Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore pdf เนื้อหา

pdf เนื้อหา

Published by Wannarat Watbunleang, 2019-09-01 00:58:30

Description: pdf เนื้อหา

Search

Read the Text Version

ยุคสมัยดนตรีตะวนั ตก ดนตรีเป็นส่วนหนงึ่ ของวิถีชวี ิตมนุษย์ มนุษยร์ จู้ ักนำดนตรมี ำใชป้ ระโยชนต์ ง้ั แต่ยุคกอ่ น ประวัติศำสตร์ หลงั จำกทีม่ นษุ ยร์ ู้จักกำรจดบนั ทกึ ขอ้ มูล จึงทำให้คนรุ่นหลังไดท้ รำบประวัติควำมเป็นมำ ของดนตรี กำรศึกษำประวัตศิ ำสตร์ดนตรี ทำให้เรำเขำ้ ใจมนุษย์ดว้ ยกนั มำกขึ้น เข้ำใจวถิ ชี ีวติ ควำมเปน็ อยู่ และเข้ำใจกำรสืบทอดทำงวัฒนธรรมดนตรี คร้นั เม่ือคริสต์ศำสนำเกดิ ขนึ้ ดนตรีกย็ ิง่ มบี ทบำทควบคู่เปน็ เงำตำมตัวไปด้วย ยคุ สมยั ประวัตศิ ำสตร์ ดนตรีตะวนั ตกแบง่ ออกเปน็ ช่วงระยะเวลำ แต่ละช่วงระยะเวลำหรือแตล่ ะสมัย มลี กั ษณะผลงำนทำงดนตรี ทีแ่ ตกต่ำงกันออกไป ประวตั ิศำสตรด์ นตรีเรม่ิ ตั้งแต่สมยั ต่ำงๆดงั นี้ ยุคกลำง (Medieval or Middle Age) ยุคเรเนสซองส์หรือยุคฟ้ืนฟศู ิลปวิทยำ (The Renaissance Period) ยคุ บำโรค (The Baroque Period) ยุคคลำสสกิ (The Classical Period) ยคุ โรแมนตกิ (The Romantic Period) ยคุ อมิ เพรสชนั่ นิสติค (The Impressionistic) ศตวรรษท่ี 20 (The Twentieth Century ค.ศ. 1900-ปจั จบุ นั )

ยุคกลำง (Medieval or Middle Age) ยุคนีค้ ือ ชว่ งเวลำระหวำ่ งศตวรรษที่ 5-15 (รำว ค.ศ. 450-1400) ประมำณปี ค.ศ. 400-1400 ใน สมัยกลำงนี้โบสถเ์ ปน็ ศูนยก์ ลำงทั้งทำงดำ้ นดนตรี ศิลปะ กำรศกึ ษำและกำรเมอื ง ววิ ัฒนำกำรของดนตรี ตะวนั ตกมกี ำรบันทึกไวต้ งั้ แตเ่ ริ่มแรกของคริสตศ์ ำสนำ บทเพลงทำงศำสนำซง่ึ เกดิ ข้นึ จำกกำรประสม ประสำนระหว่ำงดนตรโี รมันโบรำณกบั ดนตรยี วิ โบรำณ เพลงแต่งเพือ่ พิธที ำงศำสนำครสิ ต์เป็นส่วนใหญ่ โดยนำคำสอนจำกพระคัมภรี ม์ ำร้องเป็นทำนอง เพือ่ ใหป้ ระชำชนได้เกิดอำรมณ์ซำบซึ้ง และมีศรัทธำแก่ กลำ้ ในศำสนำ ไม่ใชเ่ พื่อควำมไพเรำะของทำนอง หรอื ควำมสนกุ สนำนของจงั หวะ เม่ือศำสนำครสิ ต์ แพรก่ ระจำยไปทวั่ โลก ประเทศต่ำงๆ ไดน้ ำบทเพลงท่ชี ำติตนเองคนุ้ เคยมำร้องในพิธสี กั กำระพระเจ้ำ ดงั นั้น เพลงท่ใี ชร้ ้องในพธิ ีของศำสนำครสิ ต์จงึ แตกตำ่ งกนั ไปตำมภูมภิ ำคและเชื้อชำตทิ ีน่ ับถือ เมอื่ ครสิ ต์ศำสนำเข้มแข็งข้นึ ไดม้ กี ำรกำหนดหลักเกณฑ์ทแ่ี นน่ อนในกำรขับรอ้ งเพลงสวด ที่ เรยี กว่ำ ชำนท์ (Chant) จนเป็นทยี่ อมรบั ในหมู่พวกศำสนำครสิ ต์ สนั ตะปำปำเกรกอรี (Pope Gregory the Great) ผลงำนกำรรวบรวมบทสวดของสนั ตะปำปำเกรกอรี ถูกเรียกวำ่ เกรกอรีชำนท์ (Gregory Chant) หรือบทสวดของเกรกอรี ไมม่ ีกำรประสำนเสยี งและไม่มีกำรบงั คบั จงั หวะ เรียกว่ำ โมโนโฟนี (Monophony)

ยุคเรเนสซองสห์ รือยุคฟื้นฟศู ิลปวิทยำ (The Renaissance Period) คำว่ำ “Renaissance” แปลวำ่ “กำรเกิดใหม่ ” (Re-birth) เพลงในยคุ นแ้ี บ่งเป็นสองแบบ สว่ นใหญจ่ ะเป็น แบบทเ่ี รยี กว่ำ อมิ มเิ ททีฟโพลโี ฟนี (Imitative Polyphony) คือ มีหลำยแนว และแตล่ ะแนวจะเริ่มไม่พรอ้ มกนั ทกุ แนวเสียงมคี วำมสำคัญ แบบทส่ี อง เรยี กว่ำ โฮโมโฟนี () คือ มีหลำยแนวเสียงและบรรเลงไปพรอ้ มกัน มเี พียงแนวเสยี งเดียวทีเ่ ด่น แนวเสยี ง อนื่ ๆ เป็นเพยี งเสียงประกอบ เพลงในสมัยนี้ ยงั ไม่มีกำรแบง่ จังหวะท่แี น่นอน คอื ยังไมม่ กี ำรแบง่ ห้องออกเป็น 3/4 หรอื 4/4 เพลงสว่ น ใหญก่ ย็ ังเกย่ี วขอ้ งกบั คริสต์ศำสนำอยู่เพลงประกอบข้นั ตอนต่ำงๆ ของพธิ ีทำงศำสนำที่สำคญั คอื เพลง แมส (Mass) และโมเตท็ (Motet) คำรอ้ งเป็นภำษำละติน เพลงที่ไม่ใชเ่ พลงศำสนำกเ็ รม่ิ นยิ มกนั มำกขึ้น ได้แก่ เพลงประเภท แมดริกลั (Madrigal) ซ่ึงมเี นอ้ื ร้องเก่ียวกับควำมรกั หรอื ยกย่องบุคคลสำคัญ และ มักจะมีจงั หวะสนกุ สนำน นอกจำกนี้ยงั ใช้ภำษำประจำชำติของแต่ละชำติ เพลงบรรเลงเร่ิมมีบทบำทในยุคน้ี เครื่องดนตรีทีน่ ำมำใชใ้ นกำรบรรเลง คือ ลทู ออร์แกนลม ฮำรพ์ ซิคอรด์ เวอจนิ ลั ขลุ่ยเรคอรเ์ ดอร์ ซอวโิ อล องค์ประกอบสำคญั อย่ำงหน่ึงของดนตรยี ุคนี้ท่ีถกู นำมำใช้ คอื ควำมดัง - เบำของเสียงดนตรี (Dynamic)

ยุคบำโรค (The Baroque Period) ดนตรีในสมัยนจี้ ะอย่ปู ระมำณ ค.ศ. 1600 – 1750 ในสมัยบำโรกนีก้ ำรบันทกึ ตวั โนต้ ได้รบั กำร พัฒนำมำจนเป็นลักษณะกำรบนั ทึกตวั โน้ตท่ีใช้ในปจั จุบนั คอื กำรใช้บรรทดั 5 เส้น กำรใช้กญุ แจซอล (G Clef) กุญแจฟำ (F Clef) กุญแจอลั โต และกุญแจเทเนอร์ (C Clef) มกี ำรใชส้ ัญลกั ษณ์ตวั โน้ตและตวั หยดุ แทนควำมยำวของจงั หวะและตำแหนง่ ของตวั โน้ตบรรทดั 5 เสน้ แทนระดบั เสียงและยังมีตวั เลขบอกอตั รำ จงั หวะมีเสน้ กั้นหอ้ งและสัญลกั ษณ์อ่ืนๆ เพือ่ ใช้บันทึกลักษณะของเสยี งดนตรี ใช้บันไดเสียงเมเจอร์ (Major)และไมเนอร์ (Minor) แทนโมด (Mode) นยิ มใช้เบสเป็นทง้ั ทำนองและแนวประสำน เรยี กวำ่ Basso Continuo และมวี ธิ ีบันทกึ เรียกวำ่ Figured bass เริ่มนยิ มใช้สอื่ ทต่ี ่ำงกนั ตอบโตก้ ัน เช่น เสียงนกั รอ้ งกบั เครอื่ งดนตรี กำรบรรเลงเด่ยี วตอบโตก้ บั กำร บรรเลงเป็นกลุ่ม

ยุคคลำสสิก (The Classical Period) ดนตรีในสมัยน้ีจะอยูป่ ระมำณ ค.ศ. 1750 – 1825 ลักษณะของดนตรีในสมยั คลำสสิกที่เปลีย่ นไป จำกสมยั บำโรกทเี่ ห็นได้ชดั คอื กำรไม่นยิ มกำรสอดประสำนของทำนองทเี่ รียกว่ำเคำน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) หนั มำนยิ มกำรเน้นทำนอง หลกั เพยี งทำนองเดียวโดยมแี นวเสยี งอืน่ ประสำนใหท้ ำนอง ไพเรำะข้นึ คอื กำรใส่เสยี งประสำน ลกั ษณะของ บำสโซ คอนตินูโอ เลิกใชไ้ ปพรอ้ มๆ กับกำรสร้ำงสรรค์ แบบอมิ โพรไวเซชั่น (Improvisation) ผ้ปู ระพันธ์นยิ มเขยี นโนต้ ทกุ แนวไว้ ไม่มีกำรปลอ่ ยว่ำงใหผ้ ้บู รรเลง แตง่ เติมเอง ลักษณะของบทเพลงกเ็ ปล่ียนไปเชน่ กนั สรปุ ลักษณะสำคัญของดนตรสี มยั คลำสสิก ฟอร์ม หรือคีตลักษณ์ (Forms) มีโครงสรำ้ งทช่ี ดั เจนแน่นอน สไตล์ทำนอง (Melodic Style) ไดม้ ีกำรพัฒนำทำนองชนดิ ใหม่ข้นึ มลี ักษณะท่ีเป็นตัวของตัวเองและ รดั กุมกะทดั รัดมำกขนึ้ ซ่งึ มสี ไตล์ใช้กลมุ่ จงั หวะตวั โน้ตในกำรสร้ำงทำนอง (Figuration Style) สไตล์แบบโฮโมโฟนคิ (Homophonic Style) ควำมสำคัญอนั ใหมท่ เี่ กิดขึน้ แนวทำนองพิเศษในกำร ประกอบทำนองหลกั (Theme) ในดำ้ นกำรประสำนเสยี ง (Harmony) น้นั กำรประสำนเสยี งของดนตรสี มัยนซ้ี ับซอ้ น เคำน์เตอร์พอยท์ (Counterpoint) ในสมัยคลำสสิกยังคงมกี ำรใช้อยโู่ ดยเฉพำะในท่อน กำรใช้ ควำมดงั - เบำ (Dynamics) ได้มกี ำรนำเอำเอฟเฟคของควำมดัง – เบำ มำใชส้ รำ้ งเปน็ องค์ประกอบของดนตรี

ยคุ โรแมนติก (The Romantic Period) ดนตรีสมยั น้ีเร่ิมประมำณปี ค.ศ. 1820 – 1900 ถอื ว่ำเปน็ ยคุ ทองของดนตรี ดนตรีมไิ ด้เป็นเอกสทิ ธิ์ ของผ้นู ำทำงศำสนำหรือกำรปกครอง ไดม้ กี ำรแสดงดนตรี (Concert) สำหรบั สำธำรณชนอย่ำงแพรห่ ลำย นักดนตรีแตล่ ะคนมโี อกำสแสดงออกซ่งึ ควำมร้สู ึกของตนเองไดเ้ ต็มท่ี และตอ้ งกำรสร้ำงสไตล์กำรเขียน เพลงของตนเองด้วย ทำให้เกดิ สไตลก์ ำรเขียนเพลงของแตล่ ะท่ำนแตกตำ่ งกันอยำ่ งมำก ในยคุ น้ีใช้ดนตรี เปน็ เครอ่ื งแสดงออกของอำรมณอ์ ยำ่ งเต็มท่ี ทกุ ๆ อำรมณ์สำมำรถถ่ำยทอดออกมำได้ด้วยเสียงดนตรีอยำ่ ง เหน็ ไดช้ ดั ดนตรีในยคุ น้จี ึงไม่คำนึงถึงรปู แบบ และควำมสมดลุ แตจ่ ะเนน้ เนือ้ หำ วำ่ ดนตรกี ำลังจะบอกเรอื่ ง อะไร ให้อำรมณอ์ ย่ำงไร เช่น แสดงออกถึงควำมรกั ควำมโกรธ ควำมเศร้ำโศกเสียใจ หรือควำมกลวั ดำ้ น เสียงประสำนกม็ กั จะใชค้ อรด์ ที่มีเสียงไม่กลมกลืน เช่น ดอรด์ โครมำติค (Chromatic Chord) หรือ คอร์ดท่ี มรี ะยะขนั้ คูเ่ สยี งกวำ้ งมำกข้นึ ๆ เชน่ คอรด์ 7,9 หรอื 11 นอกจำกจะแสดงถึงอำรมณแ์ ล้ว คตี กวยี งั ชอบ เขยี นเพลงบรรยำยธรรมชำติเรอื่ งนยิ ำยหรอื ควำมคิดฝนั ของตนเอง โดยพยำยำมทำเสยี งดนตรีออกมำให้ ฟงั ไดใ้ กล้เคียงกบั ส่ิงทก่ี ำลังบรรยำยมำกทสี่ ุด เพลงที่มีแนวเรื่องหรือทวิ ทศั นธ์ รรมชำตเิ ป็นแนวกำรเขยี นน้ี เรยี กว่ำ ดนตรพี รรณนำ (Descriptive Music) หรือ โปรแกรมมวิ สคิ (Program Music) สำหรับบทเพลง ทค่ี ตี กวไี ดพ้ ยำยำมถำ่ ยทอดเนื้อควำมมำจำกคำประพันธห์ รอื บทรอ้ ยกรอง (Poem) ตำ่ งๆ แลว้ พรรณนำสง่ิ เหลำ่ นอี้ อกมำด้วยเสยี งของดนตรอี ยำ่ งเหมำะสมนนั้ จะเรียกบทเพลงแบบน้วี ่ำ ซมิ โฟนิคโพเอม็ (Symphonic Poem) ตอ่ มำภำยหลงั เรียกว่ำ โทนโพเอม็ (Tone Poem)

ยุคอิมเพรสชนั่ นิสตคิ (The Impressionistic Period) ดนตรีสมยั นเ้ี ร่มิ ประมำณปี ค.ศ. 1820 – 1900 ในตอนปลำยของศตวรรษที่ 19 จนถึงตอนตน้ ของ ศตวรรษท่ี 20 (1820 - 1900) ซึ่งอยใู่ นช่วงของยคุ โรแมนตกิ น้ี มีดนตรีทไี่ ดร้ บั กำรพัฒนำขน้ึ โดยเดอบูสซี ผู้ประพันธ์เพลงชำวฝร่ังเศส โดยกำรใชล้ ักษณะของบันไดเสยี งแบบเสยี งเต็ม (Whole-tone Scale) ทำให้ เกิดลกั ษณะของเพลงอกี แบบหนึ่งข้ึน เน่ืองจำกลักษณะของบันไดเสยี งแบบเสียงเตม็ นเ้ี องทำใหเ้ พลงในยุค นี้มีลักษณะ ลกึ ลับ ไม่กระจ่ำงชัด เพรำะคอรด์ ทใ่ี ช้จะเปน็ ลกั ษณะของอ๊อกเมนเต็ด (Augmented) มกี ำรใช้ คอรด์ คู่ 6 ขนำน ลกั ษณะของควำมรสู้ กึ ที่ไดจ้ ำกเพลงประเภทน้ีจะเป็นลักษณะของควำมรู้สกึ “คล้ำยๆ ว่ำ จะเปน็ ” หรือ “คลำ้ ยๆ ว่ำจะเหมอื น” มำกวำ่ จะเป็นควำมร้สู กึ ท่ีแน่ชดั ลงไปวำ่ เป็นอะไร ซง่ึ เปน็ ควำม ประสงค์ของกำรประพันธ์เพลงประเภทน้ี ชอ่ื อิมเพรสช่นั นสิ ติค หรือ อิมเพรสช่ันนิซึมน้ัน เปน็ ชื่อยคุ ของ ศลิ ปะกำรวำดภำพท่เี กิดขนึ้ ในฝรัง่ เศส โดยมี Monet,Manet และ Renoir เป็นผู้สรำ้ งสรรค์ขึน้ มำ ซึ่งเป็น ศลิ ปะกำรวำดภำพทปี่ ระกอบดว้ ยกำรแต้มแตง่ สเี ปน็ จดุ ๆ มใิ ช่เป็นกำรระบำยสีทว่ั ๆ ไป แต่ผลทไ่ี ด้กเ็ ป็น รปู ลักษณะของคนหรอื ภำพวิวได้ ทำงดนตรไี ดน้ ำชอ่ื น้ีมำใช้ ผ้ปู ระพนั ธ์เพลงในแนวนนี้ อกไปจำกเดอบสู ซี แลว้ ยังมี รำเวล ดูคำส เดลิอุส สตรำวินสกี และโชนเบริ ์ก (ผลงำนระยะแรก) เป็นต้น นักคตี กวีทีส่ ำคญั โคลด้ -อะชลิ เดอบซู ี (Claude-Achille Debussy) กบั บทเพลง Claude Debussy: Nocturnes - Sirenes โชนเบิรก์ ( Arnold Schoenberg ) กับ บทเพลง Arnold Schoenberg - Suite for Piano Op. 25 - Part II

ศตวรรษที่ 20 (The Twentieth Century) ดนตรสี มยั นเ้ี ริ่มประมำณปี ค.ศ. 1900 – ปจั จุบัน ควำมเจรญิ ในด้ำนต่ำง ๆ กม็ คี วำมสำคญั และมีกำรพฒั นำอยำ่ งตอ่ เน่ืองตลอดมำ ควำมเจริญทำงด้ำนกำรค้ำควำมเจริญทำงดำ้ นเทคโนโลยี ควำมก้ำวหน้ำทำงดำ้ นวทิ ยำศำสตร์ กำรขนส่ง กำรสื่อสำร ดำวเทยี ม หรือ แม้กระท่งั ทำงด้ำนคอมพิวเตอร์ ทำใหแ้ นวควำมคดิ ทัศนคตขิ องมนษุ ย์เรำเปล่ียนแปลงไปและแตกต่ำงจำกแนวคิดของคนในสมัยกอ่ น ๆ จงึ สง่ ผลให้ดนตรีมกี ำรพัฒนำเกดิ ขึ้นหลำยรปู แบบ คีตกวที ง้ั หลำยตำ่ งก็ไดพ้ ยำยำมคิดวิธกี ำรแตง่ เพลง กำร สร้ำงเสยี งใหม่ ๆ รวมถงึ รปู แบบกำรบรรเลงดนตรี เป็นตน้ จำกขำ้ งต้นน้จี งึ สง่ ผลโดยตรงตอ่ กำรพัฒนำ เปลย่ี นแปลงรูปแบบของดนตรใี นสมยั ศตวรรษท่ี 20 ควำมเปลย่ี นแปลงในทำงดนตรขี องคตี กวใี นศตวรรษ น้กี ็คือ คตี กวมี ีควำมคิดทจี่ ะทดลองสง่ิ ใหม่ ๆ แสวงหำทฤษฎใี หม่ ๆ ข้ึนมำเพ่ือรองรับควำมคดิ สรำ้ งสรรค์ กับสงิ่ ใหม่ ๆ ให้กับตวั เอง ดนตรีในศตวรรษท่ี 20 นี้ กล่ำวได้วำ่ เป็นลกั ษณะของดนตรีทมี่ หี ลำยรูปแบบ นอกจำกนยี้ ังมกี ำรใช้บนั ไดเสียงมำกกว่ำ 1 บันไดเสยี งในขณะเดยี วกนั ทเ่ี รยี กว่ำ “โพลโี ทนำลติ ้ี” (Polytonality) ในขณะท่ีกำรใช้บันไดเสยี งแบบ 12 เสียง ท่ีเรยี กว่ำ “อโทนำลติ ้ี” (Atonality) เพลงจำพวก นีย้ ังคงใช้เคร่อื งดนตรีทม่ี ีมำแตเ่ ดิมเป็นหลกั ในกำรบรรเลง

นกั คตี กวีที่สำคญั ในแตล่ ะยคุ คตี กวีในยคุ กลำง (Medieval or Middle Age) 1. เลโอแนง (Léonin, ประมำณค.ศ. 1150-1201) 2. จำคำโป ดำ โบโลนญำ (Jacapo da Bologna fl. 1340 – c. 1386) 3. ฟรำนเชสโก ลำนดินี (Francesco Landini, ประมำณค.ศ. 1325-1397) คีตกวใี นยคุ เรเนสซองสห์ รือยคุ ฟื้นฟูศิลปวิทยำ (The Renaissance Period) 1. คลอดิโอ มอนเทแวรด์ ี (Claudio Monteverdi, 1567-1643) 2. วลิ เลียม เบิรด์ (William Byrd, 1543-1623) 3. ออรล์ ันโด้ ดิ ลสั โซ (Orlando di Lasso, 1532, possibly 1530 – 14 June 1594) คีตกวีในยคุ บำโรก (The Baroque Period) 1. ววิ ำลดี (Antonio Vivaldi ค.ศ. 1678 - 1741) 2. บำค (Johann Sebastian Bach 1685-1750) 3. ฮนั เดล (George Frideric Handel,1685-1759) คตี กวีในยคุ คลำสสกิ (The Classical Period) 1. ครสิ โตฟ วลิ ลบิ ำลด์ กลดุ (Christoph Willibald Gluck 1714-1798) 2. โจเซฟ ไฮเดนิ (Franz Joseph Haydn ค.ศ. 1732 - 1828) 3. โมสำรท์ (Wolfgang Amadeus Mozart ค.ศ. 1756 - 1791) 4. เบโธเฟน (Ludwig Van Beethoven ค.ศ. 1770 - 1827)

คีตกวีในโรแมนติก (The Romantic Period) 1. ซีเบลิอุส (Jean Sibelius ค.ศ. 1865 - 1957) 2. ลสิ ซต์ (Franz Liszt ค.ศ. 1811 - 1886) 3. โชแปง (Frederic Chopin ค.ศ. 1810 - 1849) คีตกวใี นยุคอิมเพรสชั่นนิสตคิ (The Impressionistic) 1. โคลด้ -อะชลิ เดอบซู ี (Claude-Achille Debussy) 2. โชนเบิรก์ (Arnold Schoenberg ค.ศ. 1874 - 1951) คีตกวีในยุคศตวรรษท่ี 20 (The Twentieth Century ค.ศ. 1900-ปัจจบุ ัน) 1. อิกอร์ สตรำวินสกี (Igor Stravinsky ค.ศ. 1882 - 1971) 2. บำรต์ อค (Bela Bartok ค.ศ. 1881 - 1945) 3. เกิรช์ วนิ (George Gershwin ค.ศ. 1898 - 1937)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook