Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนภูมิปัญญา ok pdf

แผนภูมิปัญญา ok pdf

Published by Wannarat Watbunleang, 2019-09-01 13:11:24

Description: แผนภูมิปัญญา ok pdf

Search

Read the Text Version

ศิลปะท้องถ่ินกบั ความเป็นมา ศิลปะท้องถิ่นในภมู ิภาคต่าง ๆ มกั มลี กั ษณะท่ีแตกต่างกนั ไปตามภมู ิประเทศ วิถชี ีวิต ประเพณีและวฒั นธรรมของผคู้ นในท้องถิ่น และมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั เพราะถกู สรา้ งสรรคโ์ ดย ศิลปิ นหรอื ผคู้ นในท้องถิ่นเอง และมลี กั ษณะไมเ่ หมอื นกบั ผลงานศิลปะท้องถ่ินอ่ืน ๆ ศิลปะในท้องถิ่นเป็นสิ่งท่ีนักเรยี นควรเรียนร้แู ละเหน็ คณุ ค่า โดยเฉพาะผลงานศิลปะในท้องถิ่น ของตนเอง ดงั นัน้ นักเรียนควรศึกษาถงึ ความเป็นมาของผลงานศิลปะเหล่านัน้ เพอ่ื สามารถ แนะนาผอู้ ื่นได้ โดยอาจใช้วิธีการ ดงั นี้ 1. สมั ภาษณ์โดยตรงกบั ศิลปิ นท่ีสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะชิ้นนัน้ 2. จดบนั ทึกจากแผน่ ป้ายนิ เทศ 3. ศึกษาจากหอสมุดหม่บู ้านหรอื วดั 4. ชมพิพิธภณั ฑแ์ สดงผลงานศิลปะในท้องถ่ิน นอกจากนี้ ยงั มวี ิธีค้นหาประวตั ิความเป็นมาของผลงานศิลปะวิธีอื่น ๆ อีกมากมาย ซึ่งนักเรียน ควรเลือกใช้วิธีที่เหมาะสมต่อไป งานทศั นศิลป์ ในวฒั นธรรมต่างๆ ศิลปะในท้องถิ่นเป็นผลงานศิลปะที่เกิดขนึ้ จากการสร้างสรรคข์ องคนในท้องถ่ินนัน้ ๆโดยอาศยั ความรคู้ วามสามารถท่ีมีอยู่ โดยนาเอาวสั ดทุ ้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์กบั สภาพแวดล้อม ประเพณี วฒั นธรรม การดาเนินชีวิต ซึ่งงานศิลปะในแต่ละท้องถิ่นจะมลี กั ษณะแตกต่างกนั ไป ผลงานศิลปะในท้องถ่ินมหี ลายรปู แบบ เช่น เครอ่ื งจกั รสาน ภาพเขียน (จิตรกรรม) เคร่ืองประดบั เคร่อื งใช้สอยในครวั เรือน ของใช่ส่วนตวั ของเล่น เป็นต้น งานศิลปะท้องถิ่นมี ลกั ษณะแตกต่างกนั ดงั นี้

1. ภาคเหนือ เป็นท้องถ่ินท่ีมปี ระวตั ิความเป็นมายาวนาน และมปี ระเพณีวฒั นธรรม หลากหลาย ดงั้ นี้มแี หล่งกาเนิดงานศิลปะอยมู่ ากมาย เช่น แหล่งทาร่มบ่อสรา้ ง และแหล่ง ผลิตภณั ฑจ์ ากกระดาษสา อ.สนั กาแพง จ.เชียงใหม่ แหล่งทาถว้ ยชามตราไก่ อ.เกาะคา จ.ลาปาง เป็ นต้น วดิ โี อ YouTube https://www.youtube.com/watch?v=_llORYeNp4Y#action=share

2.ภาคอีสาน ในท้องถ่ินนี้ มีผลงานศิลปะอย่หู ลายแห่งด้วยกนั บางแห่งกม็ ีชื่อสียงเป็นท่ี รจู้ กั กนั ทวั่ ไป เช่นแหล่งทาเครื่องปัน้ ดินเผา จ.ยโสธร เป็นต้น วิดีโอ YouTubehttps://www.youtube.com/watch?v=-9uy-ao28H8 วิดีโอ YouTubehttps://www.youtube.com/watch?v=-9uy-ao28H8 3.ภาคใต้ ผลงานศิลปะของท้องถิ่นภาคใต้ มีชื่อเสียงเป็นที่ร้จู กั อยหู่ ลายอยา่ ง เช่น การทาเรอื กอและ จ.นราธิวาส เป็นต้น

วดิ โี อ YouTube https://www.youtube.com/watch?v=1liNTfG_QJw วดิ โี อ YouTube https://www.youtube.com/watch?v=4h4_wV2vuQ4 4. ภาคกลาง แหล่งผลิตงานศิลปะทางภาคกลางสวนมากจะอย่ใู นจงั หวดั รอบๆ กรงุ เทพมหานคร แหล่งผลิตผลงานศิลปะท่ีมีช่ือเสียงและเป็นที่ร้จู กั กนั ทวั่ ไป เช่น ตกุ๊ ตาดินเผา อ.บางเสดจ็ จ.พระนครศรีอยธุ ยา เป็นต้น

วดิ โี อ YouTube https://www.youtube.com/watch?v=UHDMXzUE1zA การอนุรกั ษศ์ ิลปะท้องถ่ิน ผลงานศิลปะต่าง ๆ ในท้องถิ่นของไทย ถือเป็นของที่มคี ณุ ค่า และเป็นมรดกทางวฒั นธรรมที่ ควร หวงแหนและรกั ษาไว้ นักเรียนสามารถช่วยอนุรกั ษศ์ ิลปะท้องถ่ินได้ โดยอาจใช้วิธีต่าง ๆ ดงั นี้ 1. ถา้ มีโอกาสที่จะเรียนรกู้ ารทาผลงานศิลปะในท้องถิ่น ควรศึกษาและเรยี นร้จู น สามารถสรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะได้ เพ่อื จะได้สืบสานผลงานศิลปะของท้องถิ่นต่อไป 2. บนั ทึกเกยี่ วกบั ผลงานศิลปะชิ้นต่าง ๆ ในท้องถ่ิน เพอ่ื ไว้เป็นข้อมลู ในการศึกษา ค้นคว้าต่อไป 3. ไมท่ าลายผลงานศิลปะต่าง ๆ ในท้องถ่ิน 4. เข้าร่วมกิจกรรมแสดงผลงานศิลปะหรอื กิจกรรมอนุรกั ษผ์ ลงานศิลปะ 5. หากพบรอยชารดุ ของผลงานศิลปะให้แจง้ หน่วยงานหรือบคุ คลที่เกี่ยวขอ้ งรบั ทราบ เพื่อดาเนิ นการแกไ้ ขต่อไป

การอนุรกั ษง์ านศิลปะในท้องถิ่น โครงการพฒั นาเดก็ และเยาวชนในถน่ิ ทรุ กนั ดารกเ็ พ่อื ใหเ้ ดก็ และเยาวชน มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ เหน็ คณุ คา่ ไมล่ ะเลยหลงลมื วฒั นธรรมท่ดี งี ามและความเป็นไทย เกดิ ความภาคภมู ใิ จและรกั ทอ้ งถน่ิ ของตน การอนุรกั ษ์วฒั นธรรมไทย การอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมไทยนัน้ ต้องอาศยั ความรว่ มมอื กนั ของคนไทยทุกคนมวี ิธีการ ดงั นี้ 1. ศึกษา ค้นคว้า และการวิจยั วฒั นธรรมไทยและวฒั นธรรมท้องถิ่น ทงั้ ที่มีการ รวบรวมไวแ้ ล้วและยงั ไมไ่ ด้ศึกษา เพ่ือทราบความหมาย และความสาคญั ของวฒั นธรรมใน ฐานะท่ีเป็นมรดกของไทยอยา่ งถอ่ งแท้ ซึ่งความร้ดู งั กล่าวถอื เป็นรากฐานของการดาเนิน ชีวิต เพื่อให้เหน็ คณุ ค่า ทาให้เกิดการยอมรบั และนาไปใช้ประโยชน์อยา่ งเหมาะสม ต่อไป 2. ส่งเสริมให้ทุกคนเหน็ คณุ ค่า รว่ มกนั รกั ษาเอกลกั ษณ์ทางวฒั นธรรมของชาติและของ ท้องถิ่น เพ่อื สร้างความเข้าใจและมนั ่ ใจแกป่ ระชาชนในการปรบั เปล่ียนและตอบสนองกระแส วฒั นธรรมอื่นๆ อยา่ งเหมาะสม 3. รณรงคใ์ ห้ประชาชนและภาคเอกชน ตระหนักในความสาคญั ของวฒั นธรรม วา่ เป็น เร่ืองที่ทุกคนต้องให้การรบั ผิดชอบร่วมกนั ในการส่งเสริมสนับสนุน ประสานงานการบริการ ความรู้ วิชาการ และทนุ ทรพั ยส์ าหรบั จดั กิจกรรมทางวฒั นธรรม 4. ส่งเสริมและแลกเปลี่ยนวฒั นธรรม ภายในประเทศและระหวา่ งประเทศ โดยการใช้ ศิลปะวฒั นธรรมที่เป็นสื่อสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งกนั 5. สร้างทศั นคติ ความรู้ และความเขา้ ใจ ว่าทกุ คนมหี น้าท่ีเสริมสร้าง ฟื้ นฟู และการ ดแู ลรกั ษา สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและทางวฒั นธรรมท่ีเป็นสมบตั ิของชาติ และมีผล

โดยตรงของความเป็นอย่ขู องทกุ คน 6.จดั ทาระบบเครือขา่ ยสารสนเทศ ทางด้านวฒั นธรรมเพ่ือเป็นศนู ยก์ ลางเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธผ์ ลงาน เพอ่ื ให้ประชาชนเข้าใจ สามารถเลือกสรร ตดั สินใจ และปรบั เปล่ียนให้ เหมาะสมกบั การดาเนิ นชีวิตทงั้ นี้ส่ือมวลชนควรมบี ทบาทในการส่งเสริม และสนับสนุนงานด้าน วฒั นธรรมมากย่ิงขึน้ ด้วย การอนุรกั ษ์ภมู ิปัญญาไทย 1. การค้นควา้ วิจยั ควรศึกษาและเกบ็ รวบรวมข้อมลู ภมู ิปัญญาของไทยในด้านต่างๆ ของท้องถ่ิน จงั หวดั ภมู ิภาค และประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงภมู ิปัญญาที่เป็นภมู ิปัญญาของ ท้องถิ่น มุง่ ศึกษาให้รคู้ วามเป็นมาในอดีต และสภาพการณ์ในปัจจบุ นั การฝึกอบรม “การอนุรกั ษ์สงิ่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ ” 2. การอนุรกั ษ์ โดยการปลูกจิตสานึกให้คนในท้องถ่ินตระหนักถงึ คณุ ค่าแก่นสาระและ ความสาคญั ของภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ส่งเสริมสนับสนุนการจดั กิจกรรมตามประเพณีและ วฒั นธรรมต่างๆ สร้างจิตสานึกของความเป็นคนท้องถิ่นนัน้ ๆ ท่ีจะต้องร่วมกนั อนุรกั ษ์ภมู ิ ปัญญาที่เป็นเอกลกั ษณ์ของท้องถิ่น รวมทงั้ สนับสนุนให้มีพิพิธภณั ฑท์ ้องถ่ินหรอื พิพิธภณั ฑ์ ชมุ ชนขนึ้ เพ่ือแสดงสภาพชีวิตและความเป็นมาของชมุ ชน อนั จะสร้างความรแู้ ละความภมู ิใจใน ชมุ ชนท้องถิ่นด้วย ย

3. การฟื้ นฟู โดยการเลือกสรรคภ์ มู ิปัญญาที่กาลงั สญู หาย หรือที่สญู หายไปแล้วมาทาให้มี คณุ ค่าและมีความสาคญั ต่อการดาเนินชีวิตในท้องถ่ิน โดยเฉพาะพนื้ ฐานทางจริยธรรม คณุ ธรรม และค่านิยม 4. การพฒั นา ควรริเร่ิมสร้างสรรคแ์ ละปรบั ปรงุ ภมู ิปัญญาให้เหมาะสมกบั ยคุ สมยั และเกิด ประโยชน์ในการดาเนิ นชีวิตประจาวนั โดยใช้ภมู ิปัญญาเป็นพืน้ ฐานในการรวมกลุ่มการพฒั นา อาชีพควรนาความร้ดู ้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยมี าช่วยเพอ่ื ต่อยอดใช้ในการผลิต การตลาด และการบริหาร ตลอดจนการป้องกนั และอนุรกั ษ์ส่ิงแวดล้อม

5. การถ่ายทอด โดยการนาภมู ิปัญญาที่ผา่ นมาเลือกสรรกลนั่ กรองด้วยเหตแุ ละผลอย่าง รอบคอบและรอบด้าน แล้วไปถา่ ยทอดให้คนในสงั คมได้รบั รู้ เกิดความเขา้ ใจ ตระหนักใน คณุ ค่า คณุ ประโยชน์และปฏิบตั ิได้อยา่ งเหมาะสม โดยผา่ นสถาบนั ครอบครวั สถาบนั การศึกษา และการจดั กิจกรรมทางวฒั นธรรมต่างๆ 6. ส่งเสริมกิจกรรม โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือขา่ ยการสืบสานและพฒั นาภมู ิ ปัญญาของชมุ ชนต่างๆ เพอ่ื จดั กิจกรรมทางวฒั นธรรมและภมู ิปัญญาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง 7. การเผยแพร่แลกเปล่ียน โดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเผยแพรแ่ ละ แลกเปล่ียนภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมอย่างกว้างขวาง โดยให้มีการเผยแพรภ่ มู ิปัญญาท้องถิ่น ต่างๆ ด้วยส่ือและวิธีการต่างๆ อย่างกว้างขวาง รวมทงั้ กบั ประเทศอ่ืนๆ ทวั ่ โลก

8. การเสริมสรา้ งปราชญท์ ้องถ่ิน โดยการส่งเสริมและสนับสนุนการพฒั นาศกั ยภาพของ ชาวบา้ น ผดู้ าเนิ นงานให้มโี อกาสแสดงศกั ยภาพด้านภมู ิปัญญา ความรคู้ วามสามารถอย่างเตม็ ที่ มกี ารยกย่องประกาศเกียรติคณุ ในลกั ษณะต่างๆ ปราชญช์ าวบ้านถ่ายทอดภมู ปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ เสรมิ ทกั ษะชวี ติ นกั เรยี น ร.ร.อนุบาลตะโหมด วดิ โี อ YouTube https://www.youtube.com/watch?v=T_wZG9Pr60s

https://www.youtube.com/watch?v=uOMgVeYXC_w วยั รนุ่ ไทยกบั วฒั นธรรม (วิจิตรา เชิงจอหอ เรียบเรียง) วฒั นธรรมของไทยส่วนใหญ่เป็นวฒั นธรรมท่ีดีงาม ได้มีการสืบทอดวฒั นธรรมมากนั ตงั้ แต่สมยั โบราณจนถึงปัจจบุ นั ซ่ึงในปัจจบุ นั วฒั นธรรมไทยไดม้ ีการเปลี่ยนแปลงไป ตามกาลเวลาเนื่องจากวฒั นธรรมไทยได้รบั เอาอิทธิพลจากชาวต่างชาติเขา้ มาทาให้ วยั รนุ่ ไทยในปัจจบุ นั ได้จดจาวฒั นธรรมไทยที่เปลี่ยนแปลงไปซ่ึงทางกระทรวงวฒั นธรรม ได้มีการจดั โครงการต่างๆเพื่อฟื้ นฟวู ฒั นธรรมไทยให้ดีขนึ้ โดยเน้นในเรือ่ งการอนุรกั ษ์ วฒั นธรรมไทยให้วยั ร่นุ ไทยมสี ่วนร่วมและปลูกฝังวฒั นธรรมที่ดีงามให้แก่วยั รนุ่ ไทยใน ปัจจบุ นั ได้ปฏิบตั ิตามเพ่อื เป็นที่เชิดหน้าชตู าให้แกป่ ระเทศไทย ให้ชาวต่างชาติที่มา ท่องเที่ยวเหน็ ถงึ วฒั นธรรมที่ดีงามของประเทศไทยและประทบั ใจในวฒั นธรรมของไทย

ในปัจจบุ นั วยั ร่นุ ไทยส่วนใหญ่ได้รบั อิทธิพลมาจากชาวต่างชาติ เช่น วฒั นธรรมของ ชาวองั กฤษซึ่งจะเหน็ ได้ชดั จาการแต่งกาย ภาษาท่ีใช้ในการพดู การเจาะตามรา่ งกาย ต่างๆและการมีเพศสมั พนั ธก์ อ่ นวยั อนั ควร ซึ่งในสมยั ก่อนพอ่ แมจ่ ะสอนให้ผหู้ ญิงเป็น แม่บ้านแม่เรือนรกั นวลสงวนตวั แต่งตวั เรยี บรอ้ ยรดั กมุ มิดชิด ไมเ่ ป็นท่ีล่อตาล่อใจ จากเพศตรงข้ามโดยไม่มเี พศสมั พนั ธก์ อ่ นวยั อนั ควรจะมกี ารแต่งงานที่ถกู ต้องตาม ประเพณีและรกั เดียวใจเดียวและภาษาในการพดู จะพดู ชดั เจนถกู หลกั ภาษาไทยอกั ขระ ถกู ต้องและไมม่ ีการเจาะส่ิงต่างๆตามรา่ งกาย วฒั นธรรมไทยในปัจจบุ นั ได้เปล่ยี นแปลงไป จากท่ีผหู้ ญิงเคยแต่งตวั รดั กมุ มิดชิดเป็น กลุ สตรไี ทยกไ็ ด้แต่งตวั กนั แบบนุ่งน้อยห่มน้อยซ่ึงถือเป็นเรือ่ งปกติในปัจจบุ นั การใช้ ภาษาพดู ในปัจจบุ นั จะใช้คาวิบตั ิพดู กนั ในหมู่วยั รนุ่ ซึ่งทาให้ภาษาไทยเส่ือมเสียได้ มกี าร เจาะส่ิงต่างๆตามรา่ งกายซ่ึงถอื เป็นการทรมานตนเอง และที่เป็นปัญหาใหญ่ในปัจจบุ นั คือการมเี พศสมั พนั ธก์ ่อนวยั อนั ควรซ่ึงถือเป็นเร่อื งไมส่ าคญั เป็นเรือ่ งเลก็ น้อย เป็นการ นาเอาวฒั นธรรมของชาวต่างชาติมาใช้ในทางท่ีผิด ซ่ึงเป็นปัญหาอย่างมากดงั นัน้ ทุกๆ ภาคส่วนของประเทศไทยจึงช่วยกนั รณรงคใ์ ห้วยั ร่นุ ไทยในปัจจบุ นั ปฏิบตั ิตามและสืบ ทอดวฒั นธรรมอนั ดีงามของไทยโดยการปลกู ฝังจิตสานึกของวยั ร่นุ แต่ละคนโดยการจดั กิจกรรมต่างๆที่เกี่ยวกบั การอนุรกั ษ์วฒั นธรรมไทยในโรงเรยี นซ่ึงเป็นสถานท่ีท่ีมีวยั ร่นุ และเยาวชนอย่จู านวนมาก

ในเม่ือวฒั นธรรมไทยไดม้ กี ารสืบทอดมาจนถึงปัจจบุ นั ดงั นัน้ เราควรท่ีจะอนุรกั ษ์ วฒั นธรรมของเราไวว้ ฒั นธรรมทกุ สิ่งทุกอย่างที่เป็นของไทยกค็ ือเอกลกั ษณ์ของชาติ ไทยและที่คนไทยเรามคี วามมนั ่ คงอยไู่ ด้ทุกวนั นี้กเ็ พราะเรามเี อกลกั ษณ์ มวี ฒั นธรรม ไทยที่เป็นวิถชี ีวิตของเรา แต่เวลานี้วยั รนุ่ ไทยไมส่ นใจ ซึ่งถ้ายงั เป็นอย่างนี้ต่อไป วฒั นธรรมอาจจะหายไปได้ เพราะวฒั นธรรมจะต้องมีการสืบทอด ซ่ึงผทู้ ่ีจะสืบทอด วฒั นธรรมไทยได้ดีกค็ ือวยั ร่นุ ไทย แต่ถา้ เยาวชนหรือนักเรียนไมย่ อมรบั และไม่ยอมสืบ สานวฒั นธรรมเรากจ็ ะค่อยๆสญู ไปและวฒั นธรรมของไทยสญู ไป เรากจ็ ะสญู ชาติเมอ่ื นัน้ เหมอื นกบั ท่ีผนู้ าของบางประเทศกล้าออกมาประกาศว่า ประเทศของเขาล่มสลาย แล้วเพราะไมม่ เี อกลกั ษณ์ของตวั เอง ขอบคณุ ที่มาจาก http://www.learners.in.th/blogs/posts/287044


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook