Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 ครูนาตยา แซ่เตียว

แผนการจัดการเรียนรู้ ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 ครูนาตยา แซ่เตียว

Published by Guset User, 2022-09-02 12:14:17

Description: แผนการจัดการเรียนรู้ ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 ครูนาตยา แซ่เตียว

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรยี นรู้ รายวชิ า ว23101 วิทยาศาสตร์ 5 นางสาวนาตยา แซ่เตยี ว ตาแหนง่ ครู กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรยี นรัตนราษฎร์บารุง อาเภอบา้ นโป่ง จังหวดั ราชบรุ ี สานักงานเขตพ้ื นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา ราชบรุ ี

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 1 กล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 รหสั ว23101 ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ชอื่ หน่วย ไฟฟ้า เรอ่ื งวงจรไฟฟา้ เบ้ืองตน้ เวลา 3 ชวั่ โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวช้ีวดั มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติของคล่ืน ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข้องกับ เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหลก็ ไฟฟา้ รวมทงั้ นาความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้ีวัด ว 2.3 ม.3/5 เขียนแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดง การต่อตัวต้านทานแบบอนุกรม และแบบขนาน 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1) ทดลองและอธิบายผลของการตอ่ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนานได้ 2) เขยี นแผนภาพวงจรไฟฟ้าแสดงการตอ่ ตวั ตา้ นทานแบบอนกุ รม และแบบขนานได้ 3. สาระสาคัญ วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น ประกอบด้วยแหล่งกาเนิดไฟฟ้า สวิตช์ สายไฟฟ้า และอุปกรณ์ไฟฟ้า วงจรไฟฟ้ามี 2 ประเภท คือ วงจรปิดและวงจรเปิด วงจรปิด คือวงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจร วงจรเปิด คือ วงจรไฟฟา้ ท่ไี มม่ กี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ น การต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟ้าอย่างงา่ ย มีอยู่ 2 ลักษณะ คอื การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม และ การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการสอ่ื สาร : การสนทนาพดู คุย แลกเปล่ียนคดิ เหน็ การพูดหน้าช้ันเรยี น  ความสามารถในการคิด : การใช้กระบวนการคดิ ในการเรียนรแู้ ละการทางาน  ความสามารถในการแก้ปัญหา : การแกป้ ัญหาจากสถานการณ์ท่ีครกู าหนดในการตอ่ วงจรไฟฟ้า  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต : การตอ่ วงจรไฟฟ้าในชวี ติ ประจาวนั เพื่อความปลอดภยั  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี : การสืบคน้ ข้อมูลจากแหลง่ เรียนรู้โดยใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ 5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560  ซื่อสัตย์สุจรติ  มุ่งมัน่ ในการทางาน  มีวนิ ยั  ใฝ่เรียนรู้  มจี ติ สาธารณะ

6. สาระการเรยี นรู้ 1) วงจรไฟฟ้า - วงจรปดิ - วงจรเปิด 2) การต่อเครื่องใชไ้ ฟฟา้ เขา้ ในวงจรไฟฟ้า - การตอ่ แบบอนุกรม - การตอ่ แบบขนาน 7. ชิ้นงาน / ภาระงาน 1) แผนผงั ความคิด เรอ่ื ง วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น 2) ใบงานท่ี 1 เรอื่ งการตอ่ เครื่องใช้ไฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟ้า 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ (แยกเป็นรายชวั่ โมงเนน้ วิธกี าร เทคนิค รปู แบบการสอนทีส่ อดคล้องกบั Active Learning) ขนั้ นาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1) ครนู าวงจรไฟฟา้ ที่ตอ่ สาเร็จมาใหน้ กั เรยี นสังเกต แลว้ ใช้คาถามเพอื่ กระตุน้ ให้นักเรยี นคดิ ดงั นี้ 1.1 วงจรไฟฟ้าที่นักเรียนสังเกตมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านสิ่งใดบ้าง (ถ่านไฟฉาย สะพานไฟ ฟิวส์ สวติ ช์ หลอดไฟ) 1.2 เมื่อกดสวิตช์จะมีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจรหรือไม่ ทราบได้อย่างไร (มีกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร ทราบได้จากหลอดไฟสว่าง) 2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบของนักเรียน เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่การจัดก ารเรียนรู้เร่ือง วงจรไฟฟา้ 3) ครูช้ีแจงการจัดการเรียนการสอน เร่ือง การต่อวงจรไฟฟ้า ตลอดจนตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ขั้นตอนในการศึกษาบทเรียน และกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผลใน ช่วั โมงเรยี นน้ี 4) นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น

ขัน้ สอน 1) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลุ่มละ 4 คน แต่ละกลุ่มศึกษาใบความรทู้ ี่ 1 การต่อเครือ่ งใชไ้ ฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า 2) ครอู ธบิ ายสัญลักษณต์ า่ ง ๆ ทใ่ี ชแ้ ทนส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า ดังนี้ เซลล์ไฟฟา้ แบตเตอรี่ สายไฟ หรอื สวิตช์ หลอดไฟ 3) ก่อนการปฏิบตั กิ ิจกรรม ครูแนะนาใหน้ ักเรยี นตรวจสอบถา่ นไฟฉายและหลอดไฟฟา้ ให้อยู่ในสภาพทใ่ี ช้ งานได้ ครูแนะนาวิธีต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน พร้อมทั้งสาธิตให้นักเรียนดูและย้าให้นักเรียน สงั เกตความสว่างของหลอดไฟฟ้าท้ัง 2 ดวงทกุ คร้ังทล่ี งมอื ปฏิบัตกิ จิ กรรม 4) ให้นกั เรียนทาปฏิบตั ิการทดลองตามใบงานที่ 1 เร่อื ง การตอ่ เครื่องใช้ไฟฟ้าเข้าในวงจรไฟฟ้าด้วยตนเอง โดยครดู แู ลใหค้ าแนะนาอย่างใกลช้ ิด และบันทกึ ผลการทดลองลงในใบงาน 5) นกั เรียนและครูรว่ มกันตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูลท่ีไดจ้ ากกิจกรรมขั้นสรุป ขัน้ สรุป 1) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอภิปรายผลของการปฏิบัติกิจกรรมตามใบงาน แล้วส่งตัวแทนออกมา นาเสนอ หน้าช้นั เรยี น 2) ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันอภปิ รายผลจากการปฏบิ ตั ิกิจกรรม โดยใช้แนวคาถาม เชน่ - วงจรไฟฟ้าทม่ี ีกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรเรยี กวา่ วงจรปดิ หรือวงจรเปิด (วงจรปดิ ) - ถ้ากดสวิตชเ์ พอ่ื เปดิ ไฟ จะทาให้วงจรเป็นอย่างไร (วงจรปิด กระแสไฟฟา้ ไหลผ่านครบวงจร) - อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ีช่วยทาให้วงจรไฟฟ้าเป็นวงจรปิดและวงจรเปิดได้แก่อะไรบ้าง (สะพานไฟ ฟิวส์ และสวิตช)์ - การตอ่ หลอดไฟฟา้ และอุปกรณใ์ นใบงานน้ีมวี ิธกี ารต่อแบบใดบ้าง (แบบอนุกรมหรอื แบบเรียงกัน และแบบขนานหรอื แบบครอ่ มข้ัวกนั ) - การต่อแบบอนกุ รมและแบบขนานมผี ลตอ่ ความสวา่ งของหลอดไฟฟา้ หรือไม่อย่างไร (การต่อ หลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมจะสว่างน้อยกว่าการต่อแบบขนาน ท้ังน้ีเพราะความต้านทานทั้งหมดในวงจรไฟฟ้า เมอื่ ต่อแบบอนกุ รมจะมีคา่ สงู ขึน้ กระแสจงึ ไหลผา่ นได้น้อยกวา่ แบบขนาน)

3) ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปผลจากการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม โดยไดข้ อ้ สรปุ ดังนี้ วงจรไฟฟ้ามี 2 ประเภท คือ วงจรปดิ และวงจรเปิด วงจรปดิ คอื วงจรไฟฟ้าที่มีกระแสไฟฟ้าไหล ครบวงจร ส่วนวงจรเปิด คือ วงจรไฟฟ้าไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน การต่อแบบเรียงกันเป็นการต่อแบบ อนุกรม หลอดไฟฟ้ามีความสว่างน้อยกว่าการต่อแบบคร่อมขั้วกันหรือต่อแบบขนาน แสดงว่า การต่อแบบ เรียงกันทาให้ความต้านทานของวงจรมีค่ามากกระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านได้น้อย หลอดไฟฟ้าจึงสว่างน้อยกว่า การต่อแบบขนาน 4) นักเรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 9. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ 9.1 ส่ือการเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ (สสวท) ม.3 เล่ม 2 2) อปุ กรณ์ทใี่ ช้ในการทดลอง 3) ใบความรูท้ ี่ 1 เรื่องการตอ่ เครื่องใชไ้ ฟฟ้าเขา้ ในวงจรไฟฟ้า 4) ใบงานท่ี 1 เรื่อง การต่อเครือ่ งใช้ไฟฟ้าเข้าในวงจรไฟฟ้า 5) Powerpoint หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่ืองไฟฟา้ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ 10. การวดั ผลและประเมินผล ภาระงาน/กจิ กรรม เครอ่ื งมอื เกณฑ์ แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลงั เรยี น ขอ้ สอบ ร้อยละ 50 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 1 เร่ืองการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้า ใบงานที่ 1 เรอ่ื งการต่อเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ เข้าในวงจรไฟฟ้า เข้าในวงจรไฟฟา้ แผนผังความคิด เร่ืองการต่อเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า แบบสังเกตพฤติกรรมการทางาน ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ เข้าในวงจรไฟฟา้ รายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่

11. บันทึกผลหลังการเรียนรู้ (บันทึกตามตวั ช้วี ดั จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ทสี่ อดคล้องกับการกาหนดแนวทางการวัดและประเมนิ ผล) ผลการจดั การเรยี นร้ตู ามตัวชวี้ ดั / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอันพึงประสงคแ์ ตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อคน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผู้สอน (นางสาวนาตยา แซ่เตียว) วนั ที.่ .............เดือน.......................พ.ศ........... ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลุ่มสาระ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ............................................................. (นางอมรรัตน์ ทมิ จติ ร) หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วนั ท่.ี ..............เดอื น..............................พ.ศ............

ใบงานที่ 1 การต่อเคร่ืองใช้ไฟฟ้ า เข้าในวงจรไฟฟ้ า 50 นาที วนั ที่ ____ / ____ / ____ ชอ่ื _____________________ นามสกลุ ______________ ชั้น _____ เลขที่ ___ ชื่อ _____________________ นามสกลุ ______________ ชั้น _____ เลขท่ี ___ ชอื่ _____________________ นามสกลุ ______________ ชัน้ _____ เลขที่ ___ ชอ่ื _____________________ นามสกุล ______________ ชน้ั _____ เลขท่ี ___ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทดลองและอธิบายวธิ ีการต่อหลอดไฟ 2 หลอด เขา้ ในวงจรไฟฟ้าเบ้ ืองตน้ แบบต่างๆ และเปรียบเทียบ ความสวา่ งของหลอดไฟในการต่อแต่ละแบบได้ วสั ด/ุ อุปกรณ์ รายงาน จานวน/กลมุ่ 1. หมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลตต์ า่ 2. หลอดไฟฟ้า 6V 1 เครื่อง 3. สวิตซ์ 2 อนั 4. สายไฟฟ้า 1 อนั 4 เสน้ วิธีการทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้า ซ่ึงประกอบดว้ ยหมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลตต์ า่ หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด และสวติ ซ์ ดงั ภาพ กดสวติ ซ์ (วงจรปิ ด) สงั เกตความสวา่ งของหลอดไฟฟ้า 2. ต่อหลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ อีก 1 หลอด ดว้ ยวิธีการต่างๆ เขา้ กบั วงจรไฟฟ้าในขอ้ ที่ 1 กดสวิตซ์ (วงจรปิ ด) สงั เกตความสวา่ งของหลอดไฟฟ้า พรอ้ มท้งั วาดวงจรไฟฟ้าประกอบ

ตวั อยา่ งผลการทากิจกรรม (ใหน้ กั เรยี นวาดภาพสญั ลกั ษณข์ องการตอ่ วงจร) จงวาดภาพ - การต่อขนานกนั หรือต่อแบบขนาน - การต่อเรียงกนั หรือการต่อแบบอนุกรม สรุปผลการทดลอง ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คาถามหลงั การทากิจกรรม 1. นกั เรียนนาหลอดไฟฟ้า 2 หลอด มาตอ่ กนั แบบใดบา้ งทท่ี าใหห้ ลอดไฟฟ้าสว่าง ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …...………………………………………………………………………………………………………… 2. เมื่อกดสวิตชใ์ หก้ ระแสไฟฟ้าเคลื่อนท่ีเขา้ ไปในวงจรไฟฟ้าแต่ละแบบทม่ี ีหลอดไฟฟ้า 2 หลอด ความสว่างของหลอดไฟฟ้าแตล่ ะวงจรเป็ นอยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …...………………………………………………………………………………………………………… 3. การตอ่ เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าแบบขนานเขา้ ในวงจรไฟฟ้า มีขอ้ ดอี ยา่ งไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …...…………………………………………………………………………………………………………

เฉลยใบงานที่ 1 การต่อเคร่ืองใช้ไฟฟ้ า 50 นาที เข้าในวงจรฟ้ าไฟฟ้ า วนั ท่ี ____ / ____ / ____ ช่ือ _____________________ นามสกลุ ______________ ชน้ั _____ เลขท่ี ___ ชือ่ _____________________ นามสกุล ______________ ชั้น _____ เลขท่ี ___ ชอ่ื _____________________ นามสกุล ______________ ชั้น _____ เลขที่ ___ ชื่อ _____________________ นามสกุล ______________ ช้ัน _____ เลขที่ ___ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ทดลองและอธิบายวธิ ีการต่อหลอดไฟ 2 หลอด เขา้ ในวงจรไฟฟ้าเบ้ ืองตน้ แบบต่างๆ และเปรียบเทียบ ความสวา่ งของหลอดไฟในการต่อแต่ละแบบได้ วสั ด/ุ อปุ กรณ์ รายงาน จานวน/กลมุ่ 1. หมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลตต์ า่ 2. หลอดไฟฟ้า 6V 1 เครื่อง 3. สวิตซ์ 1 อนั 4. สายไฟฟ้า 1 อนั 4 เสน้ วิธีการทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้า ซ่ึงประกอบดว้ ยหมอ้ แปลงไฟฟ้าโวลตต์ า่ หลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ จานวน 1 หลอด และสวติ ซ์ ดงั ภาพ กดสวติ ซ์ (วงจรปิ ด) สงั เกตความสวา่ งของหลอดไฟฟ้า 2. ต่อหลอดไฟฟ้าขนาด 6 โวลต์ อีก 1 หลอด ดว้ ยวิธีการต่างๆ เขา้ กบั วงจรไฟฟ้าในขอ้ ท่ี 1 กดสวิตซ์ (วงจรปิ ด) สงั เกตความสวา่ งของหลอดไฟฟ้า พรอ้ มท้งั วาดวงจรไฟฟ้าประกอบ

ตวั อยา่ งผลการทากิจกรรม - การต่อขนานกนั หรือตอ่ แบบขนาน - การต่อเรียงกนั หรือการต่อแบบอนุกรม สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลอง ความสวา่ งของแสงจากหลอดไฟฟ้า พบวา่ การต่อแบบขนาน หลอดไฟท้งั สอง จะสวา่ งกวา่ การต่อแบบอนุกรม คาถามหลงั การทากิจกรรม 1. นกั เรียนนาหลอดไฟฟ้า 2 หลอด มาตอ่ กนั แบบใดบา้ งท่ที าใหห้ ลอดไฟฟ้าสว่าง แนวคำตอบ แบบอนุกรม และ แบบขนาน 2. เม่ือกดสวิตชใ์ หก้ ระแสไฟฟ้าเคล่อื นที่เขา้ ไปในวงจรไฟฟ้าแต่ละแบบที่มีหลอดไฟฟ้า 2 หลอด ความสว่างของหลอดไฟฟ้าแตล่ ะวงจรเป็ นอยา่ งไร แนวคำตอบ การตอ่ แบบขนาน หลอดไฟฟ้าทง้ั สองจะสวา่ งมากกวา่ การตอ่ แบบอนุกรม 3. การตอ่ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าแบบขนานเขา้ ในวงจรไฟฟ้า มีขอ้ ดอี ยา่ งไร แนวคำตอบ การตอ่ แบบขนาน หลอดไฟจะสวา่ งมากกวา่ หรอื กระแสไฟฟ้าในวงจรมากกวา่

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 กลุม่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัส ว23101 ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 ช่อื หน่วย ไฟฟ้า เร่อื งการวัดกระแสไฟฟา้ เวลา 2 ชว่ั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่าง สสารและพลังงาน พลังงานในชวี ติ ประจาวนั ธรรมชาตขิ องคลน่ื ปรากฏการณ์ท่เี กีย่ วข้องกับ เสยี ง แสง และคล่นื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมทงั้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชวี้ ัด ว 2.3 ม.3/3 ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณไฟฟา้ 2. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1) อธิบายการวัดกระแสไฟฟ้าดว้ ยแอมมิเตอร์ได้ 2) ทดลองและสรปุ ผลการทดลองเกยี่ วกับปริมาณกระแสไฟฟา้ ทไ่ี ดจ้ ากถ่านไฟฉาย 1 ก้อน และ 2 ก้อนได้ 3) เปรียบเทยี บความสว่างของหลอดไฟฟ้าทไ่ี ด้จากการตอ่ ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน และ 2 ก้อนได้ 3. สาระสาคญั กระแสไฟฟ้า (Electric current) คือ ปริมาณประจุไฟฟ้าท่ีเคลื่อนท่ีผ่านพ้ืนที่หน้าตัดของตัวนาไฟฟ้าในหน่ึง หน่วยเวลา โดยเคล่ือนที่จากจุดท่ีมีศักย์ไฟฟ้าสูงไปยังจุดท่ีมีศักย์ไฟฟ้าต่า กระแสไฟฟ้า แทนสัญลักษณ์ด้วยตัว I มหี น่วยเป็นแอมแปร์ (A) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวัดกระแสไฟฟา้ คือ แอมมเิ ตอร์ (Ammeter) วธิ ีใชต้ อ้ งต่ออนกุ รมกับวงจร 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการสือ่ สาร : การสนทนาพดู คุย แลกเปลี่ยนคิดเหน็ การพดู หน้าช้ันเรยี น  ความสามารถในการคดิ : การใชก้ ระบวนการคดิ ในการเรียนรู้และการทางาน  ความสามารถในการแก้ปญั หา : การแก้ปัญหาในการใช้เครอ่ื งมือเก่ียวกับการวดั กระแสไฟฟ้า 5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560  ซอื่ สตั ยส์ ุจริต  มุ่งม่ันในการทางาน  มวี นิ ัย  ใฝเ่ รียนรู้  มีจติ สาธารณะ

6. สาระการเรียนรู้ กระแสไฟฟ้า - การวัดกระแสไฟฟา้ 7. ช้นิ งาน / ภาระงาน 1) แผนผงั ความคิด เรือ่ ง การวัดกระแสไฟฟา้ 2) ใบงานท่ี 2 เรือ่ งการวัดกระแสไฟฟ้า 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ข้นั นาเขา้ สูบ่ ทเรียน 1) ครูใช้คาถามกระตนุ้ ความคิดนักเรยี นโดยใช้คาถาม ดงั น้ี - เครื่องมือท่ีใช้วดั กระแสไฟฟ้าเรียกว่าอะไร และวิธีการใช้อย่างไร (แอมมิเตอร์ เป็นเครื่องมือ ท่ใี ช้วัด กระแสไฟฟ้า โดยวิธีใช้คือต้องตอ่ อนุกรมกบั วงจร) - ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่เกิดข้ึนมากหรือน้อยวัดได้อย่างไร (ใช้แอมมิเตอร์ในการวัดปริมาณ กระแสไฟฟา้ ) 2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบของนักเรียน เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การจัดการเรียนรู้เรื่อง การวัด กระแสไฟฟา้ 3) ครูช้ีแจงการจัดการเรียนการสอน เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า ตลอดจนตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ ข้นั ตอนในการศึกษาบทเรยี น และกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผลในชั่วโมง เรียนน้ี 4) นักเรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ขั้นสอน 1) ให้นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กลมุ่ ละ 4 คน ศึกษาใบความรูแ้ ละใบงานท่ี 2 เร่อื ง การวัดกระแสไฟฟ้า 2) ครอู ธิบายพร้อมสาธิตวิธีทากจิ กรรม และใหน้ กั เรียนซกั ถามขอ้ สงสยั จนเข้าใจ 3) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายก่อนทากจิ กรรม โดยครูใช้คาถามก่อนทากิจกรรมดงั น้ี - เมื่อตอ่ หลอดไฟและถา่ นไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์ นักเรยี นคิดว่ามีการเปล่ียนแปลงอย่างไรกับ หลอดไฟและเข็มของแอมมเิ ตอร์ (หลอดไฟสว่าง ขณะเดียวกันเขม็ ของเครื่องวดั กระแสไฟฟา้ จะเบนไปจากเดิม) - เมื่อเปล่ียนถ่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน นักเรียนคิดว่าการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟและเข็ม ของแอมมิเตอร์จะเหมือนเดิมหรือไม่ อย่างไร (ไม่เหมือนเดิม คือ ความสว่างของหลอดไฟมีมากขึ้น และเข็มของ แอมมิเตอร์จะเบนไปมากกวา่ ใชถ้ ่าน 1 ก้อน) 4) ให้นักเรียนปฏิบัติทากิจกรรมตามใบงานที่ 2 เรื่อง การวัดกระแสไฟฟ้า ด้วยตนเอง โดยครูดูแลให้ คาแนะนาอย่างใกลช้ ิด และบนั ทึกผลการทากิจกรรมลงในใบงาน

ขน้ั สรุป 1) ใหผ้ ้แู ทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปล่ียนเรยี นรกู้ ัน 2) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทากิจกรรม โดยครูใช้คาถามหลังทา กจิ กรรมดังน้ี - เมื่อต่อหลอดไฟโดยใช้ถ่านไฟฉาย 1 ก้อน เข้ากับแอมมิเตอร์ ผลการเปล่ียนแปลงของหลอดไฟและเข็ม ของแอมมิเตอร์เป็นอย่างไร ตรงตามที่คาดคะเนหรือไม่ (หลอดไฟสว่าง และเข็มของแอมมิเตอร์จะเบนไปจากเดิม ตรงตามท่คี าดคะเนไว)้ - เมื่อเปล่ียนถ่านไฟฉายจาก 1 ก้อน เป็น 2 ก้อน ผลการเปลี่ยนแปลงของหลอดไฟ และเข็มของ แอมมิเตอร์เหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด ตรงตามท่ีคาดคะเนหรือไม่ (หลอดไฟจะสว่างมากขึ้น และเข็มของ แอมมิเตอร์จะเบนไปมากกว่าครั้งแรก เพราะได้รับพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น จึงมีกระแสไฟฟ้าผ่านในวงจรมาก กว่าเดมิ ตรงตามทค่ี าดคะเนไว้) - สรปุ ผลการทดลองนี้ได้อย่างไร (ปริมาณกระแสไฟฟา้ ในวงจรขึ้นอยกู่ ับจานวนถ่านไฟฉายทใ่ี ช้) - ถ้าสลับท่ีระหว่างแอมมิเตอร์กับหลอดไฟในวงจร ผลการเปลี่ยนแปลงของเข็มของแอมมิเตอร์จะ เหมือนเดิมหรือไม่ เพราะเหตุใด (เหมือนเดิม เพราะกระแสไฟฟ้าที่ผ่านแอมมิเตอร์ และหลอดไฟเป็นกระแสค่า เดียวกัน จงึ ไมท่ าให้ผลที่ได้ต่างไปจากเดิม) 3) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปว่า แอมมิเตอร์ คือ เคร่ืองมือสาเร็จรูปที่ใช้วัดกระไฟฟ้าท่ีไหลผ่าน วงจร 4) ครูให้ความรู้เพิ่มเติมดังนี้ ความต้านทานภายในของเคร่ืองแอมมิเตอร์มีค่าน้อยมาก วิธีใช้ต้องต่ออนุกรม กับวงจรกระแสไฟฟ้า มหี นว่ ยเปน็ แอมแปร์ 5) ครูวาดภาพและอธิบายสัญลักษณท์ ใ่ี ช้แทนแอมมเิ ตอรแ์ ละการต่อแอมมเิ ตอรเ์ ข้ากบั วงจร 6) นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลงั เรียน 9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้ 9.1 สอื่ การเรียนรู้ 1) หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ (สสวท) ม.3 เลม่ 2 2) อุปกรณ์ท่ใี ช้ในการทดลอง 3) ใบความรทู้ ี่ 2 เรือ่ งการวดั กระแสไฟฟ้า 4) ใบงานท่ี 2 เรือ่ ง การวดั กระแสไฟฟ้า 5) ppt เร่ืองไฟฟา้ 9.2 แหลง่ การเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ

10. การวดั ผลและประเมินผล ภาระงาน/กจิ กรรม เคร่อื งมือ เกณฑ์ แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน ข้อสอบ รอ้ ยละ 50 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานท่ี 2 เร่ืองการวัดกระแสไฟฟ้า ใบงานท่ี 2 เรอ่ื งการวดั กระแสไฟฟา้ รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ แผนผงั ความคิด เรื่อง การวดั กระแสไฟฟา้ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 11. บันทกึ ผลหลังการเรียนรู้ (บนั ทกึ ตามตวั ช้วี ัด จดุ ประสงค์การเรียนรู้ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ท่สี อดคล้องกับการกาหนดแนวทางการวดั และประเมนิ ผล) ผลการจดั การเรียนรู้ตามตัวชี้วัด / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแตล่ ะด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์แต่ละดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อค้นพบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ..................................................................ผู้สอน (นางสาวนาตยา แซเ่ ตยี ว) วนั ที่..............เดือน.......................พ.ศ...........

ความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................................. (นางอมรรัตน์ ทิมจิตร) หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วนั ท.่ี ..............เดอื น..............................พ.ศ............

ใบงานท่ี 2 การใช้แอมมเิ ตอร์ 50 นาที วัดกระแสไฟฟ้ า วนั ที่ ____ / ____ / ____ ชอ่ื _____________________ นามสกุล ______________ ชน้ั _____ เลขท่ี ___ ชือ่ _____________________ นามสกุล ______________ ชน้ั _____ เลขที่ ___ ชือ่ _____________________ นามสกุล ______________ ชั้น _____ เลขที่ ___ ชื่อ _____________________ นามสกลุ ______________ ชนั้ _____ เลขที่ ___ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วดั ค่ากระแสไฟฟ้าดว้ ยแอมมิเตอรพ์ รอ้ มระบุหน่วยไดถ้ ูกตอ้ ง วสั ด/ุ อปุ กรณ์ รายงาน จานวน/กลมุ่ 1. ถ่านไฟฉาย 1.5 V พรอ้ มกระบะถา่ น 2. หลอดไฟฟ้า 6 V พรอ้ มฐาน 1 ชุด 3. สวิตซ์ 2 อนั 4. สายไฟฟ้า 1 อนั 5. แอมมิเตอร์ 6 เสน้ 1 อนั วิธกี ารทดลอง 1. ต่อวงจรไฟฟ้าท่ีประกอบด้วยถ่านไฟฉาย 2 ก้อน สวิตช์ สายไฟฟ้าและหลอดไฟฟ้า ดังภาพ กดสวิตซล์ งใหว้ งจรปิ ดเพื่อทดสอบวา่ มีกระแสไฟฟ้าในวงจรหรือไม่ โดยสงั เกตจากการเปล่ียนแปลง ของหลอดไฟฟ้า จากน้ันยกสวติ ซข์ ้ นึ ใหว้ งจรเปิ ด

2. ต่อแอมมิเตอรแ์ ทรกเขา้ ในวงจรไฟฟ้าโดยใหส้ ายไฟฟ้าที่ต่อกบั ข้วั ลบของถ่านไฟฉายต่อเขา้ กบั ขว้ั ลบของ แอมมิเตอร์ อีกเสน้ หน่ึงต่อข้วั บวกของแอมมิเตอรท์ ี่รองรบั กระแสไฟฟ้าสูงสุดเขา้ กบั อุปกรณไ์ ฟฟ้าท่ีต่อจาก ขว้ั บวกของถ่านไฟฉาย ดงั ภาพ 3. กดสวิตชล์ งเพื่อใหว้ งจรปิ ดอ่านคา่ ของกระแสไฟฟ้าบนแอมมเิ ตอร์ บนั ทึกผลแลว้ ยกสวิตซข์ ้ นึ 4. เปล่ียนขว้ั บวกของแอมมิเตอรโ์ ดยเปลี่ยนขว้ั บวกท่ีรองรบั กระแสไฟฟ้าสูงสุดลดลงมาทีค่าตา่ กวา่ จน อ่านค่าของกระแสไฟฟ้าบนแอมมิเตอรไ์ ด้ละเอียดข้ ึน บนั ทึกผลแลว้ ยกสวิตซ์ข้ ึน นาเสนอวิธีการและผลการวดั กระแสไฟฟ้า ตวั อยา่ งผลการทากิจกรรม ตาราง ค่ากระแสไฟฟ้าที่วดั ไดจ้ ากแอมมิเตอรเ์ มื่อต่อกบั ขว้ั บวกที่รองรบั กระแสไฟฟ้าสงู สุดต่างกนั ขว้ั บวกที่รองรบั กระแสไฟฟ้าสูงสุด กระแสไฟฟ้า 5A 0.5A

คาถามหลงั การทากิจกรรม 1. ถา้ ตอ้ งการวดั ค่ากระแสไฟฟ้าจะตอ้ งตอ่ แอมมิเตอรเ์ ขา้ ไปในวงจรไฟฟ้าอยา่ งไร --------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------- 2. เพราะเหตใุ ดจงึ ตอ้ งเปลี่ยนข้วั บวกทรี่ องรบั กระแสไฟฟ้าสูงสุดของแอมมิเตอรจ์ ากค่า กระแสไฟฟ้าสูงสุดลดลงมายงั คา่ ท่ีตา่ กว่า --------------------------------------------------------------------------- --------------------------------------------------------------------------- 3. จากกิจกรรม สรุปไดว้ ่าอยา่ งไร --------------------------------------------------------------------------- ---------------------------------------------------------------------------

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี 3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวทิ ยาศาสตร์ 5 รหสั ว23101 ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ชื่อหน่วย ไฟฟา้ เรอื่ งการวดั ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้า เวลา 2 ชวั่ โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตัวชี้วัด มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่าง สสารและพลังงาน พลงั งานในชวี ิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณท์ ่ีเกีย่ วขอ้ งกบั เสียง แสง และคลนื่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ รวมท้ังนาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ชีว้ ดั ว 2.3 ม.3/3 ใช้โวลต์มิเตอร์ แอมมเิ ตอร์ในการวดั ปริมาณไฟฟา้ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) อธบิ ายการวดั ความตา่ งศักย์ไฟฟ้าด้วยโวลมเิ ตอร์ได้ 2) ทดลองและสรุปผลการทดลองเกย่ี วกับความต่างศกั ย์ไฟฟ้าท่ีไดจ้ ากถา่ นไฟฉาย 1 กอ้ น และ 2 ก้อนได้ 3. สาระสาคัญ ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุด ซึง่ ทาให้เกิดกระแสไฟฟา้ ขน้ึ โดย กระแสไฟฟ้าจะไหลจากจุดท่ีมีระดับพลังงานไฟฟ้าสูง (ศักย์ไฟฟ้าสูง) ไปยังจุดที่มีระดับพลังงานไฟฟ้าต่ากว่า (ศักย์ไฟฟ้าต่า) และจะหยดุ ไหลเม่ือศักย์ไฟฟ้าทัง้ สองจุดเท่ากัน เคร่ืองมือที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ (voltmeter) มีหน่วยการวัด คือ โวลต์ (volt) ใช้ตวั ย่อแทนความต่างศกั ย์ว่า V 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการสือ่ สาร : การสนทนาพดู คยุ แลกเปลี่ยนคิดเหน็ การพดู หน้าชั้นเรียน  ความสามารถในการคิด : การใชก้ ระบวนการคดิ ในการเรียนรแู้ ละการทางาน  ความสามารถในการแก้ปัญหา : การแก้ปัญหาในการใช้เคร่ืองมือเกี่ยวกบั การวัดความตา่ งศักย์ไฟฟา้ 5. คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ. 2560  ซ่อื สัตยส์ ุจรติ  มงุ่ มน่ั ในการทางาน  มวี ินัย  ใฝ่เรยี นรู้  มีจิตสาธารณะ

6. สาระการเรียนรู้ ความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ 7. ช้นิ งาน / ภาระงาน 1) แผนผงั ความคิด เรื่อง การวดั ความตา่ งศักย์ไฟฟ้า 2) ใบงานที่ 3 เรื่อง การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า 8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าสู่บทเรยี น 1) ครนู าถ่านไฟฉายท่ีมีความต่างศกั ย์ไฟฟ้าแตกต่างกัน ได้แก่ 1.5 โวลต์ 9 โวลต์ และหลาย ๆ ขนาด ให้นักเรียน สังเกต แล้วใชค้ าถามกระต้นุ ความคิดนักเรยี น ดังนี้ - ถ่านไฟฉายที่นักเรียนสังเกตมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากันหรือไม่ อย่างไร (ไม่เท่ากัน โดยบางก้อนมี ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้า 1.5 โวลต์ บางกอ้ น 9 โวลต)์ - เมอื่ ใช้ถ่านไฟฉายไปเร่ือย ๆ ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้าจะมกี ารเปล่ียนแปลงหรือไม่อย่างไร (เปล่ียนแปลง โดย มีความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ ลดลง) - เคร่ืองมือท่ีใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าเรียกว่าอะไร และวิธีการใช้อย่างไร (โวลต์มิเตอร์ เป็นเครื่องมือ สาเร็จรูปที่ใช้วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุดในวงจร ความต้านทานภายในโวลต์มิเตอร์ มีคา่ สงู มาก วิธใี ช้ตอ้ งต่อขนานกับวงจร มหี นว่ ยวดั เปน็ โวลต์) - ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ วดั ไดอ้ ย่างไร (ใชโ้ วลตม์ ิเตอรใ์ นการวัด) 2) ครูและนักเรียนรว่ มกันอภปิ รายคาตอบของนกั เรยี น เพื่อเช่ือมโยงไปสู่การจัดการเรียนรูเ้ รื่อง การวดั ความ ต่างศกั ยไ์ ฟฟ้า 3) ครูช้ีแจงการจัดการเรียนการสอน เรื่อง การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า ตลอดจนตัวช้ีวัด จุดประสงค์การ เรียนรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ข้ันตอนในการศึกษาบทเรียน และกิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมินผล ในชัว่ โมงเรยี นนี้ 4) นกั เรียนทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน ขน้ั สอน 1) ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ 4 คน ศกึ ษาใบความรูแ้ ละใบงานที่ 3 เร่ือง การวัดความต่างศกั ย์ไฟฟ้า 2) ครูอธิบายพรอ้ มสาธิตวิธที ากิจกรรม และให้นกั เรียนซักถามข้อสงสยั จนเขา้ ใจ 3) ใหน้ ักเรยี นร่วมกันอภปิ รายก่อนทากจิ กรรม โดยครใู ชค้ าถามก่อนทากจิ กรรมดงั นี้ - ปัญหาของการทดลองน้ีคืออะไร (ความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ วัดได้อยา่ งไร) - ถา้ นักเรียนใช้โวลต์มิเตอร์วดั ความตา่ งศักย์ไฟฟ้าของถ่านไฟฉายท่ีใชใ้ นการทดลอง สาหรับถ่านไฟฉาย 1 กอ้ น นกั เรียนคดิ ว่าความต่างศักยร์ ะหวา่ งข้วั บวกกบั ขั้วลบเป็นเท่าใด (ประมาณ 1.5 โวลต)์ - เม่ือใช้ถ่านไฟฉาย 2 ก้อน นักเรียนคิดว่าความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างข้ัวบวกกับข้ัวลบเป็นเท่าใด (3 โวลต)์

4) ให้นักเรียนปฏิบัติทากิจกรรมตามใบงานท่ี 3 เรื่อง การความต่างศักย์ไฟฟ้าด้วยตนเอง โดยครูดูแลให้ คาแนะนาอยา่ งใกลช้ ิด และบนั ทึกผลการทากจิ กรรมลงในใบงาน ข้นั สรุป 1) ใหผ้ ูแ้ ทนนกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าชน้ั เรียน เพ่ือแลกเปลี่ยนเรยี นรกู้ ัน 2) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการทากิจกรรม โดยครูใช้คาถามหลังทา กิจกรรมดงั น้ี - เมือ่ ใช้โวลต์มิเตอร์วัดความต่างศักย์ไฟฟา้ ของถา่ นไฟฉายในการทดลอง สาหรับถ่านไฟฉาย 1 ก้อนจะได้ ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างข้ัวบวกกับข้ัวลบเป็นเท่าใด ตรงตามท่ีคาดคะเนหรือไม่ (ประมาณ 1.5 โวลต์ ตรงตาม ท่คี าดคะเนไว้) - จากการทดลอง เม่ือใช้ถ่านไฟฉาย 2 ก้อน วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบเป็นเท่าใด ตรงตามทีค่ าดคะเนหรือไม่ (ประมาณ 3 โวลต์ ตรงตามทคี่ าดคะเนไว้) - ถ่านไฟฉายที่มีขนาดต่าง ๆ กัน จะให้ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างข้ัวบวกกับขั้วลบเท่ากันหรือไม่ อยา่ งไร (เทา่ กัน คอื 1.5 โวลต)์ - สรปุ ผลการทดลองน้ีได้อย่างไร (โวลตม์ ิเตอร์ คือ เครอ่ื งมอื สาเร็จรปู ท่ีใช้วัดความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ ระหวา่ ง จุด 2 จุด ความต้านทานภายในของโวลต์มิเตอร์มีค่าสูงมาก วิธีใช้ต้องต่อขนานกับวงจร ความต่างศักย์ไฟฟ้ามี หน่วยวดั เปน็ โวลต)์ 3) ครวู าดรปู สัญลักษณท์ ่ีใช้แทนโวลต์มเิ ตอร์ และการต่อโวลตม์ เิ ตอร์เขา้ กับวงจร 4) ให้นกั เรียนรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ เพื่อสรุปความรู้เรอื่ งการวัดความตา่ งศักย์ไฟฟา้ 5) นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 9. สือ่ การเรียนรู้/แหล่งเรยี นรู้ 9.1 สื่อการเรยี นรู้ 1) หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ (สสวท) ม.3 เลม่ 2 2) อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการทดลอง 3) ใบความรู้ที่ 3 เร่ืองการวัดความต่างศักยไ์ ฟฟ้า 4) ใบงานที่ 3 เรือ่ ง การวัดความต่างศกั ย์ไฟฟา้ 5) ppt เรือ่ งไฟฟา้ 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ

10. การวัดผลและประเมินผล เครือ่ งมอื เกณฑ์ ข้อสอบ ร้อยละ 50 ผา่ นเกณฑ์ ภาระงาน/กิจกรรม แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรยี น ใบงานที่ 3 เรอื่ งการวัดความต่างศักย์ไฟฟา้ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 3 เรือ่ งการวดั ความ ตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ แผนผงั ความคิด เรื่องการวดั ความ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ตา่ งศักย์ไฟฟ้า สังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ 11. บนั ทกึ ผลหลังการเรยี นรู้ (บันทกึ ตามตวั ชีว้ ดั จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ สมรรถนะและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ทีส่ อดคล้องกบั การกาหนดแนวทางการวดั และประเมินผล) ผลการจดั การเรยี นรตู้ ามตัวชี้วัด / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคแ์ ตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อค้นพบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ..................................................................ผู้สอน (นางสาวนาตยา แซ่เตยี ว) วนั ท่ี..............เดือน.......................พ.ศ...........

ความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................................. (นางอมรรัตน์ ทิมจิตร) หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วนั ท.่ี ..............เดอื น..............................พ.ศ............

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ี่ 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัส ว23101 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 หน่วยการเรียนรูท้ ่ี 1 ช่ือหน่วย ไฟฟา้ เรื่องความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความตา่ งศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน เวลา 3 ช่วั โมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชวี้ ัด มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์ระหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณ์ท่เี กีย่ วข้องกบั เสยี ง แสง และคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟ้า รวมท้งั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตวั ชีว้ ัด ว 2.3 ม.3/1 วิเคราะห์ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง ความต่างศกั ย์ กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทาน และคานวณ ปริมาณ ท่เี ก่ียวขอ้ งโดยใช้สมการ V = IR จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ ว 2.3 ม.3/2 เขียนกราฟความสัมพนั ธร์ ะหวา่ ง กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟา้ ว 2.3 ม.3/4 วิเคราะหค์ วามต่างศกั ย์ไฟฟ้า และ กระแสไฟฟา้ ในวงจรไฟฟา้ เมอ่ื ต่อตวั ต้านทานหลายตัวแบบ อนุกรม และแบบขนานจากหลักฐานเชงิ ประจกั ษ์ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) ทดลองและอธิบายความสัมพนั ธร์ ะหว่างความต่างศกั ย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าได้ 2) ทดลองและสรุปผลการทดลองเก่ยี วกบั กฎของโอห์มได้ 3. สาระสาคัญ กฎของโอห์ม เมือ่ อณุ หภมู คิ งท่ี อตั ราสว่ นระหว่างความตา่ งศักย์ไฟฟ้ากับกระแสไฟฟา้ ของตัวนาอนั หน่ึงย่อมคงทเี่ สมอ ซึ่ง เขยี นเป็นความสัมพันธไ์ ด้วา่ หรอื V = IR เมื่อ V แทน ความต่างศักยไ์ ฟฟา้ มีหน่วยเป็น โวลต์ (V) I แทน กระแสไฟฟ้า มหี นว่ ยเปน็ แอมแปร์ (A) R แทน ความตา้ นทานไฟฟ้า มีหนว่ ยเปน็ โอหม์ (Ω) 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการสื่อสาร : การสนทนาพดู คุย แลกเปลีย่ นคดิ เห็น การพดู หนา้ ช้ันเรยี น  ความสามารถในการคิด : การใชก้ ระบวนการคดิ ในการเรยี นรแู้ ละการทางาน  ความสามารถในการแก้ปัญหา : การแกป้ ัญหาขณะปฏิบตั กิ ิจกรรม

5. คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ. 2560  ซื่อสัตย์สจุ ริต  มงุ่ ม่นั ในการทางาน  มวี ินยั  ใฝ่เรียนรู้  มจี ติ สาธารณะ 6. สาระการเรยี นรู้ ความสมั พันธ์ระหว่างความตา่ งศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า - กฎของโอห์ม 7. ชน้ิ งาน / ภาระงาน 1) แผนผงั ความคิด เร่อื งความสมั พันธ์ระหว่างความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟา้ 2) ใบงานท่ี 4 เรอื่ ง ความสัมพันธร์ ะหว่างความต่างศักยไ์ ฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และความต้านทานไฟฟา้ 8. กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้ันนาเข้าส่บู ทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้เดิมและนาเข้าสู่บทเรียนใหม่โดยสาธิตการต่อหลอดไฟเข้ากับถ่านไฟฉาย แล้วเพ่ิม จานวนถ่านไฟฉายมากขึน้ ซึง่ จะทาให้หลอดไฟสวา่ งมากข้ึนด้วย จากน้ันครูใชค้ าถามกระตุ้นความคดิ นักเรียนดังน้ี - ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร (สัมพันธ์กัน โดยเมอ่ื อณุ หภมู คิ งท่ี อัตราส่วนระหวา่ งความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้ากบั กระแสไฟฟ้าของตัวนาอันหนง่ึ ยอ่ มคงท่เี สมอ) 2) ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายคาตอบของนักเรียน เพ่ือเชื่อมโยงไปสู่การจัดการเรียนรู้เร่ือง ความสมั พนั ธร์ ะหว่างความต่างศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และความต้านทานไฟฟา้ 3) ครูชี้แจงการจัดการเรยี นการสอน เร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความ ต้านทานไฟฟ้า ตลอดจนตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ขั้นตอนในการศึกษาบทเรียน และ กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมนิ ผลในชัว่ โมงเรยี นนี้ 4) นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ขัน้ สอน 1) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ศึกษาใบความรู้และใบงานที่ 4 เร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างความต่าง ศักยไ์ ฟฟา้ กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟา้ 2) ครูอธบิ ายพรอ้ มสาธิตวธิ ที ากิจกรรม และใหน้ กั เรยี นซักถามข้อสงสัยจนเข้าใจ 3) ให้นกั เรยี นร่วมกนั อภิปรายกอ่ นทากิจกรรม โดยครูใช้คาถามกอ่ นทากจิ กรรมดังน้ี - ปัญหาของการทดลองนี้คืออะไร (ความต่างศักย์ไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อยา่ งไร)

- จงคาดคะเนผลการทดลองตอ่ ไปน้ี 1. เมื่อเพ่ิมจานวนถ่านไฟฉาย ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จากแอมมิเตอร์เปล่ียนแปลงหรือไม่ อย่างไร (เปลี่ยนแปลง คือ ค่ากระแสไฟฟา้ ทีอ่ ่านไดจ้ ากแอมมเิ ตอรจ์ ะมากข้นึ ) 2. เมื่อเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร (เปลี่ยนแปลง คอื คา่ ความต่างศกั ยไ์ ฟฟา้ ท่ีอา่ นได้จากโวลต์มเิ ตอรจ์ ะมากข้ึน) 4) ให้นักเรียนทาใบงานที่ 4 เรื่องความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความ ตา้ นทานไฟฟ้า ด้วยตนเอง โดยครูดูแลใหค้ าแนะนาอยา่ งใกลช้ ดิ และบนั ทึกผลการทากิจกรรมในใบงาน ข้นั สรุป 1) ใหผ้ ู้แทนนกั เรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรมหน้าช้นั เรยี น เพื่อแลกเปลี่ยนเรยี นรูก้ ัน 2) ให้นักเรียนรว่ มกันอภิปรายและแสดงความคิดเหน็ เกยี่ วกับผลการทากิจกรรม โดยครูใช้คาถามหลงั ทา กิจกรรมดังน้ี - เมื่อเพ่ิมจานวนถ่านไฟฉาย ค่ากระแสไฟฟ้าท่ีอ่านได้จากแอมมิเตอร์เปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตรงกับที่คาดคะเนหรือไม่ (มีการเปล่ียนแปลง คือ ค่ากระแสไฟฟ้าที่อ่านได้จาก แอมมเิ ตอร์จะมากขน้ึ เพราะการเพิ่มจานวนถ่านไฟฉายทาใหค้ า่ กระแสไฟฟ้าเพ่ิมข้ึน ตรงกับทค่ี าดคะเนไว)้ - เมื่อเพิ่มจานวนถ่านไฟฉาย ค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าที่อ่านได้จากโวลต์มิเตอร์เปล่ียนแปลงหรือไม่ อยา่ งไร เพราะเหตุใดจึงเปน็ เช่นนัน้ ตรงกับที่คาดคะเนหรือไม่ (มีการเปลยี่ นแปลง คือ คา่ ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ ที่อ่าน ได้จากโวลต์มิเตอร์จะมากขึ้น เพราะการเพ่ิมจานวนถ่านไฟฉายทาให้ความต่างศักย์ไฟฟ้ามากขึ้น ตรงกับที่ คาดคะเนไว้) - เมื่อเพ่ิมจานวนถ่านไฟฉาย อัตราส่วนระหว่างค่าท่ีอ่านได้จากโวลต์มิเตอร์กับค่าท่ีอ่านได้จาก แอมมเิ ตอรม์ ีค่าเท่ากันหรอื ไม่ (เทา่ กนั ) - กราฟความสัมพันธร์ ะหว่างความต่างศักยไ์ ฟฟ้ากบั กระแสไฟฟ้ามีลักษณะอย่างไร (เมื่อค่าความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ เพม่ิ ข้ึน ค่ากระแสไฟฟา้ จะเพ่ิมขนึ้ ด้วย) - สรุปผลการทดลองได้อยา่ งไร (ความต่างศักยไ์ ฟฟ้า และกระแสไฟฟา้ มคี วามสมั พันธ์กัน คือ เม่ือ คา่ ความต่างศักย์ไฟฟ้าเพิม่ ข้นึ ค่ากระแสไฟฟา้ จะเพิ่มขึน้ ด้วย) 3) ใหน้ กั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายเพอ่ื สรปุ ผลการทากจิ กรรมให้ไดป้ ระเดน็ ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 4) ให้นักเรียนสรุปความรู้ด้วยตนเองเก่ียวกับกฎของโอห์ม ให้ได้ว่า เมื่ออุณหภูมิคงท่ีอัตราส่วนระหว่าง ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ กบั กระแสไฟฟ้าของตัวนาอันหน่ึงย่อมคงทเ่ี สมอ ( V = R) I 5) ครูยกตัวอย่างและอธิบายการคานวณความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟา้ บนกระดานเพิ่มเตมิ 6) นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น

9. สื่อการเรียนรู้/แหลง่ เรียนรู้ 9.1 สือ่ การเรียนรู้ 1) หนงั สือเรียนวิทยาศาสตร์ (สสวท) ม.3 เล่ม 2 2) อุปกรณ์ทใี่ ช้ในการทดลอง 3) ใบความรทู้ ี่ 4 เร่ืองความสัมพันธ์ระหว่างความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟา้ 4) ใบงานท่ี 4 เรื่อง ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และความต้านทานไฟฟา้ 5) ppt เร่ืองไฟฟา้ 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ 10. การวัดผลและประเมนิ ผล ภาระงาน/กจิ กรรม เคร่ืองมือ เกณฑ์ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น ขอ้ สอบ ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 4 เรอ่ื งความสัมพันธ์ระหว่าง ใบงานท่ี 4 เรื่องความสัมพนั ธ์ระหวา่ งความ ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ กระแสไฟฟา้ และความ ตา่ งศกั ย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟา้ และความ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ ตา้ นทานไฟฟ้า ตา้ นทานไฟฟ้า แผนผงั ความคดิ เรื่องความสัมพันธร์ ะหว่าง ความต่างศักยไ์ ฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ต้านทานไฟฟ้า สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์

11. บันทึกผลหลังการเรยี นรู้ (บนั ทกึ ตามตวั ชว้ี ดั จุดประสงค์การเรยี นรู้ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สอดคล้องกบั การกาหนดแนวทางการวดั และประเมินผล) ผลการจดั การเรียนรู้ตามตัวชวี้ ัด / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ต่ละดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ..................................................................ผู้สอน (นางสาวนาตยา แซเ่ ตียว) วันท.่ี .............เดือน.......................พ.ศ........... ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ............................................................. (นางอมรรัตน์ ทมิ จิตร) หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วันที.่ ..............เดอื น..............................พ.ศ............

ใบงานท่ี กำรหำควำมสมั พนั ธร์ ะหว่ำงควำมต่ำงศกั ยไ์ ฟฟ้ำ 4.2 กระแสไฟฟ้ำ และควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นคำนวณหำคำตอบจำกโจทยท์ ก่ี ำหนด 1. หลอดไฟฟ้ำหลอดหน่งึ ใชไ้ ฟฟ้ำซง่ึ มคี วำมต่ำงศกั ยไ์ ฟฟ้ำ 200 โวลต์ ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ น 4 แอมแปร์ หลอดไฟฟ้ำหลอดน้มี คี วำมตำ้ นทำนกโ่ี อหม์ วิธีทำ 2. ลวดตวั นำเสน้ หน่งึ มคี วำมต้ำนทำน 20 โอหม์ ถำ้ ควำมต่ำงศกั ยร์ ะหว่ำงปลำยทงั้ สองของลวดตวั นำน้ี มคี ่ำ 80 โวลต์ กระแสไฟฟ้ำทไ่ี หลผ่ำนลวดตวั นำน้มี คี ่ำก่แี อมแปร์ วิธีทำ 3. ลวดตวั นำเสน้ หน่งึ มคี วำมตำ้ นทำน 12 โอหม์ มกี ระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำน 0.50 แอมแปร์ ควำมต่ำงศกั ย์ ระหวำ่ งปลำยทงั้ สองของลวดตวั นำน้ีมคี ำ่ กโ่ี อหม์ วิธีทำ 4. หลอดไฟฟ้ำหลอดหน่งึ มกี ระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ น 0.25 แอมแปร์ ซง่ึ ต่อกบั ควำมต่ำงศกั ย์ 200 โวลต์ ควำมตำ้ นทำนของหลอดไฟฟ้ำหลอดน้มี คี ่ำกโ่ี อหม์ วิธีทำ

ใบงานท่ี กำรหำควำมสมั พนั ธร์ ะหว่ำงควำมต่ำงศกั ยไ์ ฟฟ้ำ 4.2 กระแสไฟฟ้ำ และควำมต้ำนทำนไฟฟ้ำ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นคำนวณหำคำตอบจำกโจทยท์ ก่ี ำหนด 1. หลอดไฟฟ้ำหลอดหน่งึ ใชไ้ ฟฟ้ำซง่ึ มคี วำมต่ำงศกั ยไ์ ฟฟ้ำ 200 โวลต์ ยอมใหก้ ระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ น 4 แอมแปร์ หลอดไฟฟ้ำหลอดน้มี คี วำมตำ้ นทำนกโ่ี อหม์ วิธีทำ โจทยก์ ำหนด V = 200 โวลต,์ I = 4 แอมแปร์ จำกสมกำร V = IR แทนคำ่ 200 = 4 X R R = 200 4 R = 50 โอหม์ ตอบ ดงั นนั้ หลอดไฟฟ้ำหลอดน้มี คี วำมตำ้ นทำนเทำ่ กบั 50 โอหม์ 2. ลวดตวั นำเสน้ หน่งึ มคี วำมต้ำนทำน 20 โอหม์ ถำ้ ควำมต่ำงศกั ยร์ ะหว่ำงปลำยทงั้ สองของลวดตวั นำน้ี มคี ่ำ 80 โวลต์ กระแสไฟฟ้ำทไ่ี หลผ่ำนลวดตวั นำน้มี คี ่ำก่แี อมแปร์ วิธีทำ โจทยก์ ำหนด R = 20 โอหม์ , V = 80 โวลต์ จำกสมกำร V = IR แทนคำ่ 80 = I X 20 R = 80 20 R = 4 แอมแปร์ ตอบ ดงั นนั้ กระแสไฟฟ้ำทไี่ หลผ่ำนลวดตวั นำน้มี คี ำ่ เทำ่ กบั 4 แอมแปร์ 3. ลวดตวั นำเสน้ หน่งึ มคี วำมต้ำนทำน 12 โอหม์ มกี ระแสไฟฟ้ำไหลผำ่ น 0.50 แอมแปร์ ควำมต่ำงศกั ย์ ระหวำ่ งปลำยทงั้ สองของลวดตวั นำน้ีมคี ่ำกโ่ี อหม์ วิธีทำ โจทยก์ ำหนด R = 12 โวลต,์ I = 0.50 แอมแปร์ จำกสมกำร V = IR แทนค่ำ V = 0.50 X 12 V = 6 โวลต์ ตอบ ดงั นนั้ ควำมต่ำงศกั ยร์ ะหว่ำงปลำยทงั้ สองของลวดตวั นำน้มี คี ่ำเท่ำกบั 6 โวลต์

4. หลอดไฟฟ้ำหลอดหน่งึ มกี ระแสไฟฟ้ำไหลผ่ำน 0.25 แอมแปร์ ซง่ึ ต่อกบั ควำมต่ำงศกั ย์ 200 โวลต์ ควำมตำ้ นทำนของหลอดไฟฟ้ำหลอดน้มี คี ่ำกโ่ี อหม์ วิธีทำ โจทยก์ ำหนด I = 0.25 แอมแปร,์ V = 200 โวลต์ จำกสมกำร V = IR แทนคำ่ 200 = 0.25 X R R = 200 0.25 R = 800 โอหม์ ตอบ ดงั นนั้ ควำมตำ้ นทำนของหลอดไฟฟ้ำหลอดน้มี คี ำ่ เท่ำกบั 800 โอหม์

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัส ว23101 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ชอื่ หน่วย ไฟฟา้ เรื่อง กาลังไฟฟา้ เวลา 2 ชัว่ โมง ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้วี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏิสมั พนั ธ์ระหว่าง สสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ิตประจาวัน ธรรมชาติของคลื่น ปรากฏการณท์ ่เี กีย่ วขอ้ งกบั เสยี ง แสง และคลืน่ แม่เหล็กไฟฟ้า รวมท้งั นาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ ตัวชีว้ ัด ว 2.3 ม.3/8 อธิบายและคานวณพลงั งานไฟฟา้ โดยใช้สมการ W = Pt รวมท้งั คานวณค่าไฟฟา้ ของ เคร่อื งใชไ้ ฟฟ้าในบา้ น 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) อธิบายความหมายของกาลงั ไฟฟา้ และการคานวณกาลังไฟฟา้ ได้ 2) คานวณหากาลังไฟฟ้า หรือความต่างศักย์ไฟฟ้า หรือกระแสไฟฟ้าที่ใช้ในเครือ่ งใช้ไฟฟ้าแต่ละชนดิ ได้ 3. สาระสาคัญ เครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีค่ากาลังไฟฟ้าและความต่างศักย์กากับไว้ กาลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็นวัตต์ ความต่างศักย์มี หน่วยเป็นโวลต์ ค่าไฟฟ้าส่วนใหญ่คิดจากพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ท้ังหมด ซึ่งหาได้จากผลคูณของกาลังไฟฟ้า ในหน่วย กิโลวัตตก์ ับเวลาในหนว่ ยชว่ั โมง พลังงานไฟฟ้ามีหน่วยเปน็ กโิ ลวตั ต์ /ชวั่ โมง หรือ หน่วย การคานวณกาลังไฟฟ้า (P) กาลังไฟฟ้า (P) (วัตต์) = จะได้ P = W หรอื W = t Pt พลังงานไฟฟ้า (จลู ) = กาลงั ไฟฟา้ (วัตต)์  เวลา (วนิ าที) 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการส่อื สาร : การสนทนาพดู คุย แลกเปล่ียนคิดเห็น การพดู หน้าชั้นเรยี น  ความสามารถในการคดิ : การใชก้ ระบวนการคิดในการเรียนรแู้ ละการทางาน  ความสามารถในการแก้ปัญหา : การแกป้ ัญหาในการสืบคน้ หาข้อมูลจากแหลง่ เรยี นร้ตู ่าง ๆ  ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ิต: การคานวณเงนิ ค่าพลังงานไฟฟ้าไปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั

5. คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปรบั ปรุง พ.ศ. 2560  ซือ่ สตั ยส์ ุจริต  มุ่งมน่ั ในการทางาน  มีวินยั  ใฝ่เรยี นรู้  มีจติ สาธารณะ 6. สาระการเรยี นรู้ กาลงั ไฟฟ้า 7. ช้นิ งาน / ภาระงาน 1) แผนผงั ความคิด เร่ืองกาลงั ไฟฟา้ 2) ใบงานที่ 5 เรือ่ งกาลังไฟฟ้า 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรยี น 1) ครูนาเข้าสู่บทเรียนเก่ียวกับกาลังไฟฟ้า โดยแจกหลอดไฟขนาด 40 วัตต์ ให้นักเรียนสังเกต แล้วใช้ คาถามถามให้นกั เรยี นเกิดกระบวนการคิด ดงั นี้ - นักเรียนสังเกตพบอะไรบ้าง (ตวั อย่างคาตอบ ตวั เลขตา่ ง ๆ บนหลอดไฟ) - นักเรยี นดบู ัตรภาพเคร่ืองใชไ้ ฟฟ้าที่เขียนกากบั ปริมาณกระแสไฟฟ้าและพลงั งานไฟฟ้า แล้วรว่ มกนั อภปิ รายตามประเด็นท่ีกาหนด ดงั น้ี - ตวั เลขทีก่ ากบั อยบู่ นเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนดิ มคี วามหมายว่าอยา่ งไร (ยกตัวอย่างพัดลม หมายความ ว่า พัดลมดงั กลา่ วมีกาลังไฟฟ้า 20-75 วตั ต์)

- นักเรยี นคิดวา่ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าชนดิ ใดท่ใี ชพ้ ลังงานไฟฟ้ามาก (เตารีด) - เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าแต่ละชนดิ เชน่ เตารดี กบั หมอ้ หุงขา้ ว ถา้ ใชเ้ วลาเทา่ กันจะส้ินเปลอื งพลังงานเทา่ กัน หรอื ไม่ (ไมเ่ ท่ากัน ขนึ้ อย่กู ับกาลังไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าแตล่ ะชนิดด้วย) - หลอดไฟฟ้าชนิดเดียวกนั ถ้าเปิดใช้เวลานานต่างกันจะสนิ้ เปลืองพลงั งานเท่ากนั หรอื ไม่ (ไม่เท่ากัน ถ้า เปิดใช้เวลานานก็จะส้นิ เปลืองพลงั งานเพ่มิ ข้นึ ) 2) ครูชี้แจงการจดั การเรียนการสอน เรื่อง กาลงั ไฟฟ้า ตลอดจนตัวช้ีวัด จุดประสงค์การเรียนรู้ คุณลักษณะท่ี พงึ ประสงค์ ขั้นตอนในการศึกษาบทเรียน และกจิ กรรมการเรียนการสอน การวัดผลประเมนิ ผลในช่วั โมงเรียนนี้ 3) นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน ขัน้ สอน 1) ให้นักเรยี นแบ่งกลุ่ม กลุม่ ละ 4 คน ศึกษาและสบื ค้นเกี่ยวกบั กาลงั ไฟฟ้า จากแหลง่ เรียนรตู้ า่ ง 2) ให้นกั เรยี นร่วมกนั อภปิ รายก่อนทากจิ กรรมสืบคน้ ขอ้ มูล 3) ครูสนทนากับนักเรียนเก่ียวกับการทางานของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าว่า เครื่องใช้ไฟฟ้าจะสามารถทางานได้ก็ ต่อเมื่อต่อเข้ากับวงจรไฟฟ้าในบ้าน ซ่ึงปกติจะมีค่าความต่างศักย์ 220 โวลต์ ถ้ากระแสไฟฟ้าไหลผ่านมาก แสดงว่า เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าน้นั ใชพ้ ลังงานหรือกาลังไฟฟา้ มาก แต่ถ้ากระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นนอ้ ยแสดงวา่ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ น้ันใช้พลังงาน หรือกาลังไฟฟา้ น้อย 4) ครสู าธิตวิธกี ารคานวณหาปริมาณกระแสไฟฟ้าท่ีไหลผา่ นเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าและการส้ินเปลืองพลงั งาน ไฟฟา้ ของเคร่อื งใช้ไฟฟ้าใหน้ ักเรยี นดูเปน็ ตัวอยา่ ง พร้อมเปดิ โอกาสให้นักเรียนไดซ้ กั ถามในสว่ นทีส่ งสัย 5) นกั เรียนแต่ละคนคานวณหาปรมิ าณกระแสไฟฟ้าท่ไี หลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้าและการสิน้ เปลืองพลังงาน ไฟฟ้าของเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในใบงานท่ี 5 เร่ือง กาลังไฟฟ้า เสร็จแล้วให้รวมกลุ่มเดิม แล้วช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ของคาตอบในใบงาน ขน้ั สรปุ 1) ครูและนักเรยี นร่วมกนั เฉลยคาตอบในใบงานท่ี 5 เรื่อง กาลังไฟฟา้ โดยขออาสาสมัครนักเรียนทลี ะคน ออกมาเขยี นวิธีการคานวณหาค่าพลังงานไฟฟ้าท่ีถูกใช้ไปในเครื่องใช้ไฟฟ้าหน้าช้นั เรียน 2) นกั เรียนและครูรว่ มกนั สรุปความรู้เก่ียวกับกาลังไฟฟ้าและวธิ ีการคานวณค่าพลังงานไฟฟ้าที่ถกู ใช้ไปใน เครื่องใช้ไฟฟ้า 3) นกั เรยี นทาแบบทดสอบหลังเรยี น 9. ส่ือการเรยี นรู้/แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 สอ่ื การเรียนรู้ 1) หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ (สสวท) ม.3 เลม่ 2 2) ใบความรู้ที่ 5 เรื่องกาลงั ไฟฟ้า 3) ใบงานท่ี 5 เร่อื งกาลงั ไฟฟ้า 4) ppt เรอ่ื งไฟฟา้

9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมุด 2) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ 10. การวดั ผลและประเมนิ ผล เครอื่ งมอื เกณฑ์ ภาระงาน/กจิ กรรม ขอ้ สอบ รอ้ ยละ 50 ผา่ นเกณฑ์ แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรยี น ตรวจใบงานที่ 5 เรื่องกาลังไฟฟ้า ใบงานท่ี 5 เรื่องกาลงั ไฟฟา้ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์ แผนผังความคดิ เรือ่ งกาลังไฟฟา้ สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 11. บนั ทกึ ผลหลังการเรียนรู้ (บันทกึ ตามตัวช้ีวัด จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สมรรถนะและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ ที่สอดคล้องกับการกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผล) ผลการจดั การเรยี นรู้ตามตวั ชี้วัด / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแต่ละด้าน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์แต่ละดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแก้ปัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อคน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ลงชอ่ื ..................................................................ผู้สอน (นางสาวนาตยา แซเ่ ตียว) วันท่ี..............เดือน.......................พ.ศ........... ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ............................................................. (นางอมรรัตน์ ทิมจิตร) หวั หน้ากล่มุ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วนั ท่ี...............เดอื น..............................พ.ศ............

ใบงานที่ 5.1 กำลงั ไฟฟ้ำ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นคำนวณหำปรมิ ำณกระแสไฟฟ้ำและกำรสน้ิ เปลอื งพลงั งำนไฟฟ้ำของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้ำ แต่ละชนิดทก่ี ำหนดให้ เคร่อื งใช้ไฟฟ้ำ เวลำท่ีใช้ กำลงั ไฟฟ้ำ ปริมำณ สิ้นเปลือง 1. (s) (W) กระแสไฟฟ้ำ (A) พลงั งำนไฟฟ้ำ (J) (P = Vl) (W = Pt) 10 800 เตำไมโครเวฟ 2. 20 2,500 เครอ่ื งทำน้ำอ่นุ 3. 30 500 เครอ่ื งเป่ำผม 4. 50 1,000 เตำรดี ไฟฟ้ำ 5. 20 1,000 เครอ่ื งดดู ฝ่นุ

ใบงานที่ 5.1 กำลงั ไฟฟ้ำ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นคำนวณหำปรมิ ำณกระแสไฟฟ้ำและกำรสน้ิ เปลอื งพลงั งำนไฟฟ้ำของเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้ำ แต่ละชนิดทก่ี ำหนดให้ เครอื่ งใช้ไฟฟ้ำ เวลำท่ีใช้ กำลงั ไฟฟ้ำ ปริมำณ สิ้นเปลือง 1. (s) (W) กระแสไฟฟ้ำ (A) พลงั งำนไฟฟ้ำ (J) (P = Vl) (W = Pt) 10 800 3.636 8,000 เตำไมโครเวฟ 2. 20 2,500 11.364 50,000 เคร่อื งทำน้ำอุน่ 3. 30 500 2.273 15,000 เคร่อื งเป่ำผม 4. 50 1,000 4.546 5,000 เตำรดี ไฟฟ้ำ 5. 20 1,000 4.546 2,000 เครอ่ื งดดู ฝ่นุ

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหสั ว23101 ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ชอ่ื หน่วย ไฟฟา้ เร่อื งพลงั งานไฟฟ้า เวลา 3 ช่วั โมง ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วดั มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่าง สสารและพลงั งาน พลังงานในชีวติ ประจาวนั ธรรมชาตขิ องคลนื่ ปรากฏการณ์ที่เกีย่ วขอ้ งกับ เสยี ง แสง และคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทง้ั นาความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วดั ว 2.3 ม.3/8 อธบิ ายและคานวณพลังงานไฟฟ้า โดยใช้สมการ W = Pt รวมท้ังคานวณคา่ ไฟฟา้ ของ เครื่องใช้ไฟฟ้าในบา้ น 2. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1) คานวณพลังงานไฟฟา้ ของเครอ่ื งใช้ไฟฟ้า และนาความรู้ไปใชป้ ระโยชน์ได้ 3. สาระสาคญั เครื่องใช้ไฟฟ้าจะมีค่ากาลังไฟฟ้าและความต่างศักย์กากับไว้ กาลังไฟฟ้ามีหน่วยเป็นวัตต์ ความต่างศักย์มี หน่วยเป็นโวลต์ ค่าไฟฟ้าส่วนใหญ่คิดจากพลังงานไฟฟ้าท่ีใช้ท้ังหมด ซึ่งหาได้จากผลคูณของกาลังไฟฟ้า ในหน่วย กิโลวัตตก์ ับเวลาในหนว่ ยชัว่ โมง พลงั งานไฟฟ้ามหี น่วยเปน็ กิโลวตั ต์ /ชว่ั โมง หรอื หนว่ ย การคานวณกาลังไฟฟา้ (P) กาลงั ไฟฟ้า (P) (วตั ต)์ = จะได้ P = W หรอื W = t Pt พลงั งานไฟฟ้า (จลู ) = กาลังไฟฟา้ (วตั ต)์  เวลา (วนิ าที) การใช้พลังงานไฟฟ้าจะมากหรือน้อยข้ึนอยู่กับจานวนและชนิดของเครื่องใช้ไฟฟ้า และใช้เป็นระยะเวลา เท่าใด การไฟฟ้าจะคิดเงินค่าพลังงานไฟฟ้าท่ีแต่ละบ้านใช้ไปโดยใช้เครื่องวัดติดไว้บนเสาไฟฟ้าหน้าบ้านของผู้ใช้ไฟฟ้า เรยี กว่า มาตรกโิ ลวตั ต์ช่วั โมง

4. สมรรถนะสาคญั  ความสามารถในการสื่อสาร : การสนทนาพูดคุย แลกเปลี่ยนคดิ เหน็ การพดู หน้าช้ันเรียน  ความสามารถในการคดิ : การใชก้ ระบวนการคิดในการเรยี นรูแ้ ละการทางาน  ความสามารถในการแก้ปญั หา : การแก้ปัญหาในการสืบค้นหาขอ้ มูลจากแหล่งเรยี นร้ตู ่าง ๆ  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต: การคานวณเงินคา่ พลงั งานไฟฟา้ ไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั 5. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ปรับปรงุ พ.ศ. 2560  ซอ่ื สตั ย์สจุ ริต  มงุ่ มั่นในการทางาน  มวี ินยั  ใฝเ่ รยี นรู้  มจี ติ สาธารณะ 6. สาระการเรยี นรู้ 1) พลังงานไฟฟา้ 2) การคานวณหาพลังงานไฟฟ้าและคา่ ไฟฟ้า 7. ช้นิ งาน / ภาระงาน 1) แผนผงั ความคิด เรือ่ งพลังงานไฟฟา้ 2) ใบงานที่ 6 เรอ่ื งการคานวณค่าพลงั งานไฟฟ้า 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สบู่ ทเรียน 1) ครทู บทวนความรเู้ กีย่ วกับการคานวณค่ากาลังไฟฟา้ และนานักเรียนเขา้ ส่บู ทเรียนโดยครูนาใบแจ้งหนี้ ค่าใชไ้ ฟฟา้ มาใหน้ กั เรยี นดู แล้วให้นกั เรียนร่วมกนั วเิ คราะหว์ า่ โดยใช้คาถามถามให้นกั เรียนเกิดกระบวนการคดิ ดงั นี้ - เดือนน้ที ่ีบา้ นนกั เรยี นจา่ ยเงินค่าใช้ไฟฟ้าเท่าไร (ตัวอยา่ งคาตอบ 3,000 บาท) - นกั เรยี นทราบค่าใชไ้ ฟฟ้าประจาเดอื นได้อยา่ งไร (จากใบแจ้งหน)ึ้ - ใบแจ้งหน้ีค่าไฟฟ้าประกอบด้วยค่าอะไรบ้าง (ตัวอยา่ งคาตอบ ค่าไฟฟ้าฐาน ค่าบริการ ค่าไฟฟ้าผัน แปร (Ft) คา่ ภาษีมลู ค่าเพิม่ ) 3) ครูชี้แจงการจัดการเรียนการสอน เรื่อง พลังงานไฟฟ้า ตลอดจนตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ ขัน้ ตอนในการศึกษาบทเรยี น และกจิ กรรมการเรยี นการสอน การวัดผลประเมินผลในชั่วโมง เรียนน้ี 4) นกั เรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรียน

ข้ันสอน 1) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ศึกษาและสืบค้นเก่ียวกับวิธีการคิดเงินค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป จาก แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น เว็บไซต์การไฟฟ้านครหลวง (http://www.mea.or.th) เว็บไซต์การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ประเทศไทย เว็บไซตก์ ระทรวงพลังงาน 2) ใหน้ กั เรียนรว่ มกนั อภิปรายก่อนทากิจกรรมสืบค้นขอ้ มูล 3) ใหน้ ักเรียนแต่ละกล่มุ ออกแบบและนาเสนอผลการสืบค้นให้อยู่ในแบบทน่ี ่าสนใจ 4) ครูอธิบายการคิดเงินค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไปพร้อมทั้งแสดงการคานวณ จากน้ันให้นักเรียนทา แบบฝึกหดั ดงั นี้ 4.1 1 กโิ ลวตั ต์-ช่วั โมง หรอื 1 หน่วย เป็นหนว่ ยของอะไร และหมายความวา่ อะไร (เป็นหน่วยของพลงั งานไฟฟ้า หมายความว่า มีการใชพ้ ลงั งานไฟฟ้าไป 1,000 วัตต์ เป็นเวลานาน 1 ชว่ั โมง) 4.2 ถ้าเปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศทีใ่ ชก้ าลังไฟฟ้า 2,000 วัตต์ เป็นเวลา 3 ชว่ั โมง จะสนิ้ เปลือง พลงั งานไฟฟ้ากี่หนว่ ย (จงแสดงวิธที า) (วธิ ที า กาลงั ไฟฟ้า 2,000 วัตต์ = 2 กโิ ลวตั ต์ จาก W = P  t W = 23 W = 6 หนว่ ย ดังนน้ั สิ้นเปลืองพลงั งานไฟฟ้าเทา่ กับ 6 หนว่ ย ตอบ) 4.3 หม้อหุงข้าวไฟฟ้าใช้กาลังไฟฟ้า 800 วัตต์ ถ้าใช้อยู่นานครึ่งชั่วโมง จะสิ้นเปลืองพลังงาน-ไฟฟ้ากี่ หนว่ ย (จงแสดงวิธที า) (วธิ ีทา กาลงั ไฟฟา้ 800 วัตต์ = 0.8 กิโลวัตต์ ใชอ้ ยูน่ านครง่ึ ช่วั โมง = 0.5 ช่วั โมง จาก W = P  t W = 0.8  0.5 W = 0.4 หนว่ ย ดังนน้ั ส้นิ เปลืองพลังงานไฟฟา้ เทา่ กบั 0.4 หนว่ ย ตอบ) 4.4 หลอดไฟ 40 วตั ต์ 8 หลอด ถา้ เปดิ พร้อมกนั จะใช้ไฟฟ้ารวมก่ีกิโลวตั ต์ และถ้าเปิดอยู่นาน 8 ชั่วโมง จะสน้ิ เปลืองพลังงานไฟฟ้ากี่หนว่ ย (จงแสดงวิธที า) (วธิ ที า หลอดไฟ 40 วตั ต์ 8 หลอด= 40  8 = 320 วัตต์ ดังน้นั ใชไ้ ฟฟา้ รวม = 0.32 กโิ ลวตั ต์ ตอบ จาก W = P  t W = 0.32  8 W = 2.56 หน่วย ดงั นนั้ ส้นิ เปลืองพลงั งานไฟฟา้ เทา่ กบั 2.56 หน่วย ตอบ)

4.5 เตารีดอันหนึ่งมีตัวเลขกากับว่า 1,025 W 220 V ถ้าใช้รีดผ้าเป็นเวลา 1 ชั่วโมง จะส้ินเปลือง- พลงั งานไฟฟ้ากหี่ นว่ ย (จงแสดงวธิ ที า) (วธิ ที า กาลังไฟฟา้ 1,025 วตั ต์ = 1.025 กิโลวตั ต์ จาก W = P  t W = 1.025  1 W = 1.025 หน่วย ดังนัน้ เตารดี นีใ้ ช้พลงั งานไฟฟา้ เท่ากับ 1.025 หนว่ ย ตอบ) 4.6 หลอดไฟฟ้ามีตัวเลขกากับว่า 100 V 40 W เปิดอยู่นานตลอดคืน (12 ชั่วโมง) จะสิ้นเปลือง- พลังงานไฟฟา้ กหี่ น่วย (จงแสดงวิธที า) (วิธีทา กาลังไฟฟ้า 40 วัตต์ = 0.04 กโิ ลวตั ต์ เปิดอยนู่ านตลอดคนื = 12 ช่ัวโมง จาก W = P  t W = 0.04  12 W = 0.48 หน่วย ดงั น้นั ส้นิ เปลอื งพลงั งานไฟฟา้ เท่ากบั 0.48 หนว่ ย ตอบ) ข้ันสรุป 1) ใหผ้ ู้แทนนักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลการสบื คน้ หน้าช้ันเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ นั 2) ใหน้ ักเรยี นรว่ มกนั อภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลการสบื ค้น 3) ให้นักเรียนสรุปความรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับการคิดเงินค่าพลังงานไฟฟ้าที่ใช้ไป ให้ได้ประเด็นตาม จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ 4) นักเรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น 9. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 สือ่ การเรยี นรู้ 1) หนงั สอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ (สสวท) ม.3 เลม่ 2 2) ใบความรู้ที่ 6 เรอ่ื งพลังงานไฟฟ้า 3) ใบงานที่ 6 เรือ่ งการคานวณค่าพลังงานไฟฟา้ 4) ppt เรอ่ื งไฟฟ้า 9.2 แหลง่ การเรียนรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหลง่ ขอ้ มูลสารสนเทศ

10. การวัดผลและประเมนิ ผล ภาระงาน/กจิ กรรม เครื่องมือ เกณฑ์ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน ข้อสอบ รอ้ ยละ 50 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 6 เร่อื งการคานวณคา่ พลังงาน ใบงานที่ 6 เรอ่ื งการคานวณค่าพลงั งาน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ ไฟฟ้า ไฟฟ้า แผนผงั ความคิด เรื่องพลงั งานไฟฟ้า แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานรายบคุ คล ระดบั คุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ สังเกตพฤตกิ รรมการทางานกลุ่ม แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ ระดับคุณภาพ 2 ผา่ นเกณฑ์ 11. บันทึกผลหลังการเรียนรู้ (บันทึกตามตัวชี้วัด จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทีส่ อดคล้องกบั การกาหนดแนวทางการวัดและประเมินผล) ผลการจัดการเรียนรตู้ ามตัวชว้ี ัด / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแต่ละดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์แตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ญั หา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อคน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ..................................................................ผสู้ อน (นางสาวนาตยา แซเ่ ตยี ว) วนั ท.ี่ .............เดอื น.......................พ.ศ...........

ความคดิ เห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ............................................................. (นางอมรรัตน์ ทิมจิตร) หัวหนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี วนั ท.่ี ..............เดอื น..............................พ.ศ............

ใบงานที่ 5. เครื่องใช้ไฟฟ้ำ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นดภู าพเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าแต่ละชนิด แลว้ ระบุว่าเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทก่ี าหนดใหเ้ ปลย่ี น พลงั งานไฟฟ้าเป็นพลงั งานชนดิ ใด โคมไฟ หมอ้ หุงขา้ ว เคร่อื งซกั ผา้ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น พลงั งานแสงสวา่ ง พลงั งานความรอ้ น พลงั งานกล โทรทศั น์ เครอ่ื งปัน่ อาหาร เครอ่ื งดดู ฝ่นุ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น พลงั งานแสงสว่างและเสยี ง พลงั งานกล พลงั งานกล เตารดี ไฟฟ้า วทิ ยุ คอมพวิ เตอร์ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น พลงั งานความรอ้ น พลงั งานเสยี ง พลงั งานแสงสวา่ งและเสยี ง

ใบงานที่ 5 เครื่องใช้ไฟฟ้ำ คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นดภู าพเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าแต่ละชนดิ แลว้ ระบุว่าเครอ่ื งใชไ้ ฟฟ้าทก่ี าหนดใหเ้ ปลย่ี น พลงั งานไฟฟ้าเป็นพลงั งานชนิดใด โคมไฟ หมอ้ หงุ ขา้ ว เครอ่ื งซกั ผา้ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น พลงั งานแสงสว่าง พลงั งานความรอ้ น พลงั งานกล โทรทศั น์ เครอ่ื งปัน่ อาหาร เครอ่ื งดดู ฝ่นุ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น พลงั งานแสงสว่างและเสยี ง พลงั งานกล พลงั งานกล เตารดี ไฟฟ้า วทิ ยุ คอมพวิ เตอร์ เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็น พลงั งานความรอ้ น พลงั งานเสยี ง พลงั งานแสงสว่างและเสยี ง

แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 7 กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหสั ว23101 ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรียนรูท้ ่ี 1 ชื่อหน่วย ไฟฟ้า เรือ่ งการใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในบา้ นอย่างประหยดั และปลอดภัย เวลา 3 ชวั่ โมง ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2565 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้ / ตวั ชวี้ ดั มาตรฐานการเรียนรู้ ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหว่าง สสารและพลังงาน พลังงานในชวี ิตประจาวนั ธรรมชาติของคล่นื ปรากฏการณท์ เ่ี ก่ยี วข้องกับ เสียง แสง และคลน่ื แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมทงั้ นาความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ตัวช้วี ัด ว 2.3 ม.3/9 ตระหนักในคณุ คา่ ของการเลือกใช้ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ โดยนาเสนอวิธีการใช้ เครื่องใชไ้ ฟฟ้าอย่าง ประหยดั และ ปลอดภยั 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1) ระบเุ คร่ืองใช้ไฟฟ้าที่เปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเปน็ พลังงานรูปอ่ืนได้ 2) บอกวิธกี ารใชเ้ ครอื่ งใช้ไฟฟ้าในบ้านอย่างประหยดั และปลอดภัยได้ 3. สาระสาคญั วงจรไฟฟ้าในบ้านมีการต่อเครื่องใช้ไฟฟ้าแบบขนานเพื่อให้ ความต่างศักย์เท่ากัน การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าใน ชีวิตประจาวันต้องเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีความต่างศักย์และกาลังไฟฟ้าให้เหมาะกับการใช้งาน และการใช้ เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ และอุปกรณ์ไฟฟา้ ต้องใชอ้ ย่างถูกต้องปลอดภยั และประหยัด 4. สมรรถนะสาคัญ  ความสามารถในการสื่อสาร : การสนทนาพดู คุย แลกเปลยี่ นคิดเหน็ การพูดหนา้ ช้ันเรยี น  ความสามารถในการคิด : การใชก้ ระบวนการคดิ ในการเรยี นรแู้ ละการทางาน  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ : การใหเ้ หตผุ ลในการเลือกใชเ้ คร่ืองใช้ไฟฟ้าทป่ี ระหยัดพลังงานใน ชีวิตประจาวัน 5. คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ปรับปรุง พ.ศ. 2560  ซื่อสัตยส์ จุ รติ  มุ่งมน่ั ในการทางาน  มีวินัย  ใฝเ่ รยี นรู้  มีจติ สาธารณะ

6. สาระการเรยี นรู้ การใชแ้ ละการอนรุ ักษ์พลังงานไฟฟา้ 7. ชิ้นงาน / ภาระงาน 1) แผนผงั ความคิด เรือ่ งการใชเ้ ครอื่ งใช้ไฟฟ้าในบา้ นอย่างประหยัดและปลอดภยั 2) ใบงานท่ี 6 เรอ่ื งการใชเ้ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้าในบ้านอยา่ งประหยัดและปลอดภยั 8. กิจกรรมการเรยี นรู้ ข้ันนาเขา้ สบู่ ทเรยี น 1) ครูทบทวนความรู้เดิมและนาเข้าสู่บทเรียนเกี่ยวกับการใช้และการอนุรักษ์พลังงานไฟฟ้า โดยใช้คาถาม กระตนุ้ ความคิดนักเรียน ดงั น้ี - ที่บ้านของนักเรียนมีเครื่องใช้ไฟฟ้าอะไรบ้าง (โทรทัศน์ หลอดไฟ ตู้เย็น เตารีด เครื่องปรับอากาศ พดั ลม) - ถ้าเราใช้ไฟฟ้าอย่างฟุ่มเฟือย นักเรียนคิดว่าอนาคตจะเป็นเช่นไร (ไม่มีพลังงานไฟฟ้าใช้ เพราะแหล่ง พลังงานหมดไปอยา่ งรวดเรว็ ) - นักเรียนมีวิธีการประหยัดไฟฟ้าอย่างไร (ปิดหลอดไฟดวงที่ไม่ใช้เปิดเคร่ืองปรับอากาศท่ีอุณหภูมิ 25o C ) 2) ครูชี้แจงการจัดการเรียนการสอน เรื่อง การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภัย ตลอดจนตวั ชวี้ ดั จุดประสงค์การเรยี นรู้ คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงค์ ขน้ั ตอนในการศึกษาบทเรียน และกิจกรรมการเรียน การสอน การวดั ผลประเมนิ ผลในชั่วโมงเรยี นนี้ 3) นักเรยี นทาแบบทดสอบก่อนเรยี น ขั้นสอน 1) ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ศึกษาใบความรู้และใบงานท่ี 6 เร่ืองการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าในบ้าน อย่างประหยัดและปลอดภัย 2) ใหน้ ักเรยี นร่วมกนั อภปิ รายกอ่ นทากิจกรรม โดยครูใช้คาถามกอ่ นทากจิ กรรมดังนี้ - ปญั หาของการทากจิ กรรมนคี้ อื อะไร (การใชไ้ ฟฟ้าอย่างคุม้ คา่ มีวธิ ีการอยา่ งไร) - นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลวิธีการใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าจากแหล่งใดได้บ้าง (คู่มือการใช้ เคร่ืองใชไ้ ฟฟา้ ห้องสมุด อินเทอรเ์ นต็ ) 3) ให้นักเรียนทาใบงานท่ี 6 เร่ืองการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภัยด้วยตนเอง โดยครู ดูแลให้คาแนะนาอยา่ งใกลช้ ดิ และบันทึกผลการทากิจกรรมในใบงาน ข้นั สรุป 1) ใหผ้ แู้ ทนนักเรียนแตล่ ะกลุ่มนาเสนอผลการทากิจกรรมหนา้ ชัน้ เรียน เพือ่ แลกเปลีย่ นเรยี นรกู้ ัน 2) ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับผลการทากิจกรรม โดยครูใช้คาถามหลังทา กิจกรรมดังน้ี

- นกั เรียนมวี ธิ กี ารใดบ้างทีจ่ ะชว่ ยประหยดั พลังงานไฟฟ้าในบ้าน จงบอกมาเปน็ ข้อ ๆ 1. รจู้ ักเลือกใช้วสั ดทุ ี่มปี ระสทิ ธิภาพ และประหยดั ไฟ 2. เวลาซกั หรือรดี ผ้าควรทาในคราวเดียวกนั เพอ่ื ประหยัดไฟฟา้ 3. ปดิ ไฟทุกครัง้ ทไ่ี มใ่ ชง้ าน - เมื่อภายในบ้านต้องการความสว่างขนาดหนึ่ง นักเรยี นควรหรือเลือกใช้หลอดไฟธรรมดา หรือหลอด เรืองแสง เพราะเหตุใด (ควรเลือกใช้หลอดเรอื งแสง เพราะให้ความสวา่ งเท่ากนั แต่ใชไ้ ฟนอ้ ยกว่า) - สรุปผลการทากิจกรรมน้ีได้อย่างไร (การใช้ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่าควรเลือกใช้อุปกรณ์หรือ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ท่มี คี ุณภาพดี มขี นาดเหมาะสมกบั การใชง้ าน และปฏิบัติตามคาแนะนาการใช้ไฟฟา้ อย่างถกู ต้อง) 3) ให้นักเรียนสรุปความรู้ด้วยตนเองเกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าอย่างคุ้มค่า ให้ได้ประเด็นตามจุดประสงค์การ เรยี นรู้ดงั นี้ “การเลือกใช้อุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีคุณภาพดี มีขนาดเหมาะสมกับการใช้งาน ร่วมด้วยการ ปฏิบัติตามคาแนะนาการใช้ไฟฟ้าอย่างถกู ต้อง สามารถช่วยให้ประหยดั ไฟฟ้ารายเดือนและลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง ได้” 4) นักเรยี นทาแบบทดสอบหลังเรียน 9. สือ่ การเรียนรู้/แหลง่ เรยี นรู้ 9.1 สอื่ การเรยี นรู้ 1) หนังสือเรียนวทิ ยาศาสตร์ (สสวท) ม.3 เล่ม 2 2) ใบความร้ทู ี่ 6 เร่ืองการใชเ้ ครื่องใชไ้ ฟฟ้าในบ้านอยา่ งประหยัดและปลอดภัย 3) ใบงานท่ี 6 เรอ่ื งการใช้เครอื่ งใชไ้ ฟฟ้าในบ้านอย่างประหยดั และปลอดภัย 4) ppt เรือ่ งไฟฟ้า 9.2 แหล่งการเรยี นรู้ 1) หอ้ งสมดุ 2) แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ 10. การวดั ผลและประเมินผล ภาระงาน/กิจกรรม เครอื่ งมอื เกณฑ์ แบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี น ขอ้ สอบ ร้อยละ 50 ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 6 เร่อื งการใช้เครือ่ งใช้ไฟฟ้าใน ใบงานท่ี 6 เรอื่ งการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าใน ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์ บา้ นอย่างประหยัดและปลอดภัย บา้ นอยา่ งประหยดั และปลอดภยั แผนผงั ความคิด เร่ืองการใช้เครอ่ื งใช้ไฟฟ้าใน แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานรายบุคคล ระดบั คุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ บ้านอยา่ งประหยัดและปลอดภัย สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่ แบบสงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุม่ ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์

11. บันทึกผลหลังการเรยี นรู้ (บนั ทกึ ตามตวั ชว้ี ดั จุดประสงค์การเรยี นรู้ สมรรถนะและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ที่สอดคล้องกบั การกาหนดแนวทางการวดั และประเมินผล) ผลการจดั การเรียนรู้ตามตัวชวี้ ัด / ผลการเรยี นรู้ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… สมรรถนะในการเรียนแตล่ ะดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงคแ์ ต่ละดา้ น ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปญั หา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางการแกป้ ัญหา ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ขอ้ คน้ พบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ..................................................................ผู้สอน (นางสาวนาตยา แซเ่ ตียว) วันท.่ี .............เดือน.......................พ.ศ........... ความคิดเห็นของหวั หนา้ กลุ่มสาระ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่อื ............................................................. (นางอมรรัตน์ ทมิ จิตร) หวั หนา้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วันที.่ ..............เดอื น..............................พ.ศ............


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook