Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Annual report Siriaj Diabetes Center 2021

Annual report Siriaj Diabetes Center 2021

Published by Siriraj Diabetes Center, 2022-01-04 07:12:29

Description: Annual report 2021
Siriaj Diabetes Center of Excellence
Faculty of Medicine Siriraj Hospital
Mahidol University

Keywords: Annual report,Siriaj Diabetes Center,SiDM,Annual report 2021

Search

Read the Text Version

2021 ANNUAL REPORT Siriraj Diabetes Center of Excellence Faculty of Medicine Siriraj Hospital Mahidol University 02 419 9568-9 [email protected] www.facebook/sidmcenter

Siriraj Diabetes Center of Excellence

สารบญั หน้า สารจากผู้บริหาร 1 5 Message from CEO 10 วิสัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้างใหม่ กรรมการชุดใหม่ 2564 22 23 Vision, Mission, Structure organization, Committee 2021 25 31 การรับรองเฉพาะโรค (DISEASE SPECIFIC CERTIFICATION: DSC) 32 33 ก า ร บู ร ณ า ก า ร ร ะ หว่ า ง หน่ ว ย ส นั บ ส นุ น ศู น ย์ บู ร ณ า ก า ร ค ว า ม เ ป็ น เ ลิ ศ ศิ ริ ร า ช แ ล ะ ศู น ย์ เ บ า ห ว า น ศิ ริ ร า ช 36 38 Siriraj Integrated Center of Excellence – Sustainable Excellence Together (SiCOE-SET) 39 40 DM consultation in home isolation หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital ส่ือการสอนสาหรับผู้เป็นเบาหวาน Siriraj DM Interactive Tool การใหค้ วามรู้และสรา้ งทักษะการดูแลตนเองสาหรับผเู้ ป็นเบาหวาน DSMES Service การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซอ้ นเบาหวานและการลงทะเบียนผเู้ ปน็ เบาหวาน Diabetes Complication Assessment Service and Siriraj Diabetes Registry การตรวจติดตามระดับนา้ ตาลในเลือดหลงั คลอด และเสริมสร้าง ทกั ษะการดูแลตนเองสาหรบั ผเู้ ปน็ เบาหวานขณะตง้ั ครรภ์ GDM holistic care, Postpartum phase การให้บริการเทคโนโลยีเบาหวาน Diabetes Technology Service การสนับสนนุ การตรวจระดับน้าตาลในเลอื ดด้วยตวั เอง Self-Monitoring of Blood Glucose Support Project คา่ ยเบาหวานสาหรับผ้เู ป็นเบาหวานชนิดที่ 2 Diabetes Camp for People with Type 2 Diabetes

การใหค้ วามร้แู ละพฒั นาทกั ษะการดแู ลตนเองสาหรบั กลุม่ เสยี่ ง หนา้ Diabetes Prevention Education and Skill Developing Program for Self-care in People at Risk 41 41 SiDM Support Group 42 43 กจิ กรรมวันเบาหวานโลก ประจาปี 2564 44 World Diabetes Day 2021 47 การจดั อบรมเพ่อื เพ่ิมพูนความรู้และการจัดการดูแลผเู้ ปน็ เบาหวาน ประจาปี 2564 49 50 Update Diabetes Management and Holistic Care 2021 51 Publication and Poster Presentation 53 54 โครงการวิจัยทศ่ี ูนย์เบาหวานศริ ริ าชมสี ่วนรว่ ม Ongoing Research Project at Siriraj Diabetes Center of Excellence Siriraj Diabetes Collaborative and Research Meeting 2021 เยีย่ มชมศนู ย์เบาหวานศิริราช Visited SiDM 2020-2021 ความร่วมมือภายในประเทศ เครอื ขา่ ยบรบิ าลและการลงทะเบยี นเบาหวานชนดิ ท่ี 1 และเบาหวานวนิ ิจฉยั ก่อนอายุ 30 ปี ประเทศไทย T1DDAR CN โครงการ “ศริ ริ าช ต้นแบบโรงพยาบาลระดับโลกดว้ ยเทคโนโลยเี ครือข่าย 5G” Siriraj World Class 5G Smart Hospital รายชอ่ื บุคลากรศนู ย์เบาหวานศริ ริ าช Siriraj Diabetes Center of Excellence Working Group

สารจากผอู้ านวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช รศ.นพ.วศิ ษิ ฎ์ วามวาณชิ ย์ โรงพยาบาลศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ให้การดูแลรักษาผู้เป็นเบาหวานและผู้ที่มี ผอู้ านวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช ภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานเป็นจานวนมากในทุกปี เพื่อ สง่ เสรมิ การทางานดา้ นเบาหวานในวนั ที่ 14 พฤศจิกายน 2561 จึง และในปีนี้คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ไดม้ กี ารเปิดสานักงานศูนยค์ วามเปน็ เลศิ เบาหวานศิริราชอย่างเป็น โรงพยาบาลศริ ิราช ได้ขอรับการรับรองกระบวนการ ทางการ จนถึงวันนี้ครบ 3 ปี เป็นภายหลังการเปิดสานักงานใหม่ คุณภาพสถานพยาบาล เฉพาะโรค/เฉพาะระบบ การทางานร่วมกันของผู้เชีย่ วชาญดา้ นเบาหวานทุกด้านทั้งงานการ เบาหวาน เพื่อการพัฒนามาตรฐานคลินิกเบาหวาน บริการ งานการเรียนการสอน และงานการวิจัย เพื่อประโยชน์ สาหรับระบบการดูแลรักษาในคลินิกเบาหวานของ สูงสุดแก่ผู้เป็นเบาหวาน เพื่อมุ่งสู่ความยั่งยืนในการให้บริการ สถานพยาบาล (Program and Disease Specific รักษาพยาบาล ด้วยการบูรณาการร่วมกันแบบสหสาขาวิชา มี Certification) ซึ่งดาเนินการโดยสถาบันรับรอง สัมพันธภาพเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอกทั้งในประเทศ และ คุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ร่วมกับ ตา่ งประเทศ นาไปสู่การไดร้ ับรองจากสมาพนั ธ์เบาหวานนานาชาติ สมาคมโรคเบาหวานแหง่ ประเทศไทยฯ ขอรับรองใน (International Diabetes Federation, IDF) ให้การรับรองใน ระดับศูนย์เบาหวาน (Diabetes Center) ซึ่งได้รับ ด้าน IDF centre of excellence in diabetes care and IDF การรับเยี่ยมเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา centre of excellence in education รวมกันเป็นฉบับเดียว โดยขอรบั รองใน 5 Area หลัก ได้แก่ เป็น IDF centre of excellence in diabetes care (valid until December 2021) 1. Medicine Diabetes Care 2. Pediatric Diabetes Care โรงพยาบาลศริ ริ าชสนับสนุนและส่งเสริมการดูแล 3. Diabetes in Pregnancy Care ผู้ป่วยเบาหวานในภาควิชาต่างๆ รวมทั้งการ 4. Diabetes Retinopathy Care ส่งเสริมการทางานร่วมกันเป็นแบบสหสาขาวิชา 5. Diabetes Foot Care โดยมุ่งเน้นการพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อให้ผู้เป็น เบาหวานและครอบครัวสามารถดูแลตนเองได้ อย่างเหมาะสมและมสี ขุ ภาวะท่ดี ี “ขอยินดีในความก้าวหน้าของทมี เบาหวานศิรริ าช และสนับสนนุ ใหพ้ ัฒนาดาเนินต่อไป” 1

สารจากรองผู้อานวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช สารจาก ู้ผบริหาร ศูนย์ความเป็นเลิศเบาหวานศิริราชก่อตั้งขึ้นเพื่อ ส่งเสริมการทางานร่วมกันของหน่วยงานภายในศิริราช ได้แก่ ทีมงานวิจัย Siriraj Center of Research Excellence for Diabetes and Obesity (SiCORE-DO), ทีมการ ให้บริการ (Siriraj Collaborative Framework for Diabetes Care; SCFD), สาขาวิชาต่อมไร้ท่อและ เมตะบอลิสม ภาควิชาอายุรศาสตร, สาขาวิชาต่อมไร้ท่อ และเมแทบอลิซึม ภาควิชากุมารเวชศาสตร์, ภาควิชาสูติ ศาสตร์-นรีเวชวิทยา, ภาควิชาจักษุวิทยา และภาควิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ฝ่ายการพยาบาล, ฝ่ายโภชนาการ, ฝ่ายเภสัช กรรม และการผลิตบุคลากรด้านเบาหวาน (Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital) การศึกษาหลังปริญญา เพื่อผู้เป็น เบาหวาน อีกทั้งการทางานในปีนี้ ได้ร่วมกับ start up พัฒนา application ที่มีระบบปัญญาประดิษฐ์ผ่าน เครือข่าย 5G ที่มีการบันทึกข้อมูลสุขภาพและสัญญาณชีพ ต่างๆ แบบอตั โนมัติจากอุปกรณ์ IOT Devices รวมท้ังการ แสดงผลภาพรวมตัวช้วี ัดตา่ งๆ เพื่อการดูแลผู้ป่วยท่ีเป็นเบาหวานและโรคไม่ตดิ ต่อเรื้อรงั อื่นๆ ซึ่งเป็นโครงการที่ได้รับ ทนุ สนับสนุนจาก สานักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) เป็นที่น่ายินดี เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมาคณะแพทยศาสตร์ศิริราชได้รับการรับรอง กระบวนการคุณภาพสถานพยาบาล เฉพาะโรค/เฉพาะระบบเบาหวาน ในระดับ “ศูนย์เบาหวาน” ซึ่งเป็น โอกาสอันดีที่ทีมงานเบาหวานของโรงพยาบาลศิริราช จะได้วิเคราะห์จุดแข็งและโอกาสพัฒนาแผนการ ดาเนินงาน เพ่อื การดูแลผูเ้ ปน็ เบาหวานให้สามารถดารงชวี ติ ตอ่ ไปไดอ้ ย่างมีสุขภาวะและบรรลุเป้าหมายทาง การแพทย์ รศ.นพ.เชดิ ชัย นพมณจี ารัสเลศิ รองผู้อานวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช กากบั ดแู ลศนู ย์เบาหวานศริ ริ าช 2

สารจากประธานหนว่ ยสนับสนนุ ศูนย์บูรณาการความเป็นเลศิ ศริ ิราช คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาลได้มีการ “ศูนยเ์ บาหวานศิริราชม่งุ มัน่ ในการพัฒนาระบบของศูนย์ฯ ให้ จดั ตงั้ หนว่ ยสนับสนุนศนู ย์บรู ณาการความเป็นเลิศ เป็นมาตรฐานตามแนวการพัฒนาของ Baldrige Performance ศิริราช (SiCOE-SET) เพื่อสนับสนุนและยกระดับ Excellence Program ทที่ างทีม SiCOE-SET ได้ร่วมเข้าสนับสนุน ศูนย์บริการทางแพทย์ให้เป็นศูนย์ต้นแบบ มาอย่างต่อเนือ่ ง และด้วยความมุ่งมั่นของศูนย์เบาหวานศิริราช (HealthReference Model) แก่หน่วยงานทั้ง ผมจงึ ม่นั ใจวา่ ศูนย์เบาหวานศิรริ าช จะสามารถถกู ยกระดับขึ้นเป็น ภายในและภายนอกคณะฯ เป็นที่น่ายินดีว่าศูนย์ ศนู ย์บรู ณาการความเป็นเลิศศิริราชในอนาคตอันใกล้” เบาหวานศิริราช เป็นหนึ่งในศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence, COE) ที่คณะได้ให้ การสอนท่ีดแี ละมปี ระโยชน์ สามารถเป็นแบบอย่างของการเป็น ความสาคัญในภารกิจดังกล่าว ที่จะผลักดัน ต้นแบบได้เป็นอย่างดี นอกเหนือจากการบริการที่เป็นเลิศ ใน ยกระดับการบริหารจัดการให้เป็นศูนย์บูรณาการ ด้านการเรียนการสอน มีการสอนแพทย์ตั้งแต่นักศึกษาแพทย์ ความเป็นเลศิ ศริ ริ าชในอนาคต แพทย์ประจาบ้าน แพทย์เฟลโลว์ ในการที่จะปลูกฝังความ ตระหนักถงึ เรื่องการดูแลรักษาแบบองค์รวม การตรวจคัดกรอง ตลอดระยะเวลาที่ SiCOE-SET ได้มีโอกาส และการป้องกันในระยะต้น มีการจัดหลักสูตรสาหรับพยาบาล เข้าไปร่วมพัฒนา วางแผนจัดระบบร่วมกับศูนย์ และบคุ ลากรทางการแพทย์ที่จะเป็นผู้ที่มีความรู้ ความสามารถ เบาหวานศิรริ าช ไดเ้ ห็นถึงความมงุ่ มั่นของบุคลากร ในการให้คาแนะนาเรื่องเบาหวานแก่ผู้ป่วยและญาติ ผู้สาเร็จ ทุกระดับที่ร่วมกันวางเป้าหมายที่ชัดเจน การ จากหลักสูตรจากศูนย์เบาหวานศิริราช สามารถนาความรู้ไป วางแผนกลยุทธ์ (strategy) การจัดกระบวนการ กอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์ต่อผู้ป่วยและญาติที่โรงพยาบาลทั่วประเทศ การดาเนินงาน (blueprint) ตลอดจนการกาหนด ได้ ด้านงานวิจัยนั้น ศูนย์เบาหวานได้มีผลงานวิจัยที่เผยแพร่สู่ ตัวชี้วัดเพื่อพัฒนาศูนย์ให้มีความเลิศมากขึ้น วารสารทางการแพทยน์ านาชาติ จุดเดน่ ทางด้านบริการของศูนย์เบาหวานที่ปรากฎ ชัดต่อการทางานร่วมกัน จะเป็นการประยุกต์องค์ รศ.ดร.นพ.ยงยทุ ธ ศริ ิวฒั นอกั ษร ความรู้ที่เป็นเลิศจากการบูรณาการ (integration) จากหลายสาขา/ภาควิชา ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ประธานหน่วยสนบั สนนุ ศนู ยบ์ รู ณาการความเปน็ เลศิ ศริ ริ าช แบบองค์รวม (holistic approach) อันได้แก่ การ รองผอู้ านวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช ตรวจคดั กรองในเร่อื งปญั หาแทรกซ้อนท่ีอาจจะเกิด จากภาวะเบาหวาน เช่น การตรวจจอประสาทตา การตรวจวัดหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และ การ ตรวจแผลที่เท้า เป็นต้น ทาให้ผู้ป่วยได้รับการ วินิจฉัยในเบ้ืองต้นและแก้ ไ ขข้ อ แ ท รก ซ้ อ น อ ย่ า ง รวดเรว็ นอกจากน้ศี นู ย์ฯ ยังให้ความสาคัญในเรื่อง การให้การศึกษาและเฝ้าระวังแก่ผู้ป่วยและญา ติ อยา่ งเปน็ ระบบ มกี ารสอนที่เป็นรปู ธรรม สร้างสื่อ 3

สารจากประธานศูนยเ์ บาหวานศิริราช ในช่วงปี 2564 เนื่องจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ศ.คลินิก พญ.สภุ าวดี ลขิ ิตมาศกลุ สารจาก ู้ผบริหาร โคโรนา 2019 (COVID-19) การให้บริการที่คลินิกศูนย์เบาหวาน Diabetes Self-Management Education Support (DSMES) ได้มีการปรับเปลี่ยน ประธานศูนยเ์ บาหวานศิรริ าช รปู แบบเป็นการใหบ้ รกิ ารทางโทรศัพท์ ส่วนในการให้บรกิ ารการตรวจคัดกรอง สานกั งานศูนยค์ วามเป็นเลศิ เบาหวานศิริราช ภาวะแทรกซอ้ นเบาหวานและการลงทะเบยี นผูเ้ ป็นเบาหวาน ไดม้ ีการเลื่อนนัด หมายออกไป ตามนโยบายการให้บริการของโรงพยาบาลศิริราช อย่างไรก็ดี และเบาหวานวินจิ ฉัยก่อนอายุ 30 ปี ร่วมโครงการอย่าง งานด้านการเรียนการสอน Academia activities ไ ด้แ ก่ หลักสูต ร ต่อเนื่อง เป็นการทางานร่วมกับสถาบันต่างๆ และ ประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล สมาคมวิชาชีพทเ่ี กี่ยวข้อง เพอ่ื ประโยชนผ์ ปู้ ่วยเบาหวาน (Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj ไทย และการทางานรว่ มกนั ในระบบสาธารณสขุ Hospital;SiCDE) สามารถดาเนนิ การไดต้ อ่ เนือ่ ง โดยไดน้ าเทคโนโลยีการเรียน การสอนแบบ online เข้ามาใช้ทั้งการเรียนด้วยตนเองผ่านระบบ SELECx อกี ดา้ นหนึ่ง การเข้าร่วม SWEET-PROJECT ซึ่ง (Siriraj e-Learning and Education Community) ของคณะฯ ซึ่ง เป็นโครงการที่ริเริ่มโดย International Society นักศึกษาสามารถบริหารเวลาเรียนได้ตามความสะดวกและทบทวนบทเรียน for Pediatric and Adolescent Diabetes (ISPAD) ซ้าได้ตลอดเวลา และการอภิปรายร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา สมาพันธ์เบาหวานเด็กและวัยรุ่นนานาชาติ เป็นการลง แลกเปลีย่ นเรียนรู้ระหว่างกันผ่าน Zoom Cloud Meetings นักศึกษา SiCDE ขอ้ มูล ผปู้ ว่ ยเบาหวานเดก็ และวยั รุ่นนานาชาติ ปัจจุบัน รุน่ ท่ี 4 สาเร็จจบหลกั สตู รฯตามกาหนด และปีการศึกษา 2564 เปิดหลักสูตรฯ มีสมาชิก 153 ศูนย์ จาก 59 ประเทศ เมื่อวันที่ 1 รุ่นท่ี 5 ไดโ้ ดยเป็นการเรียนการสอน online เพิ่มมากขึ้น ในส่วนการประชุม มีนาคม 2564 ที่ผ่านมาทีมวิจัยเบาหวานศิริราชได้รับ เพื่อเพิ่มพูนความรู้และการจัดการดูแลผู้เป็นเบาหวาน ประจาปี 2564 การอนุมัติโครงการจาก Siriaj Ethic Committee (Update Diabetes Management and Holistic Care 2021) เป็นการ จัดรูปแบบ online ผ่านระบบ Siriraj LIVE ซึ่งเป็นการประสานความ ในปีนี้จึงเป็นการเริ่มลงข้อมูลครั้งแรกในฐานข้อมูล ร่วมเป็นอย่างดี ศูนย์เบาหวานศิริราชขอขอบคุณบุคลากร SWEET Registry ซึ่งโรงพยาบาลศิริราช เป็น ทีมสถานเทคโนโลยกี ารศกึ ษาแพทยศาสตร์, การศึกษาระดับหลังปริญญาและ โรงพยาบาลแห่งแรกของ South-East Asia ที่เข้า งานวิชาการคณะฯ เป็นอย่างมากที่ทาให้ Academic activities ผ่านไปได้ ร่วมในฐานข้อมูลนี้ และนาไปสู่การมีข้อมูลผู้ป่วย ด้วยดี และสอดคล้องกบั พัฒนาหลกั สตู รดา้ นการใชศ้ ักยภาพเทคโนโลยีดว้ ย เบาหวานไทย เทียบเคียงกับประเทศอื่นๆ และการ ร่วมทางานวิจัยด้านเบาหวานในระดับประเทศ และ ความภาคภมู ใิ จสาคัญของปีนี้ คือ ทีมเบาหวานศิริราช ที่ร่วมกันทางาน ตา่ งประเทศตอ่ ไป ต่อยอดของ Siriraj Collaborative Framework for Diabetes Care จน สามารถผ่านกระบวนการรับรองคุณภาพสถานพยาบาล Program and Disease Specific Certification ที่กาหนดโดยสมาคมวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับ เบาหวานในประเทศไทย ภายใตก้ ารนาของสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศ ไทยฯ ร่วมกับสถาบนั รบั รองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ระดับ ศูนย์เบาหวาน ที่เป็นระดับสูงสุด เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2564 ซึ่งเป็นการ ตรวจเยย่ี มประเมินสถาบันแรกของการกาหนดใชเ้ กณฑ์ใหมน่ ้ี ด้านงานวิจัย หลังจากท่ีอาจารย์ผู้เช่ียวชาญด้านเบาหวานศิรริ าชได้ร่วม ทางานในระดับประเทศ ร่วมวางแผนและเป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัย การลงทะเบียนผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 1 และผู้ป่วยเบาหวานที่วินิจฉัยก่อน อายุ 30 ปี และการบริบาลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 (T1DDAR CN) จนถึง ปัจจุบัน มีผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 ได้รับ DSMES และอุปกรณ์สนับสนุน ชุดสิทธิประโยชน์เพ่ิมจากสานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) (DSMP NS) รวมทั้งมีฐานข้อมูลผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 1 และเบาหวาน วินิจฉัยก่อนอายุ 30 ปีประเทศไทย ซึ่งโรงพยาบาลศิริราช มีผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 1 4

วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ โครงสรา้ ง 2564 ภายหลังการจดั ตั้ง หนว่ ยงานกลางโรคเบาหวาน เม่ือเดอื นตลุ าคม 2542 และไดม้ กี ารเปล่ียนชื่อเปน็ ศูนย์เบาหวานศิริราช เมื่อเดือน กุมภาพันธ์ 2548 เพื่อให้การดาเนินงานเบาหวานศริ ิราชเป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย มปี ระสิทธิภาพ และบรรลวุ ัตถุประสงค์ เกิดการพัฒนางานด้านเบาหวาน ทง้ั ด้านการให้บรกิ ารตรวจรักษา การเรียนการสอนแกบ่ ุคลากรทางการแพทย์ และงานวจิ ัยทางคลนิ ิก และวิทยาศาสตร์พื้นฐาน เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านเบาหวานและก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมโดยรวม ในปี 2564 ได้มีความร่วมมือกบั SiCOE-SET จงึ มีข้อสรุปใหม่ของ วิสยั ทศั น์ พันธกิจ โครงสร้างและคณะกรรมการชดุ ต่างๆ ดงั นี้ ปี 2559 ปี 2564 วสิ ัยทศั น์ Vision : วิสัยทศั น์ Vision : “สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ ปน็ เบาหวานดารงชวี ิตอย่างมสี ุขภาวะ” “ตน้ แบบการดูแลเบาหวานของประเทศ เพื่อส่งเสริมใหผ้ เู้ ปน็ เบาหวานดารงชวี ิตอย่างมีสุขภาวะ” พันธกิจ Mission : พนั ธกจิ Mission : “บูรณาการงานวิจัยการแพทย์คลินิกและ วิทยาศาสตร์พื้นฐาน เผยแพร่ความรู้สู่บุคลากร 1. บูรณาการการดูแลรักษาผู้เป็นเบาหวานในลักษณะ ดา้ นสาธารณสขุ เชือ่ มโยงและสร้างการดูแลรักษา สหสาขาวชิ าชีพทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ ประสิทธผิ ล มคี วามคุ้มค่า ผู้เป็นเบาหวานในลักษณะสหสาขาวิชาที่มี และสอดคลอ้ งกบั บริบทของประเทศไทย ประสิทธิภาพ มีความคุ้มค่า สามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้จริงอย่างสอดคล้องกับบริบทของ 2. สร้างเสริมความรู้และสร้างทักษะในการดูแลเบาหวานสู่ ประเทศ รวมทั้ง ผลิตรูปแบบการให้ความรู้และ บุคลากรดา้ นสาธารณสุขและบุคลากรผใู้ หค้ วามรเู้ บาหวาน บุคลากรผู้ให้ความรู้ด้านเบาหวาน (diabetes educator) ที่มีความรู้และทักษะในการส่งเสริม 3. สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมโดยบูรณาการงานวิจัย สนับสนุน (empower) ผู้เปน็ เบาหวานให้สามารถ การแพทย์คลนิ ิกและวิทยาศาสตร์พ้ืนฐาน ดารงชีวิตได้อยา่ งมสี ุขภาวะ” 4. ส่งเสริมให้ผู้เป็นเบาหวานและครอบครัวมีส่วนร่วมในการ ดูแล และเป็นส่วนหนงึ่ ของทีมดแู ลรักษา 5. สร้างความตระหนัก เผยแพร่ความรู้สู่สังคมเพื่อป้องกัน เบาหวานและภาวะแทรกซอ้ น โครงสร้างองคก์ ร ปี 2564 5

วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ โครงสรา้ งใหม่ กรรมการชุดใหม่ 2564 คณะกรรมการบรหิ ารงานเบาหวานศริ ิราช 2564 1. คณะกรรมการอานวยการบริหารงานเบาหวานศิริราช (Siriraj Diabetes Steering Committee) (คาสั่งที่ 1174/2564) หน้าที่ กาหนดนโยบาย ทิศทางการดาเนินงาน แผนยุทธศาสตร์ งบประมาณการดาเนินการด้านเบาหวานของคณะ แพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล ชว่ ยประสานงานให้เกิดการเชอ่ื มโยงภายในและภายนอกประเทศ เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาอย่าง ต่อเนอ่ื ง และยั่งยนื และกาหนดการประชุมทุก 1 ปี เพื่อใหน้ โยบาย ติดตามความคบื หนา้ ในการดาเนนิ การต่างๆ รายช่อื ดงั ตอ่ ไปนี้ ทปี่ รกึ ษา 1. ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ แพทย์หญิงชนกิ า ตู้จนิ ดา ท่ีปรึกษา 2. ศาสตราจารย์เกียรติคณุ แพทยห์ ญิงวรรณี นธิ ยิ านนั ท์ ประธานกรรมการ 3. คณบดีคณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล รองประธานกรรมการ 4. ผู้อานวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช กรรมการ 5. รองคณบดฝี ่ายนโยบายและแผน กรรมการ 6. รองคณบดีฝ่ายพฒั นาคณุ ภาพ กรรมการ 7. รองคณบดีฝา่ ยทรพั ยากรบคุ คล กรรมการ 8. รองคณบดีฝ่ายวิจัย กรรมการ 9. รองคณบดฝี า่ ยวชิ าการ กรรมการ 10. รองคณบดีฝ่ายการศึกษากอ่ นปรญิ ญา กรรมการ 11. รองคณบดฝี ่ายการศกึ ษาหลังปริญญา กรรมการ 12. รองคณบดีฝ่ายสอ่ื สารองค์กรและกจิ กรรมเพอ่ื สังคม กรรมการ 13. รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศ กรรมการ 14. รองคณบดฝี ่ายสร้างเสรมิ สุขภาพ กรรมการ 15. หวั หนา้ ภาควชิ ากุมารเวชศาสตร์ กรรมการ 16. หัวหนา้ ภาควิชาจกั ษุวทิ ยา กรรมการ 17. หวั หน้าภาควชิ าพยาธิวทิ ยาคลนิ ิก กรรมการ 18. หัวหนา้ ภาควชิ าเภสัชวทิ ยา กรรมการ 19. หวั หน้าภาควิชาวิทยาภูมิคุม้ กัน กรรมการ 20. หวั หนา้ ภาควิชาเวชศาสตร์ฉกุ เฉนิ กรรมการ 21. หัวหนา้ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม กรรมการ 22. หัวหน้าภาควชิ าเวชศาสตร์ฟื้นฟู กรรมการ 23. หัวหนา้ ภาควชิ าศลั ยศาสตร์ กรรมการ 24. หัวหน้าภาควิชาศลั ยศาสตรอ์ อรโ์ ธปดิ ิคส์และกายภาพบาบดั กรรมการ 25. หัวหน้าภาควิชาสรีรวิทยา กรรมการ 26. หัวหนา้ ภาควชิ าสตู ิศาสตร์-นรีเวชวิทยา กรรมการ 27. หวั หน้าภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ กรรมการ 28. หัวหน้าสถานการแพทยแ์ ผนไทยประยกุ ต์ กรรมการ 29. หวั หน้าฝา่ ยการพยาบาล กรรมการ 30. หัวหน้าฝ่ายเภสชั กรรม กรรมการ 31. หัวหน้าฝ่ายโภชนาการ กรรมการและเลขานกุ าร 32. รองผอู้ านวยการโรงพยาบาลศริ ิราช (รองศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ ชิดชยั นพมณจี ารัสเลศิ ) กรรมการและรองเลขานุการ 33. ประธานศนู ย์เบาหวานศิรริ าช ผู้ประสานงานคนท่ี 1 34. เจา้ หนา้ ที่สานกั ผ้อู านวยการโรงพยาบาลศริ ิราช ทมี ประสานงาน 35. คณะทางานศูนย์เบาหวานศริ ิราช 6

วิสัยทศั น์ พนั ธกจิ โครงสร้างใหม่ กรรมการชดุ ใหม่ 2564 2. คณะกรรมการดาเนินงานบริหารงานเบาหวานศิริราช (Siriraj Diabetes Coreteam Committee) คาสั่งท่ี 1175/2564 โดยมีผู้อานวยการโรงพยาบาลศิริราช เป็นประธานกรรมการ เพื่อทาหน้าที่ดังนี้ วางแนวทางปฏิ บัติ พฒั นาและประสานนโยบายทั้ง 3 พันธกจิ ได้แก่ ด้านการบริการ การวจิ ยั และการเรียนการสอน เพื่อให้ดาเนินการท่ี สอดคลอ้ งและเป็นไปในทางเดียวกับนโยบาย และแผนยุทธศาสตร์ที่ตั้งไว้ ช่วยประสานให้เกิดการเชื่อมโยงภ ายใน หน่วยงานต่างๆ ในโรงพยาบาลศิริราช และเครือข่ายต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้เป็นเบาหวานในโรงพยาบาล ศริ ริ าช และหนว่ ยงานภายนอกที่เกย่ี วขอ้ ง วางแนวทางในการตดิ ตามผล กากบั ดแู ลทศิ ทาง และตัวชี้วัดต่างๆ เพื่อให้ การดาเนินงานไปได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ และประชมุ คณะกรรมการ หน่วยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งทุก 6 เดอื น รายชือ่ ดงั ตอ่ ไปน้ี ทปี่ รึกษา ท่ปี รึกษา 1. ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ณุ แพทยห์ ญงิ ชนิกา ต้จู ินดา ท่ีปรึกษา 2. ศาสตราจารยเ์ กียรติคุณ แพทย์หญงิ วรรณี นธิ ิยานนั ท์ ทป่ี รึกษา 3. ศาสตราจารย์ นายแพทย์สุทนิ ศรีอัษฏาพร ประธานกรรมการ 4. รองศาสตราจารย์ นายแพทยธ์ วชั ชัย พิพฒั นดษิ ฐ์ รองประธานกรรมการ 5. ผู้อานวยการโรงพยาบาลศิริราช กรรมการ 6. รองผู้อานวยการดแู ลศนู ย์เบาหวานศริ ริ าช กรรมการ 7. หวั หน้าสาขาต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิสม ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ กรรมการ 8. หวั หน้าสาขาตอ่ มไรท้ อ่ และเมแทบอลิซึม ภาควชิ ากุมารเวชศาสตร์ กรรมการ 9. หัวหน้าศูนย์วิจัยเปน็ เลิศโรคเบาหวานและโรคอว้ นศริ ิราช กรรมการ 10. หัวหน้าสาขาสตู ศิ าสตร์ กรรมการ 11. ประธานโครงการพฒั นางานประจาสงู่ านวิจยั กรรมการ 12. รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ดิฐกานต์ บริบรู ณ์หริ ญั สาร กรรมการ 13. รองศาสตราจารย์ นายแพทยณ์ ัฐวุฒิ รอดอนันต์ กรรมการ 14. หัวหนา้ ฝ่ายโภชนาการ กรรมการ 15. หัวหน้างานพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล ฝา่ ยการพยาบาล กรรมการ 16. หัวหนา้ งานเภสัชกรรมผปู้ ่วยนอก ฝา่ ยเภสัชกรรม กรรมการ 17. หวั หนา้ งานเภสชั กรรมผู้ปว่ ยใน ฝา่ ยเภสชั กรรม กรรมการ 18. นักวิชาการโภชนาการ ฝา่ ยโภชนาการ กรรมการและเลขานกุ าร 19. ผแู้ ทนอาจารยแ์ พทย์แผนไทยประยุกต์ กรรมการและรองเลขานุการ 20. ประธานศนู ยเ์ บาหวานศริ ริ าช 21. รองประธานศนู ย์เบาหวาน กรรมการและรองเลขานุการ (รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ อภิรดี ศรวี จิ ติ รกมล) กรรมการและรองเลขานุการ 22. รองประธานศูนยเ์ บาหวานศริ ริ าช กรรมการและประสานงาน (รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงจีรนั ดา สันติประภพ) 23. รองประธานศูนยเ์ บาหวาน กรรมการและประสานงาน ผู้ประสานงาน (รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงกุลภา ศรสี วสั ด์ิ) 24. ผูช้ ว่ ยเลขานุการศูนย์เบาหวานอาจารย์ (รองศาสตราจารย์ นายแพทยว์ รี ชัย ศรวี ณชิ ชากร) 25. แพทย์ประจาศนู ย์เบาหวาน 26. เจ้าหนา้ ท่สี านักผูอ้ านวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช 7

วสิ ัยทัศน์ พันธกิจ โครงสร้างใหม่ กรรมการชดุ ใหม่ 2564 3. คณะทางานศูนย์ความเป็นเลิศเบาหวานศิริราช (Siriraj DM center of Excellence Working group) คาสั่งท่ี 1176/2564 เพ่อื ทาหน้าท่ีดงั น้ี บรหิ าร ปฏิบัติงาน ตดิ ตามความก้าวหนา้ ผลการดาเนนิ การ และแก้ไขปญั หาท่ีเกิดขึ้น เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ได้แก่ การบริการให้ความรู้และสร้างทักษะการดูแลตนเองด้านเบาหวาน การตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อน การดาเนนิ งานหลกั สูตรประกาศนยี บตั รผ้ใู หค้ วามร้เู บาหวาน การวิจยั ด้านเบาหวานท่ศี นู ยเ์ บาหวานศิริราชมี สว่ นเกี่ยวขอ้ ง เปน็ ศูนย์กลางในการประสานงานการดาเนินการ ทั้งดา้ นการบรกิ าร และการวจิ ัยด้านเบาหวานกับหนว่ ยงานที่ เกย่ี วข้องภายในโรงพยาบาลศิริราช ประสานงานเชื่อมโยงกับหน่วยงานภายนอกสมาคมวิชาชีพเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา ตอ่ เนื่อง และกาหนดการประชมุ ทกุ 1 เดอื น รายชื่อดงั ต่อไปน้ี ท่ปี รกึ ษา ทป่ี รกึ ษา 1. ศาสตราจารยเ์ กยี รตคิ ุณ แพทย์หญงิ ชนิกา ตู้จินดา ที่ปรกึ ษา 2. ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ แพทยห์ ญงิ วรรณี นิธยิ านันท์ ท่ปี รึกษา 3. รองศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ ชดิ ชยั นพมณีจารสั เลศิ ทปี่ รึกษา 4. รองศาสตราจารย์พรศรี ศรอี ัษฎาพร ประธานคณะทางาน 5. นางคัทรี ชัยชาญวฒั นากลุ รองประธานคณะทางาน 6. ศาสตราจารย์คลนิ ิก แพทย์หญงิ สภุ าวดี ลิขติ มาศกุล รองประธานคณะทางาน 7. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ อภริ ดี ศรวี จิ ิตรกมล รองประธานคณะทางาน 8. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญงิ จีรันดา สนั ติประภพ คณะทางานและเลขานกุ าร 9. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงกุลภา ศรีสวสั ด์ิ คณะทางานและรองเลขานกุ าร 10. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงระวีวรรณ เลศิ วฒั นารักษ์ คณะทางาน 11. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วีรชยั ศรีวณชิ ชากร คณะทางาน 12. รองศาสตราจารย์ แพทยห์ ญิงนันทกร ทองแตง คณะทางาน 13. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ธาดา คณุ าวิศรุต คณะทางาน 14. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ ปวีณา ชุณหโรจนฤ์ ทธิ์ คณะทางานและผู้ช่วยเลขานกุ าร 15. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ อรสดุ า เลิศบรรณพงษ์ คณะทางาน 16. แพทยห์ ญงิ ลกั ขณา ปรีชาสุข คณะทางาน 17. นางยวุ รตั น์ ม่วงเงนิ ผู้ประสานงาน 18. บุคลากรศูนย์เบาหวานศิริราช 19. เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไปศนู ย์เบาหวานศิริราช 4. คณะทางานสหสาขาวิชาชีพเพื่อการดูแลเบาหวาน (Multidisciplinary team of diabetes care) คาสั่งที่ 1177/2564 เพื่อทาหน้าที่ดังนี้ ดูแลภาพรวม และการประสานงานของการบริการผู้ป่วยเบาหวานในโรงพยาบาลศิริรา ช เพือ่ ให้การบริการมีคุณภาพ และประสิทธภิ าพ พัฒนาแนวทางการทางานนาไปสู่การจัดทาแนวทางปฏิบัติตา่ งๆ ในการบริการ ผู้ป่วยเบาหวาน ดาเนินการทางานบริการต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมาย และตัวชี้วัดที่ตั้งไว้ และกาหนด การประชุม ทุก 4 เดือน รายช่ือดงั ต่อไปน้ี ท่ีปรึกษา ที่ปรึกษา 1. ผ้อู านวยการโรงพยาบาลศริ ริ าช ทีป่ รกึ ษา 2. รองคณบดฝี า่ ยพฒั นาคุณภาพ ทีป่ รกึ ษา 3. รองคณบดีฝ่ายสารสนเทศ ประธานคณะทางาน 4. Director of Siriraj DM excellence Center 5. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์เชิดชยั นพมณจี ารัสเลิศ 8

วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจ โครงสร้างใหม่ กรรมการชุดใหม่ 2564 ผูแ้ ทนทีมงานเบาหวานอายรุ ศาสตร์ (Medicine Diabetes care) 6. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงอภิรดี ศรวี ิจติ รกมล รองประธาน 7. นางยุวรัตน์ ม่วงเงิน คณะทางาน 8. นางสาวสุปริญญา พรมมาลุน คณะทางาน ผแู้ ทนทีมงานเบาหวานกุมารเวชศาสตร์ (Pediatric Diabetes care) 9. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญงิ จรี นั ดา สนั ตปิ ระภพ คณะทางาน 10. อาจารย์ แพทยห์ ญงิ อรสุดา เลิศบรรณพงษ์ คณะทางาน 11. นางกนั ยารตั น์ วงษ์เหมือน คณะทางาน ผแู้ ทนแทนทมี งานเท้าเบาหวาน (Diabetes Foot care) 12. รองศาสตราจารย์ แพทย์หญิงกลุ ภา ศรสี วสั ดิ์ คณะทางาน 13. อาจารย์ แพทยห์ ญิงปณั ณกิ า ปราชญโ์ กสนิ ทร์ คณะทางาน 14. นางสาวอจั ฉรา สวุ รรณนาคนิ ทร์ คณะทางาน 15. นายศราวธุ อปุ ระรตั น์ คณะทางาน ผูแ้ ทนทีมงานเบาหวานจอตา (Diabetes Retinopathy care) 16. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ณัฐวฒุ ิ รอดอนนั ต์ คณะทางาน 17. อาจารย์ แพทย์หญิงนิดา วงศช์ ยั สุวฒั น์ คณะทางาน 18. นางเรวดี สรุ าทะโก คณะทางาน ผู้แทนทีมงานเบาหวานสูตศิ าสตร์-นรเี วชวิทยา (Diabetes in pregnancy care) 19. รองศาสตราจารย์ ดร.นายแพทย์ดฐิ กานต์ บริบูรณห์ ริ ญั สาร คณะทางาน 20. นางอารรี ัตน์ บางพเิ ชษฐ์ คณะทางาน 21. หวั หน้างานเภสชั กรรมผปู้ ่วยนอก ฝ่ายเภสัชกรรม คณะทางาน 22. หัวหน้างานเภสัชกรรมผู้ป่วยใน ฝ่ายเภสัชกรรม คณะทางาน 23. นักวชิ าการโภชนาการ ฝ่ายโภชนาการ คณะทางาน 24. รองหัวหนา้ ฝ่ายการพยาบาล ดา้ นวชิ าการ ฝา่ ยการพยาบาล คณะทางาน 25. หวั หน้างานพฒั นาคุณภาพการพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล กรรมการ 26. หวั หนา้ หน่วยความเปน็ เลศิ ทางการพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล กรรมการ 27. รองศาสตราจารย์ นายแพทย์วีรชยั ศรีวณชิ ชากร กรรมการและเลขานุการ 28. แพทย์หญิงลกั ขณา ปรีชาสขุ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร 29. เจา้ หนา้ ท่ีศนู ย์เบาหวานศริ ิราช ผปู้ ระสานงาน ตาแหนง่ เจ้าหนา้ ทบ่ี ริหารงานท่วั ไป ทั้งนี้ คณะกรรมการดาเนินการศูนย์วิจัยเป็นเลิศด้านโรคเบาหวานและโรคอ้วนศิริราช (Siriraj Center of Research Excellence for Diabetes and Obesity, SiCORE-DO) และคณะกรรมการหลกั สตู รประกาศนยี บัตรผูใ้ ห้ความรู้ดา้ นเบาหวาน (Certified diabetes educator Program Faculty of Medicine Siriraj Hospital) ไมเ่ ปล่ียนแปลง 9

การรบั รองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ (Program and Disease Specific Certification) การพฒั นาเพื่อมาตรฐานคลินิกเบาหวาน สาหรบั การดูแลรกั ษาคลินิกเบาหวานของ สถานพยาบาลในระดบั “ศนู ย์เบาหวาน” คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช ร่วมกับภาควชิ า/หนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งในการใหบ้ รกิ ารผู้ป่วยเบาหวาน ได้ด าเนินการพัฒนาระบบให้บริการผู้ป่วยเบาหวานอย่างมี ประสิทธิภาพ นาไปสกู่ ารขอรับการรับรองมาตรฐานเฉพาะระบบด้าน โรคเบาหวาน ของโรงพยาบาลศิริราช (Program and Disease Specific Certification) โดยสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) ร่วมกับสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ ภายใต้ “โครงการความรว่ มมอื เพอื่ พัฒนาคณุ ภาพระบบการดแู ลรักษา โรคเบาหวาน” เพ่ือเป็นการพัฒนาคุณภาพระบบการดูแลรักษา โรคเบาหวานให้มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐานสากล เป็น ต้นแบบใหป้ ระเทศ และขอรับรองใน 5 Area หลัก ได้แก่ 1. Medicine Diabetes Care 2. Pediatric Diabetes Care 3. Diabetes in Pregnancy Care 4. Diabetes Retinopathy Care 5. Diabetes Foot Care 10

การรบั รองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ (Program and Disease Specific Certification) การพัฒนาเพอ่ื มาตรฐานคลนิ กิ เบาหวาน สาหรบั การดแู ลรักษาคลินกิ เบาหวานของสถานพยาบาลในระดบั “ศูนยเ์ บาหวาน” เมือ่ วันท่ี 1 กรกฎาคม 2564 ทผี่ ่านมา สถาบันรบั รองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) (สรพ.) และ ผูเ้ ชย่ี วชาญจากสมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ ได้เขา้ เยี่ยมสารวจระบบงานเบาหวาน โดยมีการเยี่ยมสารวจ แบบ Site visit จากผู้เชี่ยวชาญ จานวน 3 ท่าน จาแนกออกเป็น 3 สาย ดงั น้ี สายท่ี 1 ผู้เย่ยี ม : รศ.นพ.เพชร รอดอารยี ์ ผู้เช่ียวชาญ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล – หนว่ ยตรวจคลินกิ บริบาลผู้ป่วยนอกและหน่วยตรวจ คลินิกดูแลสขุ ภาพตอ่ เนอื่ ง – คลนิ ิกเบาหวานอายรุ ศาสตร์ – หน่วยพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพและปอ้ งกันโรค (PHN) – หน่วยตรวจโรคจักษวุ ทิ ยา – หอผู้ปว่ ยนวมินทร์ ชั้น 19 เหนอื – หอผู้ป่วยนวมนิ ทร์ ช้ัน 20 ใต้ สายท่ี 2 ผู้เยย่ี ม : ศ.พญ.ธนินี สหกิจร่งุ เรอื ง ผู้เชี่ยวชาญ สรุปจานวนผเู้ ข้าร่วมการรบั เยยี่ มสารวจ คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ในวันท่ี 1 กรกฎาคม 2564 – คลินกิ เบาหวานเด็กและวัยรนุ่ – หอผปู้ ว่ ยอานันทมหดิ ล 3 Opening Conference จานวนรวม 108 คน – หอผ้ปู ว่ ยเจา้ ฟ้า ชน้ั 6 – ศนู ยเ์ บาหวานศริ ิราช - ผู้เยย่ี มจากสรพ. 3 คน สายท่ี 3 ผู้เยี่ยม : นางผ่องพรรณ ธนา ผูท้ รงคุณวุฒิ - บุคลากรภายใน Onsite 32 คน สถาบันรบั รองคณุ ภาพสถานพยาบาล (องคก์ ารมหาชน) - บุคลากรภายใน On Zoom 73 คน – หนว่ ยฝากครรภ์ – หอผปู้ ว่ ย 100 ปี สมเด็จพระศรนี ครินทร์ ช้นั 10/1 Team Interview & Exit Conference จานวนรวม 94 คน – คลนิ กิ เทา้ เบาหวาน (โรงเรยี นกายอปุ กรณส์ ิรินธร) - ผู้เยี่ยมจากสรพ. 3 คน - บุคลากรภายใน Onsite 16 คน - บคุ ลากรภายใน On Zoom 75 คน คณะผู้ตรวจเย่ียมประทบั ใจในการตรวจเยี่ยมคร้ังนี้ และได้กลา่ วในท่ปี ระชมุ Exit conference ว่าทีมนาองค์กรมี วิสัยทศั นท์ ่ีกว้างไกล/ชดั เจน สามารถสง่ ตอ่ วิสยั ทัศนไ์ ปยังทมี งานทกุ ระดบั ได้ เหมอื นกับทมี มี DNA เดยี วกัน คือ “DNA เบาหวานศริ ิราช” 11

ความรว่ มมือ เรือ่ งราวความประทับใจ การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ และการเดินทางรว่ มกันของ “DNA เบาหวานศิริราช” (Program and Disease Specific Certification) การรบั รองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ทมี เบาหวานอายุรศาสตร์ “Medicine Diabetes Care” โรคเบาหวานเป็นโรคเรอื้ รงั ทีพ่ บไดบ้ ่อยในผู้ใหญ่ จาเปน็ ตอ้ งดแู ลให้การรักษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ผู้ป่วย เบาหวานดูแลตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานที่อาจเกิดขึ้ นได้ใน อนาคต นอกเหนอื จากรักษาดว้ ยยาแลว้ การปรบั พฤตกิ รรม ทัศนคติ มุมมอง ความเข้าใจและความสามารถในการ ดแู ลตนเองของผ้ปู ว่ ยมีความสาคัญเปน็ อยา่ งย่ิง ผู้ป่วยเบาหวานส่วนใหญ่ติดตามการรักษาหลักกับแพทย์ในแผนก อายรุ ศาสตร์ ดงั น้ันมีความจาเปน็ ตอ้ งดูแลผู้ปว่ ยเบาหวานแบบองค์รวม โดยทมี สหสาขา อาศัยการทางานรว่ มกันทั้ง จากแพทยใ์ นเวชปฏิบัติ อายุรแพทย์ อายรุ แพทยต์ อ่ มไรท้ อ่ พยาบาล เภสัชกร และการประสานงานกับแพทย์หรือ หน่วยงานอื่นๆ เพื่อรักษาโรคร่วมและตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนเรื้อรังให้ได้ตามมาตรฐาน ทั้งนี้ได้รั บการ สนับสนุนจากภาควชิ าอายุรศาสตร์และไดร้ ับความรว่ มมือจากศนู ย์เบาหวานศริ ิราช ซ่ึงมบี ทบาทหลกั ท่ีสาคัญในการ ดูแลผู้ป่วยเบาหวานใหไ้ ดร้ บั การรักษาในโรงพยาบาลศริ ริ าชเปน็ ไปตามมาตรฐานเดยี วกนั ทีมงานอายุรศาสตร์ได้มีส่วนร่วมในการขอรับการรับรอง Disease-specific certification การผ่านการ ประเมนิ และได้รบั การรบั รองในครัง้ นี้ เปน็ ส่ิงท่ีแสดงถึงความสาเร็จของทีมงานภายในทุกๆด้าน เพื่อมุ่งเน้นให้การ รักษาได้มาตรฐาน มีเป้าหมายและหลักการเดยี วกัน โดยยดึ ผปู้ ่วยเป็นจุดศนู ยก์ ลาง แต่เนื่องด้วยผู้ป่วยเบาหวานแต่ ละคนมปี ระเดน็ ทีต่ อ้ งการการดแู ลท่ีแตกต่างกัน และยังมีผู้ป่วยส่วนหนึ่งที่ไม่สามารถควบคุมโรคเบาหวานได้ตาม เกณฑ์ จงึ ยังมีจุดทค่ี วรพฒั นาและปรบั ปรุงตอ่ ไป เพอ่ื ให้ผู้ปว่ ยเบาหวานเกิดภาวะแทรกซอ้ นน้อยหรือชา้ ทีส่ ดุ จนเป็น ทยี่ อมรบั ขององคก์ รภายนอกในระดับประเทศ ความสาเรจ็ ท้งั หมดเป็นผลจากการท่มุ เทแรงกายและใจของทุกฝ่ายที่ เกีย่ วขอ้ ง ถึงแมจ้ ะมปี ัญหาและอปุ สรรคอย่บู า้ งกต็ าม แตอ่ ย่างไรกต็ ามยังมคี วามท้าทายอยูอ่ กี หลายเรื่องท่ยี งั ตอ้ งการ การพัฒนาและปรบั ปรงุ ซึ่งทีมงานตระหนกั ดแี ละถอื เป็นโอกาสพฒั นาสาหรบั การดาเนนิ งานตอ่ เนื่องต่อไปในอนาคต ทา้ ยทีส่ ดุ นี้ ทมี งานอายรุ ศาสตร์ภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งในการรับรอง Disease-specific certification ใน ครั้งน้ี และมีความมุ่งมนั่ ทีจ่ ะดาเนินงานดูแลรักษาผู้ปว่ ยเบาหวานต่อไป แกไ้ ขข้อบกพรอ่ งที่มี ปรบั ปรุงและพฒั นาใน การดแู ลผ้ปู ว่ ยเบาหวานใหด้ ยี งิ่ ขึ้นในอนาคต มีความทันสมัย และสามารถปรับเปลี่ยนให้เข้ากับสถานการณ์ในยุค ปจั จุบันได้ รศ.พญ.ระววี รรณ เลศิ วฒั นารักษ์ 12

ความรว่ มมือ เรอ่ื งราวความประทับใจ และการเดินทางร่วมกนั ของ “DNA เบาหวานศริ ริ าช” การรบั รองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ทีมเบาหวานอายุรศาสตร์ ผู้ปว่ ยใน “IPD MED” เมื่อทีม IPD MED รับทราบวา่ โรงพยาบาลศริ ิราชจะมีการขอรับรองเฉพาะโรคเบาหวาน กม็ ีความรู้สึกเข้ามาพร้อมๆ กัน ทั้งตืน่ เต้น ดีใจ ถงึ ก้าวสาคญั ของการพฒั นาคุณภาพการดูแลผปู้ ่วยโรคเบาหวาน ภมู ิใจที่จะได้นาเสนอผลงานให้กับทีมผู้ เยี่ยมสารวจเห็นถึงพลังของทีมงานในการร่วมแรงร่วมใจทุ่มเททากันมาอย่างต่อเนื่อง และคาดหวังให้สิ่งที่ ได้ทาตลอด ระยะเวลาทีผ่ ่านมาน้ีไดร้ บั การยอมรับ ในขณะที่ทั้งทีมผู้บริหารและผู้ปฏิบัติการเองก็แอบมีความกังวลใจเล็กๆ เรื่องการ เตรยี มด้านเอกสารและการนาเสนอใหค้ รบถ้วนพร้อมสรรพ เพื่อแสดงให้ผู้ตรวจเยี่ยมเห็นถึงกระบวนการและคุณภาพของ การดาเนนิ งาน ซึง่ ยอ้ นไปในบรรยากาศช่วงน้ัน มคี วามประทับใจตั้งแต่การเตรียมตัวก่อนรับการตรวจเยี่ยม การได้รับการ สนับสนุนจากทีมผู้บริหาร และความร่วมมือจากสหสาขาวิชาชีพทุกๆ ฝ่าย ทั้ง OPD IPD โดยเฉพาะศูนย์เบาหวานที่ เออ้ื อานวยในการดาเนินการ แม้สิ่งที่ทีม IPD MED เตรียมนาเสนอต่อผู้ตรวจเยี่ยม ก็คือสิ่งที่ใช้และปฏิบัติอยู่แล้วในการ ทางานปกติ แต่ก็นับเป็นโอกาสอันดีที่เราจะได้ทบทวนตัวเองถึงเป้าหมายของการดาเนินงานด้านการดูแลผู้ป่ วย โรคเบาหวาน เสมือนการตอกย้าเสาหลักของบ้านและตรวจดูรากฐานความมั่นคงยั่งยืน เราจะเป็นฟันเฟืองสาคัญใน การ สรา้ งสขุ ภาวะแก่ประชาชนใหป้ ลอดภัยจากโรคเบาหวานและสร้างคุณภาพชวี ิตของผู้ปว่ ย ทีมเบาหวาน IPD ร่วมกันทบทวน แนวทางปฏิบัตโิ ดยองิ จากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์และองค์ความรทู้ ่ที ันสมัย บางเรื่องต้องปรับปรุงให้ทันต่อสถานการณ์เราใช้ เวลาในหอ้ งประชุมและกลับไปดาเนนิ การในกลุ่มย่อย ลองสุ่มดูหน้างานสื่อสารให้บุคลากรในหอผู้ป่วยได้รู้และรับทราบถึง แนวทางปฏบิ ตั ไิ ปด้วยกนั เพราะการทางานเราจะทาคนเดยี วไม่ได้ โดยหน้างานตง้ั แต่หวั หนา้ หอจนถึง CDE และน้องๆ ต่าง ให้ความร่วมมือทุกคนสามารถมาทาได้ถึงแม้จะไม่ได้อยู่ในทีมดาเนินการเบาหวาน IPD โดยตรงก็ตาม นับเป็นความ ประทับใจในสปิริตของคนหน้างานที่แม้ภาระงานในหน่วยงานจะหนักหนาแล้ว ก็มีใจก้าวเดินไปกับเราในการขอรับ รอง รายโรค ด้วยโรคเบาหวานเปน็ โรคสาคญั ในหนว่ ยงานเชน่ กัน อกี ความประทบั ใจคือ การมาของทีม สรพ. ในสภาวการณท์ ่มี ีการแพรร่ ะบาดของโควดิ “ไวรสั หยุดโลก” แต่ไม่หยุด หนทางการเยี่ยมสารวจ เพราะเรารู้ดีว่ากระจกที่ดีจะทาให้เรารู้โอกาสพัฒนาเพื่อความก้าวหน้าสาเร็จ ตอนที่ ทีมเราได้ นาเสนอการจัดการและดูแลผู้ปว่ ยเบาหวานในหอผปู้ ่วย คดิ วา่ ใหเ้ วลานอ้ ยจังเลย สิ่งทเี่ ราพมั นาไปและเอกสารที่ได้เตรียมไว้ ทีม สรพ. ยงั ดไู ด้ไม่ครบเลยก็หมดเวลาแล้ว ในระหวา่ งการเยยี่ มสารวจทุกคาถามของผู้เยี่ยมช่วยให้เราเห็นตัวเองชัดขึ้นใน ทกุ มติ ขิ องการพัฒนา ทมี งานจดและจาไปเปน็ สงิ่ ท่จี ะดาเนินงานตอ่ ยอดและแลว้ เราก็ได้ทาหน้าทีเ่ ต็มที่และโลง่ ใจที่ผ่านไปได้ และจากการตรวจเยย่ี ม ไดร้ ับการยอมรบั ในแนวทางและสงิ่ ท่ีปฏบิ ตั ิมา พรอ้ มท้งั ข้อเสนอแนะซึง่ ไม่ไดห้ มายความว่าเราทาได้ ไม่ดพี อ แตม่ ันหมายถึงวา่ เราสามารถพฒั นาแนวทางและการปฏบิ ตั ิทาให้ดีกวา่ นไี้ ด้ ถ้าเราหวังแต่คาชื่นชมก็ยากที่จะพัฒนา ตอ่ ไป เราพรอ้ มทจี่ ะน้อมรับคาตชิ มและเสนอแนะ เพื่อจะนามาปรับปรุงและแก้ไขให้ทุกอย่างมันดียิ่งขึ้นไป และนี่เป็นอีก ความประทับใจที่ทีม เบาหวาน IPD ตั้งใจอย่างยิ่ง ในการทาสิ่งที่ดีที่และมีประโยชน์ที่สุดให้แก่ผู้ป่วย เพื่อให้ประชาชนมี สุขภาวะทด่ี ี ทีมเบาหวานอายรุ ศาสตร์ ผู้ปว่ ยใน (IPD MED) 13

ความร่วมมือ เรอ่ื งราวความประทับใจ การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ และการเดนิ ทางร่วมกนั ของ “DNA เบาหวานศิรริ าช” (Program and Disease Specific Certification) การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ทีมการบริบาลผูป้ ว่ ยนอก “CC clinic” สาขาวิชาการบรบิ าลผู้ป่วยนอก ภาควิชาอายุรศาสตร์ เป็นหนว่ ยให้บรกิ ารด้านการเรยี นการสอนในการตรวจรักษาผู้ปว่ ยนอก ของนกั ศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 5 แพทย์ฝึกหัด และแพทย์ประจาบ้านชั้นปีที่ 1 รับผู้ป่วยกลุ่มโรคเรื้อรังไม่ติดต่อ โดยเฉพาะผู้เป็น เบาหวาน และผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงเบาหวานที่มีอายุต้งั แต่ 18 ปขี น้ึ ไป ตงั้ แต่การตรวจคดั กรองเปน็ เบาหวานทีย่ ังไม่มีอาการ จนถึงผู้ป่วยมี อาการแล้วแต่ยงั ไมม่ ีภาวะแทรกซอ้ นรุนแรงไปสู่ระบบอนื่ ของรา่ งกาย ให้การดแู ลรกั ษาต่อเนอื่ งในผูป้ ่วยทีม่ ภี าวะเบาหวาน ให้ความรู้ และคาแนะนาการปฏิบัตติ ัว เพอ่ื คดั กรองและปอ้ งกันภาวะแทรกซอ้ นจากเบาหวานก่อนที่อาการจะรุนแรงขึ้น ตลอดจนส่งเสริมการ ดแู ลสุขภาพแบบองคร์ วม หากพบภาวะแทรกซอ้ นท่รี ุนแรงขึ้น จะมีระบบการส่งตอ่ ขอ้ มูลผปู้ ่วยไปยังหน่วยตรวจเฉพาะทาง หรือสง่ ต่อ สถานพยาบาลใกลบ้ า้ นเพือ่ การดูแลต่อเนอื่ งในผ้ปู ว่ ยท่ีมอี าการคงที่แล้ว มีหนว่ ยตรวจทอ่ี ยู่ในความดูแล 2 คลินิก คือ 1. หนว่ ยตรวจคลินิกบรบิ าลผูป้ ว่ ยนอก CCX (นกั ศกึ ษาแพทยแ์ ละแพทยฝ์ ึกหดั ) เปดิ บรกิ ารเฉพาะวนั พฤหัสบดี เวลา 9.00-12.00 น. 2. หน่วยตรวจคลนิ ิกดูแลสุขภาพต่อเนอ่ื ง CCR (แพทย์ประจาบา้ น) เปิดบรกิ ารทกุ วันราชการ เว้นวนั พธุ เวลา 9.00-12.00 น. การไดเ้ ป็นสว่ นหน่ึงในทมี ทชี่ ว่ ยดูแลผเู้ ปน็ เบาหวานของโรงพยาบาลศริ ิราช นบั เป็นความภาคภูมิใจของสาขาวิชาการบริบาล ผูป้ ว่ ยนอก เนื่องจากผเู้ ปน็ เบาหวานในคลนิ กิ ได้รบั การดแู ลอยา่ งมีมาตรฐาน ทั้งเป้าหมายในการควบคุมระดบั นา้ ตาล ควบคุมโรครว่ มที่ เป็นปัจจยั เสย่ี งต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น ความดันโลหิตสงู ไขมนั ในเลอื ดผดิ ปกติ นอกจากนี้ ผู้เป็นเบาหวานในคลินิก ยังได้รับการตรวจคดั กรองภาวะแทรกซ้อนจากการเปน็ เบาหวานเกือบทุกราย ได้รับความรใู้ นการดแู ลตนเองทั้งในแง่ของการปฏิบัติตัว เมอื่ เกิดภาวะฉุกเฉนิ นา้ ตาลตา่ การรับประทานอาหาร และการออกกาลังกายทเ่ี หมาะสม ซง่ึ ส่ิงทัง้ หมดนจ้ี ะเกิดขึ้นไม่ได้เลยหากไม่ได้ รบั การสนบั สนนุ จากทีมสหสาขาวชิ าชีพทง้ั ภายในและภายนอกภาควิชาอายุรศาสตร์ นอกจากนเ้ี น่อื งจากคลินกิ การบริบาลผ้ปู ่วยนอกเปน็ คลนิ ิกที่เนน้ ในเรื่องของการเรียนการสอน การท่ผี ปู้ ว่ ยไดร้ บั การดแู ลอยา่ ง มมี าตรฐานตามหลกั ฐานทางวิชาการที่ทนั สมยั และเหมาะสมกับบริบทของประเทศมากที่สุด ยังเป็นการสร้างแรงบันดาลใจให้แพทย์ รุน่ ใหมเ่ ห็นความสาคัญ และการปฏิบตั ไิ ด้จรงิ ของการดูแลผูเ้ ป็นเบาหวานใหส้ ามารถควบคมุ ระดับน้าตาลได้ตามเป้าหมาย รวมถึงการ ดูแลแบบองค์รวม ซ่งึ จะต่อยอดไปส่กู ารดูแลผ้เู ปน็ เบาหวานอกี เป็นจานวนมากในหลากหลายโรงพยาบาลในอนาคต การทโ่ี รงพยาบาลไดร้ บั การรับรองมาตรฐานเฉพาะโรคครั้งนี้ เป็นการตอกย้าถึงความเป็นผู้นาของศิริราชในการดูแลผู้เป็น เบาหวาน และสาขาวิชาการบรบิ าลผ้ปู ว่ ยนอกมีความตง้ั ใจเปน็ อย่างย่งิ ที่จะพัฒนาการดูแลผู้เป็นเบาหวานให้ดีมากยิ่งขึ้น รวมถึงให้ ความรว่ มมอื กบั ทกุ หนว่ ยงานในการพัฒนาระบบการดูแลผเู้ ปน็ เบาหวานของโรงพยาบาลศริ ิราช ผศ.พญ. ตลุ ยา สีตสุวรรณ 14

ความร่วมมอื เรือ่ งราวความประทบั ใจ และการเดนิ ทางร่วมกนั ของ “DNA เบาหวานศิรริ าช” การรบั รองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ทมี เบาหวานเดก็ และวยั ร่นุ “Pediatric Diabetes Care” โรคเบาหวานในเดก็ และวัยร่นุ เปน็ โรคเรอื้ รังและซบั ซ้อน ทีต่ ้องการการดูแลอย่างใกล้ชิด มีการตรวจระดับน้าตาลปลายนิ้ว และฉดี อนิ ซูลินหลายครั้งต่อวนั รวมถงึ การนับคาร์โบไฮเดรตอย่างละเอียดเพื่อการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพ ระดับน้าตาลที่สูงเป็น เวลานานนาไปส่ภู าวะแทรกซ้อนของตา ไต และเทา้ ก่อให้เกิดการสญู เสยี ทรัพยากรบุคคลและศกั ยภาพของการทางานของผู้ป่วยและ คา่ ใช้จา่ ยทเี่ พ่มิ ขน้ึ เป้าหมายการรักษาโรคเบาหวานในปจั จุบัน คอื การดแู ลใหร้ ะดับน้าตาลในเลือดใกล้เคียงกับปกติมากที่สุด โดยมี ภาวะแทรกซ้อนนอ้ ยทสี่ ดุ ในการดูแลผ้เู ปน็ เบาหวานเด็กและวัยรุ่นให้ไดผ้ ลดี จึงจาเป็นตอ้ งมกี ารให้ความร้แู ละทักษะปฏบิ ัติในการดแู ล ตนเอง รวมท้ังระบบสนบั สนุนให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถจัดการตนเองได้โดยทีมสุขภาพ ที่เรียกว่า Diabetes Self-Management Education and Support: DSMES ดงั นั้น สาขาวิชาต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล ไดร้ เิ รม่ิ การทางานของ DM care team สหสาขาขึ้น ในปี พ.ศ. 2547 ประกอบด้วยบุคลากรวิชาชีพ ได้แก่ แพทย์ พยาบาล เภสัชกร นกั โภชนาการ ได้ดาเนนิ การพัฒนาการดแู ลผู้เปน็ เบาหวานเด็กและวยั รุน่ มาอยา่ งตอ่ เนื่องจนพฒั นาเป็น Clinical Tracer และ นาไปสู่ Clinical Tracer plus ในปี พ.ศ. 2561 โดยเน้นการสอนให้ผเู้ ปน็ เบาหวานและครอบครัวมีความรู้และมีส่วนร่วมในการดูแล ตัวเองในชวี ติ ประจาวัน ป้องกนั ภาวะแทรกซ้อน สร้างกาลังใจในการดแู ลตนเองอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง และอย่กู ับเบาหวานได้อย่างปกติสุข การนา Disease-specific certification (DSC) มาเปน็ กรอบในการพฒั นาการดแู ลผเู้ ปน็ เบาหวานเดก็ และวัยรุ่น ทาใหท้ ีมได้ เห็นภาพการดแู ลผู้ปว่ ยเบาหวานเดก็ และวยั รุน่ อย่างครบวงจร เหน็ ถึงความร่วมมอื รว่ มใจของทีมสหสาขาที่ใหก้ ารดแู ลผู้ป่วยเบาหวาน โดยยดึ ผปู้ ่วยเปน็ ศูนยก์ ลาง การเตรยี มความพร้อมของทีมเปน็ ส่วนทีส่ าคญั มกี ารประชมุ ทีมคณะทางาน การเยี่ยมสารวจภายในโดย งานพัฒนาคุณภาพของคณะฯ และงานพัฒนาคุณภาพของฝ่ายการพยาบาลฯ ทาให้เห็นช่องว่าง (gap) และนามาปรับปรุง/แก้ไข เพอ่ื ปิด gap กอ่ นการรับรองจริงจาก สรพ. ขณะเดยี วกนั การทบทวนตัวชว้ี ัดของเบาหวาน ทาให้ทีมเห็นจุดแขง็ และขอ้ ควรพัฒนา และ เมอ่ื นาตัวชีว้ ัดมาวเิ คราะห์เทียบเคยี งกบั ระดบั ประเทศ ทาใหไ้ ด้เหน็ ภาพของตัวเราเอง มองเหน็ จุดยืนที่ชัดเจน และพร้อมที่จะพัฒนา ตอ่ ไปเพอื่ ไปสูเ่ ป้าหมายทว่ี างไว้ ความทา้ ทายและแผนพัฒนา โดยมแี ผนในการพัฒนาโครงการ ไดแ้ ก่ – An intervention to improve adherence of diabetes-related tasks, diabetes-related distress, and glycemic control in adolescents with type 1 diabetes (T1DM Flagship Project) เปน็ โครงการของภาควิชากมุ ารเวชศาสตร์ การทางานร่วมกันของสาขาต่อมไร้ท่อและเมตาบอลิสม สาขาจิตเวชเด็ก และสาขากุมารเวชศาสตร์วัยรุ่น ในการ intergrade การดูแลผู้ป่วยเบาหวานใน 4 ด้าน ได้แก่ knowledge and skill, adherence, coping and acceptance และ psychosocial support เพ่อื ใหผ้ ูเ้ ป็นเบาหวานเด็กและวัยรุ่นเกิดการเรียนรู้การจัดการตนเองที่พัฒนาขึ้น ช่วยลด ความเครียดความกงั วล และการควบคุมระดับนา้ ตาลของผูเ้ ปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 1 – SWEET project เปน็ การลงทะเบียนผปู้ ่วยเบาหวานเด็กระดับนานาชาติที่มีมาตรฐานในหลายศูนย์จากทั่วทุกทวีป โดย ปจั จบุ นั มสี มาชกิ 153 ศูนย์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการดูแลเด็กที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 ยกระดับ Standard of care ของคนไขเ้ บาหวานเดก็ ทวั่ โลก อยใู่ นขัน้ ตอนการดาเนินงาน ปี 2564 พว.กนั ยารตั น์ วงษเ์ หมอื น ,CDE รศ.พญ. จรี ันดา สนั ตปิ ระภพ 15

ความร่วมมือ เร่อื งราวความประทบั ใจ การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ และการเดนิ ทางร่วมกนั ของ “DNA เบาหวานศิริราช” (Program and Disease Specific Certification) การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ทีมเบาหวานสตู ศิ าสตร์-นรเี วชวทิ ยา “Diabetes in Pregnancy Care” ทีมดูแลผู้ป่วยสูตศิ าสตรซ์ ึ่งมหี นา้ ทใ่ี หก้ ารดแู ลสตรีต้งั ครรภท์ ีม่ ีภาวะเบาหวานระหว่างต้ังครรภไ์ ด้รับเกยี รตใิ ห้ เข้ามามีส่วนร่วมกับทมี ดูแลผู้ป่วยเบาหวาน โรงพยาบาลศิริราช และมีส่วนร่วมในการขอรับการรับรอง Disease- specific certification ท่ผี า่ นมาทีมงานได้ดาเนินการและพัฒนาการให้บริการเกี่ยวกับภาวะเบาหวานระหว่าง ตั้งครรภ์มาอย่างต่อเนื่องกว่า 20 ปี โดยได้รับการสนับสนุนจากภาควิชาฯ และได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดีจาก บุคลากรที่เกี่ยวข้องในทุกระดับ รวมทั้งยังได้ผนวกงานบริการเข้ากับการเรียนการสอนและงานวิจัยอีกด้ วย ซ่งึ องค์ประกอบเหล่านชี้ ว่ ยให้การดาเนินการท่ีผ่านมาเปน็ ไปอย่างตอ่ เน่ืองและสามารถพฒั นาให้เกิดผลลพั ธท์ ่ีดตี อ่ สตรี ตง้ั ครรภท์ มี่ ารับบริการตลอดมา การผา่ นการประเมนิ และได้รบั การรบั รองในครงั้ น้ี เปน็ สงิ่ ที่แสดงถึงความสาเร็จของการดาเนินงานทั้งของ โรงพยาบาลและของทีมในภาพรวมในระดบั หนงึ่ จนเป็นที่ยอมรบั ขององค์กรภายนอกในระดบั ประเทศ ซง่ี เป็นผลจาก การทมุ่ เทแรงกายและใจของทกุ ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ถึงแม้จะมีปัญหาและอุปสรรคอยู่บ้างก็ตาม อย่างไรก็ดี ยังมีความ ท้าทายอยูอ่ ีกหลายเรอื่ งท่ยี ังตอ้ งการการพัฒนาและปรบั ปรุง ซ่ึงทีมงานตระหนักดแี ละถอื เปน็ โอกาสพัฒนาสาหรบั การ ดาเนนิ งานตอ่ เนอื่ งต่อไปในอนาคต ความสาเร็จที่เกิดขึ้นในครั้งนี้เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของหลายฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทั้งจา กภายในและ ภายนอกภาควิชาฯ ที่มีจุดมุ่งหมายเดียวกันและมีความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน ทาให้เกิดการประสานงา นที่ดี รวมท้ังการบริหารงานทดี่ ีของผ้นู าที่มีวิสัยทัศน์ ที่สนบั สนุนและส่งเสริมการดาเนินงานมาโดยตลอด ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหลา่ นีเ้ ปน็ ส่วนสาคญั ทีน่ าไปส่ปู ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลท่ดี ขี องการดาเนนิ งานในทสี่ ดุ ทีมดแู ลสตรตี ั้งครรภ์ท่มี ภี าวะเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์มีความภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของความสาเร็จใน คร้ังน้ี ซง่ึ ถือได้วา่ เปน็ รางวลั และเป็นกาลงั ใจแก่ผูป้ ฏิบตั งิ านท่ีเกี่ยวข้องทกุ คน การไดร้ ับการรับรองคร้ังนเี้ ปน็ เสมอื นอีก หนึง่ จดุ เรม่ิ ตน้ ของการทท่ี มี งานจะตอ้ งพยายามยกระดบั การพฒั นาและดาเนินงานให้ดีย่ิงข้นึ ซ่งึ ทีมงานทุกฝา่ ยมีความ มุ่งม่นั ทจี่ ะพฒั นางานใหเ้ กดิ ความสาเร็จตามท่ีตัง้ เปา้ ไว้ตอ่ ไปในอนาคต รศ.ดร.นพ.ดฐิ กานต์ บรบิ รู ณห์ ิรญั สาร 16

ความรว่ มมือ เรอื่ งราวความประทบั ใจ และการเดนิ ทางรว่ มกันของ “DNA เบาหวานศิรริ าช” การรบั รองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ทีมเบาหวานจอตา “Diabetes Retinopathy Care” ผูป้ ว่ ยโรคเบาหวานจอตาทีห่ น่วยตรวจโรคจกั ษุ มรี ะบบการตรวจคัดกรองเบาหวานจอตา การแยกประเภท ของผ้ปู ว่ ยตามระดบั ความรุนแรงของโรค เพ่ือใหท้ ราบถงึ ปัญหา และความเร่งด่วนของผู้ป่วย ระบบการคัดกรองทา การประเมนิ เบื้องต้นโดยพยาบาลวชิ าชีพซ่ึงมคี วามรู้ ความสามารถและประสบการณใ์ นการประเมนิ ผปู้ ว่ ย จากน้ันจะ ทาการนัดหมายเขา้ สกู่ ระบวนการคดั กรองได้ 2 วิธีหลักๆ คือ การตรวจขยายม่านตาและใชก้ ลอ้ งพรอ้ มเลนส์สอ่ งจอตา เพื่อตรวจหาเบาหวานจอตาโดยจักษุแพทย์ และวิธีที่ 2 คือการใช้ภาพถ่ายจอตามาแปลผลโดยบุคลากรทาง การแพทยท์ ่ไี ด้รบั การฝกึ ฝนมาแล้ว หรอื ใชโ้ ปรแกรมปัญญาประดิษฐ์ มาชว่ ยในการตรวจคัดกรอง หากผลการตรวจ คัดกรอง พบว่ามีความผิดปกติแบบเบาหวานจอตาในระดับ moderate NPDR ขึ้นไป จะได้รับการส่งต่อพบจักษุ แพทย์ การประเมินและตรวจรักษาโรคเบาหวานจอตา ผู้ป่วยทีม่ ปี ัญหาเบาหวานจอตารุนแรงที่ต้องได้รับการรักษา ทุกราย จะไดร้ บั การดแู ลรักษาที่เหมาะสมตามแนวทางการรักษาตามมาตรฐาน กรณีเร่งด่วน อาการรุนแรง จะส่ง ผู้ป่วยตอ่ ให้กับจักษุแพทย์ในการประเมินและตรวจรักษาโรคเบาหวานจอตา ตามแนวทางการรักษาโรคตามแนว ทางการรักษา (clinical practice guideline) ตอ่ ไป และมีแนวทางปฏบิ ตั ิเพื่อให้ผปู้ ว่ ยได้รบั การดแู ลอยา่ งเหมาะสม ทมี จักษุได้มีโอกาสรว่ มรบั เยยี่ มการรบั รอง Disease Specific Certification เกดิ การทางานแบบบูรณาการ รว่ มกันระหว่างสหสาขาวิชาชพี ทง้ั ทีมแพทย์ พยาบาล และเจ้าหน้าทีเ่ ทคนคิ การแพทย์ เพ่อื ใหก้ ารดูแลผู้ปว่ ยเป็นไป อยา่ งปลอดภัย มีการพัฒนาระบบบรกิ ารได้เร็วขน้ึ และ สะดวกมากขนึ้ รวมทัง้ มีการส่งตอ่ ผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านอื่นๆ เชน่ เท้า พฤติกรรมดา้ นการบรโิ ภค เปน็ ต้น การผ่านการรับรองในครงั้ นท้ี าใหเ้ กิดความภูมใิ จในการทางาน ซึง่ ทมี จกั ษุ เป็นส่วนหนึ่งในการเชื่อมต่ออย่างครบวงจรในการดูแลผู้ป่วยเบาหวานของโรงพยาบาล ในส่วนข้อเสนอแนะและ โอกาสพฒั นาของทีมจากการรับเยีย่ ม Disease Specific Certification จะนาไปพฒั นาปรับปรงุ เฝ้าระวังความเส่ียงท่ี จะเกิดกับผู้ป่วย ทบทวนร่วมกับทีมสหสาขาอย่างต่อเนื่อง เพื่อวิเคราะห์ปัญหา และหาแนวทางพัฒนา มี การตั้ง ตัวชว้ี ัดเพื่อประเมนิ ผลลัพธ์การทางานของทีมจักษุ เพ่อื ผลลพั ธ์ทด่ี ขี ้ึนในต่อไปและเกดิ ประโยชน์สงู สดุ แก่ผู้ปว่ ย ทมี เบาหวานจอตา 17

ความรว่ มมือ เร่อื งราวความประทบั ใจการรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ และการเดินทางร่วมกนั ของ “DNA เบาหวานศริ ิราช” (Program and Disease Specific Certification) การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ทีมเบาหวานเท้า “Diabetes Foot Care” ปญั หาเทา้ เบาหวานในผู้ป่วยโรคเบาหวานเป็นปัญหาสาคัญ การตรวจคัดกรองและประเมินความเสี่ยงจึงมี ความจาเปน็ เพอ่ื ป้องกันและลดโอกาสการเกดิ แผลท่ีเทา้ ในอนาคต โดยผู้เปน็ เบาหวานจะไดร้ บั การตรวจคดั กรองเท้า ประจาปี ในคลินิกหลักที่ให้บริการตรวจเบาหวานได้แก่ คลินิกเบาหวาน, คลินิกดูแลสุขภาพต่อเนื่อง, คลินิกเท้า เบาหวาน, ศูนย์เบาหวานศิริราช และในคลินิกอื่นๆ ที่มีการรักษาเบาหวานสามารถส่งต่อผู้ป่วยรับบริการตรวจ คดั กรองเท้าไดท้ ่ีศนู ย์เบาหวานศริ ิราช โดยความเสี่ยงการเกิดแผลที่เท้าแบ่งเป็น 3 ระดับตามมาตรฐานกาหนดโดย กระทรวงสาธารณสขุ คือความเสีย่ งต่า ความเส่ียงปานกลาง และความเสย่ี งสงู ในกลุม่ ผปู้ ว่ ยทม่ี ีความเส่ียงปานกลาง- สูง จะไดร้ บั การสง่ ต่อโดยพยาบาลประสานงานดา้ นเบาหวานประจาคลินิก (Nurse coordinator) ช่วยให้คาแนะนา และประสานงานให้ผูป้ ่วยไดเ้ ขา้ รบั การตรวจรักษาตามความเรง่ ดว่ น โดยแพทย์เฉพาะทาง พยาบาล นักกายอุปกรณ์ และนักกายภาพบาบัด ทม่ี คี วามเชย่ี วชาญตามแนวทางการรกั ษาทีม่ ีมาตรฐาน ทีมเท้าเบาหวานมีส่วนร่วมในการรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ (Program and Disease Specific Certification: PDSC) การผา่ นการประเมินและได้การรบั รองมาตรฐาน เปน็ ส่ิงทีแ่ สดงให้เห็นถึงความสาเร็จของทีม ทเี่ กดิ จากการประสานงาน การบูรณาการและร่วมกันดูแลผูป้ ว่ ยเบาหวานท่มี ปี ญั หาเทา้ อย่างเป็นระบบ มีการพัฒนา ระบบการสง่ ตอ่ ใหผ้ ปู้ ว่ ยสามารถเขา้ ถงึ การดแู ลเรว็ และสะดวกมากขึ้น ทาใหเ้ กิดการพดู คยุ ระหวา่ งหน่วยงานภาควิชา สาขาวชิ าต่างๆ ทม่ี สี ว่ นร่วมทาให้การดแู ลรกั ษามีมาตรฐานไปในทิศทางเดียวกัน รวมทั้งมีการสร้างเครือข่ายในการ ส่งต่อผ้ปู ่วยกับโรงพยาบาลในภูมภิ าคตา่ งๆ ทวั่ ประเทศ ในส่วนของขอ้ เสนอแนะและโอกาสในการพัฒนาจากทีมตรวจ เยี่ยม Disease Specific Certification ทางทีมเท้าจะนาไปปรับปรุงและพัฒนาต่อยอดต่อไป เพื่อให้บรรลุ เป้าประสงคท์ ีต่ ้งั ไว้ และผลลัพธ์ทเี่ ปน็ ประโยชนส์ ูงสดุ ของผู้ป่วย พว.อัจฉรา สวุ รรณนาคินทร์ รศ.พญ.กลุ ภา ศรีสวัสด์ิ 18

ความรว่ มมอื เรอื่ งราวความประทับใจ และการเดนิ ทางร่วมกันของ “DNA เบาหวานศิรริ าช” การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ถอดบทเรยี นทมี พยาบาล ระบบการดูแลผู้เป็นเบาหวานในโรงพยาบาลศิริราชมีความเกี่ยวเนื่องกันในหลายภาควิชาและหน่วยงา น โดยเฉพาะในกรณผี ้เู ป็นเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อน จาเป็นต้องได้รับการดูแลจากบุคลากรหลายภาควิชา ห ลาย หน่วยงาน ในบริบทของพยาบาลต้องทางานร่วมกับทีมสหสาขาวิชาชีพเพื่อส่งต่อผู้ป่วยให้ได้รับการดูแล จากทีม เฉพาะทาง ผลลัพธ์การดแู ลจะเกดิ กบั ผู้ป่วยและครอบครวั ระบบการพยาบาลดูแลผ้ปู ่วยเฉพาะโรคไดถ้ กู รวบรวมโดยงานพฒั นาคุณภาพการพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศริ ริ าช ซ่ึงเลง็ เหน็ ความจาเป็นของการใหก้ ารพยาบาลทต่ี ้องมีทีมนาเพอ่ื ขับเคลอื่ นใหก้ ารดแู ลรกั ษาเป็นไป ตามมาตรฐาน ทาให้การทางานเฉพาะโรคเบาหวานมีความชัดเจนขึน้ ประกอบกบั คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้ผลิตหลกั สตู รประกาศนยี บตั รผใู้ ห้ความรเู้ บาหวาน (Certified Diabetes Educator : CDE) มผี ู้จบหลักสูตรที่เป็น พยาบาลมากกว่าร้อยละ 80 ทาให้การทางานเฉพาะโรคมที ีมทางานทีค่ รอบคลุมทุกประเภทของกลุ่มผู้เป็นเบาหวาน การทางานในแตล่ ะทีมจะประกอบด้วยทีมแพทย์ พยาบาล และผู้ช่วยพยาบาล ประชุมกันอย่างต่อเนื่องและมี การ นาเสนอผลลัพธ์ในทุกไตรมาส นาผลลัพธ์นี้ไปปรับปรุงพัฒนางานอย่างไม่ย่อท้อ ทุกๆทีมจะได้การสนับ สนุนจาก คณาจารย์ประจาภาควชิ าใหก้ ารชแ้ี นะ สรา้ งแนวทางปฏิบัติร่วมกัน สื่อสารกับทีม และนาแนวทางไปปรับใช้ให้เกิด ผลลพั ธ์ที่ดีทส่ี ุดกบั ผู้ป่วยและครอบครัว การทางานเฉพาะโรคเบาหวานเปน็ การพัฒนาอยา่ งไมส่ นิ้ สุด ต้องมกี ารดาเนินการร่วมกับทีมสหสาขาอย่าง ตอ่ เนอ่ื ง พยาบาลต้องทบทวนตวั เองอยา่ งสมา่ เสมอ รบั ฟงั คาช้ีแนะจากผู้รับบรกิ าร ทมี แพทย์ ทมี พยาบาลด้วยกนั เอง และทีมสหสาขาวิชาชีพ เพื่อนามาพัฒนาปรับปรุงให้ประสิทธิภาพ ในฐานะพยาบาลในโรงพยาบาลศิริราชมีคว าม ภาคภมู ใิ จในการทางานเฉพาะโรคเบาหวานทไี่ ดร้ ับการรับรองตามมาตรฐาน DSC และดีใจที่ได้ดูแลผู้เป็นเบาหวาน ของโรงพยาบาลศริ ริ าชให้มีสุขภาวะทดี่ ี พว.ยวุ รัตน์ ม่วงเงิน 19

ความรว่ มมอื เรือ่ งราวความประทบั ใจการรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ และการเดินทางร่วมกนั ของ “DNA เบาหวานศริ ริ าช” (Program and Disease Specific Certification) การรับรองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ถอดบทเรียนทมี เภสัชกร ปัจจุบันฝ่ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลศิริราช มีเภสัชกรที่จบการศึกษาหลักสูตร Certified Diabetes Educator: CDE ของคณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาลและปฏบิ ตั ิงานในบทบาทผู้ให้ความรูเ้ บาหวานจานวน 2 ท่าน ซ่งึ การปฏบิ ตั งิ านทีศ่ ูนยค์ วามเปน็ เลิศเบาหวานศริ ริ าชทาให้เภสัชกรดูแลผู้เป็นโรคเบาหวานแบบองค์รวม (Holistic Approach) มากขน้ึ โดยม่งุ เนน้ ดูแลผูเ้ ปน็ เบาหวานแบบ Patient-centered care ควบคกู่ ับใหค้ าแนะนาเรื่องการ ใช้ยาใหถ้ ูกต้อง เหมาะสม ปลอดภยั นอกจากน้ยี ังแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสานงานกับทีมสหสาขาวิชาชีพในการ ดูแลผ้เู ปน็ เบาหวาน เหน็ ภาพรวมของการดแู ลผู้เป็นเบาหวานทเี่ ช่ือมโยงและครอบคลุม ทั้งด้านการส่งเสริม ป้องกัน ดแู ลรกั ษา ฟน้ื ฟสู ุขภาพ การดแู ลจดั เบาหวานดว้ ยตนเอง รวมถึงการปรับเปลี่ยนการดาเนินชีวิตที่ดีต่อสุขภาพ และ ทสี่ าคัญทาใหม้ ีมมุ มองในการพฒั นาระบบยาในมิตติ า่ งๆ ต้งั แต่การส่งั ใชย้ าและถ่ายทอดคาสง่ั จนถึงการบรหิ ารยา โดย คานึงถึงความปลอดภัย ความถกู ต้อง ความเหมาะสม และประสิทธผิ ล จึงเป็นที่มาของการริเริ่มดาเนินการกิจกรรม ทางยาด้านตา่ งๆ เชน่ จดั ทามุมตัวอยา่ งยาเบาหวานทั้งชนดิ ฉีดและชนิดรับประทานภายในห้องการเรยี นรู้ (Learning room) ของศูนย์เบาหวาน การรวบรวมจดั ทาโปสเตอรค์ วามรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ยาฉีดอินซูลินและผลิตภัณฑ์ยาฉีด กระตุ้น GLP-1 ที่มีจาหน่ายในโรงพยาบาล การจัดทา Medication Reconciliation (MR) สาหรับผู้เป็นเบาหวาน ทีม่ ารบั ความรู้และสนบั สนุนการจัดการตนเองที่เรียกว่า Diabetes self-management education and support (DSMES) กบั เภสชั กรท่ศี ูนยเ์ บาหวานศิรริ าช เปน็ ต้น ฝ่ายเภสชั กรรมขอแสดงความยินดีอยา่ งยิ่งในโอกาสที่ระบบงานเบาหวานศิริราช ได้รับการรับรองเฉพาะ โรค/เฉพาะระบบ (Program and Disease Specific Certification: PDSC) จากสถาบันรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล (องค์การมหาชน) และภูมิใจท่ไี ด้เปน็ สว่ นหนงึ่ ในการสนบั สนุนทีม หวังเป็นอย่างยิ่งว่าการดูแลผู้ป่วย แบบองคร์ วมโดยเภสชั กรรว่ มกับสหสาขาวชิ าชพี จะมีศกั ยภาพในการผลกั ดนั และดูแลผูเ้ ปน็ เบาหวานไดอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง ครบถว้ นและเปน็ ระบบ ตรงตามมาตรฐานการรบั รองสากล และมาตรฐานด้านตา่ งๆ อกี ต่อไปในอนาคต ฝ่ายเภสัชกรรม 20

ความรว่ มมือ เร่ืองราวความประทบั ใจ และการเดนิ ทางรว่ มกนั ของ “DNA เบาหวานศิรริ าช” การรบั รองเฉพาะโรค/เฉพาะระบบ ถอดบทเรยี นทมี โภชนาการ ด้วยทางฝ่ายโภชนาการ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญ ของคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยเบาหวาน จึ งได้มีการ จัดให้นักวิชาการโภชนาการ เข้าร่วมทีมสหสาขากับทางคลินิกศูนย์เบาหวาน เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ และ แนะนาแนวทางการรับประทานอาหารท่ีเหมาะสม รวมถึงการให้โภชนาการและโภชนบาบัดท่ีเหมาะสมสาหรั บ ผู้ป่วยเบาหวาน ช่วยให้ผู้ป่วยมีความเข้าใจนาไปประยุกต์ใช้ จนสามารถปรับพฤติกรรมการรับประท านอาหาร และดูแลตัวเองได้ในชีวิตประจาวัน ผู้ป่วยเบาหวานที่มารับคาปรึกษาหลายคนที่สามารถควบคุมระดับน้าตาลในเลือดได้เป็นอย่ างดี และ ตระหนักถึงความสาคัญของการควบคุมระดับน้าตาลในเลือด ในขณะเดียวกันก็มีผู้ป่วยอีกบางกลุ่มที่ไม่สามารถ ควบคุมระดับน้าตาลได้ เนื่องจากปัจจัยหลายอย่าง เช่น รับประทานยาไม่สม่าเสมอ ไม่ควบคุมอาหา ร สิ่งแวดล้อม สังคม ถ้าเราสามารถดูแลผู้ป่วยในกลุ่มหลังให้มีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับโรคที่เป็นอยู่ได้เหมือน ผู้ป่วยในกลุ่มแรกได้ จะสามารถรักษาผู้ป่วยเบาหวานให้มีประสิทธิภาพได้ดียิ่งขึ้น ผู้ป่วยเบ าหวานก็จะมี คุณภาพชีวิตที่ดี ลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานให้น้อยลง ลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบา ล ทางฝ่ายโภชนาการได้มีการเน้นย้าให้นักวิชาการโภชนาการ ตระหนักถึงการให้โภชนาการ และ โภชนบาบัด การรักษาติดตามผลอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดปัญหาสุขภาพของตัวผู้ป่วยได้ และลดปัญหาในการ ดารงชีวิตของครอบครัวผู้ป่วยและถ่ายทอดให้ผู้ป่วยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพ่ือเพ่ิมสม รรถนะในการ ดูแลตนเองให้อยู่กับโรคเบาหวานได้อย่างไม่วิตกกังวลในการใช้ชีวิต ปัจจุบันฝ่ายโภชนาการโรงพยาบาลศิริราชมีนักวิชาการโภชนาการที่จบการศึกษาหลักสูตร Certified Diabetes Educator: CDE ของคณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาลและไดป้ ฏิบัตงิ านที่ศูนยเ์ บาหวานจานวน 3 ท่าน ฝ่ายโภชนาการ 21

การบรู ณาการระหวา่ งหนว่ ยสนบั สนุนศนู ย์บรู ณาการ ความเปน็ เลิศศริ ริ าชและศนู ยเ์ บาหวานศริ ิราช Siriraj Integrated Center of Excellence – Sustainable Excellence Together (SiCOE-SET) คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล ได้กาหนด ผู้เป็นเบาหวาน (patient center) และการเข้าถึง ยทุ ธศาสตร์ เพอ่ื ใหค้ ณะฯ บรรลุวสิ ยั ทศั น์ เป็นสถาบัน บริการได้ง่าย มีความโดดเด่นด้านการดูแลแบบ ทางการแพทย์ของแผ่นดนิ เพ่อื สรา้ งสรรค์สุขภาวะแก่ ทีมสหสาขาที่มีความสามารถและมีศักยภาพสูง มวลมนุษยชาติ มีเปา้ หมาย เปน็ องค์กรท่ีเป็นเลิศ ม่งุ สู่ บุคลากรแสดงออกถงึ ความผกู พนั จากคุณค่าที่ได้ทา อนาคตด้วยผลงานที่เป็นเลิศ โดยมีโครงการ ประโยชน์ตอ่ ผเู้ ปน็ เบาหวาน สะท้อน organization แผนปฏบิ ตั ิการตามแผนยทุ ธศาสตร์ฉบับ พ.ศ. 2563– culture ผลลพั ธ์มแี นวโน้มทีด่ แี ละมคี ู่เทยี บที่ท้าทาย 2567 จานวน 19 โครงการ รวมถึงโครงการ Siriraj มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบบริการแม้ในสถานการณ์ Integrated Center of Excellence: (SiCOE) ท่ี โควิด-19 ซึ่งสะท้อนความเป็น agility อย่างเป็น มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับศูนย์ต้นแบบที่มีการ รปู ธรรม สามารถสร้างเครือข่ายทั้งในประเทศและ บูรณาการทั้ง 3 พันธกิจ ได้แก่ การแพทย์ การวิจัย ต่างประเทศ รวมถึงวิเคราะห์ Gap และนามา และการศึกษา ศูนย์เบาหวานศริ ิราช นับเปน็ หนึ่งใน วางแผนพัฒนาตอ่ เนื่อง เชน่ การพฒั นาระบบส่งต่อ ศูนย์ความเป็นเลิศ (Center of Excellence, COE) และการนาเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์อย่างสงู สดุ เปน็ ต้น ที่คณะฯ ให้ความสาคัญและสนับสนุนเพื่อยกระดับ การพัฒนาให้เป็นต้นแบบและชี้นาการดูแลผู้เป็น “ยนิ ดีและเปน็ เกยี รติทไี่ ด้เปน็ ส่วนหน่งึ ในการขับเคลอื่ น เบาหวานของประเทศ ให้ศูนย์เบาหวานศิรริ าชบรรลวุ ิสยั ทศั น์ เปน็ ต้นแบบ การดูแลเบาหวานของประเทศ เพ่ือสง่ เสรมิ ให้ผู้เปน็ จากการที่ได้ร่วมเรียนรู้และร่วมดาเนินการ เบาหวานดารงชีวติ อย่างมีสขุ ภาวะ” กับศูนยเ์ บาหวานศิริราช อาทิ การทบทวนเป้าหมาย การท า SWOT การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic APN นนั ทพร พว่ งแก้ว planning) และการจัดทาแผนปฏิบัติการ (Action plan) ให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ขององค์กร เป็นที่ หัวหน้างานพฒั นาคณุ ภาพการพยาบาล ฝ่ายการพยาบาล ประจักษ์ว ่าทีมน าของศู นย์เบาห ว านมีว ิสัยทัศ น์ ผูช้ ่วยผ้อู านวยการโรงพยาบาลศิรริ าช สามารถถ่ายทอดนโยบายสู่ผู้บริหารระดับภาควิช า ส่วนงานและผู้ปฏิบัติไปในทิศทางเดียวกันอย่างเป็น (ดา้ นศนู ยบ์ ูรณาการความเป็นเลศิ ทางการแพทยศ์ ริ ริ าช) ระบบ ให้ความสาคัญและสนับสนุนการสร้างวิจัย ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยพัฒนาคุณภาพ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล นวัตกรรมและการเครือข่าย การพัฒนาคนทั้งในและ นอกองคก์ รให้เปน็ ผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นการเปน็ ผูใ้ ห้ความรู้ เบาหวาน นาความต้องการของผู้เป็นเบาหวานมา ออกแบบระบบบริการและกระบวนการดูแลผู้ป่วย ตลอดสายธารตั้งแต่แรกรับจนถึงจาหน่าย สะท้อน Process management ท่ตี อบสนองความต้องการ 22

DM consultation in home Isolation ในช่วงการระบาดของโรคโควดิ 19 ระลอก 2 (ช่วงเดอื น เมษายน - สงิ หาคม 2564) ศิริราชมีผู้ป่วยมารับบริการใน ระบบ 1,915 ราย และมีผู้ป่วยในสะสม 453 ราย โรงพยาบาลศิริราชจึงได้จัดตั้ง Home isolation สาหรับผู้ป่วย ที่มี อาการไมร่ ุนแรง สามารถรกั ษาที่บ้านได้ โดยทีมแพทย์สาขาวิชาบริบาลผู้ป่วยนอก ภาควิชาอายุรศาสตร์ หน่วยบริการ ปฐมภูมิศิริราช ฝ่ายเภสัชกรรม และแพทย์พยาบาลจิตอาสาเข้ามาร่วมกันดูแลผู้ป่วยในกลุ่มนี้ แบ่งเป็น 2 ward คือ SiHome-IPD (กลุ่มสีเหลือง) และ SiHome-OPD (กลุ่มสีเขียว) ในระบบ Home isolation จานวน 456 ราย มีผู้เป็น เบาหวาน 37 ราย (ประมาณ 8%) พบอุบัติการณ์ผู้เป็นเบาหวาน วินิจฉัย DKA 1 ราย และ severe hyperglycemia 1 ราย (ประมาณ 5.4%) ต้องส่งมารบั การรกั ษาในโรงพยาบาลศริ ิราช ทางทีมเบาหวานได้ตระหนักถึงปัญหาดังกล่าว จึง ได้จดั ตงั้ ทีม SiHome DM Team เพื่อให้การดแู ลผู้เป็นเบาหวาน และป้องกันการเกิดปัญหาภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลัน โรคเบาหวานทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ ทีม SiHome DM ประกอบด้วยทีม อาจารย์แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโรคเบาหวาน จากศูนย์เบาหวานศิริราช สาขาวิชาต่อม ไร้ท่อและเมตะบอลิสม สาขาบริบาล ผูป้ ว่ ยนอก นาโดย ศ.คลินิก พญ.สุภาวดี ลิขติ มาศกลุ , รศ.นพ.วีรชัย ศรีวณิชชากร อ.พญ.ลักขณา ปรีชาสุข ผศ.พญ.ตุลยา สีตสุวรรณ อ.พญ.สิรินาถ สิรินทร์วรา- วงศ์ ร่วมกับทีมผู้ให้ความรู้เบาหวาน ศิริราช ให้บริการรับปรึกษาผู้เป็น เบาหวานที่เข้าเกณฑ์เฝ้าระวัง โดย ทางานร่วมกับทีม SiHome และทีม เภสัชของศิรริ าชตาม flow 23

Home Isolation DM Team ผู้เป็นเบาหวานทกุ รายทเี่ ขา้ ระบบ Home isolation จะได้รบั ชุดตรวจน้าตาลในปัสสาวะ DM initial kit พร้อมกับ ยาอื่นๆ ต้ังแต่ครัง้ แรกท่ีรบั เข้าในระบบ โดยในชุด DM Initial kit ประกอบดว้ ย 1. แผ่นตรวจน้าตาลในปัสสาวะ 20 แผน่ DM Initial kit 2. แผ่นตรวจคโี ตนในปัสสาวะ 10 แผน่ 3. คาแนะนาการปฏิบัติตัวสาหรับผู้เป็นเบาหวาน เมื่อมีการ ตดิ เชือ้ โควดิ -19 4. แผน่ พับเรือ่ งต้องรกู้ ับเบาหวาน 5. แผ่นพบั ภาวะน้าตาลตา่ ในเลอื ดในผเู้ ปน็ เบาหวาน (ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 15/9/2564 จดั ทา 35 ชดุ คงเหลือ 10 ชุด) ผู้เป็นเบาหวานที่เข้าหลักเกณฑ์สาหรับการ Activate SiHome DM คือ เบาหวานชนิดที่ 1 หรือผู้ป่วยที่ฉีด อินซูลิน 3 ครั้ง/วันขึ้นไป, ผู้ป่วยเบาหวานเริ่มยา dexamethasone, ผู้ป่วยที่เจาะน้าตาลปลายนิ้วได้ ≥ 200 mg/dL (มีเครื่องเจาะน้าตาลอยู่แล้ว), ตรวจพบ ระดับน้าตาลในปัสสาวะ 3+ หรือ 4+ (ตาม flow ดังรูป) จะไดร้ ับ ชุด DM Advance kit ซ่ึงประกอบด้วย อุปกรณ์จากศูนย์เบาหวานศริ ิราช DM Advance Kit 1. เครื่องตรวจน้าตาลปลายนิ้ว (Perfoma, Instant) พรอ้ มแผ่นตรวจ (25 หรอื 50 แผน่ ) 2. ปากกาและหัวเข็มเจาะ (Softclix, Fastclix) 3. แผ่นพับ/คลิป เกี่ยวกับการดูแลตนเอง, การเจาะ เลอื ดปลายนิ้ว, การฉดี ยา ยา/อุปกรณจ์ ากฝา่ ยเภสชั กรรม 1. ยา (Glipizide 5mg, Gensulin N 10ml) 2. อุปกรณ์ (70% alcohol, Insulin syringe, cutton ball set) (ข้อมลู ณ วันท่ี 15/9/2564 จ่ายไป 5 ชุด) เมื่อ DM Team ได้รบั การ activate ทีมพยาบาลผู้ประสานงาน และผู้ให้ความรู้เบาหวาน CDE จะโทรติดตามเพื่อให้ ความรู้ในการดูแลตนเอง DSMES เช่น การดูแลตนเองภาวะเจ็บป่วย การรับประทานอาหาร และการใช้อุปกรณ์ในชุด DM Advance kit empowerment ติดตามผล SMBG พรอ้ มรายงานแพทย์ประจาทีมเพื่อวางแผนการรักษาอย่างเหมาะสม และ ยา้ ยผ้ปู ว่ ยเขา้ โรงพยาบาลเม่ือมีอาการรุนแรงขึน้ ช่องทางการติดต่อและปรึกษาระหว่างทีม แพทย์ พยาบาล เภสัชกร และผู้ให้ความรู้เบาหวาน จะใชร้ ะบบ Telemedicine เป็นหลกั โดยใช้ระบบเวช ระเบียนออนไลน์กลาง (FRAPPE) ในการบันทึกและ สื่อสารระหว่างทีม และใช้ Line Official VDO Call สาหรบั การสอื่ สารกบั ผูป้ ่วย 24

หลักสูตรประกาศนยี บัตรผ้ใู หค้ วามร้เู บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital หลักสตู รประกาศนียบัตรผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน คณะ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Certified Diabetes โคโรน่า 2019 (COVID-19) ที่มีอย่างต่อเนื่องนั้น Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj คณาจารย์ผสู้ อนในหลักสูตรฯ จึงได้ปรับรูปแบบและ Hospital) ได้เริ่มเปิดสอนรุ่นที่ 1 ในปีการศึกษา 2560 วธิ ีการสอนเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกับสถานการณ์ โดยได้นา ซึ่งในขณะนี้มีผู้สาเร็จการศึกษาฯ รุ่นที่ 4 ปีการศึกษา เทคโนโลยีการเรียนการสอนแบบออนไลน์เข้ามาใช้ 2563 จานวน 17 คน ประกอบด้วย พยาบาล จานวน 14 มากขึ้น ทั้งการเรียนด้วยตนเองผ่านระบบ SELECx คน และนกั สุขศึกษา จานวน 3 คน โดยแบ่งเป็นบุคลากร (Siriraj e-Learning and Education Community) ภายในคณะฯ จานวน 11 คน จากฝ่ายการพยาบาล ของคณะฯ ที่นักศึกษาสามารถบริหารเวลาเรียนได้ จานวน 7 คน ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ สาขาต่อมไร้ท่อฯ ตามความสะดวกและทบทวนบทเรียนซ ้าได้ จานวน 1 คน ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกนั ฯ สาขาผู้สูงอายุ ตลอดเวลา และการอภิปรายร่วมกันระหว่างอาจารย์ จานวน 1 คน ศูนย์เบาหวานศิริราช จานวน 2 คน และ และนักศึกษา การรว่ มกจิ กรรมกลมุ่ เช่น การนาเสนอ ภายนอกคณะฯ จานวน 6 คน จากคณะพยาบาลศาสตร์ งาน หรอื การทานวัตกรรม/งานวิจัย เพื่อให้นักศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลกลาง โรงพยาบาลปิยะ ได้มีโอกาสทางานร่วมกัน สร้างปฏิสัมพันธ์ และ เวท โรงพยาบาลเจริญกรุงประชารักษ์ และโรงพยาบาล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันผ่าน Zoom Cloud ธนบุรี2 (รายชื่อผู้ส าเร็จการศึกษา CDE รุ่น 4 ปี Meetings การศกึ ษา 2563 หนา้ ท่ี 27) พิธีเปดิ หลักสูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรูเ้ บาหวาน รุ่นท่ี 5 การเรียนการสอน CDE ร่นุ 5 แบบ New normal ในปีนี้ได้ดาเนินการเปิดหลักสูตรในรุ่นที่ 5 ปี การศึกษา 2564 เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 สิงหาคม 2564 ผา่ นระบบ Zoom Cloud Meetings ทผี่ ่านมา โดยปีนี้มี นกั ศกึ ษาในหลกั สูตรฯ จานวน 18 คน แบ่งเป็นบุคลากร ภายในคณะฯ จากฝ่ายการพยาบาล จานวน 7 คน และ สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ จานวน 1 คน และ บคุ ลากรภายนอกคณะฯ จานวน 10 คน ทั้งในกรุงเทพฯ แ ล ะ ป ร ิ ม ณ ฑ ล อ า ท ิ ค ณ ะ พ ย า บ า ล ศ า ส ต ร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โรงพยาบาลศิริราชปิยมหาราช การุณย์ โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ โรงพยาบาลราชวิถี โรงพยาบาลตากสนิ โรงพยาบาลสมุทรสาคร โรงพยาบาล เสนา สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติฯ และคลินิกชุมชน อบอุ่นในหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (รายชื่อนักศึกษา CDE รุ่น 5 ปีการศึกษา 2564 หนา้ ที่ 28) 25

หลักสูตรประกาศนยี บตั รผู้ใหค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital แม้วา่ หลกั สูตรฯ จะปรบั สัดส่วนรูปแบบการเรียนการสอนเป็นรูปแบบออนไลน์มากขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา แต่ยงั คงเป็นการ เรียนแบบผสมผสาน (Blended learning) ที่ยังให้นักศึกษาเข้ามาเรียนในชั้นเรียน (On-site) ร่วมกัน เช่น การสอนภาค บรรยาย การฝึกปฏิบัติผ่านกิจกรรม Role-play, Workshop, Case discussion และอื่นๆ ภายในโรงพยาบาลศิริราช โดยดาเนินการตามแนวทางการรกั ษาระยะห่างทางสงั คมตามประกาศมหาวิทยาลยั มหิดล สดั สว่ นการเรยี นการสอน สัดส่วนการเรียนการสอน ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 18% 22% 34% 58% 24% 44% Asynchronous learning Synchronous learning Asynchronous learning Synchronous learning On-site On-site กราฟเปรยี บเทยี บแสดงสัดส่วนการเรยี นการสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 และ 2564 เมอ่ื วันจันทร์ที่ 8 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา ทางหลักสูตรฯ ได้ดาเนินการจัดพิธีมอบใบประกาศนียบตั รผู้สาเร็จ การศึกษา CDE รุ่น 4 และพิธีมอบใบทะเบียนและเข็มวิทยฐานะผู้ให้ความรู้เบาหวานฯ ณ ห้องประชุมสิรินธร อาคาร เฉลิมพระเกียรติฯ โดยไดร้ บั เกยี รตจิ าก รองศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์ถาวรชัย ลิ้มจินดาพร รองคณบดีงานการศกึ ษา ระดบั หลงั ปรญิ ญาเป็นประธานในพิธี ทั้งน้ที างหลักสตู รฯ มีผสู้ าเรจ็ การศกึ ษาแล้ว จานวน 4 รุน่ รวมจานวน 81 คน ดงั นี้ จานวนผสู้ าเร็จการศกึ ษาฯ ร่นุ ที่ 1 ถึง ร่นุ ท่ี 4 40 33 รวมจานวน 81 คน 26 20 23 46 61 เภสัชกร นกั โภชนาการ นักสุขศกึ ษา 0 พยาบาล ภายในศริ ิราช ภายนอกศิรริ าช และในครั้งนี้ มีผู้ได้รับใบทะเบียนและเข็มวิทยฐานะผู้ให้ความรู้เบาหวาน อายุ 5 ปี จานวน 9 คน และ อายุ 1 ปี จานวน 24 คน รวมขณะนมี้ ผี ู้ลงทะเบยี นรับไดร้ ับใบทะเบียนและเขม็ วทิ ยฐานะผูใ้ หค้ วามรเู้ บาหวาน อายุ 5 ปี จานวน 26 คนและ อายุ 1 ปี จานวน 24 คน (ข้อมูล ณ วนั ท่ี 2 กรกฎาคม 2564) ลงทะเบียนผู้ให้ความร้เู บาหวาน ภายในคณะฯ ภายนอกคณะฯ ดารงวิทยฐานะ 5 ปี 15 11 ดารงวิทยฐานะ 1 ปี 18 6 26

หลกั สตู รประกาศนียบัตรผ้ใู หค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital รายช่อื ผู้สาเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ใหค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล รุ่นที่ 4 ปกี ารศกึ ษา 2563 จานวน 17 คน เลขท่ี ช่ือ – สกลุ วชิ าชพี สงั กัด CDE6301 ผศ.จงกลวรรณ มุสิกทอง ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ภาควชิ าการพยาบาลอายรุ ศาสตร์ CDE6302 น.ส.ชมพนู ชุ พานนิล พยาบาลวชิ าชีพ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ตึกพระศรีฯ 4 สามญั CDE6303 น.ส.ฐริ วรรณ บัวแย้ม พยาบาลวิชาชพี งานการพยาบาลสตู ิศาสตร์ฯ CDE6304 น.ส.ณภาภัส ทรพั ยอ์ ปั ระไมย นกั สุขศกึ ษา โรงพยาบาลศิรริ าช CDE6305 น.ส.ดาลิณี ส่งแสง พยาบาลวชิ าชพี หน่วยฝากครรภ์ งานการพยาบาลสตู ศิ าสตร์ฯ โรงพยาบาลศริ ิราช CDE6306 น.ส.ปิน่ รดาการ ทบั ทิมทอง พยาบาลวิชาชพี ศูนย์เบาหวานศริ ิราช โรงพยาบาลศริ ิราช ฝ่ายการพยาบาล ศนู ย์เบาหวาน CDE6307 รศ. ดร.ปยิ ะนนั ท์ ลมิ เรืองรอง รองศาสตราจารย์ โรงพยาบาลเจรญิ กรุงประชารักษ์ CDE6308 น.ส.พรทิพย์ พรหมแก้ว พยาบาลวชิ าชีพ หอผู้ป่วยเจ้าฟา้ ฯ 6 CDE6309 น.ส.พรพมิ ล เกียรตศิ กั ดิ์ทวี พยาบาลวิชาชพี งานการพยาบาลกมุ ารเวชศาสตร์ โรงพยาบาลศริ ิราช CDE6310 น.ส.พชั รดิ า อนุ่ ผาง พยาบาลวิชาชีพ ภาควชิ าการพยาบาลสูติฯ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล CDE6311 น.ส.ไพฑูรย์ เหลา่ จนั ทร์ นกั สขุ ศกึ ษา อษั ฎางค์ 9 ใต้ งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ฯ โรงพยาบาลศิริราช CDE6312 น.ส.มนนั ยา เจจือ พยาบาลวชิ าชีพ ภาควิชาการกุมารเวชศาสตร์ พยาบาลวิชาชีพ สาขาวิชาตอ่ มไร้ท่อฯ โรงพยาบาลศริ ิราช CDE6313 น.ส.สถาพร สร้อยสุวรรณ ชานาญการ หน่วยตรวจโรคอายุรศาสตร์ 2 CDE6314 น.ส.สุภทั รา แปนบา้ น พยาบาลวชิ าชพี งานการพยาบาลตรวจรักษาผ้ปู ว่ ยนอก CDE6315 น.ส.สุภาธิณี เทศธรรม นักสุขศึกษา โรงพยาบาลศิรริ าช CDE6316 น.ส.แสงระวี มณวี รรณ พยาบาลวชิ าชพี ภาควิชาเวชศาสตร์ปอ้ งกนั ฯ สาขาวิชาเวชศาสตร์ผสู้ งู อายุ CDE6317 น.ส.ไอ เตา่ แก้ว พยาบาลวชิ าชพี โรงพยาบาลศริ ิราช หอผปู้ ว่ ย 84 ปี ชนั้ 7 ตะวนั ตก งานการพยาบาลผู้ป่วยพเิ ศษ โรงพยาบาลศริ ิราช คลินิกเบาหวาน อายุรกรรมผปู้ ่วยนอก ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลกลาง แผนกหอผปู้ ว่ ยใน โรงพยาบาลปยิ ะเวท ศนู ยเ์ บาหวานศริ ริ าช โรงพยาบาลศิรริ าช หอผ้ปู ่วยจฑุ าธชุ 13 งานการพยาบาลอายุรศาสตรฯ์ โรงพยาบาลศิรริ าช ฝ่ายพยาบาลศาสตรบ์ ณั ฑติ โรงพยาบาลธนบรุ ี 2 27

หลักสูตรประกาศนียบตั รผ้ใู ห้ความรูเ้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital รายชื่อนักศึกษาหลกั สตู รประกาศนยี บัตรผู้ใหค้ วามรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล ร่นุ ที่ 5 ปีการศกึ ษา 2564 จานวน 18 คน เลขที่ ชอ่ื – นามสกลุ ตาแหนง่ / วิชาชีพ สังกัด CDE6401 น.ส.กมลวรรณ ยอดเจรญิ ฤทธิ์ พยาบาลวชิ าชีพ หน่วยตรวจโรคอายรุ ศาสตร์ 2 งานการพยาบาลตรวจรกั ษาผู้ปว่ ยนอก CDE6402 น.ส.กรองกาญจน์ พมิ พ์เสน นกั โภชนาการปฏบิ ัติการ โรงพยาบาลศริ ิราช CDE6403 น.ส.กญั ชลกิ า มูลกัน งานโภชนศึกษา กล่มุ งานโภชนศาสตร์ CDE6405 น.ส.คนึงนจิ ลสี วุ รรณ เภสัชกร โรงพยาบาลราชวิถี CDE6406 น.ส.จันณ์เมษา จฑุ าธิบด์ธิ นพตั เภสัชกรรมผปู้ ่วยใน CDE6407 น.ส.จนั ทิมา เนียมโภคะ พยาบาลวชิ าชีพ โรงพยาบาลศริ ิราชปยิ มหาราชการุณย์ CDE6408 น.ส.จติ รลัดดา วตะผาบ พยาบาลวชิ าชพี อษั ฎางค์ 9 เหนอื CDE6409 น.ส.นฐั ธิพร บญุ ทองแพง งานการพยาบาลอายรุ ศาสตรฯ์ โรงพยาบาลศริ ริ าช CDE6410 น.ส.เบญจรัตน์ แก่นสาร ชานาญการ กลมุ่ งานการพยาบาลผปู้ ว่ ยใน CDE6411 น.ส.เปรมสดุ า แจม่ จันทรา พยาบาลวิชาชีพ สถาบันสุขภาพเดก็ แห่งชาติมหาราชนิ ี CDE6412 น.ส.มะลิวลั ย์ เอย่ี มทอง เวชกรรมสังคม ชานาญการ โรงพยาบาลเสนา CDE6413 น.ส.รมยร์ วินท์ หงษ์พงษ์ พยาบาลวิชาชพี พระศรฯี 10/1 งานการพยาบาลสูตฯิ โรงพยาบาลศริ ิ ราช CDE6415 น.ส.วิตติกา ฐานไชยยง่ิ พยาบาลวชิ าชีพ จฑุ าธุช 13 (หรจ.) งานการพยาบาลอายุรศาสตร์ฯโรงพยาบาลศริ ิราช CDE6416 น.ส.สาธิดา เจรยี งโรจน์ พยาบาลวชิ าชพี แผนกคลนิ ิกเบาหวาน CDE6417 น.ส.สุมิตรา ชแู กว้ โรงพยาบาลศิริราชปยิ มหาราชการุณย์ CDE6418 น.ส.เสาวลกั ษณ์ สุขพฒั นศรกี ุล แพทย์แผนไทยประยุกต์ สถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศิริราช CDE6419 นางอนงค์ โรจน์กลู ชัย ชานาญการ ฝา่ ยการพยาบาล โรงพยาบาลสมุทรสาคร CDE6420 น.ส.อรจริ า รตั นเณร พยาบาลวชิ าชพี ตรวจโรคกุมาร (เจ้าฟ้ามหาจักรี 1) งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศริ ริ าช หน่วยพยาบาลปฐมภมู ิ นกั กาหนดอาหาร งานการพยาบาลปฐมภูมิ พยาบาลวิชาชพี โรงพยาบาลศริ ิราช ศูนยโ์ ภชนบาบดั /ศูนย์ใหค้ าปรกึ ษา ชานาญการ ดา้ นโภชนาการ โรงพยาบาลบารุงราษฎร์ อาจารย์ ศนู ย์เบาหวานและเมตาบอลิก ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลตากสิน ผูใ้ หก้ ารปรึกษา การพยาบาลรากฐาน ผู้ป่วยโรคเร้อื รัง คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหิดล คลนิ ิกชมุ ชนอบอุ่น พยาบาลวิชาชพี หนว่ ยบรกิ ารปฐมภมู ิในระบบหลักประกนั สุขภาพ แห่งชาติ หอผู้ปว่ ย 72/9 ตะวนั ตก งานการพยาบาลรงั สีวิทยา โรงพยาบาลศริ ิราช 28

หลักสูตรประกาศนียบัตรผใู้ หค้ วามรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital นวตั กรรมและการวิจัย ของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล รนุ่ ที่ 4 ช่อื งานวิจยั การศกึ ษาความรสู้ ึกและความตอ้ งการดา้ นการจัดการตนเองในวัยรุ่นเบาหวานชนดิ ท่ี 1 ลักษณะ งานวิจยั (สัมภาษณ์) กลมุ่ เป้าหมาย ผ้เู ป็นเบาหวานชนิดที่ 1 ที่มอี ายุระหว่าง 13 – 25 ปี และไดร้ บั การวินจิ ฉยั วา่ เปน็ เบาหวานชนิดท่ี 1 มากกว่า 3 ปี จดุ ประสงค์ เพอื่ สารวจความรู้สกึ และความต้องการของวัยรุ่นเบาหวานชนิดที่ 1 ต่อการจัดการตนเองด้านเบาหวาน เพื่อเข้าใจปัญหา และใหก้ ารช่วยเหลอื ในการดูแลของผูเ้ ป็นเบาหวานชนดิ ที่ 1 ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ช่อื นวตั กรรม Pop carb ปรับ Life Style ลกั ษณะ สื่อการเรยี นรู้ (เมนอู าหาร) กลุม่ เป้าหมาย สาหรับผูป้ ว่ ยเบาหวานทกุ ประเภท และใชเ้ ป็นสอ่ื การสอนสาหรับบคุ ลากร จดุ ประสงค์ เพือ่ ต่อยอดสื่อการสอนการนับส่วนอาหารในเมนูอาหาร เพื่อลดปัญหาการคานวณ คาร์บและฉีดอินซูลินผิดพลาด และเพิ่มประสิทธิภาพในการรับรู้และความเข้าใจของผู้เรียน มากขึน้ เพ่ือสรา้ งแรงจูงใจให้ผปู้ ่วยเกดิ ความพึงพอใจในการเรียนรู้ ชื่องานวจิ ยั การใช้ภาษาของบคุ ลากรในการดแู ลผ้ปู ว่ ยเบาหวาน ลกั ษณะ งานวจิ ยั กลมุ่ เป้าหมาย 1. บคุ ลากรที่มีประสบการณใ์ นการให้ความรู้โรคเบาหวาน 2. ผู้ปว่ ยและผรู้ ับบรกิ ารโรคเบาหวาน จานวน 20 คน จุดประสงค์ เปน็ แนวทางการสื่อสารและการพัฒนาสัมพันธภาพของบุคลากรและผูเ้ ปน็ เบาหวาน เพือ่ ใหเ้ กดิ ความ ไว้วางใจและให้ความรว่ มมือวางแผนการรักษาต่อไป ช่อื งานวิจยั อิทธพิ ลของความเครยี ดและการจดั การตนเองต่อคุณภาพชวี ติ ของสตรีทม่ี ี ภาวะเบาหวานขณะต้ังครรภ์ Influencing of stress and self-management on quality of life among pregnant women with gestational diabetes ลักษณะ งานวจิ ัย (แบบสอบถาม) กลมุ่ เป้าหมาย สตรีทม่ี ีภาวะเบาหวานตั้งครรภ์ ทมี่ ารบั บรกิ ารทหี่ น่วยฝากครรภ์ โรงพยาบาลศิรริ าชเปน็ การเลอื กแบบเจาะจง จุดประสงค์ เพื่อศกึ ษาอทิ ธพิ ลของความเครยี ดและการจดั การตนเอง ต่อคุณภาพชีวิตของ สตรีทมี่ ภี าวะเบาหวานขณะตงั้ ครรภ์ 29

หลกั สตู รประกาศนยี บัตรผู้ใหค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล นวัตกรรมและงานวิจัย CDE ุ่รนท่ี 4 Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital ช่ือนวัตกรรม อัตราการมาตรวจคดั กรองภาวะเบาหวานหลงั คลอด ของสตรตี งั้ ครรภ์ที่มีภาวะเบาหวานระหวา่ งตั้งครรภ์ ลกั ษณะ งานวจิ ัย กลมุ่ เป้าหมาย สตรตี ง้ั ครรภท์ ม่ี ีภาวะเบาหวานขณะตั้งครรภท์ ีม่ าคลอดท่โี รงพยาบาลศริ ริ าช จุดประสงค์ เพื่อศึกษาอัตราการมาตรวจคัดกรองภาวะเบาหวานหลังคลอดของสตรีตั้งครรภ์ที่มีเบาหวานระหว่า ง ต้ังครรภใ์ นระบบการดูแลแบบใหม่ ช่ืองานวิจยั การศึกษาความสัมพนั ธ์ระหวา่ งการเหน็ คุณค่าในตนเองและการรับรู้ ความเชื่อมั่นในตนเองกับพฤติกรรมการจัดการตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ศูนยเ์ บาหวานศิริราช คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล ลักษณะ งานวิจัย (แบบสอบถาม) กลมุ่ เป้าหมาย ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ที่มารบั บรกิ ารที่ศนู ย์เบาหวานศริ ิราช จุดประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเห็นคุณค่าและการรับรู้ความ เชื่อมน่ั ในตนเองกับพฤตกิ รรมการจัดการตนเอง 30

สอื่ การสอนสาหรบั ผู้เปน็ เบาหวาน “Siriraj DM Interactive Tool” (ชุดท่ี 3 และ 4) สื่อการสอนสาหรับผเู้ ป็นเบาหวาน ชุดท่ี 3 และ 4 เปน็ สอื่ การสอนทีต่ อ่ ยอดจาก สื่อชุดที่ 1 และ 2 ผลิตขึ้นมา จานวน 1,100 ชุด จัดทาโดย รศ.พญ.ระวีวรรณ เลิศวัฒนารักษ์ และคณะฯ ลิขสิทธิ์โดยศูนย์เบาหวานศิริราช คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล โดยรูปแบบของสื่อเป็นแบบปฏิทินตั้งโต๊ะ ใน 1 กล่องจะประกอบด้วย สื่อการสอน ชดุ ท่ี 3 ชดุ ท่ี 4 และค่มู อื การใช้สอื่ ผลติ และนาออกมาใชค้ รั้งแรกในเดอื นพฤศจิกายน 2564 ส่ือการสอนสาหรบั ผูเ้ ปน็ เบาหวาน ชดุ ท่ี 1 และ 2 สอ่ื การสอนสาหรับผเู้ ป็นเบาหวาน ชดุ ท่ี 3 และ 4 เนื้อหาสื่อการสอนชดุ ที่ 3 ขนั้ ตอนการฉดี อนิ ซลู นิ ดว้ ยซยั รินจ์และด้วยปากกาฉดี อนิ ซลู นิ ประกอบด้วย • ตาแหน่งการฉดี อินซูลิน • การตรวจสอบวันหมดอายแุ ละสภาพอินซลู ินกอ่ นการฉีด • การดูดอินซลู นิ ชนิดเดยี วด้วยซยั รินจ์ • การดูดอินซลู ินสองชนิดด้วยซยั รินจ์ • ขัน้ ตอนการฉดี อินซูลินดว้ ยซยั รนิ จ์ เน้อื หาส่ือการสอนชดุ ท่ี 4 การเก็บรกั ษาอนิ ซูลนิ ภาวะแทรกซ้อนและผลขา้ งเคียงของการฉดี อนิ ซลู นิ ประกอบด้วย • การเกบ็ รักษาอนิ ซลู นิ • การพกพาอนิ ซูลินเมอื่ ต้องเดนิ ทาง • อุปกรณ์ในการฉีดอนิ ซลู นิ ชนิดอืน่ ๆ • ภาวะแทรกซ้อนและผลข้างเคียงของการฉดี อนิ ซูลิน • คาถามทบทวนหรอื คาถามทพี่ บไดบ้ อ่ ย รูปแบบสื่อการสอนจะเหมาะสาหรับรายบุคคล หรือกลุ่ม จานวน 2-3 คน โดยผู้สอนจะนั่งตรงข้ามหรือเฉียงกับผู้เรียน เนื้อหาจะเน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ ฝึกคิดตามและถามตอบ คาถาม (two-way communication) ซ่งึ เน้นถามคาถามและให้ ผเู้ รียนคดิ และตอบกอ่ นการเฉลยคาตอบโดยการเปิดตัวดึง ไม่เน้น การสอนแบบไปทางเดียว (one-way communication) เช่นการ บอกเล่าเพียงฝา่ ยเดยี ว เน่อื งจากผ้เู รียนอาจไม่สามารถจดจาไดห้ มด สอื่ การสอนทง้ั 2 ชดุ จะเน้นส่อื สารด้วยรปู ภาพ และตัวอกั ษรท่ไี ม่มาก เหมาะสาหรับผูเ้ ปน็ เบาหวานทกุ ช่วงวัย และในฝั่ง ผสู้ อนจะมคี าอธบิ ายเพ่มิ เตมิ อยา่ งละเอยี ดเพอ่ื ใหผ้ ู้สอนสามารถสอนได้งา่ ยข้ึนโดยไม่ต้องจาเนือ้ หาท้ังหมด แพทย์ พยาบาล ผใู้ ห้ ความร้ดู ้านเบาหวาน CDE หรือบุคลากรด้านสาธารณสุขทเ่ี กี่ยวข้องกบั การให้ความร้ผู ้เู ป็นเบาหวานสามารถใช้งานได้ง่าย และ สอนไปในทศิ ทางเดยี วกนั ลดความสบั สนกับผปู้ ่วยทาให้การสอนมีประสทิ ธภิ าพมากข้ึน 31

การใหค้ วามรแู้ ละสรา้ งทักษะการดูแลตนเอง สาหรบั ผูเ้ ปน็ เบาหวานและญาติ Diabetes Self Management Education Support Service “ศูนย์เบาหวานศิริราช” ให้บริการ การให้ความรู้และสร้างทักษะการดูแล ตนเองสาหรับผู้เป็นเบาหวานและญาติ Diabetes Self - Management Education Support (DSMES) โดยผ้ใู หค้ วามร้เู บาหวานจากทีมสหสาขาวิชาชีพ ที่ผ่านการอบรมในหลักสตู รประกาศนียบตั รผู้ให้ความรู้เบาหวานคณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล (Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital) โดยเน้นให้ความรู้ในการดูแลตนเองสาหรับผู้เป็นเบาหวานแบบ องค์รวมตามมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการใช้หลักการ Stage of Change Model, Motivation interview, Mindfulness มาเป็นหลักในการ coaching and balancing และมีทักษะในการจัดการตนเองโดยเฉพาะในส่วนที่เรียกว่า “Survival skill” เพ่อื ให้ผู้เป็นเบาหวานสามารถดแู ลตนเองไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง และส่งเสริมให้ผู้เป็น เบาหวานดารงชีวิตอยา่ งมีสขุ ภาวะ เนื่องในช่วงต้นปี 2564 ที่ผ่านมา ประเทศไทยยังคงอยู่ในสถานการณ์ การ ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันการ แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) และดาเนินการตามนโยบาย ของรัฐบาลและกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) มหาวิทยาลัยมหิดล และเพอ่ื เปน็ การเตรียมพรอ้ มของสถานการณฯ์ ทีม่ ีความรุนแรง ขนึ้ จึงได้มีการงดใหบ้ ริการผู้ป่วยในคลินิก และได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ เป็นการใหบ้ รกิ ารทางโทรศัพท์อยา่ งเตม็ รปู แบบในช่วงเดอื นเมษายน – สงิ หาคม เพื่อ การดแู ลผู้ป่วยอย่างต่อเน่อื งและมีประสทิ ธภิ าพ สถติ ิการให้บรกิ าร DSMES ตั้งแต่ ตุลาคม 2563 ถึง กนั ยายน 2564 Total 2020 2021 3,943 จานวนท้งั หมด Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep 3,354 (ราย/เดอื น) 439 467 433 165 298 617 341 288 288 177 210 220 589 - ผเู้ ป็นเบาหวาน 341 351 353 149 244 462 302 288 281 170 210 203 - ญาติ 98 116 80 16 54 155 39 0 7 7 0 17 ชว่ งการแพรร่ ะบาดรนุ แรงของเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ระลอกใหม่ หมายเหตุ สรปุ สถติ ผิ เู้ ข้ารบั การบรกิ าร ประกอบดว้ ย การรับ DSMES การตรวจ SMBG และการเรยี นฉีดยา ท้ังรบั บริการทศ่ี นู ยแ์ ละติดตามทางโทรศพั ท์ สตถิ ิการใหบ้ รกิ ารทางโทรศัพท์ ตัง้ แต่ ตุลาคม 2563 ถึง กนั ยายน 2564 นอกจากการให้บริการที่คลินิกศูนย์เบาหวาน และการ ใหบ้ ริการผ่านทางโทรศพั ทแ์ ล้ว ศนู ยเ์ บาหวานศิริราชยังได้ การใหบ้ ริการ ปี ปี รวม เปิดช่องทางการสื่อสารเพิ่มเติม สาหรับผู้ที่สนใจปรึกษา 2563 2564 เรื่องเบาหวาน ประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ผ่านทาง Line official : @sidmcenter ซึ่งจะมีเจ้าหน้าที่ช่วยให้ การใหบ้ รกิ าร DSMES ทางโทรศพั ท์ คาปรึกษา – โทรศพั ทต์ ิดตาม DSMES ชว่ งโควิด-19 31 1,292 1,261 – โทรศัพทต์ ดิ ตามหลงั จากเรียนฉดี ยาอนิ ซูลิน 120 160 280 การโทรศัพทจ์ ากภายนอกติดต่อสอบถามการ 4 10 14 ใหบ้ รกิ าร (DM Call Center) รวม 155 1,462 1,555 32

การตรวจคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นเบาหวาน และการลงทะเบยี นผูเ้ ป็นเบาหวาน Diabetes Complication Assessment Service and Siriraj Diabetes Registry ศูนย์เบาหวานศิริราชให้บริการ ตรวจคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นที่จอตา ตรวจคัดกรองปัญหาเท้าเบาหวาน ประจาปี และมีการบนั ทกึ ข้อมูล (DM registry) เพื่อการติดตามต่อเนื่องของ ผู้ป่วยในระยะยาว นาไปสู่การสร้าง ฐานขอ้ มลู big data ในการพัฒนาการ บรบิ าลผเู้ ป็นเบาหวานต่อไป สถิติจานวนผทู้ ีม่ ารบั บรกิ าร ตั้งแต่ ตลุ าคม 2563 ถึง กนั ยายน 2564 Years/ 2020 2021 Month Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Total การตรวจคัดกรอง 437 461 381 0 95 488 120 0 15 64 1 231 2293 ปัญหาเทา้ เบาหวาน การตรวจคดั กรอง 281 257 221 2 113 324 64 0 13 52 1 132 1460 ภาวะแทรกซ้อนทีจ่ อตา การตรวจ ABI 17 18 10 0 6 28 5 0 0 5 0 4 93 * เนอ่ื งจากสถานการณ์ COVID-19 ศูนยเ์ บาหวานงดใหบ้ รกิ ารตรวจคดั กรองภาวะแทรกซอ้ นจากเบาหวาน 31/12/2563 – 19/2/2564 และ 16/4/2564 – 18/6/2564 และ 4/8/2564 – 3/9/2564 ในเดือน มีนาคม 2564 คลินิกศูนย์เบาหวาน การลงทะเบียนผู้เป็นเบาหวานถึงปัจจุบันมี ไดน้ าโปรแกรมวิเคราะห์ภาพแบบอัตโนมัติ มาใชใ้ น จานวน 3,669 ราย ข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการ การแปลผลการคัดกรองภาวะเบาหวานจอตา ใน ลงทะเบียนสามารถนามาช่วยในการพัฒนาระบบ กรณที โ่ี ปรแกรมวิเคราะห์ภาพแบบอัตโนมัติแปลผล บริการผู้เป็นเบาหวาน และเป็นข้อมูลสาหรับต่อยอด ว่า Non Referable (no DR หรือ mild NPDR) จะ งานวิจัยในอนาคต ทั้งด้าน Basic science, Genetic, ทาการนดั หมายทีศ่ นู ยเ์ บาหวานในปีถัดไป หากแปล Proteomic และด้าน Clinical นาไปสู่การพัฒนาดูแล ผลว่า Referable (moderate NPDR ขึ้นไปหรือ รกั ษาผปู้ ว่ ยเบาหวานให้มคี ุณภาพชีวติ ทดี่ ีขึ้น สงสยั โรคตาอ่นื ๆ) ทางศนู ย์เบาหวานจะทาการส่งต่อ ภาควิชาจักษุอย่างเหมาะสมต่อไป โดยโปรแกรม ปจั จุบันมกี ารนาข้อมลู จากโครงการการลงทะเบยี นผู้เป็น ดังกล่าวได้ถูกพัฒนาขึ้นจากความร่วมมือของศูนย์ เบาหวาน ไปต่อยอดงานวจิ ยั ดังน้ี เบาหวานศิริราชและสาขาวิชาจอตาและน้าวุ้นตา 1) ผลกระทบของการล็อคดาวน์เนื่องจากการแพร่ระบาด ภาควิชาจักษุวิทยา คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล ในปี 2563 ของโรคโควิด-19 ต่อการควบคุมระดับน้าตาลและผล ทางเมตาบอลกิ ของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนดิ ท่ี 2 2) การด าเนินโรคและการตอบสนองต่อการรักษา โรคเบาหวานในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่สองกลมุ่ ต่างๆ 33

การตรวจคดั กรองภาวะแทรกซ้อนเบาหวานและการลงทะเบยี นผู้เปน็ เบาหวาน Diabetes Complication Assessment and Siriraj Diabetes Registry ขอ้ มูลการลงทะเบยี นผเู้ ปน็ เบาหวานคร้งั ท่ี 1 ในแตล่ ะปี 2016 2017 2018 2019 2020 (n=350) (n=581) (n=540) (n=565) (n= 921) Clinic, n (%) 252 (72) 241 (41.5) 58 (10.7) 27 (4.8) 45 (4.9) General Practitioner 28 (8) 160 (27.5) 364 (67.4) 385 (68.1) 548 (59.5) Internal Medicine 67 (19.1) 156 (26.9) 53 (9.8) 26 (4.6) 25 (2.7) Continuing Care Clinic 18 (3.3) 31 (5.4) 32 (3.5) Diabetes Clinic - 5 (0.9) 46 (8.5) 96 (17.1) 271 (29.4) Other - - 57.0 ± 12.9 59±12 57±14 531 (57.7) Age (years) 63±10.5 62±12 301 (55.7) 355 (63) 27.2 ± 5.3 Female, n (%) 225 (64.3) 349 (60.1) 26.4±4.7 27.3±5.0 BMI (kg/m2) 26.2±4.2 26.6±4.7 191 (20.8) BMI, n (%) 146 (15.9) 82 (23.4) 123 (21.2) 112 (20.7) 98 (17.3) 341 (37.1) <23 (kg/m2) 69 (19.7) 98 (16.9) 109 (20.2) 101 (17.9) 240 (26.2) 23-24.9 (kg/m2) 137 (39.1) 228 (39.2) 195 (36.1) 212 (37.5) 50 (5.4) 25-29.9 (kg/m2) 61 (17.4) 113 (19.4) 95 (17.6) 144 (25.5) ≥ 30 (kg/m2) 644 (69.9) 20 (5.7) 31 (5.3) 38 (7) 34 (6) 745 (80.9) Current smoking, n (%) 42 (4.6) Comorbidity, n (%) 281 (80.3) 472 (81.8) 390 (72.2) 403 (71.3) 41 (4.5) 323 (92.3) 522 (89.8) 462 (85.6) 452 (80.0) 4.6 (1.0,10.2) Hypertension 12 (3.4) 31 (5.3) 895 (97.2) Dyslipidemia 46 (7.9) 38 (7) 45 (8) 20 (2.2) Coronary artery disease 6 (1.7) 42 (7.8) 19 (3.3) 131 ± 16 Cerebrovascular disease 6.3 (2.2,13.3) 71 ± 11 7.3 (3.2,12.2) 575 (99) 5.9 (0.8,12.3) 5.7 (1,11.7) 151 ± 52 Duration of DM (years) 349 (99.7) 1 (0.2) 532 (98.5) 536 (94.9) 7.6 ± 1.9 Type 2 diabetes, n (%) 133±15 22 (4.9) 126 (91,174) Type 1 diabetes, n (%) - 77±11 5 (0.9) 129±15 133±15 142±42 133±16 SBP (mmHg) 77±10 7.6±1.7 77±11 72±12 DBP (mmHg) 142±42 155±62 154±63 Fasting plasma glucose (mg/dL) 7.4±1.8 131 (95,179) 8.1±2.2 7.9±2.1 HbA1c (%) 126 (90,172) 126 (93,180) 131 (100,177) Triglyceride (mg/dL) HDL (mg/dL) 54±16 52±13 50±14 51±14 51 ± 14 LDL (mg/dL) 100±34 96±36 97±40 92±37 94 ± 34 eGFR (ml/min/m2) 78±21 77±24 82±24 86±26 86 ± 23 eGFR, (ml/min/m2), n (%) 57 (16.3) 22 (14.1) 73 (13.5) 63 (11.2) 110 (11.9) 30-59 6 (1.7) 3 (1.9) 12 (2.2) 9 (1.6) 8 (0.9) 29-15 5 (0.9) - <15 - - - 421 (74.5) 656 (71.2) Metabolic control achievement 225 (64.3) 372 (64.4) 339 (62.8) BP < 140/90, n (%) 34

การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อนเบาหวานและการลงทะเบียนผ้เู ป็นเบาหวาน Diabetes Complication Assessment and Siriraj Diabetes Registry ข้อมลู การลงทะเบยี นผู้เปน็ เบาหวานคร้งั ที่ 1 ในแตล่ ะปี (ตอ่ ) HbA1c, n (%) 2016 2017 2018 2019 2020 <6.5 % (n=350) (n=581) (n=540) (n=565) (n= 921) <7 % 93 (26.6) 141 (24.3) 94 (17.4) 117 (20.7) 225 (25.3) LDL < 100 mg/dL ,n (%) 166 (47.5) 242 (41.7) 206 (38.1) 233 (41.2) 430 (48.4) Glucose lowering therapy, n (%) 179 (51.1) 337 (58) 307 (56.9) 345 (61.1) 534 (62.1) Metformin 295 (84.3) 471 (81.1) 428 (79.3) 461 (81.6) 741 (80.5) Sulfonylurea 205 (58.6) 311 (53.5) 275 (50.9) 267 (47.3) 371 (40.3) Thiazolidinedione 66 (18.9) 105 (18.1) 107 (19.8) 107 (18.9) 159 (17.3) DPP4 inhibitor 12 (3.4) 39 (6.7) 54 (10) 47 (8.3) 104 (11.3) Alpha-glucosidase inhibitor 15 (4.3) 21 (3.6) 19 (3.5) 12 (2.1) Insulin 26 (7.4) 85 (14.6) 120 (22.2) 135 (23.9) 1 (0.1) 154 (16.7) No. of oral antidiabetic drug, n (%) 82 (23.4) 162 (27.9) 211 (39.1) 208 (36.8) 1 89 (25.4) 143 (24.6) 172 (31.9) 194 (34.3) 364 (39.5) 2 42 (12) 61 (10.6) 106 (19.6) 99 (17.5) 279 (30.3) ≥3 186 (66.2) 319 (67.6) 267 (49.4) 288 (71.4) 163 (17.7) 433 (67.2) ACEI/ARB therapy in patient with HT, n 281 (87) 456 (87.4) 407 (75.4) 402 (88.9) (%) 647 (86.8) Statin therapy in patient with DLP, n 302 (86.3) 495 (85.2) 490 (90.7) 503 (89.0) (%) 866 (94.0) Chronic diabetes complication 38 (12.6) 76 (15.4) 68 (12.6) 60 (11.9) No. of DR screening within 1 year, n 7 (2.3) 25 (5) 33 (6.2) 14 (2.7) 91 (10.5) (%) 158 (45.1) 403 (69.4) 418 (77.4) 447 (79.1) 25 (2.9) DR screening, n (%) 661 (71.8) 36 (22.8) 102 (25.3) 93 (17.2) 119 (26.6) Mild to moderate NPDR 3 (1.9) 35 (8.7) 28 (5.2) 28 (6.3) 149 (22.5) Severe NPDR/PDR 350 (100) 581 (100) 540 (100) 565 (100) 47 (7.1) 921 (100) No. of microalbuminuria screening 11 (3.1) 38 (6.5) 44 (8.1) 34 (6) within 1 year, n(%) 30 (3.3) Microalbuminuria screening, n (%) 2 (0.3) MAU/cr 30-300 MAU/Cr > 300 No. of Foot examination within 1 year, n (%) Abnormal monofilament testing, n (%) Amputation, n (%) 3 (0.9) 4 (0.7) 6 (1.1) 3 (0.5) 35

การบรกิ ารตรวจติดตามระดบั นา้ ตาลในเลอื ด หลังคลอดและเสรมิ สรา้ งทกั ษะการดูแลตนเอง สาหรบั ผเู้ ป็นเบาหวานขณะตง้ั ครรภ์ GDM holistic care (Postpartum phase) การบริการตรวจติดตามระดับน้าตาลในเลือดหลัง คลิปแนะนาการดแู ลตนเองเพอื่ ลดความเสี่ยงการเกดิ โรคเบาหวาน คลอดและเสริมสร้างทักษะการดูแลตนเองสาหรับผู้เป็น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ เริ่มตั้งแต่เดือน กันยายน ปี พ.ศ. จานวนผู้เข้ารับบริการในกิจกรรมนี้ตั้งแต่เดือน 2563 และใหบ้ รกิ ารมาอยา่ งตอ่ เน่อื ง ตุลาคม พ.ศ. 2563 ถึง เดือนกันยายน พ.ศ. 2564 มีทั้งสิ้น 264 คน คิดเป็นร้อยละ 55 ของจานวนผู้ที่นัดหมายทั้งหมด ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2564 มีการระบาดของโรค ซึ่งผลการตรวจติดตามระดับน้าตาลในเลือดพบว่า ร้อยละ 70 COVID-19 จึงได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการให้ ผลเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ, ร้อยละ 27 ผลเลือดอยู่ในเกณฑ์ สอดคล้องกบั สถานการณ์เพื่อให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่าง เสี่ยงเบาหวาน (Prediabetes) และร้อยละ 3 ผลเลือดอยู่ใน ตอ่ เนอื่ งและมีประสทิ ธภิ าพ โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ เกณฑ์เป็นเบาหวาน ตามลาดบั 1. กิจกรรมแนะนาความสาคัญและวิธีการตรวจติดตาม ระดับนา้ ตาลในเลอื ดหลังคลอด ปรับรูปแบบการให้บริการโดยจัดทาสื่อสาหรับแนะนา ความสาคัญและวิธกี ารตรวจติดตามระดับน้าตาลหลังคลอด ในรูปแบบคลิป VDO และออกแบบเป็น QR code มอบ ให้กบั หอผู้ปว่ ยใช้สาหรับแจกให้ผู้ป่วยเพื่อเป็นการลดความ เสี่ยงในการติดเชื้อระหว่างเดินทางมารับบริการ อีกทั้งยัง เป็นการเพิ่มโอกาสให้ผู้ที่คลอดบุตรนอกเวลาราชการได้รับ คาแนะนาเชน่ เดียวกัน คลิปแนะนาการตรวจตดิ ตามเบาหวานหลังคลอด จานวนผ้เู ขา้ รบั บริการในกจิ กรรมการตรวจตดิ ตาม ระดับน้าตาลในเลือดหลังคลอด 4-12 สปั ดาห์ 2. กิจกรรมการตรวจติดตามระดับน้าตาลในเลือดหลัง คลอด 4-12 สัปดาห์ IFG+IGT R/O T2DM IGT 1% 3% ปรบั เปลีย่ นรปู แบบกิจกรรมโดยจัดทาสื่อที่เกี่ยวกับการ 25% เสริมสร้างทกั ษะการดแู ลตนเองเพื่อลดความเสี่ยงในการเกิด โรคเบาหวานในรูปแบบคลิป VDO และออกแบบเป็น QR IFG code มอบใหก้ ับหนว่ ยฝากครรภ์สาหรับแจกให้ผู้ป่วย และ 1% Normal ปรับการแจ้งผลเลือดและแนะนาการดูแลตนเองเพื่อลด ความเส่ียงในการเกิดโรคเบาหวานเบือ้ งต้นเป็นการให้บริการ 70% ผา่ นทางโทรศพั ท์แบบรายเดีย่ วแทน ผลการตรวจตดิ ตามระดับนา้ ตาลในเลอื ดหลงั คลอด 4-12 สัปดาห์ 36

การบริการตรวจติดตามระดบั นา้ ตาลในเลือดหลงั คลอด และเสริมสร้างทักษะการดแู ลตนเองสาหรับผเู้ ป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์ 3. กิจกรรมการตรวจติดตามระดับน้าตาลในเลือด ตอ่ เนือ่ ง การบริการในกิจกรรมนไี้ ดเ้ รม่ิ ครัง้ แรกในเดอื น มิถุนายน พ.ศ. 2564 ซึ่งเป็นช่วงที่มีการระบาดของโรค COVID-19 จึงปรับการแจ้งผลเลือดและการทบทวนทักษะการดูแล ตนเองเพ่อื ลดความเสย่ี งในการเกิดโรคเบาหวานเป็นการทา กจิ กรรมกลุ่ม (Group education and counseling) ผ่าน โปรแกรม Zoom could meetings โดยผู้ที่มีผลระดับ น้าตาลในเลอื ดเดิมอยู่ในเกณฑ์ปกติ จะได้รับการนัดหมาย ตดิ ตามระดับนา้ ตาลในเลือดต่อเนื่องที่ 1 ปี สาหรับผู้ที่อยู่ ในเกณฑเ์ สีย่ งเบาหวาน (Prediabetes) หรือเป็นเบาหวาน จะได้รบั การติดตามระดับน้าตาลต่อเนอ่ื งที่ 6 เดือน ผู้เขา้ รับบริการในกิจกรรมนี้ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2564 ถงึ เดือนกนั ยายน พ.ศ. 2564 เป็นกลุ่มที่มีผลระดับ น้าตาลในเลือดเดิมอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงเบาหวานและเป็ น เบาหวาน มที ง้ั ส้นิ 10 คน คิดเป็นร้อยละ 32 ของจานวนผู้ ที่นัดหมายทั้งหมด ผลการติดตามระดับน้าตาลในเลือด ตอ่ เน่อื งพบว่า ส่วนใหญ่ยังคงมีระดับน้าตาลในเลือดอยู่ใน เกณฑก์ ลุ่มเสย่ี งเบาหวานเเละเป็นเบาหวาน และมี 2 รายที่ มผี ลเลอื ดอยู่ในเกณฑป์ กติ จานวนผเู้ ข้ารับบรกิ ารในกิจกรรมการตรวจติดตามระดบั น้าตาลในเลอื ดตอ่ เนอื่ ง จานวนผู้นดั หมายทงั้ หมด (คน) 18 ม.ิ ย. 64 6 ส.ค. 64 3 ก.ย. 64 รวม จานวนผมู้ าตามนัด (คน) 10 13 8 31 คิดเป็นรอ้ ยละ 4 4 2 10 40 31 25 32 37

การใหบ้ รกิ ารเทคโนโลยเี บาหวาน Diabetes Technology Service ศนู ย์เบาหวานศริ ิราชได้เปิดใหบ้ รกิ ารทางเทคโนโลยี เบาหวาน ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2561 และได้รับ การสนับสนนุ จากผ้ปู กครองของผู้เปน็ เบาหวาน ทีม่ ีความ ประสงค์บริจาคและจัดตั้งกองทุนสนับสนุนการใช้ เทคโนโลยีเบาหวานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เป็ น เบาหวานใหด้ ยี งิ่ ข้นึ จงึ เป็นท่ีมาของกองทุน ศริ ิราชมูลนิธิ กองทุนเพื่อสนับสนุนด้านเทคโนโลยีกับเบาหวาน (D003998) ซึง่ จัดตงั้ เมือ่ 13 พฤศจิกายน 2562 การเข้า รับบริการ DM Technology Service จะเป็นการมอบ และส่งต่อโอกาสให้แก่ผู้เป็นเบาหวานอื่นๆต่อไป ให้มี คณุ ภาพชวี ิตที่ดีรว่ มกนั โดยคา่ ใช้จา่ ยท่ีเกดิ ข้ึนภายหลงั หกั ค่าบริการโรงพยาบาลจะบริจาคกลับสู่ กองทุนเพื่อ สนับสนุนด้านเทคโนโลยีกับเบาหวาน ในปีนี้ทางศูนย์ เบาหวานยังคงมงุ่ มัน่ และพฒั นาบริการด้านเทคโนโลยีให้ มีประสิทธิภาพเพือ่ ผู้เป็นเบาหวานอย่างต่อเนอื่ ง การใหบ้ ริการเทคโนโลยเี บาหวาน ณ ศนู ยเ์ บาหวาน ในปีน้ีศูนยเ์ บาหวานศิรริ าชได้ประสานงานร่วมกับ ศริ ิราช ใหบ้ รกิ ารการตรวจติดตามระดับน้าตาลต่อเนื่อง ผู้แทนบริษัท DM Technology ในประเทศไทย (Continuous glucose monitoring, CGMs) ทั้งแบบ ดาเนินโครงการ “การพัฒนาแอปพลิเคชันด้วยระบบ ชนดิ แสดงระดับนา้ ตาล (Real-time CGM) และไม่แสดง ปญั ญาประดษิ ฐเ์ พ่อื ส่งเสรมิ การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคไม่ ระดับน้าตาล (Professional CGM) โดยจะให้บริการใน ติดต่อเรื้อรัง (เบาหวาน)” โดยเป็นการนาข้อมูลจาก วนั จันทรแ์ ละวนั พุธ เวลา 8.30 น. ถงึ 12.00 น. โดยผู้มา อุปกรณ์ดูแลสุขภาพ เช่น เครื่องเจาะน้าตาลปลายนิ้ว รับบริการจะได้รับการทบทวนความรู้จากผู้ให้ ความรู้ เครื่องวัดความดันโลหิต รวมถงึ เครือ่ งติดตามระดับน้าตาล เบาหวานในหัวข้อที่จ าเป็น ได้แก่ carbohydrate ต่อเนื่อง มาแสดงผลและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อพัฒนาการ counting การตง้ั เป้าหมายและการควบคุมระดับน้าตาล ดูแลสุขภาพของผเู้ ปน็ เบาหวานใหด้ ีย่งิ ขึ้น ที่เหมาะสม การแก้ไขภาวะน้าตาลต่า การ calibrate เคร่ืองตรวจวดั นา้ ตาล และข้อปฏบิ ัติ ปญั หาและการแกไ้ ข ระหวา่ งติดเครือ่ ง CGMs สถิติผ้มู ารับบรกิ ารติดเครอ่ื งมือระดับนา้ ตาลตอ่ เนือ่ ง (Continuous Glucose Monitoring ) ปี 2564 ไตรมาส จานวนการตดิ เครือ่ ง CGMs (คร้งั ) ปี 2562 17 ปี 2563 20 ไตรมาส 1 2564 (มกราคม-มีนาคม) เนือ่ งจากสถานการณ์โควิด จงึ ไม่เปิดใหบ้ ริการ ไตรมาส 2 2564 (เมษายน-มิถนุ ายน) 4 ไตรมาส 3 2564 (กรกฎาคม-กนั ยายน) 4 38

การสนบั สนุนการตรวจระดับนา้ ตาล ในเลือดดว้ ยตัวเอง Self-Monitoring of Blood Glucose Support ศูนยเ์ บาหวานศริ ิราช รบั ผดิ ชอบดแู ลโครงการทีส่ นบั สนุนแผน่ ตรวจนา้ ตาลในเลือดด้วย ตัวเองสาหรับผู้เป็นเบาหวาน 3 โครงการ ซึ่งในทุกโครงการผู้ป่วยจะได้รับความรู้ในการดูแล ตัวเอง (DSMES) เพื่อส่งเสริมให้มีการดูแลตนเองที่ดีขึ้น และลดความเสี่ยงในการเกิ ด ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลนั และเร้อื รงั โครงการตดิ ตามผลการพัฒนาระบบและเครือขา่ ยบริบาลเบาหวานชนิดท่ี 1 (DSMP NS) คุณสมบัติผ้เู ข้าร่วมโครงการ จานวนผ้เู ขา้ ร่วมโครงการตงั้ แต่ปี 2562 – ก.ย. 2564  คลนิ ิกอายรุ ศาสตร์ 57 ราย  ผู้เป็นเบาหวานชนิดที่ 1 ทุกอายุ หรือ  คลินิกกมุ ารเวชศาสตร์ 184 ราย เบาหวานที่ตรวจพบอายุน้อยกวา่ 30 ปี ท่ใี ห้การรักษาเหมือนชนดิ ที่ 1  สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บัตรทอง) โครงการ Diabetes Rescue Supply and Support คณุ สมบัตผิ ้เู ขา้ ร่วมโครงการ จานวนผเู้ ขา้ รว่ มโครงการตง้ั แตป่ ี 2563 – ก.ย. 2564  ผเู้ ป็นเบาหวานชนิดท่ี 1  คลนิ กิ อายุรศาสตร์ 8 ราย  ทกุ สิทธกิ ารรักษา ปัจจบุ นั รับต่อเน่อื ง 5 ราย  ผู้ที่มปี ัญหาด้านคา่ ใชจ้ ่าย  คลนิ กิ กมุ ารเวชศาสตร์ 2 ราย ปจั จบุ ันรับตอ่ เนอ่ื ง 1 ราย กองทุนเพอ่ื ใหช้ ีวติ ใหม่คนไข้เบาหวาน สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทยฯ https://www.dmthai.org/ โครงการสนบั สนนุ การตรวจระดบั น้าตาลในเลอื ดด้วยตัวเอง (Self-Monitoring of Blood Glucose Support Project) คณุ สมบัติผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ จานวนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการต้ังแตป่ ี 2563 – ก.ย. 2564  ผู้เป็นเบาหวานที่จาเป็นต้องเจาะตรวจ  คลนิ ิกอายรุ ศาสตร์ 63 ราย ระดับน้าตาล แต่มีปัญหาด้านค่าใช้จ่าย ได้รับแผ่นเจาะนา้ ตาลต่อเน่อื งในปี 2564 เช่น ผู้เป็นเบาหวานที่ฉีดอินซูลิน และ (มาติดตาม 3 ครงั ) 9 ราย ผเู้ ป็นเบาหวานขณะต้ังครรภ์  ทกุ สทิ ธิการรักษา กองทุนสนบั สนนุ การดแู ลและการเรียนการสอนด้านเบาหวาน (D004045) ศริ ิราชมลู นธิ ิ https://www.si.mahidol.ac.th/office_m/foundation/ 39

ค่ายเบาหวานสาหรบั ผูเ้ ป็นเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ปี 2564 Diabetes Camp for People with Type 2 Diabetes 2021 ศูนย์เบาหวานศิริราชมีจัดการอบรมค่าย • คร้งั ท่ี 1 วันท่ี 24 พฤษภาคม 2564 เลื่อนการอบรม เบาหวานชนิดที่ 2 ในรูปแบบต่าง ๆ สาหรับผู้เป็น • ครั้งที่ 2 วนั ท่ี 23 สงิ หาคม 2564 เล่อื นการอบรม เบาหวานและบุคลากรทางการแพทย์อย่างต่อเนื่อง • ครง้ั ท่ี 3 วนั ที่ 18 ตุลาคม 2564 ผ้เู ข้ารว่ ม 10 คน เปน็ ปที ี่ 8 ซึ่งรปู แบบการจัดมีท้งั การบรรยายให้ความรู้ • ครง้ั ท่ี 4 วนั ที่ 20 ธนั วาคม 2564 รอดาเนนิ การอบรม และการฝึกเชิงปฏิบัติการ ข้อมูลสาหรับผู้เป็น เบาหวานในโรงพยาบาลศิริราช บางส่วนยังไม่สามารถ การอบรมแบบออนไลนผ์ ่าน Zoom Meetings ทาให้ผู้ท่ี ควบคุมระดบั น้าตาลในเลอื ดใหอ้ ย่ใู นระดับที่เหมาะสม สนใจสามารถเขา้ ร่วมอบรมได้สะดวกขึ้น ไม่ต้องเดินทาง ตามเกณฑ์ของแพทย์ผู้รักษา ทาให้มีโอกาสเสี่ยงต่อ มาทโี่ รงพยาบาล และถาม-ตอบ ผ่านช่องทาง Chat ได้ การเกดิ ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้แก่ โรคหลอดเลือด หัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตวายเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อนจากเบาหวานขึ้นจอตา และการถูกตัด ขาจากการเกิดแผลที่เท้า เป็นต้น ปัญหาส่วนหนึ่ง เนื่องจากผู้เป็นเบาหวานยังขาดความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับโรค และการดูแลตนเองที่เหมาะสม ซึ่งทีม วิทยากรจะประกอบไปด้วย แพทย์ พยาบาลวิชาชีพ นักโภชนาการ นักเวชศาสตรก์ ารกีฬา และนกั สุขศกึ ษา ระยะเวลาดาเนนิ การ เร่มิ ดาเนนิ การตั้งแต่ เดือนพฤษภาคม ถงึ เดือน ธนั วาคม 2564 รวมทงั้ หมด 4 ครงั้ /ปี ผู้รับผิดชอบโครงการ โปสเตอร์ประชาสมั พนั ธ์กิจกรรม ศูนย์เบาหวานศิริราช ร่วมกับสาขาวิชาต่อม ภาพกจิ กรรรมการอบรมออนไลนท์ าง Zoom Meetings ไร้ท่อและเมตะบอลิสม ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล และหน่วยการพยาบาล ป้องกันและส่งเสริมสุขภาพ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศริ ริ าช ผลการดาเนนิ การ เนื่องจากอยู่ในช่วงการระบาดโควิด-19 ทาให้ การจัดกิจกรรมไม่สามารถดาเนินการได้ และตาม มาตรการเว้นระยะห่าง (Social distancing) ทาให้ไม่ สามารถจัดกิจกรรมท่หี ้องประชุมศูนย์เบาหวานศิริราช ได้ จงึ ไดป้ รับเปลย่ี นเปน็ รปู แบบการอบรมออนไลน์ผ่าน โปรแกรม Zoom Meetings และได้กาหนดกิจกรรม อบรม ท้ังหมด 4 คร้งั ซงึ่ ผลการดาเนินการ มดี งั น้ี 40

การใหค้ วามร้แู ละพัฒนาทักษะการดแู ลตนเอง เพือ่ ปอ้ งกันโรคเบาหวานสาหรบั กลุ่มเสี่ยง รุ่น 9 Diabetes Prevention Education and Skill Developing Program for Self-care In People at Risk IX การให้ความรู้และพัฒนาทักษะการดูแลตนเองเพื่อ กลมุ่ ท่ี 1 เบาหวานขณะต้งั ครรภ์ ป้องกันโรคเบาหวานสาหรับกลุ่มเสีย่ ง โครงการนีจ้ ัดต้ังขึ้นตั้งแต่ • วันท่ี 6 สงิ หาคม 2564 ผเู้ ขา้ รว่ มอบรม จานวน 4 คน ปี พ.ศ. 2556 จัดกิจกรรมต่อเนื่องทุกปี ประกอบด้วย การ • วันที่ 3 ธนั วาคม 2564 ผูเ้ ขา้ รว่ มอบรม จานวน 11 คน บรรยายความรู้ โดยอาจารย์แพทย์ แพทย์ประจาบ้าน การฝึก • รอดาเนินการอกี 3 คร้งั ปฏบิ ัติการออกกาลังกาย โดยนกั เวชศาสตรก์ ารกีฬา และการทา กิจกรรมกลุ่ม Self-help group โดยพยาบาล ใน 7 ปีที่ผ่านมา กลุม่ ที่ 2 กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ประสิทธิภาพของโปรแกรม พบว่า ในช่วงระยะเวลา 1 ปีหลังร่วม แบ่งออกเปน็ 2 กลุ่มย่อย ดังนี้ โครงการ มีผู้ที่ลดน้าหนักได้ร้อยละ 70 ตามเป้าหมาย และใน กลุม่ 1 วันที่ 20 กันยายน 2564 ผู้เข้าอบรมจานวน 18 คน จานวนนี้ ร้อยละ 21 สามารถลดน้าหนักได้อย่างน้อยร้อยละ 5 ของน้าหนักตัวตั้งต้น ลดรอบเอวได้ร้อยละ 68 นอกจากนี้ ยังมี รอดาเนนิ การอีก 2 ครั้ง ประโยชน์ในด้านการเรียนการสอน ในด้านความตระหนักและ กลมุ่ 2 วันที่ 29 พฤศจกิ ายน 2564 ผ้เู ขา้ อบรมจานวน 7 คน การป้องกันโรคอยู่ในช่วงการรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ เพิ่มเติมเปรียบเทียบกับการรักษาแบบปกติ ผลการเกิด รอดาเนินการอกี 2 คร้งั โรคเบาหวานใหม่เหลือเพียง ร้อยละ 6 ซึ่งน้อยกว่าค่าเฉลี่ยการ เกดิ เบาหวานในการศกึ ษาอื่นๆ โปสเตอร์ประชาสัมพนั ธ์กิจกรรม ในปีนี้แบ่งกลุ่มผู้เข้าอบรมเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1.กลุ่ม เบาหวานขณะตั้งครรภ์ 2. กลุ่มที่มีโอกาสเสี่ยงเป็นเบาหวาน เพื่อเห็นถึงความสาคัญในการดูแลตนเอง โดยมุ่งเน้นการให้ คาแนะนาในการปฏบิ ัตติ วั การออกกาลังกายอย่างเหมาะสม การ ควบคุมน้าหนกั ตัว และการดแู ลติดตามอย่างเหมาะสมส่งผลให้มี การป้องกันภาวะการเกิดเป็นโรคเบาหวานรวมถึงลดปัญหาด้าน ต่างๆ ของเบาหวานซึ่งมีผลในหลายๆ ด้าน ได้แก่ ผลต่อ สมรรถภาพทางกาย และปัญหาสขุ ภาพจิต SiDM Support Group ศูนย์เบาหวานศิริราช ได้จัดตั้งคณะอนุกรรมการ โปสเตอรป์ ระชาสัมพันธ์กิจกรรม ภาพกิจกรรรมการอบรมออนไลน์ SiDM Support group ขึ้น ซึ่งเป็นการร่วมมือกันของ ชมรมเพื่อนช่วยเพื่อนเบาหวานศิริราช ชมรมเพื่อเด็ก 41 และวยั รุ่นเบาหวาน และกลุ่มผู้ที่มีความเสี่ยงเบาหวาน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดนโยบาย ในการสนับสนุน กิจกรรมสร้างและให้องค์ความรู้สาหรับผู้เป็นเบาหวาน ตามแนวทางของศูนย์เบาหวานศิริราช ที่มีเป้าหมายให้ผู้ เป็นเบาหวานสามารถดูแลตนเองอยา่ งมีสขุ ภาวะ คณะกรรมการประชุมได้กาหนดจัดกิจกรรม เผยแพร่ความรู้ในรูปแบบออนไลน์ผ่านทางระบบ Zoom Meetings ซึ่งในปีนี้ได้ดาเนินการไปแล้ว 3 ครั้ง โดยมี ผสู้ นใจเขา้ ร่วมอบรมดังนี้ • วนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2564 ผ้เู ขา้ อบรมจานวน 44 คน • วนั ที่ 4 ตลุ าคม 2564 ผู้เข้าอบรมจานวน 29 คน • วันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 ผเู้ ข้าอบรมจานวน 14 คน

กิจกรรมวนั เบาหวานโลก World Diabetes Day วนั เบาหวานโลก ประจาปี 2564 นอกจากน้ียงั มีการเผยแพร่โปสเตอร์ความรู้โรคเบาหวาน จากภาควิชาและหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องใน คณะ World Diabetes Day 2021 แพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ผ่านทาง Facebook live และ ส่งบุคลากรร่วมเสวนาความรู้ ในรายการ “Healthy ตามที่สมาพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติกาหนดให้วันที่ 14 Day รนั เวยส์ ขุ ภาพ” ทางช่อง 9 MCOT HD พฤศจกิ ายน ของทกุ ปี เป็นวนั เบาหวานโลก ในปีนี้ทางสมาคม โรคเบาหวานแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมภ์สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ได้ประกาศแนว ทางการรณรงค์ในวันเบาหวานโลกปี 2021-2023 ตาม แนวทางของสหพันธ์โรคเบาหวานนานาชาติ (International Diabetes Federation; IDF) คือ “Access to Diabetes Care” การเข้าถงึ การดูแลเบาหวาน ซึ่งองค์ประกอบพื้นฐานของ การเขา้ ถึงการดูแลเบาหวาน ดงั น้ี 1. การเขา้ ถึงอินซลู นิ Access to insulin 2. การเข้าถึงยารักษาโรคเบาหวาน Access to oral medication 3. การเขา้ ถึงการติดตามผลการการดแู ลด้วยตนเอง Access to self-monitoring 4. การเขา้ ถึงความรู้ และการดแู ลทางด้านจติ ใจ Access to education and psychological support 5. การเข้าถึงอาหารเพอ่ื สุขภาพและสถานที่ออกกาลังกายที่ ปลอดภัย Access to healthy diet and physical activity ศูนย์เบาหวานศิริราชร่วมกับหน่วยงานภาควิชาต่างๆ ภายในคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ได้จัด “กิจกรรม วันเบาหวานโลก ปี 2564” ขึ้น ปีนี้กาหนดจัดกิจกรรม เป็น เวลา 2 วัน ระหว่างวันที่ 11-12 พฤศจิกายน 2564 ใน รูปแบบออนไลน์ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน โดยจัดให้มีการเสวนาความรู้เบาหวาน ผ่านทางออนไลน์ Facebook live ในหัวขอ้ ท่ีนา่ สนใจ ได้แก่ • เบาหวานกบั โควิด-19 มผี ูเ้ ขา้ ชม จานวน 666 คน • เครียด ซึมเศรา้ เสียสุขภาพจิต ในยุคโควดิ -19 มีผเู้ ขา้ ชม จานวน 675 คน • กิจกรรมตอบคาถามทางออนไลน์รับของที่ระลึก มคี าถาม จานวน 10 ข้อ ซึง่ มผี ้ไู ดร้ ับของที่ระลึก จานวน 20 รางวลั จากผสู้ นใจรว่ มตอบคาถาม ทง้ั หมด 33 คน 42

การจดั อบรมเพื่อเพม่ิ พูนความรู้ และการจัดการดูแลผู้เปน็ เบาหวาน ประจาปี 2564 Update Diabetes Management and Holistic Care (Advance course) 2021 ศูนย์เบาหวานศริ ริ าช รว่ มกบั ภาควิชาอายุรศาสตร์ ภาควิชา กุมารเวชศาสตร์ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช และหน่วย บริหารการจัดการประชมุ วิชาการ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกันจัดการอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้และ การจัดการดูแลผู้เป็นเบาหวาน ประจาปี 2564 (Update Diabetes Management and Holistic Care 2021) ในหัวข้อ “Challenging in Diabetes Management 2021” ระหว่างวันท่ี 14 – 16 กรกฎาคม 2564 ที่ผ่านมา ในรูปแบบออนไลน์ผ่านระบบ Siriraj LIVE ซ่ึงมีสถานเทคโนโลยกี ารศกึ ษาแพทยศาสตรฯ์ ช่วยดูแล ระบบการถ่ายทอดสด และได้รับเกียรติจาก รศ .นพ.วิศิษฎ์ วามวาณชิ ย์ ผู้อานวยการโรงพยาบาลศิริราช เป็นประธานกล่าวเปิด งานในครง้ั นี้ จุดประสงค์หลักในการจัดกิจกรรมอบรมนี้เพื่อให้ผู้เข้า อบรมสามารถดแู ลรักษาผ้เู ป็นเบาหวานในปัจจุบัน มุ่งเน้น Diabetes Self-Management Education ควบคู่กับการรักษาที่เหมาะสม คร้ังนี้ เป็นหลักสตู รการดแู ลเบาหวานและทักษะขั้นสูง (Advanced skills for diabetes) ซึ่งเป็นการสอนการประยุกต์ความรู้พื้นฐาน การวินิจฉัยเบาหวานชนิดอื่นๆ การแก้ปัญหาและรักษาในกรณีผู้เป็น เบาหวานที่มีอาการซับซ้อน ความรู้โรคเบาหวานใหม่ๆ ที่ทันสมัย การดูแลผ้เู ป็นเบาหวานชนดิ ที่ 1 การจดั อาหารสาหรับผมู้ ีภาวะพิเศษ เช่น ภาวะแทรกซอ้ นทางไต เทคนคิ ขั้นสงู ในการปรับพฤติกรรม หรือ ได้รับการรักษาด้วยยา Steroid การดูแลรักษาเบาหวานในผู้ป่วย วกิ ฤติ การรกั ษาเบาหวานใหห้ ายขาด เทคนิคใหมๆ่ ในการรักษาแผล เท้าเบาหวาน รวมถึงการใช้เทคโนโลยีขั้นสูงเกี่ยวกับการดูแลรักษา เบาหวาน ซ่ึงหลักสตู รนีเ้ หมาะกับแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป อายุรแพทย์ แพทย์เฉพาะทาง พยาบาล เภสัชกร นักโภชนาการ และผู้ให้ความรู้ เบาหวาน (Diabetes Educators) ที่มีประสบการณ์พื้นฐานในการ ดูแลผู้เป็นเบาหวาน ในการอบรมรูปแบบออนไลน์ ทาให้มผี ู้สนใจสามารถเข้าร่วม อบรมไดม้ ากขนึ้ จากปกี ่อน (รูปแบบ on-site) โดยในปีนี้ มีบุคลากร สหสาขาวิชาชีพเข้าร่วมอบรมได้แก่ แพทย์ 209 คน พยาบาล 91 คน เภสัชกร 58 คน และบุคลากรทางการแพทย์ด้านเบาหวานอื่นๆ 55 คน รวมท้ังหมด 413 คน จากทั่วประเทศ 43

Publication and Poster Presentation 2021 Siriraj Center of Research Excellence for Diabetes and Obesity (SiCORE-DO) 1. Tangjittipokin W, Umjai P, Khemaprasit K, et al. Vitamin D pathway gene polymorphisms, vitamin D level, and cytokines in children with type 1 diabetes. Gene. 2021;791:145691. 2. Charoensuk C, Thamtarana PJ, Chanprasert C, et al. Autosomal dominant diabetes associated with a novel ZYG11A mutation resulting in cell cycle arrest in beta-cells. Mol Cell Endocrinol. 2021;522:111126 Diabetes and Obesity Research in Adult 1. Preechasuk L, Akarasereenont P, Boonrak R, et al. Effect of Thunbergia laurifolia Herbal Tea on Glucose Homeostasis in Healthy Volunteers: A Single-Arm Phase I Study. Evid Based Complement Alternat Med 2020;23. 2. Wutthisathapornchai A , Lertwattanarak R. Progression of Prediabetes to Type 2 Diabetes Mellitus in Thai Population. J Med Assoc Thai 2021;104(5):772-80. 3. Taniarusritaratorn T, Tangjittipokin W, Kunavisarut T. Incidence and Survival of Hepatocellular Carcinoma in Type 2 Diabetes Patients with Cirrhosis Who Were Treated with and without Metformin. Diabetes Metab Syndr Obes 2021;9(14):1563-74. 4. Chattranukulchai P, Thongtang N, Ophascharoensuk V, et al. An Implementation Framework for Telemedicine to Address Noncommunicable Diseases in Thailand. Asia Pac J Public Health 2021. 5. Kongmalai T, Preechasuk L, Junnu S, et al. The Effect of Temperature on the Stability of In-Use Insulin Pens. Exp Clin Endocrinol Diabetes 2021;129(9):683-88. Obesity Research, Oral Presentation 1. Khumkhana N, Deekum W, Chaichana C, et al. Reduced Circulating Levels of Growth Differentiation Factor-15 and Fibroblast Growth Factor-21 are Associated with Weight Loss After Anti-Obesity Treatments. The 21st Parenteral and Enteral Nutrition Society of Asia Congress 2021. 14-16 Oct 2021 44

Publication and Present Poster 2021 2. Khumkhana N, Deekum W, Chaichana C, et al. Circulating Levels of Fibroblast Growth Factor 21 and Growth Differentiation Factor 15 Are Positively Associated with Body Mass Index in Thai Population. The 21st Parenteral and Enteral Nutrition Society of Asia Congress 2021. 14-16 Oct 2021 3. Wongshaya P, Chaichana C, Thaipisutikul L, et al. Effect of Allulose on GLP-1 release in adults living with obesity. The 21st Parenteral and Enteral Nutrition Society of Asia Congress 2021. 14-16 Oct 2021 Diabetes Research in Pediatric 1. Santiprabhob J, Charoentawornpanich P, Khemaprasit K, et al. Effect of gender, diabetes duration, inflammatory cytokines, and vitamin D level on bone mineral density among Thai children and adolescents with type 1 diabetes. Bone. 2021 Jul 10;153:116112. doi: 10.1016/j.bone.2021.116112. Epub ahead of print. PMID: 34252600. 2. Tangjittipokin W, Umjai P, Khemaprasit K, et al. Vitamin D pathway gene polymorphisms, vitamin D level, and cytokines in children with type 1 diabetes. Gene.2021 Jul 30;791:145691. doi: 10.1016/j.gene.2021.145691. 3. Santiprabhob J, Chokephaibulkit K, Khantee P, et al. Adipocytokine dysregulation, abnormal glucose metabolism, and lipodystrophy in HIV-infected adolescents receiving protease inhibitors. Cytokine.2020 Dec;136:155145. doi: 10.1016/j.cyto.2020.155145. Diabetes Research in Pregnancy 1. Boriboonhirunsarn D, Sunsaneevithayakul P, Pannin C, et al. Prevalence of early-onset GDM and associated risk factors in a university hospital in Thailand. J Obstet Gynecol. 2020 Aug; 41(6): 915-919. doi: 10.1080/01443615.2020.1820469. 2. Boriboonhirunsarn D, Pannin C, Wamuk T. Risk of LGA in pregnant women with different GDM status and risk profiles. Int J Diabetes Dev Ctries. 2021; 41(3), 511-517. doi: 10.1007/s13410-020-00908-2. 3. Bunpeng N, Boriboonhirunsarn D, Boriboonhirunsarn C, et al. Association between gestational diabetes mellitus and periodontitis via the effect of reactive oxygen species in peripheral blood cells. J Periodontol. 2021 Nov 17. 4. Sawangpanyangkura T, Laohapand P, Boriboonhirunsarn D, et al. Upregulation of microRNA- 223 expression in gingival crevicular blood of women with gestational diabetes mellitus and periodontitis. Journal of Dental Sciences. 2021. 45

Publication and Present Poster 2021 Diabetes Research, Siriraj Diabetes Center of Excellence 1. Dejkhamron P, Santiprabhob J, Likitmaskul S, et al. Young-onset diabetes patients in Thailand: Data from Thai Type 1 Diabetes and Diabetes diagnosed Age before 30 years Registry, Care and Network (T1DDAR CN). J Diabetes Investig. 2021 Dec 10. Diabetes Research, Department of Nursing วจิ ยั เรือ่ ง การให้บริการแบบครบวงจรสหสาขาวิชาชีพของคลนิ ิกโรคไมต่ อิ ตอ่ เรือ้ รังในผรู้ บั บริการโรคเบาหวานชนิด ทสี่ องในหนว่ ยบริการสุขภาพปฐมภมู ศิ ริ ริ าช ผวู้ จิ ยั หลกั น.ส.ศนนั ท์อร พสิ ทิ ธ์พิ รสุข หน่วยพยาบาลปฐมภมู ิ งานการพยาบาลปฐมภูมิ ผวู้ จิ ยั ร่วม น.ส.ชลติ า อุชิน หนว่ ยพยาบาลปฐมภมู ิ งานการพยาบาลปฐมภมู ิ ชอ่ื วารสาร ปญั ญามหิดล คุณภาพคน คุณภาพงาน : มหกรรมคณุ ภาพมหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ประจาปี 2563 ปที ีต่ พี มิ พ์ 2563 หน้า 25 Poster presentation วจิ ยั เร่อื ง The effect of multidisciplinary care team on improving quality of diabetes outcomes in an urban primary care unit in Thailand ผู้วจิ ัยหลัก Tanyaporn Pongkunakorn ผ้วู จิ ัยรว่ ม น.ส.ศนันทอ์ ร พสิ ทิ ธพิ์ รสขุ หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ งานการพยาบาลปฐมภมู ิ ชอ่ื งานประชมุ การประชมุ วชิ าการภาชนาการแห่งชาติ คร้ังที่ 14 The 14Th Thailand Congress of Nutrition (TCN 2020) “ชีวิตวถิ ใี หม่ สู้ภัยโควิด-๑๙ ดว้ ยอาหารและโภชนาการ” “New Normal for Fighting COVID-19 with Food and Nutrition” โดยสมาคมโภชนาการแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถมั ภ์ สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ปี 2563 ชอ่ื วารสาร “ชวี ติ วถิ ีใหม่ สู้ภยั โควิด-๑๙ ด้วยอาหารและโภชนาการ” “New Normal for Fighting COVID-19 with Food and Nutrition” ปีท่ตี ีพิมพ์ 2563 หน้า 91 นวัตกรรมฝ่ายโภชนาการ ชอื่ ผลงานนวตั กรรม : การให้บริการแบบครบวงจรเบด็ เสรจ็ โดยสหสาขาในผู้รบั บริการโรคเบาหวานชนิดทสี่ อง ทหี่ นว่ ย บริการสุขภาพปฐมภูมศิ ิริราช 46


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook