Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่1

บทที่1

Published by 6032040035, 2018-09-05 04:09:25

Description: บทที่1

Search

Read the Text Version

ความรเู้ บอื้ งตน้ เกย่ี วกบั เครอื ขา่ ยเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ เครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ (computer network) เปน็ การเช่ือมต่อคอมพวิ เตอรแ์ ละอุปกรณ์ตอ่พ่วงเข้าด้วยกันเพ่ือให้สามารถใช้ข้อมูลทรัพยากรร่วมกันได้ เช่น สามารถใช้เคร่ืองพิมพ์ร่วมกันสามารถใช้ฮาร์ดดิสก์ร่วมกัน แบ่งปันการใช้อุปกรณ์อื่นๆ ท่ีมีราคาแพงหรือไม่สามารถจัดหาให้ทุกคนได้ แม้กระทั่งสามารถใช้โปรแกรมร่วมกันได้เป็นการลดต้นทุนขององค์กรเครือข่ายคอมพิวเตอร์สามารถแบง่ ออกเปน็ ประเภทตามพ้นื ท่ที ่คี รอบคลมุ การใชง้ านของเครือข่าย

เครือข่ายส่วนบุคคล หรือแพน (Personal Area Network : PAN) เป็นเครือข่ายท่ีใช้ส่วนบุคคล เช่น การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์กับโทรศัพท์มือถือ การเชื่อมต่อพีดีเอกับเคร่ือง คอมพิวเตอร์ซึ่งการเชื่อมต่อแบบนี้จะอยู่ในระยะใกล้ และมีการ เชอื่ มตอ่ แบบไร้สาย เครือข่ายเฉพาะท่ี หรอื แลน (Local Area Network:LAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้ในการเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ท่ีอยู่ในพื้นที่เดียวกันหรือใกล้เคียงกัน เช่น ภายในบ้านภายในสานักงาน และภายในอาคาร สาหรับการใช้งานภายในบา้ นน้ันอาจเรียกเครือข่ายประเภทนี้ว่า เครือข่ายท่ีพักอาศัย (homenetwork) ซึ่งอาจใชก้ ารเช่อื มตอ่ แบบใชส้ ายหรือไร้สาย

เครือข่ายนครหลวง หรือแมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็นเครือข่ายที่ใช้เชื่อมโยงแลนที่อยู่ห่างไกล ออกไป เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายระหว่างสานักงานที่อาจอยู่ คนละอาคารและมีระยะทางไกลกัน การเช่ือมต่อเครือข่ายชนิดน้ี อาจใช้สายไฟเบอร์ออพติก หรือบางคร้ังอาจใช้ไมโครเวฟเชื่อมต่อ เครือข่ายแบบนี้ใช้ในสถานศึกษามีช่ือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า เครอื ข่ายแคมปสั (Campus Area Network: CAN) เครอื ข่ายวงกว้าง หรือแวน (Wide Area Network: WAN)เป็นเครือข่ายท่ีใช้ในการเชื่อมโยงกับเครือข่ายอ่ืนที่อยู่ไกลกันมาก เช่นเครือข่ายระหว่างจงั หวัด หรือระหว่างภาครวมไปถึงเครือขายระหว่างประเทศ

ความหมายของเครอื ขา่ ยและการสอ่ื สาร เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คือระบบที่มีคอมพิวเตอร์อย่างน้อยสองเคร่ืองเช่ือมต่อกันโดยใช้ส่ือกลาง และสามารถส่ือสารข้อมูลกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซ่ึงกันและ ได้และใช้ทรัพยากรที่อยู่ในเครือข่ายร่วมกนั ได้ และทาใหป้ ระหยัดคา่ ใชจ้ ่ายได้เป็นจานวนมาก การส่ือสารข้อมูล (Data Communications) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางส่ือสาร เช่น อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ หรือคอมพิวเตอรเ์ ป็นตวั กลางในการสง่ ข้อมลู เพ่อื ใหผ้ ูส้ ่งและผู้รับเกิดความเข้าใจซงึ่ กันและกัน

สว่ นประกอบของระบบส่ือสารขอ้ มลูองค์ประกอบข้ันพื้นฐานของระบบสื่อสารโทรคมนาคม สามารถจาแนกออกเป็นส่วนประกอบได้ดังต่อไปนี้ ผู้ส่งข่าวสารหรือแหล่งกาเนิดข่าวสาร (Source) อาจจะเป็นสัญญาณต่าง ๆ เช่น สัญญาณภาพข้อมูล และเสยี งเป็นตน้ ในการติดตอ่ สอ่ื สารสมัยก่อนอาจจะใชแ้ สงไฟ ควนั ไฟ หรอื ท่าทางตา่ ง ๆ ก็นับวา่ เปน็ แหล่งกาเนดิ ข่าวสาร จัดอยู่ในหมวดหมนู่ ้ีเช่นกนั ผู้รับข่าวสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสาร (Destination) ซ่ึงจะรับรู้จากสิ่งที่ผู้ส่งข่าวสารหรอื แหล่งกาเนิดข่าวสารส่งผ่านมาให้ ตราบใดท่ี การติดต่อสื่อสารบรรลุวัตถุประสงค์ ผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางของข่าวสารก็จะได้รับข่าวสารนั้น ๆ ถ้าผู้รับสารหรือจุดหมายปลายทางไม่ได้รับข่าวสาร ก็แสดงว่าการสื่อสารนัน้ ไม่ประสบความสาเร็จ กลา่ วคือไมม่ ีการสื่อสารเกิดขึ้นนัน่ เอง

1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสอื่ สารข้อมลู มีหนา้ ที่เตรยี มสร้างขอ้ มูล เชน่ ผพู้ ดู โทรทัศน์ กล้องวดิ โี อ เป็นตน้ 2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟังเครอื่ งรับโทรทศั น์ เครอื่ งพมิ พ์ เป็นต้น 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการส่ือสารเพ่ือนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง ส่อื ส่งขอ้ มลู อาจเป็นสายคบู่ ิดเกลยี ว สายโคแอกเชยี ล สายใยแกว้ นาแสง หรือคล่นื ท่ีสง่ ผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลืน่ ไมโครเวฟ คลนื่ วทิ ยุภาคพน้ื ดนิ หรือคล่ืนวทิ ยผุ า่ นดาวเทยี ม

4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซ่ึงอาจถูกเรยี กว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รปู แบบ ดังน้ี 4.1 ขอ้ ความ (Text) ใชแ้ ทนตวั อักขระต่าง ๆ ซ่งึ จะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เชน่ รหสั แอสกี เป็นตน้ 4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็นเลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมลู ของรูปภาพจะแทนด้วยจดุ สีเรยี งกันไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณต่อเนือ่ งกนั ไป 4.5 วดิ โี อ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป

5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการส่ือสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่งสามารถเข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยท้ังสองฝั่งท้ังผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าท่ีทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเปน็ ไปตามโปรแกรมทกี่ าหนดไว้ ตัวอย่างเชน่ X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น

การใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอื่ สารขอ้ มลูการใช้เทคโนโลยกี ารส่อื สาร การส่ือสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในยุคปัจจุบันได้ตะหนักถึง ความสาคัญในการนาเทคโนโลยีคมนาคมและการสื่อสารมาช่วยงานเพ่ือเพิ่มประสิทธภิ าพของการดาเนินงาน ซึ้งการประยุกตเ์ ทคโนโลยีการสอื่ สารในองคก์ ารมีดังนี้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Mail : E-mail) การใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เช่น โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ และพีดีเอ ส่งข้อความอิเล็กทรอนิกส์ไปยังบุคคลอื่น โดยการส่ือสารน้บี ุคคลที่ทาการสอื่ สารจะต้องมชี ื่อและที่อยูใ่ นรูปแบบอเี มล์ แอดเดรสโทรสาร (Facsimile หรือ Fax) เป็นการส่งข้อมูล ซึ่งอาจเป็นข้อความท่ีเขียนขึ้นด้วยมือหรือการพิมพ์ รูปภาพ หรือกราฟต่างๆ จากเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ ที่มีอุปกรณ์ท่ีเรียกว่าแฟกซ์-โมเด็มไปยังเคร่ืองรับโทรสาร การส่งข้อความในลักษณะน้ีช่วยประหยัดคา่ ใช้จ่ายและมีประสิทธภิ าพสงู กว่าการ ส่งข้อมลู ผ่านเครอื่ งโทรสารธรรมดา

วอยซเ์ มล (Voice Mail) เป็นการส่งข้อความเปน็ เสียงพดู ให้กลายเปน็ ขอ้ ความอิเลก็ ทรอนกิ สผ์ า่ นระบบ เครือข่ายการสื่อสารข้อความจะถูกบันทึกไว้ในอุปกรณ์บันทึกเสียงที่เรียกว่าว อยซ์เมล์บ็อกซ์ เม่ือผูร้ ับเปดิ ฟังข้อความดังกล่าวก็จะถกู แปลงกลบั ไปอยูใ่ นรปู แบบของเสียง พดู ตามเดมิ การประชุมทางไกลอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Video Conferencing) เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยการส่งภาพและเสียงจากฝ่ายหนึ่งไปยังอีกฝ่ายหนึ่ง ในการใช้ Video Conferencing จะต้องมีอุปกรณ์สาหรับการบันทึกภาพและอุปกรณ์บันทึกเสียง โดยท่ีภาพและเสียงที่ส่งไปน้ันอาจเป็นภาพเคล่ือนไหวท่ีมีเสียงประกอบได้ การประชุมทางไกลอเิ ลก็ ทรอนกิ สช์ ว่ ยประหยดั เวลาและคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดนิ ทางไป ประชมุ การระบุตาแหนง่ ด้วยดาวเทียม(Global Positioning Systems : GPSs) เ ป็ น ร ะ บ บ ท่ี ใ ช้วิเคราะห์และระบุตาแหน่งของคน สัตว์ หรือสิ่งของที่เป็นเป้าหมายของระบบ การวิเคราะห์ตาแหน่งทาได้โดยใช้ดาวเทียมระบุตาแหน่ง ปัจจุบันมีการนาไปใช้ในระบบการเดินเรือ เคร่ืองบินและเริมพัฒนามาใช้เพ่ือระบุตาแหน่งของรถยนต์ด้วย

กรุ๊ปแวร์ (groupware) เป็นโปรแกรมประยุกต์ท่ีช่วยสนับสนุนการทางานของกลุ่มบุคคลให้สามารถทางาน รว่ มกนั การใช้ทรัพยากรและสารสนเทศร่วมกันโดยผ่านระบบเครอื ข่ายการโอนเงนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์(Electronic Fund Transfer : EFT) ปั จ จุ บั น ผู้ ใ ช้สามารถชาระค่าสินค้าและบริการโดยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ จากบัญชีธนาคารที่ให้บริการโอนเงินอัตโนมัติด้วยเทคโนโลยีการส่ือสารท่ีทัน สมัย กิจกรรมที่ประยุกต์ใช้กันเป็นประจา ได้แก่ การโอนเงนิ ผ่านทางตู้ ATMการแลกเปล่ยี นข้อมลู อเิ ล็กทรอนิกส์(Electronic Data Interchange : EDI) เ ป็ นระบบแลกเปล่ียนข้อมูลเชิงทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างองค์การ โดยใช้แบบฟอร์มของเองกสารอิเล็กทรอนิกสท์ ี่มีรูปแบบมาตรฐานสากล เช่น การส่งใบสัง่ สนิ ค้า ใบส่งของ ใบเรยี กเก็บเงนิการระบุลกั ษณะของวัตถดุ ว้ ยคลนื่ ความถ่วี ทิ ยุ(RFID) เป็นระบบระบุลักษณะของวัตถุดว้ ยคลื่นความถวี่ ทิ ยุ ปัจจุบันมกี ารนา RFID ไปประยุกตใ์ ช้งานหลากหลายประเภท เช่น ห่วงโซ่อุปทานระบบโลจิสติกส์การตรวจสอบฉลากยา การใช้ในฟาร์มเลี้ยงสุกร บัตรทางด่วน บัตรรถไฟฟ้าใต้ดินระบบหนังสือเดนิ ทางอิเล็กทรอนิกส์

ประโยชน์ของเครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เครือข่ายท่ีทางานรวมกันเป็นกลุ่มงาน เรยี กว่า Workgroup เมื่อเชื่อมโยงหลาย ๆ กลุ่มงานเข้าดว้ ยกันจะเป็นเครอื ข่ายขององคก์ ร จะเป็นเครือขา่ ยขนาดใหญ่ สามารถประยุกตใ์ ชง้ านไดอ้ ยา่ งกว้างขวางโดยเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเกิดการเชื่อมโยงอุปกรณ์ต่าง ๆ เข้าด้วยกันและส่ือสารถึงกันได้ เช่น 1. การใช้ฐานข้อมูลร่วมกัน เครือข่ายท่ีให้บริการเก็บข่าวสาร ตัวเลขหรือข้อมูลใช้งานจะใช้ฐานข้อมลู เดียวกนั ได้ เชน่ ราคาสนิ ค้า บญั ชีสินคา้ ฯลฯ 2. การแบ่งปันทรัพยากรในเครือข่าย ใช้ร่วมกันได้ เช่น การพิมพ์เอกสารจะใช้เคร่ืองพิมพ์เครอื่ งเดยี วกับคอมพิวเตอร์เครือข่ายหลายเครือ่ งกไ็ ด้ เปน็ ตน้

3. การติดต่อสื่อสารระหว่างกันบนเครือข่าย เมื่อมีการเช่ือมโยงสถานีงานเข้าด้วยกันก็จะสามารถโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันได้ การดาเนินการต่างๆ ควรเป็นไปตามกฎเกณฑ์ที่ฝ่ายบริหารเครอื ขา่ ยขององคก์ รไดก้ าหนดไว้ 4. สานักงานอัตโนมัติ แนวคิดคือต้องการลดการใช้กระดาษ หันมาใช้ระบบการทางานด้วยคอมพวิ เตอร์ที่แลกเปล่ยี นข้อมูลระหวา่ งกันไดท้ ันที โดยการใช้สัญญาณอเิ ลคทรอนิกส์แทน จะทาให้การทางานคล่องตัวและรวดเรว็ การใช้งานเครือข่ายยังมีการประยุกต์ได้หลายอย่างต้ังแต่ การโอนย้ายแฟ้มข้อมูลระหว่างกันการทางานเป็นกลุ่ม การใช้ทรัพยากรร่วมกัน การนัดหมายการส่งงาน แม้แต่ในห้องเรียนก็ใช้เครอื ข่ายเพ่อื การเรยี นการสอน ใชเ้ ป็นแหล่งเรยี นรูใ้ ห้เรยี กค้นขอ้ มลู เปน็ ต้น

การสอ่ื สารโทรคมนาคม การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) หมายถึง การติดต่อส่ือสารด้วยการรับส่งข้อมูลข่าวสารระหว่างตัวประมวลผล โดยผ่านส่ือกลางท่ีเชื่อมต้นทางและปลายทางท่ีห่างกันโดยใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์หลายรูปแบบ ตามกฎเกณฑ์ หรือระเบียบวิธีการที่กาหนดขึ้นในแต่ละอุปกรณ์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) หมายถึง การเช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอร์ต้ังแต่สองเครื่องขึ้นไป เพ่ือขยายขีดความสามารถท่ีมีจากัด ทาให้เกิดการแลกเปล่ียนข้อมูล หรือแบ่งปันทรพั ยากรใหม้ กี ารใชง้ านรว่ มกนั โปรโตคอล (Protocol) หมายถึง ระเบียบวิธีการ มาตรฐาน หรือกฎเกณฑ์ในการติดต่อส่ือสาร ระหว่างกันของเครื่องมืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่าง ๆ หรือ วิธีท่ีถูกกาหนดข้ึนเพ่ือการส่ือสารข้อมูล ซึ่งผู้ส่งข้อมูลจะต้องส่งข้อมูลในรูปแบบตามวิธีการส่ือสารที่ตกลงไว้กับผู้รบั ข้อมูล จงึ จะสามารถสอื่ สารข้อมลู กนั ได้

อินเทอร์เน็ต (Internet) หมายถึง การเช่ือมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน ตามโครงการของอาร์ป้าเน็ต (ARPAnet = Advanced Research Projects Agency Network) เป็นหน่วยงานสังกัดกระทรวงกลาโหมของสหรัฐ (U.S.Department of Defense - DoD) ถูกก่อตั้งเม่ือประมาณปีค.ศ.1960(พ.ศ.2503) และได้ถูกพฒั นาเรอ่ื ยมาชนดิ ของสัญญาญขอ้ มลู (Signal Types) มีดงั นี้สญั ญาณอนาลอก (Analog Signal) อย่ใู นรูปของคลืน่ ทม่ี คี วามต่อเนือ่ งสัญญาณดิจิทอล (Digital Signal) หรือสัญญาณพัลซ์ (Pulse Signal) มีระดับสัญญาณเพียง 2 ระดบั คอื สงู กับต่าองคป์ ระกอบของการสอ่ื สารผู้ส่งข้อมลู (Sender) สื่อนาข้อมลู (Medium)ผรู้ บั ข้อมลู (Receiver) โปรโตคอล (Protocol)ขอ้ มลู (Data)

ประเภทของเครือขา่ ย WAN (Wide Area Network) PAN (Personal Area Network) P2P (Peer to Peer) LAN (Local Area Network) MAN (Metropolitan Area Network)รูปแบบเครอื ข่าย (Network Topology) แบบดาว (Star Topology) แบบบัส (Bus Topology) แบบวงแหวน (Ring Topology) แบบตาขา่ ย (Mesh Topology) แบบตาขา่ ย (Hybrid Topology) แบบไร้สาย (Wireless Topology)

อปุ กรณ์เครือขา่ ย (Network Equipment) ฮบั (Hub) สวติ ต์ (Switch) อุปกรณ์ทวนสัญญาณ (Repeater) บริดจ์ (Bridge) เราเตอร์ (Router)ประเภทของส่อื กลาง (Media Types) แบบใช้สาย ได้แก่ แบบสายเกลียวคู่ (Twisted-pair wires) และ แบบสายเคเบิลรว่ มแกน (Coaxial cable) และแบบสายเคเบลิ ใยแก้ว (Fiber optic) แบบไร้สาย ได้แก่ คลื่นไมโครเวฟ (Microwave) คลื่นวิทยุ (Radio Wave) และแสง อินฟราเรด (Infrared)

แบบของการสง่ ขอ้ มูล (Data Transfer Types) สัญญาณไม่สัมพันธ์กัน หรือ สัญญาณแบบไม่ประสานจังหวะ (Asynchronously) อักขระแต่ละตวั ถูกส่งเพยี งแค่ 1 ครั้ง โดยมบี ติ เริม่ ตน้ (Start bit) และบิตสน้ิ สุด (Stop bit) สัญญาณสัมพันธ์กัน หรือ สัญญาณแบบประสานจังหวะ (Synchronously) ส่งข้อมูลเป็นบล็อก ขอ้ มลู เป็นชนดิ ท่ีเกดิ ขนึ้ ทันที มีการตรวจสอบความซ้าซ้อน (Redundancy check) แต่ตรวจดว้ ยการเพ่มิ bit ต่อทา้ ย มไี ว้เพอื่ ตรวจความ ถูกต้อง เรียกว่า parity check เป็นการตรวจวา่ ผลรวมข้อมลู เป็นเลขคู่ หรือคี่

เครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) เครือข่ายคอมพิวเตอร์แบบรวมศนู ย์ (Centralized Computer Network) เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรแ์ บบกระจายศูนย์ (Decentralized Computer Network)ความเปน็ สว่ นตัวของอินเทอรเ์ นต็ อนิ เทอร์เนต็ (Internet) คอื เครอื ข่ายสาธารณะ อนิ ทราเน็ต (Intranet) คือ เครือขา่ ยในองค์กร เอ็กทราเน็ต (Extranet) คอื เครือข่ายระหวา่ งองค์กร

ทิศทางการส่งข้อมูล (Direction of Data Sending) การส่งขอ้ มูลแบบทศิ ทางเดียว (Simplex Transmission) การส่งขอ้ มลู แบบสองทศิ ทางสลับกัน (Half-Duplex Transmission) การสง่ ขอ้ มูลแบบสองทิศทางพร้อมกัน (Full-Duplex Transmission)โมเด็ม (Modem) มอดูเลเตอร์ (Modulator) แปลงดิจทิ อลเป็นอนาลอ็ กในการส่งสัญญาณระยะไกล ดมี อดเู ลเตอร์ (Demodulator) แปลงจากอนาล็อกกลบั มาเปน็ ดิจิทอล

ชอ่ งทางการติดตอ่ ส่ือสาร แบบมีสาย (Physical Wire) สายทวิสเตดแพร์ (Twisted-pair wire) สายโคแอคเชียล (Coaxial Cable) สายใย แกว้ นา แสง (Fiber Optic Cable) แบบไร้สาย (Wireless) ดาวเทียม (Satellite) อินฟราเรด (Infrared) คลื่นวิทยุ (Radio) และเซลลูลาร์ (Cellular)

โปรโตคอล (Protocol)HTTP (Hyper Text Transfer Protocol) & HTTPSFTP (File Transfer Protocol)TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol)POP3 (Post Office Protocol 3)SMTP (Simple Mail Transport Protocol)DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol)โมเดลการเช่ือมตอ่ (OSI = Open System Interconnection Model)Physical Layer Session LayerData Link Layer Presentation LayerNetwork Layer Application LayerTransport Layer

ความนา่ เชอื่ และมาตรฐานเครอื ขา่ ยความถีข่ องความล้มเหลว เครือข่ายทุกระบบมีโอกาสล่มได้เสมอ อย่างไรก็ตามเครือข่ายที่ได้รับการออกแบบท่ีดี หากเครือข่ายเกิดข้อขัดข้องหรือล้มเหลวด้วยประการใดก็ตาม ควรส่งผลกระทบต่อผู้ใช้งานให้น้อยที่สุดเท่าที่เป็นไปได้และหากเครือข่ายมีความถ่ีในการล้มเหลวอยู่บ่อยคร้งั นั่นหมายถึงเครือขา่ ยน่ันมีความนา่ เชื่อถือตา่ระยะเวลาในการกู้คนื ระยะเวลาในการกู้คืนระบบ กรณีเครือข่ายล่มหรือเกิดข้อขัดข้องใด ๆ หากการกู้คืนระบบสามารถแก้ไขได้ด้วยระยะเวลาอันส้ัน ย่อมดีกว่าการกู้คืนระบบที่ต้องใช้ระยะเวลายาวนาน โดยการกู้คืนหมายถึงการกู้ระบบให้กลับคืนสภาพเดิมท่ีสามารถใช้งานได้ รวมถึงการกู้คืนขอ้ มลู กรณีที่ข้อมลู เกิดความสูญเสีย

ความคงทนตอ่ ข้อผดิ พลาด เครือข่ายท่ีดีจะต้องมีระบบป้องกันภัยต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ใด ๆ ท่ีไม่คาดคิดได้เสมอไม่ว่าจะเป็นระบบไฟฟ้า รวมถึงภัยธรรมชาติที่ไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ดังน้ันระบบเครือข่ายท่ีดีจึงต้องได้รับการออกแบบให้มีระบบสารองข้อมูลท่ีน่าเชื่อถือ รวมถึงอุปกรณส์ าคัญของระบบ หากทางานขัดข้อง อุปกรณต์ ัวแทนสารถทางานแทนได้ทันที เปน็ ตน้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook