Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รวมเล่มวัสดุเหลือใช้จากรีไซเคิล

รวมเล่มวัสดุเหลือใช้จากรีไซเคิล

Published by กศน. ตำบลสาลี, 2022-06-27 14:23:13

Description: รวมเล่มวัสดุเหลือใช้จากรีไซเคิล

Search

Read the Text Version

ฐานการเรียนรู้ ส่ิงประดษิ ฐ์จากวัสดเุ หลือใช้ 1. ชอื่ วชิ า : รายวิชาวสั ดศุ าสตร์ พว32024 เร่ืองสิ่งประดิษฐจ์ ากวัสดุตามหลกั สะเต็มศึกษา เทคโนโลยีการกำจดั วัสดุ 2. สาระการเรียนรู้ : ความรู้พน้ื ฐาน ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย 3. มาตรฐานการเรียนรู้ สาระความรู้พื้นฐานเป็นสาระเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนในด้านการเรียนรู้ ด้วย ตนเองการใช้แหลง่ เรยี นรู้ การจดั การความรู้ การคดิ เป็น และการวจิ ัยอย่างง่าย โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่อื ให้ผู้เรียน สามารถกำหนดเป้าหมาย วางแผนการเรียนรู้ด้วยตนเองเข้าถึงและเลือกใช้แหล่งเรียนรู้ จัดการความรู้ กระบวนการแกป้ ญั หาและตัดสินใจอยา่ งมีเหตผุ ล ที่สามารถใช้เป็นเครื่องมือในการช้ีนำตนเองในการเรียนรูแ้ ละ การประกอบอาชีพให้สอดคล้องกับหลักการพื้นฐาน และการพัฒนา 5 ศักยภาพของพื้นที่ใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ คือ เกษตรกรรม อุตสาหกรรมพาณิชยกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การบริหารจัดการและการบริการ ตามยุทธศาสตร์ 2555 กระทรวงศึกษาธิการ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตดังนั้น สาระความรู้พื้นฐาน ระดับมธั ยมศึกษาตอนตปลาย มมี าตรฐานการเรยี นรู้ระดบั ดงั น้ี 1. สามารถวิเคราะห์ เห็นความสำคัญ และปฏบิ ตั ิการแสวงหาความรู้จากการอ่าน ฟัง และสรปุ ไดถ้ กู ต้องตามหลกั วชิ าการ 2. สามารถจำแนก จดั ลำดบั ความสำคัญ และเลือกใช้แหลง่ เรียนรไู้ ดอ้ ย่างเหมาะสม 3. สามารถจำแนกผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากขอบเขตความรู้ ตดั สินคุณค่า กำหนดแนวทางพฒั นา 4. ความสามารถในการศึกษา เลือกสรร จัดเกบ็ และการวเิ คราะห์ สงั เคราะหข์ อ้ มลู ทัง้ สามประการและ การใช้เทคนคิ ในการฝกึ ทกั ษะ การคดิ เปน็ เพ่อื ใชป้ ระกอบการตดั สินใจแก้ปญั หา 5. สามารถวิเคราะหป์ ญั หา ความจำเป็น เหน็ ความสมั พนั ธข์ องกระบวนการวิจยั กับการนำไปใช้ในชวี ติ และดำเนินการวิจัยทดลองตามขนั้ ตอน 6. สามารถจำแนก และวเิ คราะห์ ทักษะการเรยี นรู้ และศกั ยภาพหลกั ของพน้ื ทีใ่ นการเพิม่ ขีด ความสามารถของการประกอบอาชีพใน 5 กลุ่มอาชีพใหม่ 4. ตวั ช้ีวัด : เรอ่ื งส่ิงประดิษฐจ์ ากวัสดตุ ามหลกั สะเตม็ ศึกษา เทคโนโลยกี ารกำจดั วัสดุ 1. อธบิ ายหลักสะเตม็ ศึกษาประโยชนข์ องสะเต็มศึกษา หลักสะเต็มศึกษาสำหรบั การประดษิ ฐว์ สั ดใุ ช้ แล้วได้นำความรเู้ ร่ืองหลักสะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์วัสดใุ ชแ้ ลว้ ไปใช้ได้ 2. อธบิ ายเทคโนโลยีการกำจัดเศษวัสดุเหลอื ท้ิงด้วยการเผาไปใช้ได้ การผลติ พลงั งานจากเศษวสั ดเุ หลือ ทง้ิ ได้นำความร้เู ร่อื งการผลิตพลังงานจากเศษวัสดุเหลอื ทงิ้ ไปใช้ได้

แผนการจัดการเรียนรู้ รายวชิ าวัสดศุ าสตร์ พว32024 จำนวน 3 หนว่ ยกติ สาระการเรยี นรู้ ความรู้พ้ืนฐาน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย แบบ พบกลมุ่ จำนวน 6 ชว่ั โมง ครงั้ ท่ี 12 ชือ่ เรอ่ื ง สิ่งประดิษฐจ์ ากวสั ดุตามหลักสะเต็มศึกษา เทคโนโลยกี ารกำจดั วัสดุ เน้อื หา 1. หลกั สะเต็มศึกษา 2. หลักสะเต็มศึกษาสำหรบั การประดิษฐ์จากวัสดใุ ช้แลว้ 3. การประดษิ ฐ์วสั ดุใช้แล้ว 4. เทคโนโลยีการกำจดั เศษวัสดุเหลอื ทิ้งดว้ ยการเผา 5. การผลติ พลังงานจากเศษวัสดเุ หลอื ท้ิง การบรู ณาการกับปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 1. ความพอเพียง 1.1 ความพอประมาณ ครูมีการวิเคราะห์เนื้อหาของแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบสื่อ กิจกรรมการเรียน การสอนท่ีตรงกับตวั ช้ีวัดและเนอื้ หาทก่ี ำหนด 1.2. ความมีเหตผุ ล - ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดและเนื้อหาของ แผนการจดั การเรยี นรู้ - ครูมอบหมายงานใหเ้ หมาะสมกบั ความสามารถของผู้เรยี นแต่ละคน 1.3 การมภี ูมิค้มุ กนั ในตัวทีด่ ี - มีการวางแผน ออกแบบกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้ตรงกับแผนการจดั การเรยี นรู้ - เรยี งลำดบั เนอื้ หาจากง่ายไปหายาก 2. คณุ ธรรมกำกบั ความรู้ 2.1 เงื่อนไขความรู้ - ครูเตรียมการสอนและกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับตัวชี้วัด เน้ือหา - ครมู วี เิ คราะหศ์ ักยภาพของผู้เรยี นรายบุคคล - ครูมีการใช้สื่อ-อุปกรณ์ เทคโนโลยีที่ทันสมัยช่วยในการจัดการเรียนการสอนใน รปู แบบตา่ งๆ 2.2 เง่ือนไงคุณธรรม - มคี วามรบั ผดิ ชอบ - ตรงต่อเวลา - มคี วามขยันหมัน่ เพยี ร/หาความรู้อยูเ่ สมอ - มคี วาม เมตตา กรุณาต่อลกู ศษิ ย์ - มีความซอื่ สัตย์/ยุติธรรม

ขัน้ ตอนการจดั กระบวนการเรยี นรู้ ขน้ั ที่ 1 การกำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการในการเรยี นรู้ ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยให้ผู้เรียนช่วยกันบอกสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดจากการนำวัสดุเหลือทิ้ง หรือ การนำส่งิ ของท่ีไม่ไดใ้ ชแ้ ล้วกลบั มาทำใหม่โดยใช้การรีไซเคลิ โดยใหผ้ เู้ รยี น ยกตวั อย่างส่ิงประดิษฐ์ในบ้านตนเอง หรอื ในชุมชนท่อี าศยั อยู่ ขน้ั ท่ี 2 การแสวงหาข้อมูลและจดั การเรยี นรู้ 1. ครูอธบิ ายเร่อื ง ส่ิงประดษิ ฐ์จากวสั ดตุ ามหลักสะเต็มศึกษา เทคโนโลยกี ารกำจัดวัสดุ 2. ครใู ห้ผ้เู รยี นศึกษาเพ่มิ เตมิ จาก QR Code เร่ือง สง่ิ ประดษิ ฐ์จากวัสดตุ ามหลักสะเต็มศึกษา เทคโนโลยี การกำจัดวัสดุ 3. ครูใหผ้ เู้ รียนประดิษฐ์ดอกไม้จากถุงน้ำยาปรบั ผ้านมุ่ ข้ันที่ 3 การปฏิบตั ิและนำไปประยกุ ต์ใช้ 1. ผเู้ รียนนำเสนอแผนผงั ความคิด (Mind Mapping) 2. ครใู หผ้ เู้ รียนประดิษฐ์ดอกไม้จากถงุ น้ำยาปรับผ้านมุ่ ข้นั ที่ 4 การประเมินผล 1. ใบงาน 2. ดอกไม้จากถงุ นำ้ ยาปรับผ้านุ่ม สอ่ื 1. หนงั สอื เรยี น 2. อินเตอร์เน็ต เชน่ Youtube , QR Code เป็นตน้ 3. ใบความรู้ การวดั ผลประเมนิ ผล การทดสอบ การตรวจผลงานจากใบงาน แผนผงั ความคดิ (Mind Mapping) และดอกไม้จากถงุ นำ้ ยา ปรบั ผา้ นมุ่

ใบความรู้ ครงั้ ที่ 12 รายวชิ าวัสดศุ าสตร์ พว32024 จำนวน 3 หน่วยกติ ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เรือ่ งที่ 1 หลักสะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์จากวัสดุใชแ้ ล้ว ทุกวันนี้ปัญหาเรื่องการจัดการขยะนับเป็นปัญหาระดับชาติ การจัดการเรียนการสอนตามแนวทางของ สะเตม็ ศึกษา (STEM Education) ทไี่ ดย้ ินกนั อยา่ งแพร่หลายมากขึ้นเร่ือย ๆ หลายท่านคงกำลังคร่นุ คิดว่า จะทำ ให้อย่างให้การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ เชื่อมโยงสนับสนุนซึ่งกันและ กัน และเชื่อมโยงการเรียนรู้ สู่การแก้ปัญหาจริงเรื่องขยะได้ การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาสำหรับ การจัดการกับวัสดุใช้แล้ว ทำได้หลากหลายแนวทาง บางอย่างเป็นการเปลี่ยนแปลงง่าย ๆ ทุกคนสามารถทำได้ ด้วยตัวเอง ส่วนบางแนวทางต้องการ “แนวร่วม” สนับสนุนที่กว้างขวางขึ้น เช่น การทำงานร่วมกันระหว่าง ผู้สอนกับนักเรียน การทำงานร่วมกันทั้งโรงเรียน หรือแม้กระทั่งการดำเนินการร่วมกันกับชุมชน หรือ สถาบันการศึกษาท้องถิ่น แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์วัสดุใช้แล้ว เ ป็น สว่ นหนง่ึ ของวธิ ีการหลากหลายทีจ่ ะจัดการกับวสั ดุใช้แลว้ ซึง่ มีแนวทางดังน้ี 1. เชื่อมโยงเนอ้ื หาวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี สูโ่ ลกจริง หลายท่านนา่ จะทำอยู่แล้วอย่างสม่ำเสมอ เพราะในชวี ติ ประจำวันเรามีการใชว้ ัสดุต่างอยู่เสมอตลอดจน มีการบริหารจัดการวัสดุนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงมองเห็นว่าแนวคิดหลัก หรือกระบวนการที่เรียนรู้นั้น สามารถเกดิ ขึ้นไดใ้ นธรรมชาติ ใช้ประโยชนไ์ ด้ในชวี ิตจริง ก็เปน็ ก้าวแรกสู่การบูรณาการความรสู้ ู่การเรียนอย่างมี ความหมาย เพราะปรากฏการณ์หรือประดิษฐ์กรรมใดๆ รอบตัวเรา ไม่ได้เป็นผลของความรู้จากศาสตร์หนึ่ง ศาสตร์ใดเพียงศาสตร์เดียว การประยุกต์ความรู้ง่าย ๆ เช่น การคำนวณพื้นที่ของแกนม้วนกระดาษชำระ เช่อื มโยงสู่ความรูค้ วามสงสยั ดา้ นวสั ดุศาสตร์ เทคโนโลยีการผลติ และการใชก้ ระบวนการทางวิศวกรรมวิเคราะห์ ปญั หาและสร้างสรรคว์ ิธีแก้ไขได้อย่างหลากหลายจนน่าแปลกใจ 2. การสบื เสาะหาความรู้ การเรียนรู้สะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์วัสดุใช้แล้ว โดยให้ผู้เรียนได้ศึกษาประเด็นปัญหา หรือต้ัง คำถามซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือชุมชน เช่น ในชุมชนมีการใช้ขวดน้ำพลาสติกจำนวนมากจนเกิด ปัญหาขยะ ผู้เรียนนำประเด็นปัญหา ไปสร้างคำอธิบายด้วยตนเอง โดยการรวบรวมประจักษ์พยานหลักฐานที่ เกี่ยวข้อง สื่อสารแนวคิดและเหตผุ ล เปรียบเทียบแนวคิดต่าง ๆ โดยพิจารณาความหนักแน่นของหลักฐาน ก่อน การตัดสินใจไปในทางใดทางหนึ่งนับเปน็ กระบวนการเรียนรูส้ ำคัญที่ไม่เพียงแต่สนบั สนนุ การเรยี นรูใ้ นประเด็นที่ ศกึ ษาเทา่ นั้น แตย่ งั เป็นช่องทางให้มีการบูรณาการความรใู้ นศาสตร์อื่น ๆ ทเ่ี กีย่ วข้องกับคำถาม นับเป็นแนวทาง การจดั การเรยี นรทู้ ่สี นับสนุนจดุ เน้นของสะเต็มศึกษาสำหรับการประดษิ ฐ์จากวัสดใุ ชแ้ ล้วได้เป็นอยา่ งดี 87 3. การเรยี นรโู้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน การทำโครงงานเป็นการสืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบหนึ่ง แต่ผู้เขียนได้แยกโครงงานออกมาเป็นหัวข้อ เฉพาะ เนื่องจากเป็นแนวทางที่สามารถส่งเสริมการบูรณาการความรู้สู่การแก้ปัญหาได้ชัดเจน การสืบเสาะหา ความรู้บางครั้งผสู้ อนเป็นผู้กำหนดประเด็นปญั หา หรอื ใหข้ ้อมลู สำหรบั ศึกษาวิเคราะห์ หรอื กำหนดวิธีการในการ สำรวจตรวจสอบ ตามข้อจำกัดของเวลาเรียน วัสดอุ ุปกรณ์ หรือปจั จัยแวดล้อมตา่ ง ๆ แต่การทำโครงงานน้ันเป็น การเปิดโอกาสให้นักเรียนเกิดประสบการณ์การเรียนรู้สำคัญในทุกขั้นตอนด้วยตนเอง ตั้งแต่การกำหนดปัญหา ศึกษาความรู้ที่เกี่ยวขอ้ ง ออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูล ดำเนินการ ลงข้อสรุป และสื่อสารสิ่งที่ค้นพบ (บางคร้ัง ผู้สอนอาจกำหนดกรอบกว้าง ๆ เช่น ใหท้ ำโครงงานเก่ียวกับส่ิงประดษิ ฐ์จากวัสดุใช้แลว้ โครงงานเกี่ยวกับการใช้ คณิตศาสตรใ์ นวสั ดุใชแ้ ลว้ ของชุมชน เปน็ ต้น) โครงงานในรปู แบบสิง่ ประดิษฐ์จะมกี ารบูรณาการกระบวนการทาง วศิ วกรรมได้อย่างโดดเดน่

4. การสร้างสรรคช์ น้ิ งาน ประสบการณ์การทำชิ้นงาน สร้างทักษะการคิด การออกแบบ การตัดสินใจ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยเฉพาะอย่างยิ่งชนิ้ งานทผ่ี ้สู อนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเลือกวัสดุใชแ้ ลว้ เองและคิดอย่างอสิ ระและสร้างสรรค์ การ ประดิษฐ์ชนิ้ งานเหล่านีจ้ ากเศษวสั ดใุ ชแ้ ลว้ ประยกุ ต์ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ อยา่ งไม่รูต้ ัวบางครั้งอาจ จัดให้ผู้เรียนสะท้อนความคิดว่าได้เกิดประสบการณ์หรือเรียนรู้อะไรบ้างจากงานที่มอบหมายให้ทำ เพราะ เปา้ หมายของการเรียนรู้อยทู่ ี่กระบวนการทำงานด้วยเช่นกัน หากผเู้ รียนมองเพยี งเป้าหมายชน้ิ งานที่สำเร็จอย่าง เดียวอาจไม่ตระหนักว่าตนเองได้เรียนรู้บทเรียนสำคัญมากมายระหว่างทางและมีส่วนหรือบทบาทในการช่วย รกั ษาสภาพแวดลอ้ มอกี ด้วย 5. การบรู ณาการเทคโนโลยี เพยี งบรู ณาการเทคโนโลยที ่เี หมาะสมสู่กระบวนประดิษฐ์จากวัสดใุ ช้แลว้ ก็ถอื ว่าได้ก้าวเขา้ ใกลเ้ ป้าหมาย การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาอีกก้าวหนึ่งแล้ว เทคโนโลยีที่สามารถใช้ประโยชน์ในปัจจุบันมีได้ ตั้งแต่การสืบค้นข้อมูลลักษณะต่าง ๆ การบันทึกและนำเสนอข้อมูลด้วยภาพนิ่ง วีดิทัศน์ และมัลติมีเดีย การใช้ อุปกรณ์ sensor/data logger บนั ทกึ ขอ้ มูลในการสำรวจตรวจสอบ การใชซ้ อฟต์แวร์จัดกระทำ วิเคราะห์ข้อมูล และเทคโนโลยีอื่นๆ อีกมากมาย การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเหล่านี้ กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจการเรียนรู้ เปิด โอกาสใหป้ ระยกุ ตใ์ ชค้ วามรู้ แก้ปัญหา และทำงานร่วมกัน รวมท้ังสรา้ งทกั ษะสำคัญในการศึกษาต่อและประกอบ อาชพี ตอ่ ไปในอนาคตดว้ ย 88 6. การมุง่ เนน้ ทักษะแหง่ ศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาพัฒนาพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ตามกรอบแนวคิดของ Partnership for 21st Century Skills ที่ครอบคลุม 4C คือ Critical Thinking (การคิดเช ิงว ิพาก ษ์ ) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (การทำงานร่วมกัน) และ Creativity (การคิดสร้างสรรค์) จะ เห็นได้ว่ากิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงาน หรือการสร้างสรรค์ชิ้นงานจากวัสดุใช้แล้วที่กล่าวถึงข้างต้นนน้ั สามารถสร้างเสริมทักษะเหล่านี้ได้มากอย่างไรก็ตามในบริบทของสถานศึกษาทั่วไป ผู้สอนอาจไม่สามารถให้ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยการทำโครงงาน หรือการสร้างสรรค์ชิ้นงานเท่านั้น ดังนั้นในบทเรียนอื่น ๆ ถ้าผู้สอนมุ่งเน้น ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในทุกโอกาสที่เอื้ออำนวย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ทำงานร่วมกัน เรียนรู้การหาที่ติ (ฝึกคิดเชิงวิพากษ์) หาที่ชมหรือเสนอวิธีการใหม่ (ฝึกคิดเชิงสร้างสรรค์) ก็นับว่าผู้สอนจัดการ เรยี นการสอนเขา้ ใกลแ้ นวคดิ สะเต็มศึกษามากข้ึนตามสภาพจรงิ ของช้ันเรียน 7. การสรา้ งการยอมรับและการมีส่วนรว่ มจากชุมชน ผูส้ อนหลายท่านอาจเคยมีประสบการณ์กบั ผปู้ กครองท่ีไม่เขา้ ใจแนวคิดการศกึ ษาที่พัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนเต็มคน แต่มุ่งหวงั ใหส้ อนเพียงเนื้อหา อยากให้ผู้สอนสร้างเด็กที่สอบเรยี นต่อได้ แตอ่ าจใช้ชวี ิตไมไ่ ด้ ในสงั คม จรงิ ของการเรยี นรู้และการทำงาน เมื่อผสู้ อนมอบหมายใหผ้ ู้เรียนสืบคน้ สร้างช้นิ งาน หรือทำโครงงานผู้ปกครอง ไมใ่ หก้ ารสนบั สนนุ หรืออีกดา้ นหนึ่งผู้ปกครองรับหน้าที่ทำให้ทุกอย่าง อยา่ งไรก็ตามหวงั วา่ ผู้ปกครองทุกคนจะไม่ เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ผลงานจากความสามารถของเด็ก เป็นอาวุธสำคัญที่ผู้สอนจะนำมาเผยแพร่จัดแสดง เพ่ือชนะใจผปู้ กครองและชมุ ชนให้ให้การสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา ผูส้ อนสามารถนำ ผเู้ รียนไปศึกษาในแหลง่ เรียนรู้ของชุมชน สำรวจสง่ิ แวดล้อมธรรมชาติในท้องถ่ิน ศึกษาและรายงานสภาพมลพิษ หรือการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในพื้นที่ให้ชุมชนรับทราบ ตลอดจนศึกษาและแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์ในชุมชน กิจกรรมการเรียนรู้เหล่านี้ เกิดประโยชน์สำหรับนักเรียนเอง อาจเป็นประโยชน์สำหรับ ชุมชน และสามารถสร้างการมีส่วนร่วม ความภาคภูมิใจ และที่สำคัญอย่างยิ่งคือความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วม รบั ผิดชอบคณุ ภาพการจัดการศึกษาในทอ้ งถนิ่ ตัวเองให้เกิดขนึ้ ได้ 89

8. การสรา้ งการสนบั สนนุ จากผเู้ ช่ียวชาญในท้องถน่ิ การให้ผู้เรียนได้ศึกษาปัญหาปลายเปิดตามความสนใจของตนเองในลักษณะโครงงาน ตลอดจนการ เชอ่ื มโยงการเรยี นรู้สู่การใชป้ ระโยชน์ในบริบทจริงนั้น บางครั้งนำไปสู่คำถามท่ีซับซ้อนจนต้องอาศัยความรู้ความ ชำนาญเฉพาะทาง ผู้สอนไม่ควรกลวั จะยอมรับกบั ผู้เรียนวา่ ผู้สอนไมร่ ู้คำตอบ หรือผสู้ อนช่วยไม่ได้ แต่ควรใช้ เครือข่ายที่มีเชื่อมโยงให้ผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นมาช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน เครือข่ายดังกล่าวอาจ เป็นได้ทั้ง ศิษย์เก่า ผู้ปกครอง ปราชญ์ชาวบ้าน เจ้าหน้าที่รัฐ หรืออาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษา ในท้องถ่ิน ผู้สอนสามารถเชิญวิทยากรภายนอกมาบรรยายหรือสาธิตในบางหวั ข้อ หรอื ใชเ้ ทคโนโลยี เช่น การประชุม ผา่ น วิดที ัศน์ เอ้อื อำนวยให้ผเู้ ชีย่ วชาญสามารถพูดคยุ ให้ความคดิ เห็น หรือวพิ ากษ์ผลงานของผู้เรยี น เป็นต้น 9. การเรียนรูอ้ ยา่ งไม่เป็นทางการ (informal learning) ทกุ คนชอบความสนุกสนาน หากเราจำกดั ความสนุกไม่ให้กล้ำกรายใกล้ห้องเรียน ความสขุ คงอยหู่ ่างไกล จากผู้สอนและจากผู้เรียนไปเรื่อย ๆ แต่จะบูรณาการความสนุกสู่การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี ผ่านกระบวนประดิษฐ์สิ่งของจากเศษวัสดุใช้แล้วเป็นการแก้ปัญหาได้อย่างไร ต้องอาศัยความคิด สร้างสรรค์ของผู้สอนในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ท้าทาย เพลิดเพลิน ให้การเรียนเหมือนเป็นการเล่น แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องสร้างความรู้และความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรด้วย การเรียนรู้อย่างไม่ เป็นทางการที่ได้รับความนิยม คือ การจัดกิจกรรมค่าย การเรียนรู้จากบทปฏิบัติการ หรือการประกวดแข่งขัน กิจกรรมเหล่านี้เป็นโอกาสดีที่จะสร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชน เช่น อาจเชิญผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นเป็นวิทยากร ในค่าย เปน็ กรรมการผ้ทู รงคุณวฒุ ิ หรอื ใหก้ ารสนับสนุนของรางวลั 90 10. การเรียนรู้ตามอัธยาศยั (non-formal learning) เมอ่ื ผู้สอนได้ดำเนินการ 9 ข้อขา้ งต้นแล้ว อาจมองออกนอกสถานศึกษา สร้างนิสยั การเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้เป็นวัฒนธรรมของชุมชน ร่วมกันสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านสะเต็มในท้องถิ่น เช่น เข้าค่ายวิทยาศาสตร์ที่ศูนย์ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา หรือประยุกต์ความรู้สะเต็มเพื่อสนับสนุนแหล่งเรียนรู้วิถีชุมชน เช่น ส่งเสริมให้ นักเรียนใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมนำเสนอข้อมูลภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมในชุมชนสร้างหอ เกียรติยศสะเต็มของหมู่บ้าน เพื่อนำเสนอเรื่องราวการใช้ความรู้สะเต็มในการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพ ชวี ิต เชน่ ผลงานด้านการเกษตร ด้านสาธารณสุข ดา้ นการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ หรือดา้ นการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยี การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์วัสดุใช้แล้ว เป็นความ พยายามจากหลากหลายภาคส่วนในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา ให้พร้อมสำหรับการดำรงชีวิต ด้วยความรู้ ความเข้าใจในความงามและคณุ ค่าของธรรมชาติ

ดอกไมจ้ ากถงุ น้ำยาปรบั ผา้ นุ่ม (สง่ิ ประดษิ ฐจ์ ากวัสดุเหลอื ใช้) อุปกรณ์ 1. กรรไกร 2. ถงุ พลาสติกเหลือใช้ เชน่ ถุงนำ้ ยาปรบั ผา้ นุ่ม ถงุ ผงซักฟอก ถุงนมโรงเรียน ฯลฯ 3. ไมต้ ะเกียบ หรอื ไมแ้ หลม 4. ใบกุหลาบ 5. พนั กบั ตะเกยี บหรอื ไม้แหลมเข้ามาจนสุด 5. ฟอล่าเทป ขนั้ ตอนการทำ 1. ตัดดา้ นขา้ งถุงออกท้ังสองข้าง 6. ใชเ้ ทปใสพันท่ีโคนดอก 2. พบั คร่ึง แล้วใชเ้ ทปใสแปะ 7. พนั ฟอล่าเทปกบั ใบกุหลาบให้สวยงาม 4. ตัดใหเ้ ปน็ ริว้ ๆ สแกนคิวอาร์โคด้ เพ่อื ดูวธิ ที ำเพิ่มเติมค่ะ

ใบงาน ครง้ั ท่ี 12 รายวชิ าวัสดุศาสตร์ พว32024 จำนวน 3 หน่วยกิต ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ช่ือ – นามสกลุ ................................................................................... กศน.ตำบล .......................................... คำช้ีแจง จงตอบคำถามตอ่ ไปนี้ให้ถูกต้อง (10 คะแนน) 1. จงบอกหลักสะเต็มศกึ ษาสำหรับการประดิษฐว์ ัสดุใช้แลว้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

เฉลยใบงาน ครง้ั ที่ 12 รายวิชาวัสดศุ าสตร์ พว32024 จำนวน 3 หน่วยกิต ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย 1. จงบอกหลกั สะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐว์ ัสดุใชแ้ ลว้ เฉลย 1. เชื่อมโยงเนอ้ื หาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี ส่โู ลกจริง หลายท่านนา่ จะทำอยู่แลว้ อย่างสม่ำเสมอ เพราะในชีวิตประจำวันเรามีการใช้วัสดุตา่ งอยู่เสมอตลอดจน มีการบริหารจัดการวัสดุนั้นอย่างมีประสิทธิภาพ เพียงมองเห็นว่าแนวคิดหลัก หรือกระบวนการที่เรียนรู้น้ัน สามารถเกดิ ขนึ้ ไดใ้ นธรรมชาติ ใชป้ ระโยชนไ์ ด้ในชีวิตจรงิ กเ็ ป็นก้าวแรกสู่การบูรณาการความร้สู ู่การเรียนอย่างมี ความหมาย เพราะปรากฏการณ์หรือประดิษฐ์กรรมใดๆ รอบตัวเรา ไม่ได้เป็นผลของความรู้จากศาสตร์หน่ึง ศาสตร์ใดเพียงศาสตร์เดียว การประยุกต์ความรู้ง่าย ๆ เช่น การคำนวณพื้นที่ของแกนม้วนกระดาษชำระ เชอ่ื มโยงสู่ความรูค้ วามสงสัยดา้ นวัสดุศาสตร์ เทคโนโลยกี ารผลิต และการใช้กระบวนการทางวิศวกรรมวิเคราะห์ ปญั หาและสรา้ งสรรค์วธิ แี ก้ไขไดอ้ ยา่ งหลากหลายจนนา่ แปลกใจ 2. การสบื เสาะหาความรู้ การเรียนรู้สะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์วัสดุใช้แล้ว โดยให้ผู้เรียนได้ศึกษาประเด็นปัญหา หรือตั้ง คำถามซึ่งเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับตนเองหรือชุมชน เช่น ในชุมชนมีการใช้ขวดน้ำพลาสติกจำนวนมากจนเกิด ปัญหาขยะ ผู้เรียนนำประเด็นปัญหา ไปสร้างคำอธิบายด้วยตนเอง โดยการรวบรวมประจักษ์พยานหลักฐานท่ี เกี่ยวข้อง สื่อสารแนวคดิ และเหตผุ ล เปรียบเทียบแนวคิดต่าง ๆ โดยพิจารณาความหนกั แนน่ ของหลักฐาน ก่อน การตัดสินใจไปในทางใดทางหนึ่งนับเปน็ กระบวนการเรียนรู้สำคัญที่ไม่เพียงแต่สนบั สนุนการเรยี นรู้ในประเด็นท่ี ศกึ ษาเทา่ น้ัน แต่ยังเปน็ ชอ่ งทางให้มีการบูรณาการความรใู้ นศาสตร์อ่ืน ๆ ทเ่ี ก่ยี วข้องกับคำถาม นับเป็นแนวทาง การจดั การเรยี นรทู้ สี่ นับสนุนจดุ เนน้ ของสะเต็มศกึ ษาสำหรับการประดิษฐจ์ ากวสั ดใุ ชแ้ ลว้ ได้เป็นอย่างดี 87 3. การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การทำโครงงานเป็นการสืบเสาะหาความรู้ในรูปแบบหนึ่ง แต่ผู้เขียนได้แยกโครงงานออกมาเป็นหัวข้อ เฉพาะ เนื่องจากเป็นแนวทางที่สามารถส่งเสริมการบูรณาการความรู้สู่การแก้ปัญหาได้ชัดเจน การสืบเสาะหา ความรู้บางครั้งผสู้ อนเป็นผกู้ ำหนดประเด็นปญั หา หรือใหข้ ้อมูลสำหรบั ศึกษาวิเคราะห์ หรือกำหนดวิธีการในการ สำรวจตรวจสอบ ตามขอ้ จำกดั ของเวลาเรียน วสั ดุอุปกรณ์ หรือปจั จัยแวดลอ้ มตา่ ง ๆ แต่การทำโครงงานน้ันเป็น การเปิดโอกาสให้นักเรียนเกิดประสบการณ์การเรียนรู้สำคัญในทุกขั้นตอนด้วยตนเอง ตั้งแต่การกำหนดปัญหา ศึกษาความรู้ที่เกีย่ วข้อง ออกแบบวิธีการรวบรวมข้อมูล ดำเนินการ ลงข้อสรุป และสื่อสารสิ่งที่ค้นพบ (บางคร้ัง ผสู้ อนอาจกำหนดกรอบกว้าง ๆ เชน่ ให้ทำโครงงานเกี่ยวกบั ส่ิงประดิษฐจ์ ากวสั ดุใช้แลว้ โครงงานเก่ียวกับการใช้ คณิตศาสตร์ในวัสดใุ ชแ้ ล้วของชุมชน เป็นตน้ ) โครงงานในรปู แบบส่ิงประดษิ ฐจ์ ะมีการบรู ณาการกระบวนการทาง วศิ วกรรมได้อยา่ งโดดเดน่ 4. การสร้างสรรคช์ ้นิ งาน ประสบการณ์การทำชิ้นงาน สร้างทักษะการคิด การออกแบบ การตัดสินใจ การแก้ปัญหาเฉพาะหน้า โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ชิ้นงานทผี่ ู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรยี นเลือกวสั ดุใชแ้ ลว้ เองและคดิ อย่างอสิ ระและสรา้ งสรรค์ การ ประดิษฐ์ชนิ้ งานเหล่านจ้ี ากเศษวัสดใุ ชแ้ ล้ว ประยกุ ตใ์ ช้ความรู้วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ อยา่ งไม่รู้ตวั บางคร้ังอาจ จัดให้ผู้เรียนสะท้อนความคิดว่าได้เกิดประสบการณ์หรือเรียนรู้อะไรบ้างจากงานที่มอบหมายให้ทำ เพราะ เป้าหมายของการเรียนรู้อยู่ที่กระบวนการทำงานดว้ ยเชน่ กัน หากผ้เู รยี นมองเพียงเป้าหมายชนิ้ งานที่สำเร็จอย่าง เดียวอาจไม่ตระหนักว่าตนเองได้เรียนรู้บทเรียนสำคัญมากมายระหว่างทางและมีส่วนหรือบทบาทในการช่วย รักษาสภาพแวดลอ้ มอีกด้วย

5. การบรู ณาการเทคโนโลยี เพียงบูรณาการเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมสู่กระบวนประดิษฐจ์ ากวัสดใุ ช้แล้ว กถ็ ือวา่ ไดก้ ้าวเข้าใกลเ้ ป้าหมาย การจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาอีกก้าวหนึ่งแล้ว เทคโนโลยีที่สามารถใช้ประโยชน์ในปัจจุบันมีได้ ตั้งแต่การสืบค้นข้อมูลลักษณะต่าง ๆ การบันทึกและนำเสนอข้อมูลด้วยภาพนิ่ง วีดิทัศน์ และมัลติมีเดีย การใช้ อุปกรณ์ sensor/data logger บนั ทึกขอ้ มลู ในการสำรวจตรวจสอบ การใชซ้ อฟต์แวร์จดั กระทำ วิเคราะห์ข้อมูล และเทคโนโลยีอื่นๆ อีกมากมาย การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเหล่านี้ กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจการเรียนรู้ เปิด โอกาสใหป้ ระยุกต์ใช้ความรู้ แกป้ ัญหา และทำงานร่วมกัน รวมทัง้ สรา้ งทกั ษะสำคญั ในการศึกษาต่อและประกอบ อาชพี ต่อไปในอนาคตด้วย 88 6. การมุ่งเน้นทกั ษะแห่งศตวรรษที่ 21 กิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาพัฒนาพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้เป็นอย่างดี ยกตัวอย่างทักษะการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรม (Learning and Innovation Skills) ตามกรอบแนวคิดของ Partnership for 21st Century Skills ที่ครอบคลุม 4C คือ Critical Thinking (การคิดเช ิงว ิพาก ษ์ ) Communication (การสื่อสาร) Collaboration (การทำงานร่วมกัน) และ Creativity (การคิดสร้างสรรค์) จะ เห็นได้ว่ากิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงาน หรือการสร้างสรรค์ชิ้นงานจากวัสดุใชแ้ ล้วที่กล่าวถึงข้างต้นนั้น สามารถสร้างเสริมทักษะเหล่านี้ได้มากอย่างไรก็ตามในบริบทของสถานศึกษาทั่วไป ผู้สอนอาจไม่สามารถให้ ผู้เรียนเรียนรู้ด้วยการทำโครงงาน หรือการสร้างสรรค์ชิ้นงานเท่านั้น ดังนั้นในบทเรียนอื่น ๆ ถ้าผู้สอนมุ่งเน้น ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในทุกโอกาสที่เอื้ออำนวย เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็น ทำงานร่วมกัน เรียนรู้การหาที่ติ (ฝึกคิดเชิงวิพากษ์) หาที่ชมหรือเสนอวิธีการใหม่ (ฝึกคิดเชิงสร้างสรรค์) ก็นับว่าผู้สอนจัดการ เรียนการสอนเขา้ ใกลแ้ นวคิดสะเตม็ ศกึ ษามากข้นึ ตามสภาพจรงิ ของชน้ั เรียน 7. การสรา้ งการยอมรบั และการมีสว่ นร่วมจากชุมชน ผสู้ อนหลายท่านอาจเคยมปี ระสบการณ์กบั ผู้ปกครองที่ไม่เข้าใจแนวคิดการศกึ ษาท่ีพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนเต็มคน แต่มุ่งหวังให้สอนเพียงเนื้อหา อยากให้ผู้สอนสร้างเด็กที่สอบเรียนต่อได้ แต่อาจใช้ชีวิตไม่ได้ในสังคม จริงของการเรียนรู้และการทำงาน เมื่อผสู้ อนมอบหมายใหผ้ ู้เรยี นสืบคน้ สร้างชิน้ งาน หรือทำโครงงานผู้ปกครอง ไมใ่ หก้ ารสนบั สนนุ หรืออีกด้านหนึ่งผู้ปกครองรับหน้าทีท่ ำใหท้ ุกอย่าง อย่างไรกต็ ามหวงั วา่ ผปู้ กครองทุกคนจะไม่ เป็นไปตามที่กล่าวข้างต้น ผลงานจากความสามารถของเด็ก เป็นอาวุธสำคัญที่ผู้สอนจะนำมาเผยแพร่จัดแสดง เพ่ือชนะใจผู้ปกครองและชุมชนให้ให้การสนับสนนุ การจัดการเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเต็มศึกษา ผ้สู อนสามารถนำ ผูเ้ รยี นไปศึกษาในแหล่งเรียนรขู้ องชุมชน สำรวจส่งิ แวดล้อมธรรมชาติในท้องถ่ิน ศึกษาและรายงานสภาพมลพิษ หรือการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในพ้ืนที่ให้ชุมชนรับทราบ ตลอดจนศึกษาและแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑใ์ นชุมชน กิจกรรมการเรียนรเู้ หลา่ น้ี เกิดประโยชนส์ ำหรับนักเรียนเอง อาจเปน็ ประโยชน์สำหรับชุมชน และสามารถสร้างการมีส่วนร่วม ความภาคภูมิใจ และที่สำคัญอย่างยิ่งคือความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมรับผิ ดชอบ คุณภาพการจดั การศกึ ษาในท้องถน่ิ ตัวเองใหเ้ กดิ ขน้ึ ได้ 89 8. การสร้างการสนับสนุนจากผู้เชีย่ วชาญในทอ้ งถนิ่ การให้ผู้เรียนได้ศึกษาปัญหาปลายเปิดตามความสนใจของตนเองในลักษณะโครงงาน ตลอดจนการ เชือ่ มโยงการเรียนรสู้ ู่การใชป้ ระโยชน์ในบริบทจริงนั้น บางครัง้ นำไปสู่คำถามท่ซี ับซ้อนจนต้องอาศัยความรู้ความ ชำนาญเฉพาะทาง ผู้สอนไม่ควรกลัวจะยอมรับกับผู้เรียนว่าผู้สอนไม่รู้คำตอบ หรือผู้สอนช่วยไม่ได้ แต่ควรใช้ เครือข่ายที่มีเชื่อมโยงให้ผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นมาช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน เครือข่ายดังกล่าวอาจ เป็นได้ทัง้ ศิษย์เกา่ ผูป้ กครอง ปราชญช์ าวบ้าน เจา้ หนา้ ท่ีรัฐ หรืออาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาในท้องถ่ิน ผู้สอน สามารถเชญิ วิทยากรภายนอกมาบรรยายหรือสาธิตในบางหัวข้อ หรือใชเ้ ทคโนโลยี เช่น การประชุมผ่านวิดีทัศน์ เอือ้ อำนวยใหผ้ เู้ ชยี่ วชาญสามารถพดู คุย ใหค้ วามคิดเห็น หรอื วิพากษ์ผลงานของผู้เรียน เปน็ ต้น

9. การเรยี นรูอ้ ย่างไมเ่ ป็นทางการ (informal learning) ทุกคนชอบความสนกุ สนาน หากเราจำกดั ความสนุกไม่ใหก้ ล้ำกรายใกล้ห้องเรียน ความสขุ คงอยู่ห่างไกล จากผู้สอนและจากผู้เรียนไปเรื่อย ๆ แต่จะบูรณาการความสนุกสู่การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ เทคโนโลยี ผ่านกระบวนประดิษฐ์สิ่งของจากเศษวัสดุใช้แล้วเป็นการแก้ปัญหาได้อย่างไร ต้องอาศัยความคิด สร้างสรรค์ของผู้สอนในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ท้าทาย เพลิดเพลิน ให้การเรียนเหมือนเป็นการเล่น แต่ในขณะเดียวกันก็ต้องสร้างความรู้และความสามารถตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรด้วย การเรียนรู้อย่างไม่ เป็นทางการที่ได้รับความนิยม คือ การจัดกิจกรรมค่าย การเรียนรู้จากบทปฏิบัติการ หรือการประกวดแข่งขัน กิจกรรมเหล่านี้เป็นโอกาสดีที่จะสร้างการมีส่วนร่วมจากชุมชน เช่น อาจเชิญผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นเป็นวิทยากร ในคา่ ย เปน็ กรรมการผทู้ รงคณุ วฒุ ิ หรอื ให้การสนบั สนุนของรางวัล 90 10. การเรียนรตู้ ามอธั ยาศัย (non-formal learning) เมือ่ ผู้สอนได้ดำเนินการ 9 ขอ้ ขา้ งตน้ แลว้ อาจมองออกนอกสถานศึกษา สรา้ งนิสัยการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้เป็นวัฒนธรรมของชุมชน ร่วมกันสร้างแหล่งเรียนรู้ด้านสะเต็มในท้องถิ่น เช่น เข้าค่ายวิทยาศาสตร์ที่ศูนย์ วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา หรือประยุกต์ความรู้สะเต็มเพื่อสนับสนุนแหล่งเรียนรู้วิถีชุมชน เช่น ส่งเสริมให้ นักเรียนใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมนำเสนอข้อมูลภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมในชุมชนสร้างหอ เกียรติยศสะเต็มของหมู่บ้าน เพื่อนำเสนอเรื่องราวการใช้ความรู้สะเต็มในการพัฒนาอาชีพและพัฒนาคุณภาพ ชีวติ เชน่ ผลงานดา้ นการเกษตร ด้านสาธารณสุข ด้านการพฒั นาผลติ ภัณฑ์ หรือดา้ นการประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยี การส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาสำหรับการประดิษฐ์วัสดุใช้แล้ว เป็นความ พยายามจากหลากหลายภาคส่วนในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา ให้พร้อมสำหรับการดำรงชีวิต ด้วยความรู้ ความเข้าใจในความงามและคณุ คา่ ของธรรมชาติ ด้วยความสามารถในการสร้างสรรคว์ ธิ กี ารแก้ปัญหาส่ิงแวดล้อม อยา่ งเปน็ ระบบดว้ ยกระบวนคิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook