมมือตา่ งๆ ของหลายทา่ นซ่ึงใหก้ ารสนบั สนุนตลอดจนรายงานสาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี ขอขอบคุณอาจารยส์ มทั รชา เนียมเรือง อาจารยป์ ระจารายวชิ าสารสนเทศศาสตร์เพ่ือการศึกษาคน้ ควา้ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ผทู้ ่ีคอยใหค้ าแนะนา และใหค้ วามคิดเห็นที่เป็นประโยชน์ต่อรายงาน คอยช้ีแนะแนวทางการศึกษาคน้ ควา้ ทาใหค้ ณะผจู้ ดั ทาไดร้ ับขอ้ มูลที่ครบถว้ น และสามารถนามาใชว้ เิ คราะห์วางแผน และสรุปสังเคราะห์ขอ้ มูลไดเ้ ป็นอยา่ งดี ตลอดจนอาจารยป์ ระจารายวชิ าท่านอ่ืนๆท่ีช่วยให้คาแนะนาในการแกไ้ ขขอ้ บกพร่องตา่ งๆเพือ่ ให้รายงานฉบบั น้ีมีความถูกตอ้ งสมบูรณ์มากยง่ิ ข้ึน ทา้ ยน้ีผเู้ ขียนขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ท่ีใหก้ ารอุปการะอบรมเล้ียงดูตลอดจนส่งเสริมและสนบั สนุนคณะผจู้ ดั ทาและใหก้ าลงั ใจเป็นอยา่ งดีมาโดยตลอด อีกท้งั ขอขอบคุณเพือ่ น ๆ ที่ใหก้ ารสนบั สนุนและช่วยเหลือดว้ ยดีเสมอมา และขอขอบพระคุณเจา้ ของเอกสารและงานวจิ ยั ทุกทา่ นที่ผศู้ ึกษาคน้ ควา้ ได้นามาอา้ งอิงในการทาวจิ ยั จนกระทงั่ งานวจิ ยั ฉบบั น้ีสาเร็จลุล่วง คณะผจู้ ดั ทา พฤศจิกายน 2560

ง สารบัญเร่ือง หน้าบทคดั ยอ่ ภาษาไทย………………………………………………………………………………..กบทคดั ยอ่ ภาษาองั กฤษ…………………………………………………………………………….ขกิตติกรรมประกาศ………………………………………………………………………………..คบทที่ 1 บทนา…………………………………………………………………………………….1 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของรายงาน……………………………………………1 1.2 วตั ถุประสงคข์ องรายงาน……………………………………………………………1 1.3 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ………………………………………………………….2 1.4 ขอบเขตการทารายงาน………………………………………………………………2 1.5 ระยะเวลาที่ใชศ้ ึกษา…………………………………………………………………2บทที่ 2 หลกั การและทฤษฎี…………………………………………………………………...…3 2.1 พระราชกรณียกิจและพระราชดาริดา้ นการจดั การศึกษา……………………………3 2.2 พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาในระบบโรงเรียน………………………………….3 2.3 พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษานอกโรงเรียน……………………………………..13 2.4โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน…………………………………………..15 2.5 การพฒั นาบุคคล…………………………………………………………………..16 2.6 พระราชทานปริญญาบตั ร…………………………………………………………20 2.7 พระบรมราโชวาทและพระราชดาริเก่ียวกบั การศึกษา……….……………………20 2.8 ความเก่ียวขอ้ งของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ท่ีมีตอ่ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร……………………………………………………….22บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินงาน………………………………………………………………………25บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ ……………………………………………………………………26บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………27บรรณานุกรม……………………………………………………………………….………….28ภาคผนวก……………………………………………………………………………….……..29ประวตั ิผดู้ าเนินโครงการ………………………………………………………………………42

1 บทท่ี 1 บทนาความเป็ นมาและความสาคญั ของรายงาน การศึกษา คือการสร้างคนใหม้ ีความรู้ความสามารถ มีทกั ษะพ้ืนฐานที่จาเป็ น มีความพร้อมที่จะตอ่ สู้เพื่อตนเองและสังคม มีความพร้อมท่ีจะประกอบการงานอาชีพได้ การศึกษาช่วยใหค้ นเจริญงอกงามท้งั ทางปัญญา จิตใจ ร่างกาย และสังคม จากพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ที่ไดพ้ ระราชทานแก่คณะครูและนกั เรียน ณ ศาลาดุสิดาลยั เม่ือวนั ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2504 วา่ “...การศึกษาเป็นปัจจยั สาคญั ในการสร้างและพฒั นาความรู้ ความคิด ความประพฤติ และคุณธรรมของบุคคล หากสังคมและบา้ นเมืองใดให้การศึกษาท่ีดีแก่เยาวชนไดอ้ ยา่ งครบถว้ นในทุกๆดา้ นแลว้ สังคมบา้ นเมืองน้นั ก็จะมีพลเมืองท่ีมีคุณภาพสามารถดารงรักษาความมน่ั คงของประเทศชาติไว้ และพฒั นากา้ วหนา้ ตอ่ ไปโดยตลอด” ซ่ึงจะเห็นไดว้ า่พระองคท์ ่านน้นั ทรงให้ความสาคญั ต่อการพฒั นาพลเมืองใหม้ ีคุณภาพดว้ ยการใหก้ ารศึกษาเพ่อื ใหส้ ามารถพ่ึงตนเองไดแ้ ละมีฐานะความเป็นอยทู่ ่ีดีข้ึน การศึกษาจึงมีความสาคญั ต่อชีวติ เป็นอยา่ งยง่ิวตั ถุประสงค์ของรายงาน 1.เพือ่ ศึกษาพระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 2.เพือ่ ผลิตสื่อการนาเสนอให้เป็นแหล่งขอ้ มูลเผยแพร่ความรู้ใหก้ บั ผทู้ ี่ตอ้ งการจะศึกษา 3.เพื่อพฒั นาทกั ษะความคิดริเร่ิมสร้างสรรคใ์ นการผลิตสื่อออกมาใหน้ ่าสนใจและง่ายต่อการศึกษา 4.เพอื่ ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนการเพม่ิ ประสิทธิภาพของผจู้ ดั ทาโครงงาน

2ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ 1.ไดค้ วามรู้และความเขา้ ใจเก่ียวพระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 2.ไดเ้ กิดการแลกเปล่ียนความรู้และประสบการณ์การทางานร่วมกนั ของผจู้ ดั ทาโครงงาน เพ่อืนาไปสู่การปรับปรุงและพฒั นาใหม้ ีประสิทธิภาพยงิ่ ข้ึนขอบเขตการทาโครงงาน โครงงานเล่มน้ีจะศึกษาและนาเสนอพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ในดา้ นการศึกษาในระบบโรงเรียน ดา้ นการศึกษานอกโรงเรียน โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน การพฒั นาบุคคล พระราชทานปริญญาบตั ร พระบรมราโชวาทและพระราชดาริเก่ียวกบัการศึกษา และความเก่ียวขอ้ งของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชท่ีมีต่อมหาวทิ ยาลยันเรศวรระยะเวลาทใ่ี ช้ศึกษา 30 กนั ยายน 2560 - 20 พฤศจิกายน 2560

3 บทท่ี 2หลกั การและทฤษฏีพระราชกรณยี กจิ และพระราชดาริด้านการจัดการศึกษา พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานปั การเป็นคุณประโยชน์อยา่ งใหญ่หลวงแก่การพฒั นาการศึกษาของไทย มีพระบรมราโชบายส่งเสริมและสนบั สนุนการศึกษาทุกระดบั ทุกประเภทไดแ้ ก่ การจดั การศึกษาในระบบโรงเรียน นอกระบบโรงเรียน การศึกษาพเิ ศษ การศึกษาสงเคราะห์การพฒั นาทรัพยากรบุคคล การพฒั นาวชิ าการและวจิ ยั และการพระราชทานทุนการศึกษาเป็นตน้ พระราชกรณียกิจทางการศึกษาเป็นที่ประจกั ษใ์ นพระปรีชาสามารถ พระบรมราโชบายอนั ล้าลึก และสายพระเนตรอนั กวา้ งไกลในการใหค้ วามสาคญั กบั การพฒั นาคน ดงั รายละเอียดพระราชกรณียกิจและพระราชดาริเกี่ยวกบั การจดั การศึกษาบางส่วนที่นาเสนอตอ่ ไปน้ี 1. พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาในระบบโรงเรียน 2. พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษานอกโรงเรียน 3. โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน 4. การพฒั นาบุคคล 5. พระราชทานปริญญาบตั ร 6. พระบรมราโชวาทและพระราชดาริเกี่ยวกบั การศึกษา 7.ความเกี่ยวขอ้ งของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่มีต่อมหาวทิ ยาลยั นเรศวร1.พระราชกรณยี กจิ ด้านการศึกษาในระบบโรงเรียน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงใหค้ วามสาคญั กบั การศึกษาเป็นอยา่ งมาก ทรงตระหนกั ดีวา่การศึกษาเป็นรากฐานสาคญั ที่จะช่วยใหพ้ ลเมืองของประเทศมีคุณภาพและช่วยตนเองได้ จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหส้ ร้างโรงเรียนข้ึนตามสถานท่ีต่างๆ ดว้ ยวตั ถุประสงคห์ ลกั กค็ ือ เพือ่ ใหค้ วามรู้แก่เดก็ ไทย ซ่ึงจะเจริญเติบโตเป็ นกาลงั สาคญั ของประเทศชาติ ท้งั น้ีในรายละเอียดของแต่ละโรงเรียนท่ีทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหส้ ร้างข้ึนอาจมีความแตกต่างกนั ไปบา้ ง

4 โรงเรียนที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหส้ ร้างข้ึนและโรงเรียนที่ทรงรับไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ มีจานวนหลายแห่ง เช่น โรงเรียนจิตรลดา โรงเรียนราชวินิต โรงเรียนวงั ไกลกงั วล โรงเรียนราชประชาสมาสยั โรงเรียนภ.ป.ร.ราชวทิ ยาลยั โรงเรียนเจา้ พ่อหลวงอุปถมั ถ์ โรงเรียนร่มเกลา้ โรงเรียนสงเคราะห์เด็กยากจน เป็นตน้ นอกเหนือไปจากการที่ทรงสร้างโรงเรียน และทรงรับโรงเรียนบางแห่งไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภแ์ ลว้ ยงั ไดพ้ ระราชทานเงินและสิ่งของ อีกท้งั ไดเ้ สด็จฯไปทรงเยยี่ มนกั เรียนท่ีพกิ ารและศึกษาอยใู่ นโรงเรียนพิเศษ เช่น โรงเรียนราชานุกลู โรงเรียนสอนคนตาบอด และโรงเรียนจิตตอ์ ารี เป็นตน้โรงเรียนจิตรลดา โรงเรียนจิตรลดา ต้งั ข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2501โดยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคก์ ่อสร้างข้ึนในบริเวณพระตาหนกั จิตรลดารโหฐาน พระราชวงั ดุสิต ท้งั น้ีเพ่ือเป็นสถานศึกษาของพระราชโอรส พระราชธิดา บุตรหลานของพระบรมวงศานุวงศ์ และบุคคลทว่ั ไป ทรงเห็นวา่การส่งพระราชโอรส พระราชธิดาไปเรียนโรงเรียนขา้ งนอก อาจไม่เหมาะสมและเป็นภาระแก่โรงเรียนและครู โรงเรียนจิตรลดาไดร้ ับพระราชทานทุนทรัพยเ์ ป็ นค่าใชจ้ า่ ย นกั เรียนไม่ตอ้ งเสียค่าเล่าเรียนและได้พระราชทานเล้ียงอาหารกลางวนั และอาหารวา่ งตอนบา่ ย นอกจากน้ีนกั เรียนที่เรียนดีก็จะไดร้ ับพระราชทานรางวลั อีกดว้ ยโรงเรียนราชวนิ ิต โรงเรียนราชวนิ ิตไดถ้ ือกาเนิดข้ึนจากที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานท่ีดินสานกั งานทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษตั ริยท์ างทิศใตข้ องสวนสุนนั ทาใหแ้ ก่กรมสามญั ศึกษาเพอ่ื ใชเ้ ป็นที่ก่อสร้างโรงเรียนสาหรับบุตรหลานของขา้ ราชบริพารและประชาชนในทอ้ งถ่ินใชเ้ ป็ นที่เล่าเรียน โดยพระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคส์ มทบกบั เงินท่ีมีผบู้ ริจาคเป็ นค่าใชจ้ ่ายในการก่อสร้างโรงเรียนและไดเ้ สด็จพระราชดาเนินทรงเปิ ดโรงเรียนเม่ือวนั ท่ี 18 มิถุนายน พ.ศ. 2510 ตอ่ มาไดพ้ ระราชทานท่ีดินทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษตั ริยท์ ี่มุมสนามมา้ ราชตฤณมยั สมาคมก่อสร้างโรงเรียนราชวนิ ิตมธั ยมอีกดว้ ย

5โรงเรียนวงั ไกลกงั วล โรงเรียนวงั ไกลกงั วล อาเภอหวั หิน จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์ ต้งั ข้ึนโดยพระบรมราชานุญาตในพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั อานนั ทมหิดล เม่ือวนั ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2481 เพื่อใหก้ ารศึกษาแก่บุตรหลานของเจา้ หนา้ ที่ผรู้ ักษาวงั ไกลกงั วล เปิ ดสอนช้นั เด็กเล็กไปจนถึงช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 และเปิ ดสอนหลกั สูตรวชิ าระยะส้ันเพม่ิ เติมดว้ ย และต่อมาไดอ้ ยใู่ นพระบรมราชูปถมั ภข์ องพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดช โดยในปี พ.ศ. 2497 ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานอาคารที่พกั กองรักษาการณ์วงั ไกลกงั วลใหเ้ ป็นอาคารเรียนแทนอาคารไมเ้ ก่าที่ชารุดทรุดโทรม ต่อมาก็ไดส้ ร้างเป็นอาคารเรียนเพ่มิ ข้ึนบริหารโดย \"คณะกรรมการบริหารโรงเรียนวงั ไกลกงั วล\" ประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวฒุ ิทางดา้ นการบริหารโรงเรียนและทางวชิ าการจากกระทรวงศึกษาธิการและฝ่ ายสานกั พระราชวงั ปัจจุบนั เปิ ดสอนถึงระดบั สารพดั ช่างวชิ าชีพระยะส้ัน และประกาศนียบตั รวชิ าชีพช่างฝีมือ มีจานวนถึง 17 แผนกวชิ า อนั เป็ นการสนองโครงการตามพระราชดาริเก่ียวกบั ศิลปาชีพพเิ ศษ และเป็นท่ีฝึกงานในชว่ั โมงเรียนวชิ าการวางพ้ืนฐานอาชีพดว้ ย และเนื่องในโอกาสปี ฉลองสิริราชสมบตั ิครบ 50 ปี โรงเรียนวงั ไกลกงั วลยงั เป็นศูนยก์ ลางการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียมเพ่อื ออกอากาศการเรียนการสอนและรายการทางการศึกษาของโรงเรียนตา่ ง ๆ ของกรมสามญั ศึกษาทว่ั ประเทศให้ครบ 2,500 โรงเรียนภายในปี พ.ศ. 2544 เนื่องจากโรงเรียนวงั ไกลกงั วลเกบ็ ค่าเล่าเรียนในอตั ราต่า รายไดข้ องโรงเรียนไมพ่ อกบัรายจ่ายตอ้ งขอพระราชทานเงินพระราชกุศลเพมิ่ ข้ึนตามจานวนครูและนกั เรียน ปัจจุบนั โรงเรียนวงั ไกลกงั วล ไดร้ ับพระราชทานเงินเพ่อื ใชใ้ นการดาเนินงานจากงบเงินใชส้ อยตามพระราชอธั ยาศยั ปี ละ 1 ลา้ น 2แสนบาท มากท่ีสุดในบรรดาโรงเรียนในพระบรมราชูปถมั ภท์ ้งั หมด

6มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทยี ม มูลนิธิการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม ถือกาเนิดจากสานกั งานเลขาธิการพระราชวงั ไดเ้ สนอแนะเป็นเบ้ืองตน้ ที่จะนาเทคโนโลยใี นการจดั การเรียนการสอนผา่ นระบบโทรคมนาคมในส่วนท่ีเกี่ยวกบัโรงเรียนในโครงการตามพระราชดาริ เช่น โรงเรียนวงั ไกลกงั วล และโรงเรียนในสงั กดั กรมสามญั ศึกษา ซ่ึงกรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการไดเ้ ป็นผดู้ าเนินการ เป็น \"โครงการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม\"ข้ึนมาก่อน โดยร่วมกบั องคก์ ารโทรศพั ทแ์ ห่งประเทศไทยและบริษทั ชินวตั ร แซทเทิลไลท์ จากดั (มหาชน)เมื่อเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2538 ท้งั น้ีเพ่อื เป็นโครงการเฉลิมพระเกียรติปี กาญจนาภิเษกของพระบาทสมเดจ็พระเจา้ อยหู่ วั และถวายเป็นพระราชกุศลแด่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เป็ นการนาเอาเทคโนโลยีทนั สมยั เพือ่ พฒั นากระบวนการเรียนการสอนใหก้ า้ วหนา้ และมีประสิทธิภาพ ช่วยโรงเรียนท่ีขาดแคลนครูสาขาวชิ าตา่ ง ๆ และช่วยโรงเรียนท่ีอยหู่ ่างไกลไดร้ ับโอกาสเท่าเทียมกบั โรงเรียนในเมือง ในระดบั ช้นั ม.1 -ม.6 และใชโ้ รงเรียนวงั ไกลกงั วลเป็นแมข่ ่าย ทุนดาเนินการในช้นั แรกน้นั พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วัพระราชทานเงินจานวน 50 ลา้ นบาทเป็นทุนประเดิม นอกจากน้ียงั มีหน่วยงาน บริษทั ตลอดจนบุคคลทวั่ ไปเขา้ ร่วมโครงการน้ีเป็นจานวนมาก และกระทรวงศึกษาธิการเป็นผูต้ ้งั งบประมาณสนบั สนุนเป็นรายปี ทุกปีต้งั แต่ พ.ศ. 2539 เป็นตน้ ไป

7โรงเรียนราชประชาสมาสัย โรงเรียนราชประชาสมาสัย เริ่มเปิ ดสอนต้งั แตว่ นั ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2506 โดยพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยูห่ วั ไดพ้ ระราชทานเงินทุนจานวน 1 ลา้ นบาท ใหม้ ูลนิธิราชประชาสมาสัยเป็นทุนจดั สร้างข้ึนเพ่ือใหบ้ ุตรธิดาของผปู้ ่ วยเป็ นโรคเร้ือนใชเ้ ป็นสถานที่เล่าเรียน ต้งั อยบู่ นท่ีดินราชพสั ดุ อาเภอพระประแดงจงั หวดั สมุทรปราการ ท้งั น้ีไดท้ รงเห็นวา่ บุตรธิดาของผปู้ ่ วยโรคเร้ือนไดร้ ับเคราะห์กรรมจากบิดามารดา จะเขา้ เรียนที่โรงเรียนใดก็ไมไ่ ด้ เนื่องจากมีพระราชบญั ญตั ิควบคุมโรคติดต่อไม่ให้โรงเรียนรับบุตรธิดาผปู้ ่ วยโรคเร้ือนเขา้ เรียน และถา้ ปล่อยทิ้งไวก้ บั บิดามารดาก็ทาใหต้ ิดโรคได้ ทรงมีความห่วงใยชีวติ และอนาคตของเดก็ เหล่าน้ี จึงมีพระมหากรุณาธิคุณใหม้ ูลนิธิราชประชาสมาสัยดาเนินการจดั สร้างโรงเรียนข้ึน ตอ่ มาในปีพ.ศ. 2507 กไ็ ดพ้ ระราชทานพระราชทรัพยอ์ ีก 1 ลา้ นบาท ก่อสร้างโรงเรียนอีกหน่ึงหลงั ปัจจุบนั โรงเรียนราชประชาสมาสยั ไดข้ ยายออกไปอยา่ งกวา้ งขวางโดยเปิ ดรับเดก็ ทว่ั ไปเขา้ เรียนร่วมกบั บุตรธิดาผปู้ ่ วยโรคเร้ือน ซ่ึงก็ไมม่ ีปัญหาการอยรู่ ่วมกนั แตอ่ ยา่ งใด

8โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัยในพระบรมราชูปถมั ภ์ โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ เดิมคือโรงเรียนราชวทิ ยาลยั อยทู่ ี่ตาบลบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา ธนบุรี ต้งั ข้ึนในรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เม่ือ พ.ศ.2440 รับนกั เรียนประจากินนอน มีวตั ถุประสงคใ์ นการฝึกอบรมนกั เรียนใหม้ ีความรู้เพื่อไปศึกษาตอ่ ท่ีมหาวทิ ยาลยั ในยโุ รป ต่อมาไดโ้ อนมาอยกู่ ระทรวงยตุ ิธรรม ซ่ึงยา้ ยไปเปิ ดสอนท่ี ตาบลบางขวาง จงั หวดั นนทบุรี มีจุดมุ่งหมายใหน้ กั เรียนที่จบช้นั มธั ยมศึกษาไดศ้ ึกษาวชิ ากฎหมายในข้นั อุดมศึกษา และทรงรับโรงเรียนไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ ต่อมากใ็ หร้ วมโรงเรียนราชวทิ ยาลยั เขา้ กบั โรงเรียนมหาดเลก็ หลวง พระราชทานนามวา่ \"โรงเรียนวชิราวธุ วิทยาลัย\" ในรัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช คณะครูและศิษยเ์ ก่าไดร้ ่วมกนัจดั ต้งั และดาเนินกิจการโรงเรียนราชวทิ ยาลยั ข้ึนใหม่ โดยขอใชส้ ถานท่ีของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา สามพรานเดิม จากกระทรวงศึกษาธิการ และขอพระราชทานอกั ษรยอ่ พระปรมาภิไชย ภ.ป.ร. นาหนา้ ช่ือโรงเรียน จึงไดร้ ับพระราชทานนามวา่ \"โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวิทยาลยั \" และทรงรับไวใ้ นพระบรมราชูปถมั ภ์ต้งั แต่ พ.ศ. 2507 ปัจจุบนั รับนกั เรียนชาย เป็ นโรงเรียนประจากินนอน สอนสายสามญั ศึกษา ต้งั แตช่ ้นัประถมศึกษาปี ที่ 5 ถึงมธั ยมศึกษาปี ที่ 6

9โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถัมภ์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานความช่วยเหลือแก่ตารวจตระเวนชายแดนในการจดั ต้งัโรงเรียนสาหรับชาวไทยภูเขาหรือประชาชนในถิ่นทุรกนั ดาร โดยการพระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคร์ ่วมสร้างโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนใหเ้ ป็นอาคารแบบถาวร พระราชทานนามวา่ \"โรงเรียนเจ้าพ่อหลวงอุปถมั ภ์\" เป็นโรงเรียนในระดบั ก่อนประถมและประถมศึกษา ต้งั อยบู่ ริเวณชายแดนภาคเหนือซ่ึงราษฎรส่วนใหญเ่ ป็นชาวเขา ทาใหเ้ ยาวชนชาวไทยภูเขาเหล่าน้ีไดม้ ีโอกาสศึกษาเรียนรู้หนงั สือไทย และสร้างสานึกความเป็นคนไทยมากยง่ิ ข้ึน ซ่ึงมีผลต่อความมน่ั คงและความปลอดภยั ของชาติ ตอ่ มาภายหลงักองบญั ชาการตารวจตระเวนชายแดนไดโ้ อนโรงเรียนท่ีมีความพร้อมใหก้ ระทรวงศึกษาธิการเป็นผรู้ ับผดิ ชอบในดา้ นการจดั การศึกษาต่อไป

10โรงเรียนร่มเกล้า เนื่องจากโรงเรียนท่ีอยใู่ นเขตชายแดนภาคอีสานหลายแห่งตอ้ งปิ ด เพราะเยาวชนส่วนใหญ่ถูกชกั จูงใหเ้ ขา้ ป่ าไปร่วมกบั กลุ่มท่ีมีอุดมการณ์ที่แตกต่างทางการเมืองและรวมกลุ่มกนั อยใู่ นบริเวณท่ีเรียกวา่ สีแดงเขม้ กองทพั บกไดก้ ราบบงั คมทูลพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ขอพระราชทานสร้างโรงเรียนท่ีบา้ นหนองแดน เพื่อใหก้ ารศึกษาและป้องกนั มิใหเ้ ด็กถูกชกั จูงเขา้ ป่ า ไดพ้ ระราชทานทรัพยส์ ่วนพระองคใ์ นการก่อสร้างโรงเรียน และพระราชทานกาลงั ใจมิใหย้ อ่ ทอ้ ให้ทาตามเป้าหมายท่ีต้งั ไว้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงห่วงใยการศึกษาของเยาวชนท่ีขาดโอกาสของการศึกษา มีพระราชดาริโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ ร้างโรงเรียนร่มเกลา้ ในพ้ืนที่ห่างไกลทุรกนั ดาร และในพ้ืนที่ปฏิบตั ิการของผมู้ ีอุดมการณ์ท่ีแตกต่างทางการเมืองอีกหลายจงั หวดั จึงเป็นการนาการศึกษาและการพฒั นามาใชแ้ ทนการต่อสู้ดว้ ยความรุนแรง

11โรงเรียนสงเคราะห์เดก็ ยากจน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาสงเคราะห์เด็กยากจน ซ่ึงขาดที่พ่งึ และเด็กในถ่ินกนั ดารใหไ้ ดร้ ับการศึกษาควรแก่อตั ภาพ จึงโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ต้งั โรงเรียนข้ึนในวดั เป็นประเภทโรงเรียนราษฎร์ ให้ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั เป็นผจู้ ดั การโรงเรียน ขอความร่วมมือจากคณะสงฆช์ ่วยอุปถมั ภ์ และอาราธนาพระภิกษุผทู้ รงคุณวฒุ ิเป็นผสู้ อน โดยใชท้ ุนทรัพยพ์ ระราชทานและทุนท่ีไดร้ ับบริจาคโดยเสด็จพระราชกศุ ล โรงเรียนสงเคราะห์คนยากจนแห่งแรกถูกจดั ต้งั ข้ึนท่ีวดั ศรีจนั ทร์ประดิษฐ์ จงั หวดั สมุทรปราการ เพ่อื สงเคราะห์เดก็ยากจนชายฝ่ังแมน่ ้าเจา้ พระยา

12โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคแ์ ละเงินที่มีผบู้ ริจาคโดยเสดจ็ พระราชกศุ ลใหก้ ระทรวงศึกษาธิการสร้างโรงเรียนประชาบาลที่ถูกพายพุ ดั พงั รวม 12 โรงเรียนใน 6จงั หวดั ภาคใต้ ที่ถูกพายพุ ดั ถล่มเสียหายท้งั หมด เม่ือคร้ังเกิดมหาวาตภยั ที่แหลมตะลุมพุก อาเภอปากพนงัจงั หวดั นครศรีธรรมราช เมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. 2505 และไดพ้ ระราชทานนามโรงเรียนวา่ \"โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์\" 1, 2, 3, 4, 5 ถึง 12 ตามลาดบั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีสายพระเนตรยาวไกล โปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั ต้งั มูลนิธิราชประชานุเคราะห์ เพือ่ นาดอกผลสาหรับสงเคราะห์เด็กท่ีประสบวาตภยั ขาดอุปการะเล้ียงดูและช่วยเหลือราษฎรที่ประสบสาธารณภยั ทว่ั ประเทศ ต่อมาโปรดเกลา้ ฯ ใหจ้ ดั สร้างโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ข้ึนในภูมิภาคอ่ืน ๆ ของประเทศท่ีประสบภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ และในเขตพ้นื ท่ีซ่ึงอยใู่ นภาวะจาเป็นที่จะตอ้ งมีสถานศึกษารองรับ ปัจจุบนั มีโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ท้งั สิ้น 44 แห่ง

132.พระราชกรณยี กจิ ด้านการศึกษานอกโรงเรียน สาหรับการศึกษาของประชาชนชาวไทยที่เป็นการศึกษานอกระบบโรงเรียนน้นั พระบาทสมเดจ็พระเจา้ อยูห่ วั ทรงเห็นความสาคญั ของการศึกษาสาหรับประชาชนท่ีอยใู่ นชนบทเป็ นอยา่ งมาก จึงทรงริเร่ิมโครงการตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวกบั การศึกษานอกระบบหลายโครงการเพือ่ ใหก้ ารศึกษาแก่ผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษาใหม้ ีความรู้ความสามารถในการประกอบสัมมาอาชีพ พร้อมดารงตนใหอ้ ยใู่ นสังคมอยา่ งเป็นสุขและเจริญมน่ั คงได้ การศึกษานอกระบบที่ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหจ้ ดั ต้งั ข้ึน มีท้งั ที่อยใู่ นรูปแบบของสถาบนั สอนวชิ าชีพ กค็ ือ มูลนิธิพระดาบส และที่อยใู่ นรูปของศูนยศ์ ึกษา ไดแ้ ก่ ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริท้งั 6 ศูนย์ และการศึกษานอกระบบท่ีอยใู่ นรูปของสิ่งพิมพ์ ก็คือ หนงั สือสารานุกรมสาหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วัศาลารวมใจ การศึกษาสาหรับชาวชนบทในถ่ินทุรกนั ดาร พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงริเริ่มจดั ต้งั \"ศาลารวมใจ\" เพื่อใชเ้ ป็นหอ้ งสมุดประจาหมูบ่ า้ น สาหรับประชาชนเขา้ ไปศึกษาหาความรู้เป็ นการใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชน์ โดยพระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคแ์ ละหนงั สือประเภทตา่ ง ๆ ที่มีเน้ือหาสาระอ่านเขา้ ใจง่ายตลอดจนภาพประกอบคาบรรยายเกี่ยวกบั ปูชนียบุคคล ปูชนียสถานในประเทศไทย และภาพเกี่ยวกบั การรักษาสุขภาพอนามยั แก่หอ้ งสมุด \"ศาลารวมใจ\"

14โรงเรียนพระดาบส พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ใหส้ านกั พระราชวงั เช่าท่ีดินทรัพยส์ ินส่วนพระมหากษตั ริยบ์ ริเวณตรงขา้ มหอสมุดแห่งชาติ สร้างเป็นโรงเรียนสาหรับฝึกวชิ าชีพ โดยมีพระบรมราโชบายใหด้ าเนินการเป็นแบบอาสมพระดาบส เป็นศูนยก์ ลางประสิทธ์ิประสาทวชิ าทุกสาขาเพือ่ เป็นวทิ ยาทานแก่บุคคลทวั่ ไปที่มีความต้งั ใจขวนขายหาความรู้ แต่ขาดแคลนทุนทรัพย์ คุณวฒุ ิของผสู้ าเร็จการศึกษาไม่ตอ้ งเทียบกบั ทางราชการ เพยี งแต่ใหป้ ระกอบอาชีพไดเ้ ทา่ น้นั โรงเรียนพระดาบสไดเ้ ปิ ดอบรมเป็นคร้ังแรกเมื่อพ.ศ. 2519 โดยมีวชิ าท่ีเปิ ดสอนเป็นวชิ าช่างไฟฟ้า – วทิ ยชุ ้นั ตน้ ต่อมาไดข้ ยายเป็นหลกั สูตรช่างไฟฟ้า – วทิ ยชุ ้นั กลาง หลกั สูตรช่างเครื่องยนต์ และหลกั สูตรเตรียมช่าง ปัจจุบนั นกั เรียนท่ีจบจากโรงเรียนพระดาบสสามารถนาวชิ าไปประกอบอาชีพเล้ียงตนเองและครอบครัวได้ศูนย์ศึกษาการพฒั นาอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ การศึกษานอกระบบโรงเรียนท่ีพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานแก่ประชาชนที่สาคญัอีกอยา่ งหน่ึงคือ \"ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ\" เพื่อเป็ นศูนยร์ วมของการศึกษาคน้ ควา้ทดลองวจิ ยั และแสวงหาแนวทางและวธิ ีการพฒั นาดา้ นต่าง ๆ ที่เหมาะสมสอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มและการประกอบอาชีพของราษฎรท่ีอาศยั อยใู่ นภูมิประเทศน้นั ๆ ปัจจุบนั ศูนยก์ ารพฒั นาอนั เนื่องมาจากพระราชดาริมี 6 ศูนยก์ ระจายอยใู่ น 4 ภาคดงั น้ี 1. ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกุลทองอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จงั หวดั นราธิวาสแนวพระราชดาริ : ป่ าพรุเสื่อมโทรม สะสมดินเปร้ียว แกลง้ ดินอยา่ งเดียว พฒั นาไดย้ ง่ั ยืน 2. ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาภูพานอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ จงั หวดั สกลนครแนวพระราชดาริ : สร้างน้า เพ่มิ ป่ า พฒั นาชีวติ แบบพอเพียง

15 3. ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาอา่ วคุง้ กระเบนอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จงั หวดั จนั ทบุรีแนวพระราชดาริ : จากยอดเขา สู่ทอ้ งทะเล การฟ้ื นฟู และจดั การทรัพยากรชายฝ่ัง 4. ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยฮ่องไคร้อนั เนื่องมาจากพระราชดาริ จงั หวดั เชียงใหม่ แนวพระราชดาริ : ตน้ ทางคือป่ าไม้ ปลายทางคือประมง ระหวา่ งทางคือเกษตรกรรม 5. ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยทรายอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ จงั หวดั เพชรบุรีแนวพระราชดาริ : ฟ้ื นดิน คืนป่ า พฒั นาคุณภาพชีวติ 6. ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาเขาหินซอ้ นอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ จงั หวดั ฉะเชิงเทราแนวพระราชดาริ : ป่ าหาย น้าแลง้ ดินเลว ก็พฒั นาได้3.โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มีพระราชปรารภวา่ การเรียนรู้เรื่องราวและวชิ าการสาขาต่าง ๆ โดยกวา้ งขวาง จะก่อใหเ้ กิดความรู้ ความคิดและความฉลาด ซ่ึงเป็นปัจจยั สาคญั ท่ีสุดสาหรับชีวติ ทุกคนควรมีโอกาสท่ีจะศึกษาเม่ือตอ้ งการ หรือพอใจจะเรียนรู้เร่ืองใดสามารถคน้ หาอา่ นโดยสะดวก จึงมีพระราชดารัสใหจ้ ดั ทาสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน นบั เป็นหนงั สือที่มีประโยชนเ์ ก้ือกูลการศึกษาเพิ่มพนู ปัญญาดว้ ยตนเองของประชาชน โดยเฉพาะยามที่มีปัญหาขาดแคลนครู และท่ีเล่าเรียน จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหจ้ ดั ต้งั โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนข้ึน มีการศึกษา ทดลองและกระทาดว้ ยความรอบคอบ แบง่วทิ ยาการออกเป็น 4 สาขาวชิ า คือ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สงั คมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เน้ือหาในแตล่ ะเร่ืองถูกแบ่งเป็น 3 ส่วน เรียงต่อกนั เพือ่ ใหค้ น 3 ระดบั อา่ น ส่วนท่ี 1 ใชภ้ าษาง่าย ๆ เน้ือหาไม่ซบั ซอ้ น ใชต้ วั อกั ษรโตเห็นชดั เหมาะสาหรรับเด็กรุ่นเล็กอายุ 8-12 ขวบอา่ นเขา้ ใจได้ ส่วนที่ 2 เน้ือหาเร่ิมยากข้ึนเหมาะสาหรับเดก็ รุ่นกลางอายุ 12-14 ขวบ

16 ส่วนที่ 3 มีเน้ือหาค่อนขา้ งยากเหมาะสาหรับเด็กโตอายุ 15 ปี ข้ึนไปจนถึงผใู้ หญ่ ฉะน้นั การใชภ้ าษาในหนงั สือ ตลอดจนการถ่ายทอดความรู้จะเขียนใหเ้ หมาะกบั ระดบั ของอายแุ ละเขียนข้ึนตามหลกั วชิ าแท้ ๆเป็นขอ้ เทจ็ จริง4.การพฒั นาบุคคล นอกจากจะทรงสร้างโรงเรียน และพระราชทานการศึกษานอกโรงเรียนใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทยแลว้ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ยงั ไดพ้ ระราชทานทุนการศึกษาและรางวลั แก่นกั เรียนท่ีเรียนดีและโรงเรียนท่ีจดั การศึกษาดี ตวั อยา่ งทุนพระราชทาน เช่น ทุนภูมิพล ทุนอานนั ทมหิดล ทุนเล่าเรียนหลวงทุนนวฤกษ์ ทุนพระราชทานการศึกษาสงเคราะห์ เป็นตน้ทนุ มูลนิธิ \"ภูมิพล\" พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคต์ ้งั เป็นทุน \"ภูมิพล\" ข้ึนเม่ือ พ.ศ. 2495 เพือ่ พระราชทานเป็นทุนแก่นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั แพทยศาสตร์ที่เรียนดีแต่ขดั แคลนทุนทรัพย์ ต่อมา พ.ศ. 2510 ไดเ้ ปล่ียนช่ือเป็นทุนมูลนิธิภูมิพล สาหรับพระราชทานแก่บณั ฑิตท่ีสอบไดค้ ะแนนยอดเยยี่ มในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ แตข่ าดแคลนทุนทรัพย์ ในมหาวทิ ยาลยั อื่นๆดว้ ย เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยัมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ เป็นตน้ ปัจจุบนั ทุนมูลนิธิภูมิพลมีท้งั ระดบั ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ท้งั ในประเทศและตา่ งประเทศ รวมท้งั รางวลั เรียงความและบทความทุนภูมิพล นิสิตนกั ศึกษาสามารถติดต่อขอรับทุนมูลนิธิภูมิพลในช่วงเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน หรือข้ึนกบั วนั เวลาท่ีมหาวทิ ยาลยั แต่ละแห่งเป็นผกู้ าหนด

17ทุนมูลนิธิ \"อานันทมหิดล\" พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงตระหนกั วา่ ประเทศไทยตอ้ งอาศยั ผเู้ ช่ียวชาญในวชิ าเทคนิคช้นั สูงเพื่อมาช่วยพฒั นาประเทศมากข้ึน จึงควรส่งเสริมนิสิตนกั ศึกษาที่มีความสามารถอยา่ งยอดเยยี่ มใหม้ ีโอกาสไปศึกษาตอ่ ในวชิ าช้นั สูงบางวชิ า ณ ตา่ งประเทศ เม่ือสาเร็จแลว้ จะไดท้ างานเป็ นผเู้ ชี่ยวชาญในสาขาวชิ าท่ีเรียนมาตอ่ ไป จึงทรงก่อต้งั ทุนอานนั ทมหิดลข้ึนเมื่อพ.ศ. 2498 เพอ่ื เป็ นพระบรมราชานุสรณ์แด่สมเดจ็ พระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดล สาหรับพระราชทานแก่นกั ศึกษาในสาขาวชิ าแพทยศาสตร์ในข้นั แรก เพื่อเจริญรอยตามพระยุคลบาทสมเด็จพระบรมราชชนก ผทู้ รงศึกษาวชิ าแพทยศาสตร์และการสาธารณสุข ตอ่ มา พ.ศ. 2502 ทุนอานนั ทมหิดล ไดเ้ ปลี่ยนเป็น \"มลู นิธิอานนั ทมหิดล\"และไดข้ ยายขอบเขตการพระราชทานทุนแก่นกั ศึกษาสาขา ตา่ ง ๆ อีกหลายสาขา โดยมีคณะกรรมการประจาแตล่ ะสาขาคดั เลือกบณั ฑิตท่ีมีความสามารถยอดเยย่ี มแตล่ ะสาขาดงั กล่าวไปศึกษาเพิ่มเติม ณ ต่างประเทศเพือ่ จะไดก้ ลบั มาทางานเป็ นผเู้ ชี่ยวชาญในวชิ าท่ีไดศ้ ึกษามาตามพระราชประสงค์ ทุนอานนั ทมหิดลน้ีไม่ไดก้ าหนดระยะเวลาเรียน ผไู้ ดร้ ับทุนสามารถเรียนถึงข้ึนสูงสุดตามความสามารถ และไม่มีสัญญาผกู มดั วา่ ผไู้ ดร้ ับพระราชทานทุนจะตอ้ งกลบั มาปฏิบตั ิงานอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงตามเวลาที่กาหนดเช่นทุนอ่ืน ๆ การจดั ต้งั ทุนอานนั ทมหิดลจึงเป็นพระราชกรณียกิจที่สาคญั ยง่ิ ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในการส่งเสริมการศึกษาช้นั สูง เป็นการช่วยสร้างทรัพยากรบุคคลท่ีมีความเช่ียวชาญในดา้ นตา่ ง ๆ แก่วงราชการสามารถปฏิบตั ิงาน และถ่ายทอดความรู้ใหแ้ ก่บุคคลอ่ืนไดเ้ ป็นอยา่ งดี

18ทุนเล่าเรียนหลวง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มีพระราชประสงคใ์ หฟ้ ้ื นฟู \"ทุนเล่าเรียนหลวง\" (King'sScholarship) ที่พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ฯ ไดท้ รงริเริ่มพระราชทานทุนใหน้ กั เรียนไปเรียนตอ่ ต่างประเทศ ดว้ ยการจดั สอบแข่งขนั อยา่ งเป็นทางการเม่ือ พ.ศ. 2440 และไดพ้ ระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงสืบตอ่ เน่ืองกนั มาจนถึงรัชกาลพระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เมื่อมีการเปล่ียนแปลงการปกครองจึงยุติไป คร้ันมาถึงรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั มีพระราชปรารภฟ้ื นฟูการให้ \"ทุนเล่าเรียนหลวง\" ข้ึนใหม่ โดยการประกาศใช้ \"ระเบียบ ก.พ. ว่าด้วยทุนเล่าเรียนหลวง พ.ศ. 2508\" ทุนเล่าเรียนหลวงเป็นทุนพระราชทานแก่นกั เรียนที่สอบช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลายตามหลกั สูตรของกระทรวงศึกษาธิการได้คะแนนดีเยย่ี มปี ละ 9 ทุน คือแผนกศิลปะ 3 ทุน แผนกวทิ ยาศาสตร์ 3 ทุน และแผนกทว่ั ไป 3 ทุน ใหไ้ ปศึกษาต่อระดบั อุดมศึกษาในต่างประเทศ และไม่มีขอ้ ผกู มดั ท่ีจะตอ้ งกลบั มารับราชการ ท้งั น้ี มีพระราชประสงคใ์ หผ้ รู้ ับทุนไดศ้ ึกษาวชิ าการ และไดร้ ับการอบรมใหร้ ู้และเขา้ ใจขนบประเพณีของชาวตะวนั ตกไปดว้ ย เพราะอายยุ งั อยใู่ นวยั ท่ีสามารถช่วยตวั เองและปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั สังคมตะวนั ตกได้ ในปัจจุบนั ทุนเล่าเรียนหลวงอยใู่ นความดูแลของสานกั งานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรือนทนุ การศึกษาสงเคราะห์ในมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ก่อต้งั \"มลู นิธิราชประชานเุ คราะห์\" ฝ่ ายการศึกษาสงเคราะห์ข้ึนใน พ.ศ.2506 โดยมีพระราชดาริใหต้ ้งั ทุนการศึกษาเพ่ือช่วยเหลือเด็กที่ครอบครัวตอ้ งประสบวาตภยั ภาคใต้ ท่ีแหลมตะลุมพุก จงั หวดั นครศรีธรรมราช เมื่อพ.ศ. 2505 โดยดูแลเดก็ เหล่าน้นั ให้ไดร้ ับการศึกษาข้นั สูงสุดตามความสามารถของเดก็ นอกจากน้ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ยงั ไดพ้ ระราชทานพระมหากรุณาธิคุณใหม้ ูลนิธิฯ จดั ทุนพระราชทานการศึกษาใหแ้ ก่นกั เรียนที่เรียนดีแต่ขาดทุนทรัพยใ์ นทุกโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ โดยไม่จาเป็นตอ้ งเป็ นบุตรของผปู้ ระสบภยัทนุ นวฤกษ์ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มีพระราชดาริวา่ ประเทศไทยน้นั ขาดแคลนผมู้ ีวชิ าความรู้ในระดบั สูงการพฒั นาประเทศจะประสบความสาเร็จไดด้ ว้ ยดีจาเป็นตอ้ งอาศยั ผมู้ ีความรู้ความเช่ียวชาญในระดบั สูงของแต่ละสาขาวชิ าการมาช่วยกนั ปฏิบตั ิงาน พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ริเริ่มก่อต้งั \"ทุนนวฤกษ\"์ ในมูลนิธิช่วยนกั เรียนขาดแคลนในพระบรมราชูปถมั ภ์ เพ่อื ช่วยใหน้ กั เรียนท่ีขาดแคลน

19ทุนทรัพยแ์ ตม่ ีผลการเรียนดี ความประพฤติดี ไดม้ ีโอกาสเขา้ รับการศึกษาต่อในระดบั ต่าง ๆ ท้งั ระดบัประถมศึกษา มธั ยมศึกษา อาชีวศึกษา ฝึกหดั ครู และอุดมศึกษา ดว้ ยทรงสละพระราชทรัพยส์ ่วนพระองค์เป็นทุนริเร่ิม 51,000 บาท และจากผบู้ ริจาคทรัพยโ์ ดยเสด็จพระราชกุศลสมทบทุนก่อสร้างโรงเรียนตามวดัในชนบทท้งั ระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา เพ่ือสงเคราะห์เดก็ ยากจนและกาพร้าใหม้ ีสถานท่ีสาคญัสาหรับศึกษาเล่าเรียน โดยอาราธนาพระภิกษุเป็นครูสอนวชิ าสามญั ศึกษาท่ีไม่ขดั ต่อพระวนิ ยั และอบรมศีลธรรมเพือ่ สร้างความสัมพนั ธ์ระหวา่ งศาสนากบั การศึกษาแก่เดก็ ที่จะไดเ้ ป็นพลเมืองดีของประเทศชาติในอนาคตต่อไปทุนการศึกษาพระราชทานแก่นักเรียนเฉพาะกรณี 1.ทนุ พระราชทานแก่นักเรียนชาวเขา เป็นทุนท่ีทางกรมสามญั ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการขอพระราชทานจดั ใหแ้ ก่นกั เรียนชาวเขาไดศ้ ึกษาต่อต้งั แตช่ ้นั ประถมศึกษาตอนปลาย เมื่อ พ.ศ. 2514 เป็นตน้ มาเป็นการเสริมสร้างความสมั พนั ธ์และความเขา้ ใจอนั ดีระหวา่ งชาวเขาและชาวไทย และส่งเสริมใหช้ าวเขาส่งบุตรหลานมาศึกษาในโรงเรียนมากข้ึน ทาใหม้ ีโอกาสใชภ้ าษาไทยไดด้ ียงิ่ ข้ึน และกลบั ไปช่วยพฒั นาทอ้ งถ่ินของตน ส่วนใหญผ่ ไู้ ดร้ ับทุนพระราชทานน้ีเม่ือสาเร็จการศึกษาแลว้ จะไปเป็นครูอยทู่ ี่โรงเรียนชาวเขาหรือทางานเกี่ยวกบั ชาวเขา 2.ทุนพระราชทานแก่นักเรียนเฉพาะสถานศึกษา เป็นทุนการศึกษาท่ีพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วัทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ พระราชทานพระราชทรัพยส์ ่วนพระองคจ์ านวนหน่ึงจดั ต้งั เป็นทุน และใหม้ ีการบริจาคโดยเสด็จพระราชกศุ ลเป็นรายโรงเรียนไป เพื่อใหม้ ีดอกผลเพิม่ ข้ึนสามารถจดั สรรเป็นทุนการศึกษาพระราชทานแก่นกั เรียนดีเยยี่ ม นกั เรียนท่ีเรียนดีแตข่ าดทุนทรัพยใ์ นโรงเรียนในพระองค์ และโรงเรียนในพระบรมราชูปถมั ภ์ เช่น โรงเรียนจิตรลดา โรงเรียนวงั ไกลกงั วล โรงเรียนราชวนิ ิต โรงเรียนราชประชาสมาสยั ทุนการศึกษาพระราชทานน้ีจึงมีส่วนส่งเสริมสนบั สนุนใหน้ กั เรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพยไ์ ดม้ ีโอกาสศึกษาต่อ พร้อมท้งั ต้งั ใจศึกษาเล่าเรียน มีผลการเรียนดีเยย่ี มในแต่ละระดบั ช้นั ตามกาลงั ความสามารถของตนและจะตอ้ งเป็นคนดี มีความประพฤติเรียบร้อย เมื่อสาเร็จการศึกษาจะไดเ้ ป็นพลเมืองดี มีส่วนสาคญั ในการพฒั นาประเทศชาติต่อไป 3.รางวลั พระราชทานแก่นักเรียนและโรงเรียนดีเด่น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานรางวลั ดา้ นการศึกษาใหแ้ ก่นกั เรียนและโรงเรียนต่างๆ ทรงเร่ิมพระราชทานรางวลั แก่นกั เรียนและโรงเรียนดีเด่นทว่ั ประเทศท้งั ในระดบั ปฐมศึกษาและมธั ยมศึกษา เมื่อปี การศึกษา 2507 และยงั คงพระราชทาน

20สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบนั แต่ไดม้ ีการปรับปรุงแกไ้ ขระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวา่ ดว้ ยรางวลั พระราชทานแก่นกั เรียนและโรงเรียนเพ่ิมเติมตามความเหมาะสม5.พระราชทานปริญญาบัตร พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ท่ีพระราชประสงคท์ ่ีจะเสด็จฯ ไปพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จการศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั ต่างๆดว้ ยพระองคเ์ อง เพ่ือใหบ้ ณั ฑิตทุกคนมีความภาคภูมิใจในเกียรติยศท่ีมีโอกาสไดร้ ับพระราชทานปริญญาบตั รจากพระหตั ถ์ และยงั ไดพ้ ระราชทานพระบรมราโชวาทก่อนจะออกไปทางานตามที่ต่างๆอีกดว้ ย6.พระบรมราโชวาทและพระราชดาริเกย่ี วกบั การศึกษา พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานบรมราโชวาทและพระราชดาริเกี่ยวกบั การศึกษาไว้เป็นอเนกประการ ในวโรกาสที่เสดจ็ พระราชดาเนินไปพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผูส้ าเร็จการศึกษาจากสถาบนั อุดมศึกษาของรัฐและในโอกาสท่ีคณะบุคคลต่าง ๆ เขา้ เฝ้าฯ เป็ นแนวพระราชดาริเก่ียวกบั การศึกษาท่ีมีคุณค่ายงิ่ แตล่ ะคนสามารถนาไปเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบตั ิและรู้จกั ใช้ ความรู้ ความสามารถเพือ่ พฒั นาตนเอง และส่วนรวมใหเ้ จริญกา้ วหนา้ ได้ แนวพระราชดาริเก่ียวกบั การศึกษา เช่น ทรงช้ีใหเ้ ห็นถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการศึกษาวชิ าความรู้และผลแห่งการใชว้ ชิ าความรู้ในเชิงปฏิบตั ิ การศึกษามิใช่กิจกรรมที่สิ้นสุดในตวั เอง แต่เป็นเคร่ืองมือที่นาไปสู่จุดหมายบางประการ การศึกษาตอ้ งใหห้ ลกั แห่งวชิ าการที่จะช่วยใหแ้ นวทางปฏิบตั ิบรรลุผล และให้ความรู้ทางปฏิบตั ิวชิ าการในความเป็นจริงก่อให้เกิดความเช่ียวชาญและชานาญ นอกจากน้ียงั ทรงเนน้การศึกษาทางธรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม ศีลธรรม และคุณสมบตั ิต่าง ๆ เพ่อื เป็นเคร่ืองกากบั ความคิด และให้ความประพฤติ รู้จกั ใชใ้ หป้ ระสานสอดคลอ้ งกนั ท้งั สามส่วนจึงจะถูกตอ้ งครบถว้ นและสมบูรณ์ตวั เอง พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานแนวพระราชดาริเกี่ยวกบั การศึกษาที่จะช่วยใหบ้ รรลุถึงจุดหมายในอีกมิติหน่ึงวา่ \"... ผทู้ ่ีมุ่งหวงั ความดีและความเจริญมนั่ คงในชีวติ จะตอ้ งไมล่ ะเลยการศึกษา ความรู้ที่จะศึกษามี 3ส่วน คือ ความรู้วชิ าการ ความรู้ปฏิบตั ิการ และความรู้คิดอา่ นตามเหตุผลความเป็นจริง อีกประการหน่ึงจะตอ้ งมีความจริงใจและบริสุทธ์ใจไม่วา่ ในงานในผรู้ ่วมงานหรือในการรักษา ระเบียบแบบแผน ความดีงาม

21ความถูกตอ้ งทุกอยา่ ง ประการที่สามตอ้ งฝึกฝนใหม้ ีความหนกั แน่นท้งั ภายในใจ ในคาพดู ...\" (24 มกราคม2530) พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงช้ีถึงความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการศึกษา วชิ าความรู้ และผลแห่งการใชว้ ชิ าความรู้ในเชิงปฏิบตั ิกล่าวคือ การศึกษาเป็นเครื่องมือของการพฒั นาความรู้ ความคิด ความประพฤติเจตคติ คา่ นิยม และคุณธรรมของบุคคล ฉะน้นั การศึกษาจึงไมใ่ ช่การกระทาหรือกิจกรรมท่ีสิ้นสุดในตวั เองแตเ่ ป็นเครื่องมือที่นาไปสู่จุดหมายบางประการ การศึกษาในความหมายน้ีจึงเกี่ยวขอ้ งกบั การพฒั นาวชิ าความรู้ท้งั ในทางวชิ าการ (ทฤษฎี) และในทางธรรม (ปฏิบตั ิ) หมายความวา่ การศึกษาจะตอ้ งใชห้ ลกั แห่งวชิ าการท่ีจะช่วยใหแ้ นวทางการปฏิบตั ิบรรลุผล และใหค้ วามรู้แห่งการปฏิบตั ิอนั ไดแ้ ก่ การฝึกฝนปฏิบตั ิวชิ าการในความเป็ นจริงเพ่ือใหเ้ กิดความเชี่ยวชาญและชานาญ นอกจากน้ี ทรงเนน้ ความหมายของการศึกษาในอีกดา้ นหน่ึงซ่ึงมีความสาคญั ไม่นอ้ ยไปกวา่ ความรู้เชิงวชิ าการและการปฏิบตั ิวชิ าการนนั่ คือการศึกษาทางธรรมเพ่ือปลูกฝังคุณธรรม ศีลธรรม ตลอดจนคุณสมบตั ิต่าง ๆ เพือ่ เป็นเคร่ืองกากบั ความคิดและความประพฤติใหก้ ารใชว้ ชิ าความรู้เพอ่ื ประโยชน์ในทางท่ีดีต่อท้งั ตนเองและส่วนรวมคือประเทศชาติเพราะฉะน้นั การเขา้ ใจแนวพระราชดาริดา้ นการศึกษาจึงจะตอ้ งเขา้ ใจความหมายของการศึกษาควบคูก่ บัจุดหมายของการศึกษา ถา้ จะกล่าวใหช้ ดั เจน การศึกษาจะมีความหมายท่ีไม่ถูกตอ้ งตามแนวพระราชดาริ ถา้การศึกษาน้นั ไมน่ าไปสู่จุดหมายที่ดีงามต่อตนเองและประเทศชาติโดยส่วนรวม ซ่ึงทาใหเ้ ขา้ ใจต่อไปไดว้ า่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั ทรงใหค้ วามสาคญั กบั ผลประโยชน์ของส่วนบุคคลและส่วนรวม จะตอ้ งสอดคลอ้ งและสัมพนั ธ์กนั จะแยกออกจากกนั หรือขดั แยง้ กนั ไม่ได้ เพราะฉะน้นั การศึกษาตามแนวพระราชดาริจึงถือวา่ เป็นส่ิงที่ดีงาม ถูกตอ้ ง ครบถว้ น และสมบูรณ์ในตวั เอง ความพยายามท่ีจะเขา้ ใจแนวพระราชริท่ีเก่ียวกบั การศึกษาดงั ที่แสดงใหป้ รากฎขา้ งตน้ น้ี เป็นเพียงส่วนหน่ึงของแนวพระราชดาริดา้ นการศึกษา ซ่ึงมีความสาคญั สมควรที่จะอญั เชิญมาแสดงเพื่อเป็นประโยชนต์ ่อการศึกษาในระดบั และเร่ืองต่าง ๆ ตลอดจนวาระต่าง ๆ เพราะแนวพระราชดาริท่ีน้ีสะทอ้ นถึงปรัชญาสาคญั ของการศึกษาท่ีจะช่วยช้ีนาใหก้ ารศึกษาท้งั ปวงมีความถูกตอ้ ง ครบถว้ นและสมบูรณ์ อีกท้งัสามารถนาไปสู่ผลสาเร็จของการใชว้ ชิ าความรู้เพอื่ การปฏิบตั ิตา่ ง ๆ และนาไปสู่จุดหมายที่ดีงาม และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมีน้าพระราชหฤทยั เป่ี ยมลน้ ดว้ ยพระเมตตาและพระมหากรุณาธิคุณอนั ยงิ่ ใหญ่ต่อพสกนิกรทุกหมูเ่ หล่าตามพระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาเป็นอเนกประการดงั กล่าวยงั ผลใหค้ นในชาติเป็นคนที่คุณภาพท่ีสมบูรณ์ดว้ ยคุณธรรม รู้จกั ใชค้ วามรู้ความคิดสร้างสรรคส์ ิ่งท่ีดีงามและความเจริญกา้ วหนา้ ใหแ้ ก่ชาติบา้ นเมือง ดว้ ยทรงตระหนกั ถึงความสาคญั ของการศึกษา ดงั พระบรม-

22ราโชวาทที่ไดพ้ ระราชทานแก่บณั ฑิตวทิ ยาลยั วชิ าการศึกษาเมื่อวนั ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 ความตอนหน่ึงวา่ \"... การใหก้ ารศึกษาแก่เดก็ ตอ้ งเริ่มต้งั แต่เกิด ข้ึนตน้ ก็ตอ้ งสอนใหร้ ู้จกั ใชอ้ วยั วะและประสาทส่วนตา่ ง ๆ ตอ้ งคอยควบคุมฝึกหดั จนสามารถใชอ้ วยั วะและประสาทส่วนน้นั ๆ ทากิจวตั รท้งั ปวงของตนเองได้เม่ือสามารถทากิจวตั รของตวั ไดแ้ ลว้ ถดั มากต็ อ้ งสอนใหร้ ู้จกั ทาการตา่ งๆ ใหร้ ู้จกั แสวงหาส่ิงต่าง ๆ ตามที่ตอ้ งการใหไ้ ดม้ ากข้ึน เพื่อทาใหช้ ีวติ มีความสะดวกมีความสบาย การใหก้ ารศึกษาข้นั น้ี ไดแ้ ก่การฝึกกายให้มีความคล่องแคล่วชานิชานาญ และสามารถในการปฏิบตั ิ ประกอบกบั การสอนวชิ าความรู้ต่าง ๆ อนั เป็นพ้ืนฐานสาหรับการประกอบอาชีพเล้ียงตวั การใหก้ ารศึกษาอีกข้นั หน่ึง คือการสอนและฝึกฝนใหเ้ รียนรู้วทิ ยาการที่กา้ วหนา้ ข้ึนไป พร้อมท้งั การฝึกฝนให้รู้จกั ใชเ้ หตุผลสติปัญญาและหาหลกั การของชีวติ เพื่อให้สามารถสร้างสรรคค์ วามเจริญงอกงามท้งั ทางกายและทางความคิด ผทู้ างานดา้ นการศึกษาจึงมีความสาคญัเป็นพเิ ศษ และไดร้ ับความยกยอ่ งเป็นอยา่ งสูงตลอดมา ในฐานะที่เป็นผใู้ หช้ ีวติ จิตใจตลอดจนความเจริญทุกอยา่ งแก่อนุชน ...\"7.ความเกยี่ วข้องของพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ทม่ี ตี ่อ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรพระราชทานนาม มหาวทิ ยาลยั นเรศวร มหาวทิ ยาลยั นเรศวร เป็นมหาวทิ ยาลยั ของรัฐ ต้งั อยใู่ นจงั หวดั พิษณุโลก ก่อต้งั เม่ือวนั ที่ 29กรกฎาคม พ.ศ. 2533 ภายหลงั จากการยกฐานะข้ึนจากวทิ ยาเขตของมหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ โดยช่ือ“มหาวทิ ยาลยั นเรศวร” น้นั ไดร้ ับพระราชทานนามจากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั (รัชกาลที่ 9) เพ่ือสดุดีและเฉลิมพระเกียรติแด่สมเด็จพระนเรศวรมหาราช วรี กษตั ริยแ์ ห่งกรุงศรีอยธุ ยา เนื่องดว้ ยพระองคป์ ระสูติท่ีเมืองพิษณุโลก และทรงเคยดารงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จพระมหาอุปราชครองเมืองพิษณุโลกมาก่อนพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผ้สู าเร็จการศึกษา พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเดจ็ พระมหาปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชน้นั ยง่ิ ใหญแ่ ละรอบดา้ น ทุกสาขาวชิ าอาชีพลว้ นไดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณกนั โดยถว้ นหนา้ รวมถึงพระราชกรณียกิจในการเสด็จพระราชดาเนินพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จการศึกษาในสถาบนั อุดมศึกษาต่างๆ

23 สาหรับมหาวทิ ยาลยั นเรศวรน้นั ไดร้ ับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระมหาปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระดาเนินปริญญาบตั รต้งั แต่คร้ังยงั เป็ นวทิ ยาลยั วชิ าการศึกษา ก่อนพฒั นาเป็นมหาวทิ ยาลยัศรีนครินทรวโิ รฒ และยกฐานะข้ึนเป็นมหาวทิ ยาลยั นเรศวรในภายหลงั ความตอนหน่ึงของพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จ ณ วทิ ยาลยัวชิ าการศึกษา พษิ ณุโลก เม่ือวนั พฤหสั บดีท่ี 30 พฤศจิกายน 2515 “…นบั วา่ วาระน้ีไป ท่านท้งั หลายจะไดม้ ีส่วนร่วมในการจดั การการศึกษาของชาติในฐานะหนา้ ที่ต่าง ๆกนั ตามท่ีไดฝ้ ึกฝนมา ควรจะไดพ้ ยายามร่วมมือกนั ทุกฝ่ ายทุกระดบั ในอนั ท่ีจะส่งเสริมใหก้ ารศึกษาท่ีดีที่เป็นประโยชน์แทจ้ ริง ไดข้ ยายออกไปถึงประชาชนแพร่หลายทงั่ ถึงยง่ิ ข้ึน การศึกษาที่ดีเป็นปัจจยั สาคญั ในการครองชีวติ ช่วยใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกนั ไดอ้ ยา่ งราบร่ืนและมน่ั คง…” ความตอนหน่ึงของพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จ ณ วทิ ยาลยั วชิ าการศึกษา พษิ ณุโลก เม่ือวนั พธุ ท่ี 21 พฤศจิกายน 2516 “…การปฏิบตั ิงานตา่ ง ๆ น้นั เท่าท่ีสังเกตเห็นมามีอยสู่ องลกั ษณะ ลกั ษณะหน่ึงคือ ทาโดยมิไดเ้ ขา้ ถึงจุดประสงค์ เช่น มุ่งแต่จะสอนนกั เรียนเพียงใหส้ อบไล่ได้ แตม่ ิไดเ้ นน้ วา่ นกั เรียนจะนาวธิ ีการไปใชอ้ ยา่ งไรหรือทางานใหเ้ สร็จไปตามเรื่อง โดยไม่เขา้ ใจวา่ ทาไปเพื่อประโยชน์อะไร อีกลกั ษณะหน่ึงน้นั ตรงกนั ขา้ มไมว่ า่ จะสัง่ สอนหรือทาสิ่งใด ก็ทราบถึงความมุง่ หมายอยา่ งแจง้ ชดั เมื่อรับภาระส่ิงใดมากระทาแลว้ ก็นามาพจิ ารณาโดยละเอียดรอบคอบ ไม่ตื่นตระหนกหรือววู่ าม แลว้ พยายามปฏิบตั ิโดยเตม็ ความสามารถให้สมเหตุสมผล คานึงถึงวตั ถุประสงค์ ตลอดจนผลดีหรือผลร้ายที่จะเกิดตามมาภายหลงั เป็นสาคญั ลกั ษณะการทางานท้งั สองประการน้ีพจิ ารณาดูแลว้ ทุกคนยอ่ มทราบไดว้ า่ ควรเลือกเอาลกั ษณะใด…” ความตอนหน่ึงของพระบรมราโชวาทในพธิ ีพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จ ณ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ พษิ ณุโลก เมื่อวนั พุธท่ี 20 พฤศจิกายน 2517 “…ในการดาเนินงานดา้ นการศึกษาน้นั ปัจจุบนั มีความคิดทฤษฎีอยมู่ าก ท้งั เก่าและใหมส่ าหรับใหป้ ฏิบตั ิผสู้ าเร็จการศึกษาซ่ึงเป็นบณั ฑิต เป็นผูร้ ู้ ควรจะมีหลกั ในการเลือก การประสมและการปฏิบตั ิทฤษฎีน้นั ๆอยา่ งมีเหตุผล เช่น ไม่นาทฤษฎีมาใชเ้ พือ่ ทฤษฎี โดยมุ่งจะใหส้ าเร็จผลแห่งทฤษฎีน้นั เป็นท่ีต้งั เพยี งประการเดียว เพราะผลที่เกิดข้ึนอาจเป็นผลที่ไม่พงึ ประสงคก์ ็ได้ ทางท่ีถูกจะตอ้ งใชค้ วามเป็นบณั ฑิตผรู้ ู้ดีรู้ชวั่ และความรู้จกั ศึกษาพิจารณาเลือกเฟ้นทฤษฎีเหล่าน้นั ก่อน แลว้ นาเอาแตส่ ่วนที่เช่ือไดแ้ น่วา่ ดีวา่ ถูกตอ้ งมาใช้ การใหไ้ ดผ้ ลที่พงึ ประสงคจ์ ึงจะเกิดเป็นผลดีแก่การศึกษาของชาติ ทาใหก้ ารศึกษาเจริญงอกงามและมน่ั คง ท้งัเหมาะและสอดคลอ้ งแก่สภาพการณ์ทุกอยา่ งของประเทศ ของโลกอยา่ งสมบูรณ์…”

24 ความตอนหน่ึงของพระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จ ณ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ พษิ ณุโลก เม่ือวนั จนั ทร์ท่ี 28 มิถุนายน 2519 “…นกั การศึกษาเคยคิดกนั วา่ การใหค้ รูเป็นผสู้ ั่งสอนและแนะนาใหศ้ ิษยท์ าตามน้นั อาจทาลายความคิดริเร่ิม ทาลายอิสรภาพของเด็ก และทาใหเ้ ด็กเป็นตวั เองนอ้ ยลง เห็นกนั วา่ ควรจะใหเ้ ด็กไดม้ ีอิสรภาพในการคิด การทาและเรียนรู้ดว้ ยตนเองมาก ๆ ขอ้ น้ีทาใหผ้ ทู้ ี่เป็นครูจานวนไม่นอ้ ยอึดอดั ใจเพราะขดั กบั ใจจริงของตวั เองที่รู้สึกอยวู่ า่ เป็นครูแลว้ ตอ้ งสอน บางคนก็เกิดความลงั เลใจไม่ทราบวา่ จะปฏิบตั ิหนา้ ที่อยา่ งไรถูก ที่จริงคาวา่ ครูกบั ศิษยน์ ้ีก็มีความหมายตายตวั อยแู่ ลว้ คือ ครูเป็นผสู้ อน เป็ นผแู้ นะนาศิษยไ์ ปสู่ความรู้ ความดีความฉลาดท้งั ปวง ศิษยก์ เ็ ป็นผเู้ รียนรู้จากครู มีหนา้ ท่ีท่ีจะตอ้ งเรียนและเคารพเช่ือฟังครู ซ่ึงเป็นผใู้ หว้ ชิ าความรู้แก่ตวั จะเป็นอยา่ งอื่นไปไมไ่ ด…้ ” ซ่ึงในภายหลงั จากการยกฐานะข้ึนจากวทิ ยาเขตของมหาวิทยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒเป็นมหาวทิ ยาลยันเรศวร พระองคท์ รงพระกรุณาโปรดเกลา้ โปรดกระหมอ่ มใหส้ มเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จฯ พระราชทานปริญญาบตั รแทนพระองคม์ าอยา่ งตอ่ เนื่อง และในวนั ที่ 9 ธนั วาคม 2559 นบั เป็นการพระราชทานปริญญาบตั รคร้ังสุดทา้ ยในรัชสมยั ของพระบาทสมเดจ็ พระมหาปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศจ์ กั รี

25 บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินงานข้นั ตอนการดาเนินงาน 1.สืบคน้ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช 2. วเิ คราะห์ขอ้ มูลที่มีความน่าสนใจและน่าเชื่อถือ เพอื่ เลือกนามาเป็นหวั ขอ้ ในการทาโครงงาน 3. รวบรวมขอ้ มูล กาหนดเคา้ โครงเร่ือง และจดั ลาดบั ความสาคญั ของขอ้ มูลท่ีไดศ้ ึกษามา 4.นาเสนอความกา้ วหนา้ ของโครงงานกบั อาจารยป์ รึกษาและรับคาแนะนาในการเขียนโครงงานจากอาจารยท์ ่ีปรึกษา 5.ศึกษารูปแบบการทาโครงงาน เพือ่ นามาเป็นแบบอยา่ งในการจดั ทารูปเล่มโครงงาน 6.ดาเนินงานการจดั พิมพต์ ามรูปแบบของโครงงานให้สมบูรณ์ 7.สรุปเน้ือหาและกาหนดเคา้ โครงเร่ืองเน้ือหาของส่ือที่ผลิต โดยใช้ PowToon ซ่ึงเป็นแอปพลิเคชนัท่ีใชใ้ นการสร้างวดี ีโอนาเสนอท่ีเนน้ การสร้างในรูปแบบการ์ตูนส้นั เพื่อเพม่ิ ความน่าสนใจในการนาเสนอผลงาน 8.ดาเนินการผลิตส่ือใหส้ มบูรณ์แผนการดาเนินงาน กนั ยายน ตุลาคม พฤศจิกายน 1234 1234 1234 แผนการดาเนินงาน1.สมาชิกในกลุ่มประชุมวางแผนแบ่งหนา้ ท่ีการดาเนินงาน2.สืบคน้ รวบรวม วเิ คราะห์และสังเคราะห์ขอ้ มูล2.รายงานความคืบหนา้ กบั อาจารยท์ ี่ปรึกษา3.ดาเนินการจดั ทารูปเล่มรายงาน4.ดาเนินการผลิตส่ือ5.นาเสนอรายงานกบั อาจารยท์ ี่ปรึกษา

26 บทที่ 4ผลการศึกษาค้นคว้า จากการศึกษาคน้ ควา้ ขอ้ มูลคร้ังน้ีทาใหไ้ ดท้ ราบวา่ พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีมากมายหลายประการ ท้งั พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาในระบบโรงเรียน ที่มีจุดประสงคเ์ พื่อใหค้ วามรู้แก่เด็กนกั เรียนไทยซ่ึงจะเจริญเติบโตเป็นกาลงัสาคญั ของประเทศชาติในอนาคต พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษานอกโรงเรียน เพื่อให้การศึกษาแก่ผดู้ อ้ ยโอกาสทางการศึกษา โครงการสารานุกรมไทยสาหรับเยาวชนท่ีนบั เป็นหนงั สือท่ีมีประโยชน์เก้ือกูลการศึกษาเพ่มิ พูนปัญญาดว้ ยตนเองของประชาชน โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ คราวที่มีประสบปัญหาการปัญหาขาดแคลนครู เรื่องการพฒั นาบุคคล กล่าวคือนอกพระองคท์ ่านจากจะทรงสร้างโรงเรียน และพระราชทานการศึกษานอกโรงเรียนใหแ้ ก่ประชาชนชาวไทยแลว้ พระองคย์ งั ไดพ้ ระราชทานทุนการศึกษาและรางวลั แก่นกั เรียนที่เรียนดีและโรงเรียนท่ีจดั การศึกษาดีอีกดว้ ย รวมถึงการพระราชทานปริญญาบตั รดว้ ยพระองคเ์ องเพือ่ ใหบ้ ณั ฑิตทุกคนมีความภาคภูมิใจในเกียรติยศท่ีมีโอกาสไดร้ ับพระราชทานปริญญาบตั รจากพระหตั ถ์และยงั ไดพ้ ระราชทานพระบรมราโชวาทก่อนจะออกไปทางานตามท่ีต่างๆ นอกจากน้นั การที่พระองคไ์ ด้พระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จการศึกษาและพระราชทานนามแก่มหาวทิ ยาลยั นเรศวรน้นั ถือเป็นพระมหากรุณาธิคุณเป็ นลน้ พน้ อนั หาที่สุดมิได้

27 บทที่ 5สรุปผล อภปิ รายผลและข้อเสนอแนะสรุปและอภปิ รายผลการศึกษา จากการทารายงานเรื่องพระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชน้นั ผจู้ ดั ทาไดป้ ฏิบตั ิตามข้นั ตอนการดาเนินงานและมีผลการศึกษาคน้ ควา้ และแนวปฏิบตั ิอยา่ งเป็นระบบ ซ่ึงทาใหผ้ จู้ ดั ทาและผทู้ ่ีตอ้ งการศึกษามีความพึงพอใจในเน้ือหาสาระเป็นอยา่ งมาก และทาใหม้ ีความรู้ในเร่ืองเก่ียวกบั พระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาของพระองคท์ ่านมากยง่ิ ข้ึน อีกท้งั ยงั สามารถนาความรู้ท่ีไดไ้ ปใชใ้ นโอกาสต่าง ๆ ในชีวติ ประจาวนั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมประโยชน์ทไ่ี ด้รับ ผทู้ ี่ตอ้ งการศึกษาไดค้ วามรู้และความเขา้ ใจเก่ียวพระราชกรณียกิจดา้ นการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชเพิม่ มากยง่ิ ข้ึน และสามารถนาความรู้ที่ไดร้ ับไปใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ งๆและรายงานฉบบั น้ีไดพ้ ฒั นาทกั ษะความคิดริเริ่มสร้างสรรคข์ องผูจ้ ดั ทา ในการผลิตส่ือออกมาใหน้ ่าสนใจและง่ายตอ่ การศึกษาข้อเสนอแนะ 1.ควรจะมีการจดั ทาสื่อที่ใชป้ ระกอบการเรียนรู้ที่มีความหลากหลายมากยงิ่ ข้ึน 2.ควรจะมีการบูรณาการอยา่ งหลากหลายวชิ า เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มูลท่ีหลากหลายและมีประสิทธิภาพต่อการเรียนการสอน

28บรรณานุกรมสานกั หอจดหมายเหตุแห่งชาติ กรมศิลปากร. (2555). พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวกบั การศึกษา. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากรคณะกรรมการรวบรวมและเรียบเรียงพระราชกรณียกิจเกี่ยวกบั การศึกษา การศาสนา และการ วฒั นธรรม.(2531). พระราชกรณยี กจิ และพระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหา ภูมพิ ลอดุลยเดชฯ มหาราชเกย่ี วกบั การศึกษา การศาสนาและการวฒั นธรรม 9 มิถุนายน 2489 - 5 ธันวาคม 2530. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ ุรุสภาสรรพศิลปะศาสตราธิราช สาขาการบริหารการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. (21 กุมภาพนั ธ์ 2554). พระราชกรณียกจิ และพระราชดาริด้านการจัดการศึกษา. สืบคน้ เม่ือ 11 ตุลาคม 2560, จาก https://web.ku.ac.th/king72/2542-08/page02.html

29ภาคผนวก

301.โรงเรียนทส่ี ร้างและโรงเรียนในพระบรมราชูปถมั ภ์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงบรรยายเกี่ยวกบั เร่ืองการ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงอธิบายวธิ ีการทาฝนเทียม พระราชทานแก่นกั เรียนโรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในโอกาสน้ีบริหารจดั การน้าพระราชทานแกน่ กั เรียนโรงเรียนวงั ไกล ไดพ้ ระราชทานพระบรมราชานุญาติใหน้ าไปเผยแพร่ทางกงั วล ในโอกาสเสด็จฯ ไปทอดพระเนตรทางน้าลน้ ราช โทรทศั นท์ างไกลผา่ นดาวเทียมในรายการศึกษาทศั น์ ประชานุเคราะห์ 13 อาเภอท่ายาง จงั หวดั เพชรบุรี พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานวิทยุและเครื่องเลน่ จานเสียง พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถใหแ้ กป่ ระทานมูลนิธิช่วยคนโรคเร้ือน จงั หวดั ลาปาง เพือ่ นาไปมอบใหแ้ ก่ เสดจ็ ฯ ไปทรงประกอบพิธีเปิ ดโรงเรียนราชานุกลู ซ่ึงเป็นโรงเรียนเด็ก ปัญญาออ่ นและทรงประกอบพธิ ีเปิ ดหอบนั เทิงบาบดั โรงเรียนจิตตอ์ ารี จงั หวดั ลาปาง

31ทอดพระเนตรภายในหอ้ งเรียน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และสมเดจ็ พระนางเจา้ ฯ พระบรมราชินีนาถ โรงเรียนราชประชาสมาลยั เสดจ็ ฯ ไปทรงประกอบพธิ ีเปิ ดอาคารเรียน “ดรุณพฒั นา” ซ่ึงมูลนิธิช่ช่วย เด็กอ่อนฯ จดั สร้างข้ึน ณ บริเวณโรงพยาบาลเดก็ ปัญญาออ่ นทรงลงพระปรมาภิไธยในสมุดเยยี่ ม ในโอกาสท่ีเสดจ็ ฯ ไป เสด็จฯ ไปทรงเปิ ดอาคารเรียนฝ่ ายมธั ยม รัชดาภิเษก ทรงประกอบพิธีเปิ ดโรงเรียน ภ.ป.ร ราชวทิ ยาลยั โรงเรียนราชประชาสมาลยั ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ในบรมราชูปถมั ภ์พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานรางวลั แก่ ทรงปลกู ตน้ มะขาม บริเวณโรงเรียนราชประชาสมาลยั ใน นกั เรียนดี โรงเรียนวงั ไกลกงั วล อ.หวั หิน บรมราชูปถมั ภ์ หลงั จากท่ีทรงประกอบพิธีเปิ ดอาคาร จงั หวดั ประจวบคิรีขนั ธ์ โรงเรียนราชประชาสมาลยั ฯ อาเภอพระประแดง จงั หวดั สมทุ รปราการ

322.พระราชทานการศึกษานอกระบบทรงหวา่ นขา้ วในแปลงนาสาธิต และทรงทดลองปลูกขา้ ว โดวยการใส่ป๋ ุย เสด็จฯ ไปทรงติดตามความกา้ วหนา้ ของศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยฮอ้ งไคร้ คอกและป๋ ุยเคมี ในอตั ราส่วนตา่ งๆกนั อนั เนื่องมาจากพระราชดาริ หลายตอ่ หลายคร้ังเสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรสภาพพ้ืนท่ี ศูนยศ์ ึกษาพฒั นา เสดจ็ ฯ ไปทอดพระเนตรพ้ืนที่โครงการศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยทราย อนัภูพาน อนั เนื่องมาจากพระราชดาริ จงั หวดั สกลนคร เน่ืองมาจากพระราชดาริ จงั หวดั เพชรบุรีทรงทดลองปลูกหญา้ แฝกที่แปลงปลูกหญา้ แฝก ศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ย เสดจ็ ฯ ไปทรงติดตามความกา้ วหนา้ การดาเนินการของศูนยศ์ ึกษาการ ทราย อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ พฒั นาพิกุลทอง อนั เนื่องมาจากพระราชดาริ

33ทรงติดตามความกา้ วหนา้ การดาเนินการของศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพกิ ุล ทรงติดตามความกา้ วหนา้ การดาเนินการของศูนยศ์ ึกษาการพฒั นาพิกลุ ทองทอง อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ อนั เนื่องมาจากพระราชดาริเสด็จฯ ไปทรงติดตามความกา้ วหนา้ ของศนู ยศ์ ึกษาการพฒั นาหว้ ยฮอ้ งไคร้ พระราชทานพระราชดาริใหก้ ารศึกษาทดลองการปลูกหญา้ แฝก ในโอกาส อนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ เสด็จฯ ไปทอดพระกิจกรรมของศูนยศ์ ึกษาพฒั นาหว้ ยทราย อนั เน่ืองมาจาก หลายต่อหลายคร้ัง พระราชดาริ

343.ทุนพระราชทาน พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทานทรัพยส์ ่วน พระราชทานพระบรมราโชวาทแก่นิสิตปริญญาตรีและพระองคเ์ พอ่ื สมทบทนุ และจดั ต้งั เป็ น “ทุนภมู ิพล” สาหรับ นิสิตปริญญาโท วทิ ยาลยั วชิ าการศึกษา ท่ีเขา้ เฝ้าฯ รับพระราชทานทุนมลู นิธิภูมิพล ช่วยเหลือนกั ศึกษาที่เรียนดีแต่ขาดทุนทรัพย์พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหผ้ ทู้ ี่ไดร้ ับทุนมูลนิธิ มีพระราชดารัสแก่ผทู้ ่ีไดร้ ับพระราชทานทุนมูลนิธิอานนั ทอานนั ทมหิดลซ่ึงสาเร็จการศึกษาจากตา่ งประเทศเผา้ ฯ มหิดลอยา่ งใกลช้ ิด พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั พระราชทาน พระราชทานทุนเลา่ เรียนหลวงแก่นกั ศึกษาสถาบนัพระบรมราชวโรกาสใหน้ กั เรียนซ่ึงสอบแข่งขนั ไดร้ บั เทคโนโลยแี ก่งเอเชีย ประจาปี 2517 เพอ่ื ไปศึกษาตอ่ ระดบั พระราชทานทุนเล่นเรียนหลวงประจาปี 2510 ปริญญาเอก

35 พระราชทานส่ิงของแก่เดก็ นกั เรียนชาวเขา พระราชทานทุนการศึกษาแก่นกั เรียนท่ีเรียนดี4.รางวลั พระราชทานด้านการศึกษาพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานรางวลั ดา้ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานรางวลั ดา้ น การศึกษาใหน้ กั เรียนและโรงเรียนต่างๆท้งั ในระดบั การศึกษาใหน้ กั เรียนและโรงเรียนตา่ งๆท้งั ในระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาเม่ือปี ปี การศึกษา 2507 ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษาเม่ือปี ปี การศึกษา 2507พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ไดพ้ ระราชทานรางวลั แก่ พระราชทานพระบรมราชวโรกาสใหค้ รูใหญ่และนกั เรียน นกั เรียนท่ีเรียนดี โรงเรียนระดบั ประถมศึกษาและมธั ยมศึกษา เฝ้าฯ รับ พระราชทานรางวลั ประจาปี การศึกษา 2518 และพระบรม ราโชวาท

365.พระราชทานปริญญาบัตรวนั จนั ทร์ ท่ี 19 ธนั วาคม พ.ศ. 2520 พระราชทาน วนั ศุกร์ ที่ 11 ธนั วาคม พ.ศ. 2513ปริญญาบตั รแกน่ กั ศึกษามหาวทิ ยาลยั รามคาแหง ท่ีสาเร็จ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดชเสดจ็ ฯ การศึกษา ณ อาคารใหม่ สวนอมั พร ไปพระราชทานปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จการศึกษาจาก วทิ ยาลยั วชิ าการศึกษา ประสานมิตร วนั พฤหสั บดี ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2506 วนั อาทิตย์ ที่ 24 กนั ยายน พ.ศ. 2513เสด็จไปพระราชทานปริญญาบตั รและอนุปริญญาบตั ร เสด็จฯทรงเป็ นประธานในงาน “วนั มหิดล” และแก่นิสิตมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ท่ีสาเร็จการศึกษา พระราชทานปริญญาบตั ร ประกาศนียาบตั ร และ ประจาปี 2505-2506 อนุปริญญาบตั รแก่ผสู้ าเร็จการศึกษาจาก ณ หอประชุม มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ บางเขน มหาวทิ ยาลยั มหิดล ประจาปี การศึกษา 2512-2513 ณ หอประชุมแพทยาลยั โรงพยาบาลศิริราช

37 วนั เสาร์ ท่ี 12 มิถนุ ายน พ.ศ. 2497 พระราชทานบรมราโชวาทแก่นกั ศึกษามหาวทิ ยาลยัเสดจ็ ฯไปพระราชทานปริญญาบตั รแก่นิสิต แพทยศาสตร์ที่สาเร็จการศึกษาจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั ที่สาเร็จการศึกษา ณ หอประชุมราชแพทยาลยั โรงพยาบาลศิริราช ณ หอประชุม จุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลยั วนั พฤหสั บดี ที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2516 พระราชทานบรมราโชวาท ในโอกาสท่ีเสดจ็ ฯไปพระราชทานบรมราโชวาทแก่ผสู้ าเร็จการศึกษาจากสถาบนั พระราชทานปริญญาบตั รและประกาศนียบตั ร แก่ผสู้ าเร็จการศึกษาจากมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้หลงั จากที่พระราชทานปริญญาบตั ร ณ หอประชุมคุรุสภา ประจาปี การศึกษา 2497

386.บทพระราชนิพนธ์ส่วนหน่ึงของบทพระราชนิพนธเ์ ร่ือง “เมื่อขา้ พเจา้ จากสยามมาสู่สวทิ เซอร์แลนด”์ ที่ลงเผยแพร่ใน “วงวรรณคดี” เรื่องทองแดง เป็ นบทพระราชนิพนธท์ ี่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเลา่ ถึงท่ีมาและการปฏิบตั ิตวั ของทองแดงสุนขั ท่ีทรงเกบ็ มาเล้ียง พมิ พค์ ร้ังแรกเม่ือ พ.ศ. 2545 เป็นภาพสีชุดทองแดงและครอบครัว ประกอบคาบรรยาย 2 ภาษา (ไทย-องั กฤษ) ต่อมา ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯใหจ้ ดั ทาเป็ นฉบบั การ์ตูน

39พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงพระราชนิพนธ์พระมหาชนกจากแรงบนั ดาลพระราชหฤทยัที่ไดท้ รงสดบั พระธรรมเทศนาเรื่องพระมหาชนกของสมเด็จพระมหาวรี วงศ์ (วนิ ธมฺมสาโร) วดั ราชผาติการาม ทรง พระราชดาริวา่ พระมหาชนกชาดกมีคติท่ีแจ่มแจง้ น่าจะเป็ นประโยชนแ์ ก่ชนทุกหมู่ บทพระราชนิพนธเ์ รื่องน้ีมีท้งั ที่เป็ นฉบบั ปกแขง็ ฉบบั ปกอ่อน และฉบบั การ์ตนูติโต เป็นบทพระราชนิพนธ์ที่พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช ทรงแปลจากตน้ ฉบบั ภาษาองั กฤษ เรื่อง Tito ของ Phillis Auty ดว้ ยมีพระราชประสงคใ์ หข้ า้ ราชบริพารไดร้ ู้จกั บุคคลท่ีน่าสนใจคนหน่ึงของโลกทรงปรับปรุงตน้ ฉบบั และพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหจ้ ดั พิมพเ์ พ่อื เผยแพร่ เน่ืองในวโรกาสวนั เฉลิมพระ ชนมพรรษา พทุ ธศกั ราช 2517 เพื่อหารายไดส้ มทบทุนมูลนิธิชยั พฒั นา

407.พระราชกรณยี กจิ เกยี่ วกบั การศึกษาด้านต่างๆ วนั ศุกร์ ท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ.2515 วนั พฤหสั บดี ที่ 20 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2507เสด็จฯไปทรงเปิ ดงานกรีฑา ศิลปหตั ถกรรมนกั เรียน ของ เสด็จฯไปทอดพระเนตรกิจการของโรงเรียนสุรนารีวทิ ยา กระทรวงศึกษาธิการ คร้ังท่ี 35 ประจาปี 2515 ในโอกาสที่เสด็จฯไปทรงประกอบพธิ ีเจิมหลกั เมือง ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ จงั หวดั นครราชสีมา วนั อาทิตย์ ที่ 16 เมษายน พ.ศ. 2510พระบาทสมเดจ็ พระปรมิทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช พระราชทานเคร่ืองเขียน แบบเรียน และเครื่องอปุ โภคบริโภคแก่ นกั เรียน เม่ือคร้ังเสดจ็ ฯไปทรงเยย่ี มราษฎร ท่ีหมบู่ า้ นหว้ ยมงคล (หว้ ยคด) จงั หวดั ประจวบคีรีขนั ธ์วนั ศุกร์ ท่ี 23 สิงหาคม พ.ศ. 2511 เสด็จฯไปทรงเปิ ดอาคาร วนั เสาร์ ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2515 พระราชทานเคร่ืองแบบเรียน โรงเรียนเบญจมเทพอทุ ิศ จงั หวดั เพชรบุรี นกั เรียน และขนมหวานแก่นกั เรียน ในวดั สวา่ งอารมณ์

41ทอดพระเนตรโรงเรียนสาธิตของคณะศึกษาศาสตร์ วนั จนั ทร์ ที่ 28 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2515 พระราชทานพระ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น บรมราชวโรกาสใหค้ ณะกรรมการมลู นิธิการศึกษา มิตรภาพเผา้ ทูลเกลา้ ฯถวายเงินโดยเสด็จพระราชกศุ ลใน การสร้าง ณ พระตาหนกั จิตรลดารโหฐาน พระราชวงั ดุสิต วนั ศุกร์ ท่ี 20 ธนั วาคม พ.ศ. 2517 วนั พฤหสั บดี ท่ี 26 สิงหาคม พ.ศ. 2519 พระราชทานพระราชดารัสแก่นกั ศึกษา ทรงวางศิลาฤกษอ์ าคารเรียนและโรงพยาบาล ณมหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น และทอดพระเนตรโรงเรียนสาธิตของคณะศึกษาศาสตร์ ในโอกาสทีเสด็จฯไปพระราชทาน มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ปริญญาบตั รแกผ่ สู้ าเร็จการศึกษาจาก วทิ ยาเขตหาดใหญ่ อาเภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น จงั หวดั ขอนแก่น

42ประวตั ผิ ู้ดาเนินโครงงานชื่อ นายวาทิต เอมถนอมภูมิลาเนา 69/74 ม.10 ต.วดั จนั ทร์ อ.เมือง จ.พษิ ณุโลกประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรียนพิษณุโลกพทิ ยาคม จ. พษิ ณุโลก -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]ชื่อ นางสาววภิ าพร สุหฤทดารงภูมิลาเนา 301 หมู่ 1 ต.บา้ นใหมห่ นองไทร อ.อรัญประเทศ จ.สระแกว้ 27120ประวตั ิการศึกษา -จบการศึกษาระดบั มธั ยมปลายจากโรงเรียนจุฬาภรณราช วทิ ยาลยั จ.ชลบุรี -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]

43ช่ือ นายวรี ภทั ร ซอนจาปาภูมิลาเนา 40/23 ต.ในเมือง อ.เมือง จ.เพชรบูรณ์ 67000ประวตั ิการศึกษา -จบการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษา จากโรงเรียนเพชรพิทยาคม จ.เพชรบูรณ์ -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]ช่ือ นางสาววรี ัชญา คาวเิ ศษภูมิลาเนา 145 หมู่ 6 ต.ลานบ่า อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ 67110ประวตั ิการศึกษา -จบการศึกษาระดบั มธั ยมปลายจากโรงเรียนเพชรพิทยาคม จ.เพชรบูรณ์ -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]

44ชื่อ นางสาววรี ินทร์ เจริญเลิศภูมิลาเนา 59/4 หมู่ 10 ต.วดั จนั ทร์ อ.เมือง จ.พษิ ณุโลก 65000ประวตั ิการศึกษา -จบการศึกษาระดบั มธั ยมปลายจากโรงเรียนมธั ยมสาธิต มหาวทิ ยาลยั นเรศวร จ.พิษณุโลก -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ท่ี 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]ช่ือ นางสาวศวติ า ไชยมหาพฤกษ์ภูมิลาเนา 36/25 ถ.เอกาทศรถ ต.ในเมือง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000ประวตั ิการศึกษา -จบระดบั มธั ยมศึกษาจากโรงเรียนเฉลิมขวญั สตรี จ.พษิ ณุโลก -ปัจจุบนั กาลงั ศึกษาระดบั ปริญญาตรีช้นั ปี ที่ 1 คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นเรศวรE-mail : [email protected]


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook