Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา กศน.ตำบลหนองบัว

แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา กศน.ตำบลหนองบัว

Published by puilovely_99, 2020-06-12 03:41:27

Description: แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญา กศน.ตำบลหนองบัว

Search

Read the Text Version

แหล่งเรยี นรแู้ ละภูมปิ ัญญา กศน.ตาบลหนองบวั อาเภอไชยปราการ จังหวดั เชียงใหม่

ชอ่ื ภูมิปญั ญา การจดั การทรพั ยากรธรรมชาติ สาขาคลงั ปัญญา ดา้ นการพฒั นาสังคม พฒั นาชุมชน การจัดสวัสดกิ ารชมุ ชน การสังคมสงเคราะห์ สาขาของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น สาขาศาสนาและประเพณี ชอ่ื – สกลุ ท่านพระครดู วงคา สถติ ธรรมาภริ กั ษ์ ท่อี ยู่ปัจจบุ นั 119 หมู่ 9 บา้ นปา่ ไม้แดง ตาบลหนองบวั อาเภอไชยปราการ จงั หวัดเชยี งใหม่ โทรศพั ท์ 0816720141 Line ID 0816720141 Facebook Kruba Doungkum Watpamaidang ความเปน็ มาของบคุ คลคลงั ปญั ญา ท่านพระครูดวงคา สถิตธรรมาภิรักษ์ ฐานนิสฺสโร ปัจจุบันเป็นเจ้าอาวาสวัดป่า ไม้แดงได้ดารงตาแหน่งเป็นเจ้าอาวาสมาตั้งแต่วันท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๔ จนถึง ปัจจุบัน ท่านพระครูดวงคา สถิตธรรมมาภิรักษ์ ตาแหน่ง รองเจ้าคณะอาเภอไชยปราการ พร้อมทั้งเป็นท่ีปรึกษาโครงการปิดทองหลังพระ สืบสานตามแนวพระราชดาริ อาเภอไชย ปราการ จังหวัดเชียงใหม่ และคณะทางานโครงการรณรงค์สร้างฝาย – แฝกตามแนว พระราชดาริ

กจิ กรรมช่วยเหลอื ดา้ นการศกึ ษา - เปน็ รเิ ร่ิมกอ่ ตง้ั และผอู้ ปุ ถมั ภโ์ รงเรยี นวัดปา่ ไมแ้ ดงพระปรยิ ตธิ รรม - ประธานคณะทางานโครงการธรรมตามแนวพระราชดาริ วัดป่าไม้แดง พระเจ้าพรหม มหาราชอาเภอไชยปราการ จังหวดั เชยี งใหม่ - เป็นผู้อุปถัมภโ์ รงเรียนโรงเรียนไชยปราการ - เป็นประธานกรรมการสถานศกึ ษา กศน.อาเภอไชยปราการ - สร้างอาคารโรงเรียนให้แก่เด็กบนดอย ศศช. บ้านห้วยโป่งพัฒนา สังกัด สนง. กศน. อาเภอไชยปราการ - สร้างอาคารโรงเรียนให้แก่เด็กบนดอย ศศช. บ้านดอยเวียงผาพัฒนา สังกัด สนง. กศน.อาเภอไชยปราการ จังหวดั เชียงใหม่ - สรา้ งอาคารโรงอาหารให้แก่โรงเรียนบ้านห้วยต้นตอง สังกัด สนง. การประถมศึกษา เชียงใหม่ เขต 3 - จัดหาส่อื การเรียนการสอนให้แก่เด็กและเยาวชนในถนิ่ ทรุ ะกันดาร

กจิ กรรมช่วยเหลอื ด้านสาธารณป์ ระโยชน์ - เป็นผู้ริเร่ิมวางแนวคิดการอนุรักษ์ การรักษาป่าและต้นน้าในอาเภอไชยปราการการ โดยการอนุรักษ์ป่าต้นน้าในตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ (โครงการพัฒนาธรรมตามแนวพระราชดาริ) - เป็นรเิ รม่ิ และผูส้ นับสนนุ การวางทอ่ ส่งน้าเพื่อปอ้ งกันปญั หาภยั แล้งภายในตาบลหนองบวั - บริจาคที่ดนิ ขุดบอ่ (น้ารบู น) ใหแ้ ก่โครงการปดิ ทองหลังพระฯ บา้ นปาง หม่ทู ่ี 8 ตาบล หนองบัว อาเภอไชยปราการ จงั หวดั เชียงใหม่ - บรจิ าคทดี่ ินขุดบอ่ (นา้ รูล่าง) ใหแ้ ก่ประชาชน ตาบลหนองบวั เพื่อแกป้ ัญหาภัยแล้งใน ตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จงั หวดั เชยี งใหม่ - บริจาคทด่ี นิ ในการสรา้ งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล บ้านปง ตาหนองบัว พร้อม ทง้ั ระดมทุนจดั หาและซื้อเคร่อื งมอื แพทยใ์ นการทาฟนั - เป็นศูนย์กลางจัดหาเส้ือผ้า เคร่ืองนุ่งห่ม ให้แก่ผู้ประสบภัยหนาว (อาเภอบ่อเกลือ จังหวดั น่าน , บา้ นดอยเวยี งผาพัฒนา , บา้ นแมฝ่ างหลวง ตาบลศรีดงเย็น อาเภอไชย ปราการ จังหวัดเชียงใหม่ , บ้านห้วยโป่งพัฒนา , บ้านห้วยทราย , บ้านโป่งจ๊อก ตาบลหนองบัว , บ้านสินชัย,บ้านผาแดง , บ้านป่าเกี๊ย ตาบลหนองบัว อาเภอไชย ปราการ จังหวดั เชียงใหม่ ) น้าท่วม (บ้านเปียงก่อ ตาบลม่อนปิน อาเภอฝาง)และไฟ ไหม้ (บ้านหว้ ยทราย ตาบลแมท่ ะลบ) - เป็นผู้ประสานงานสโมสรโรตารีปทุมวันในการจัดหาพ้ืนที่ปรับปรุงเพ่ือเป็นอาคาร ส่งเสริมสุขภาพแม่และเด็กในพ้ืนที่บ้านเวียงผาพัฒนา ตาบลศรีดงเย็น อาเภอไชย ปราการ จงั หวัดเชยี งใหม่ - เป็นผู้บริจาคท่ีดินพร้อมทั้งประสานงานทางศูนย์พัฒนาปิโตรเลี่ยมภาคเหนือ กรม พลังงานทหาร (บ่อน้ามันฝาง)เพ่ือขุดเจาะบ่อบาดาลให้แก่หมู่บ้านในเขตพ้ืนที่ ตาบลแม่ทะลบได้มนี า้ สะอาดใชบ้ ริโภค - บริจาคที่ดินเพื่อทาการปลูกป่ารักษาป่าในพ้ืนท่ีบ้านห้วยโป่งพัฒนา ตาบลแม่ทะลบ อาเภอไชยปราการ จงั หวดั เชียงใหม่

- บริจาคที่ดินเพื่อทาการปลูกป่ารักษาป่าในพื้นท่ีบ้านปาง ตาบลหนองบัว อาเภอไชย ปราการ จังหวดั เชียงใหม่

ชือ่ ภมู ิปญั ญา ด้านเกษตรกรรม สาขาคลังปญั ญา ด้านเกษตร สาขาของภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ สาขาเกษตรกรรม ชอ่ื – สกุล นายทองวัน กติ ิแกว้ ที่อยู่ปัจจุบัน 208 หมู่ 3 ตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จงั หวดั เชยี งใหม่ โทรศัพท์ 097-935-8123 Line ID 097-935-8123 Facebook ทองวัน กิตแิ กว้ ความเปน็ มาของบคุ คลคลงั ปญั ญา ได้ดาเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาโดยตลาด โดยเฉพาะด้าน การประกอบอาชีพซง่ึ เดิมมอี าชพี การเกษตรกรรมได้ศึกษา ความรู้ด้วยตนเอง จากการศึกษา หาความรู้ด้วยตนเอง จากการศึกษา ตัวอย่างของผู้ท่ีประสบความสาเร็จแล้วนามาใช้กับ ตนเองและพัฒนามาโดยตลอด การทาเกษตรแบบผสมผสานโดยยึดตามหลักของเศรษฐกิจ พอเพียง ประกอบอาชีพของตนเองโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ จนเกิด เหน็ ผลได้อยา่ งชดั เจน ถึงปัจจุบันนี้ โดยทาการเกษตรแบบผสมผสาน มีการทาปุ๋ยหมักไว้ใช้ เองในครัวเรือน เลี้ยงสัตว์ ได้แก่ ไก่ไข่ ปลูกพืชสวน และไม้ผล พืชผักกินได้ ไปจนถึงพืชผัก สวนครัว จากนั้นจึงได้จัดตั้งแหล่งเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตาบล หนองบัวขึ้นเพ่ือเป็นศูนย์สาธิต การปลูกพืช การผลิตปุ๋ยหมักโดยวิธีธรรมชาติ จัดเป็นแหล่ง การเรียนรู้แก่ กศน.อาเภอไชยปราการ นักศึกษา นักเรียนโรงเรียนไชยปราการ นักศึกษา เกษตร และผู้สนใจทัว่ ไป ท้ังบคุ คลในพน้ื ทแี่ ละต่างพนื้ ที่ เพ่อื แลกเปลีย่ นประสบการณ์ จุดเดน่ ของภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน มีการถา่ ยทอดความร้หู ลากหลายวิธี ท้ังการบรรยายเน้ือหาทางวิชาการ ตามแนวทาง ปฏิบัติทก่ี ารทาเกษตรแบบผสมผสานโดยยดึ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง



ชอื่ แหล่งเรียนรู้ วัดป่าไมแ้ ดง (วัดพระเจา้ พรหมมหาราช) สาขาคลงั ปัญญา ประเภทวัฒนธรรม ประเพณี สาขาของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ สาขาเกษตรกรรม ทีอ่ ยู่ปัจจบุ นั 119 บ้านป่าไมแ้ ดง หมู่ 9 ตาบลหนองบวั อาเภอไชยปราการ จังหวดั เชยี งใหม่ โทรศัพท์ 097-935-8123 Line ID 097-935-8123 Facebook วดั ปา่ ไมแ้ ดงพระเจา้ พรหมมหาราช watpamaidang ความเปน็ มาของภมู ปิ ญั ญา วดั ปา่ ไม้แดง (วดั พระเจา้ พรหมมหาราช) สงั กดั คณะสงฆม์ หานกิ าย ทีด่ นิ ตง้ั วัดมเี น้ือท่ี 49 ไร่ 3 งาน 40 ตารางวา อาณ่าเขตติดต่อกับสถานทตี่ ่างๆ ดงั น้ี ทิศเหนอื ติดถนนสาธารณะ ทิศใต้ ติดลาเหมอื งสาธารณะ ทิศตะวันออก ติดลาเหมอื งสาธารณะ ทิศตะวันตก ติดถนนสาธารณะ วดั ป่าไม้แดง (วัดพระเจ้าพรหมมหาราช) เดิมเป็นวัดร้าง ตามตานานกล่าวว่าสร้างขึ้น เมื่อปี พ.ศ.1599 ในสมัยพระเจ้าพรหมมหาราช พระมหากษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาสร้างเมือง ไชยปราการ ซึ่งรกรา้ งมปี า่ ไม้แดงขน้ึ ปกคลมุ อยู่ แต่มีสภาพซากวัดเก่าปรักหักพัง คงเหลือแต่ หลักฐานบางอย่างปรากฎอยู่ เช่น ซากฐานก้อนอิฐท่ีจมอยู่ใต้พืนดิน ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.2515 พระครูประดิษฐ์ธรรมคุณ (หลวงพ่อบุญเย็น ฐานธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดสุปัฎนาราม เจ้าคณะ ตาบลปงตาในขณะน้ัน นาคณะศรทั ธาสาธุชนภายในหมู่บ้านป่าไม้แดง และหมู่บ้านใกล้เคียง พัฒนาสถานทว่ี ดั รา้ งท่ีปกคลมุ ด้วยป่าไมแ้ ดง ไดส้ รา้ งราชานสุ าวรีย์พระเจ้าพรหมมหาราชขึ้น เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานแด่พระเจ้าพรหมมหาราช วีรกษัตริย์ผู้ทรงสถาปนาสร้างเมืองไชย ปราการ และได้จัดตงั้ ข้ึนเป็นสานักสงฆโ์ ดยใชช้ อ่ื ว่า “สานกั สงฆ์พระเจ้าพรหมมหาราช” โดย มีพระครูประดิษฐ์พรหมคุณ เป็นเจ้าสานักสงฆ์รูปแรกต้ังแต่ พ.ศ.2515 – พ.ศ.2534 จนกระทั่งปี พ.ศ.2533 ได้อาศัยอานาจตามความในข้อ 4 แห่งระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วา่ ดว้ ยการยกวัดร้างขนึ้ เปน็ วัดมีพระสงฆ์ พุทธศักราช 2514 ได้ประกาศให้เป็นวัดมีพระสงฆ์ เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ.2533 โดยให้ช่ือว่า “วัดป่าไม้แดง” โดยมีพระครูดวงคา ฐาน

นิสฺสโร ในขณะนั้น หรือพระครูสถิตธรรมภิรักษ์ องค์ปัจจุบัน เป็นเจ้าอาวาสวัดป่าไม้แดงรูป แรก และได้ดารงตาแหนง่ เจา้ อาวาสมาต้ังแต่วนั ที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2534 จวบจนถงึ ปจั จบุ ัน



ช่ือแหล่งเรียนรู้ สวนปา่ พทุ ธชยันตี สาขาคลงั ปญั ญา ประเภทวฒั นธรรม ประเพณี ที่อย่ปู จั จบุ นั บ้านปาง หมู่ 9 ตาบลหนองบวั อาเภอไชยปราการ จงั หวดั เชยี งใหม่ Facebook วดั ป่าไมแ้ ดงพระเจา้ พรหมมหาราช watpamaidang ความเปน็ มาของภูมิปญั ญา เม่ือปี พ.ศ. 2535 สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิด์ิ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพัน ปีหลวง ได้เสด็จฯมาทรงงาน ณ ดอยอ่างขาง ทอดพระเนตรเห็นพ้ืนท่ีป่าลดน้อยลง เพราะมี คนตัดไม้ทาลายปา่ จานวนมาก จงึ มพี ระราชเสาวนียใ์ ห้ ท่านพระครูสถิตธรรมาภิรักษ์ เทศนา สอนชาวบ้านหยุดทาลายป่า เพราะหากไม่มีป่าจะเกิดผลกระทบกับชีวิตความเป็นอยู่ของ ชาวบ้านน่ันเอง ผืนดินก็จะแห้งแล้งไม่มีน้าใช้อุปโภคบริโภค ครั้งนั้นพระองค์ท่าน พระราชทานเงินให้ 50,000 บาท เพอ่ื จะได้นาไปอนุรักษ์รักษาปา่ ไม้ พระครูสถิตธรรมาภิรักษ์ ได้นาแนวทางพระราชดาริดมาดาเนินการจัดกิจกรรม “โครงการธรรม ตามแนวพระราชดาริ นา้ แลกป่า” ต้งั แตน่ ้ันมาทกุ ปี เพ่ือฟื้นฟูปา่ ทถ่ี ูกทาลาย โดยมุ่งแก้ปัญหาท่ีคนก่อน เพราะป่าก็คือป่า เม่ือคนเราต้องการต้นไม้ ต้องการใช้พ้ืนท่ีทา การเกษตร ป่ากถ็ ูกทาลาย จึงตรวจสอบป่าท่ีเป็นพื้นที่ของแผ่นดิน มีจุดใดท่ีเส่ียงต่อการบุคุก คืนมา แล้วนามาสรา้ งฝายชะลอน้าและปลกู ป่าทดแทน จากเดมิ ชาวบา้ นที่ทาการเกษตรปลูก ข้าวทาไรก่ พ็ ออยพู่ อกนิ แต่ปัจจบุ นั การบกุ รกุ ปา่ เข้าไปจบั จองแสวงหาผลประโยชน์จากป่าใน เชิงพาณิชย์ โดยเอาพื้นท่ีป่าไปขายให้กับนายทุน ถือว่าผิดไปจากชีวิตความเป็นอยู่เดิมของ ชาวบ้าน ต้องสร้างความเข้าใจให้อยู่แบบพอเพียง ร่วมกันดูแลรักษาป่าและขอคืนพ้ืนที่ป่า เพื่อปลูกป่าให้เป็นป่า ทาให้เห็นคุณค่าของการอนุรักษ์ จึงเกิดมีโครงการน้าแลกป่า ป่าแลก น้า ดแู ลป่าเพือ่ ให้ไดน้ ้า จงึ เปน็ ทมี่ าของโครงการดังกลา่ วอย่างเปน็ รูปธรรม กศน.อาเภอไชยปราการ จงึ ไดเ้ ลง็ เห็นความสาคัญของแหล่งเรยี นรู้เพอ่ื จดั กิจกรรมการ จัดการศึกษาตามอัธยาศัย จึงได้จัดทาโครงการ นวัตกรรม “ป่าแลกน้า น้าแลกป่า” สู่การ พัฒนาท่ีย่ังยืน เพ่ือให้นักศึกษาตลอดจนประชาชนในพื้นท่ี ร่วมเป็นกลไกในการขับเคลื่อน กิจกรรมร่วมกันสานต่อและฟื้นฟูแหล่งทรัพยากรธรรมชาติท่ีเป็นต้นน้าให้คงอยู่สืบไป และ เป็นการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ของคนในชุมชนได้โดย กศน.อาเภอไชยปราการ ได้บูรณาการ

ร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน เพ่ือจัดและส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ เช่น การสร้างองค์ความรู้ ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ภายใต้โครงการนวัตกรรม “ป่าแลกน้า น้าแลกป่า” สู่การพัฒนาท่ี ยงั่ ยืน การส่งเสริมอาชีพจากการนาผลผลติ ทางการเกษตรมาแปรรปู การส่งเสรมิ และอนุรักษ์ พนั ธ์ตุ ้นไมห้ ายาก ฯลฯ เพ่ือนามาพัฒนาคุณภาพชีวติ และเสริมสร้างความเข้มแข็งของคนใน ชมุ ชนสกู่ การเปน็ สังคมแหง่ การเรยี นรตู้ ามหลกั การเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาขอ เศรฐกจิ พอเพยี ง และชุมชนกส็ ามารถมีนา้ ใช้ไดต้ ลอดปี โดยอยคู่ วบค่กู บั ป่าไดต้ ลอดไป

ชือ่ แหล่งเรยี นรู้ บา้ นใหม่หนองบัว สาขาคลงั ปญั ญา ประเภทวัฒนธรรม ประเพณี ทอ่ี ยูป่ จั จบุ นั หมู่ 10 ตาบลหนองบัว อาเภอไชยปราการ จงั หวัดเชยี งใหม่ Facebook บา้ นใหม่หนองบัว หมู่ 10 ตาบลหนองบวั อาเภอไชยปราการ จงั หวัดเชียงใหม่ ความเป็นมาของภูมปิ ญั ญา บ้านใหม่หนองบัวเป็นอีกหมู่บ้านหน่ึงในกลุ่มหมู่บ้านชาวจีนก๊กมินต้ังอพยพ ทหารจีน กองพล 93ทตี่ ง้ั อยูเ่ ปน็ ตะเขบ็ ชายแดนไทยในภาคเหนอื ในช่วงอาเภอไชยปราการ-อาเภอฝาง เชียงใหม่ซึ่งก็จะมีบ้านอรุโนทัย บ้านยาง บ้านถ้าง๊อบ และ บ้านใหม่หนองบัว อดีตแต่หลัง สงครามโลก ทหารจีนก๊กมินตัง ของกองพล 93 เป็นเป็นจีนคณะชาติมีนายพล เจียง ไค เช็ค เป็นผู้นาในขณะนั้นได้พ่ายแพ้สงครามทาให้จีนจึง อยู่ภายใต้การปกครองโดยระบอบ คอมมวิ นสิ ตม์ ีกองกาลังตกคา้ งในยา่ นไทย ลาว พม่า แตป่ ระเทศเราเปน็ เสรปี ระชาธิปไตย จึง ทาใหช้ าวจีนอพยพเข้ามาอาศยั อยูต่ ามชายแดนไทยเป็นจานวนมาก จนมีลูกหลานครอบครัว ใหญ่ขึน้ ในอดตี แตเ่ ดิมสถานภาพเปน็ คนต่างด้าวและหลังจากไดร้ บั สถานะต่างด้าวแล้วต่อมา ได้แปลงสัญชาติเป็นคนไทย ท้ังนี้โดยให้กระทรวงมหาดไทยเป็นหน่วยงานหลักในการแปลง สัญชาติในการแปลงสัญชาติ แทนกองกองบัญชาการทหารสูงสุดที่เป็นหน่วยงานหลักชาว พื้นเมืองเหนือจะเรียกชาวจีนเหล่านี้ว่า \"จีนฮ่อ\"และได้มีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีผสมผสานทั้งที่ เป็นชาวพุทธ ชาวอิสลาม และ คริสต์ศาสนา แต่ก็ร่วมอยู่กับชนชายแดนไทย มาได้ตลอด ระยะเวลาทย่ี าวนานหลายสิบปี รวมทัง้ มวี ฒั นธรรมประเพณีท่ีอาจจะแตกต่างไปบ้าง รวมท้ัง ท่ีอยู่อาศัย บ้านเรือน แบบชาวจีนสมัยเก่า จึงเป็นหมู่บ้านท่ีน่าท่องเที่ยว และ ศึกษาทาง ประเพณวี ัฒนธรรม และ เพ่อื พักผอ่ นท่องเท่ยี วในปัจจุบันดว้ ยในปัจจบุ ันอาคารสถานที่ต่างๆ ได้เปล่ียนรูปแบบไปจากชาวจีนเดิม แต่ก็ยังคงเหลือท่ีเป็นรูปแบบด่ังเดิมอยู่บ้าง บ้านหนอง บัวแหง่ นน้ี ับได้ว่าเป็นหมู่บ้านใหญ่แห่งหน่ึงท่ีมีประชากรอยู่เป็นจานวนมาก ห่างจากตัวเมือง เชียงใหม่ไปในเสน้ ทาง 107 ราว 150 กม.




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook