Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1

Description: บทที่ 1

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้นับเป็นวิธีหน่ึงท่ีทาให้ครูผู้สอนได้มีการเตรียมการสอน ลว่ งหนา้ กอ่ นที่จะทาการสอนจริง โดยมกี ารเตรยี มเนื้อหาเตรียมกิจกรรม เตรียมส่ือการเรยี นการสอน รวมทั้งวิธีการวัดผลประเมินผลซ่ึงการเตรียมการสอนจะช่วยให้ครูผู้สอนมีความพร้อมที่จะสอนให้ ผูเ้ รยี นบรรลตุ ามจุดมุ่งหมายของหลกั สูตร การจัดทาแผนการจัดการเรียนรฉู้ บับนี้ ผู้จดั ทาได้ศึกษาค้นควา้ หลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ขัน้ พ้ืนฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง พทุ ธศักราช 2560) เอกสารอ่นื ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง วิเคราะห์ หลักสูตร จัดทากาหนดการสอน โครงสร้างรายวิชา และหารปู แบบการทาแผนการจัดการเรยี นรู้โดย เน้นให้ผูเ้ รยี นไดเ้ รียนผา่ นกระบวนการคิดด้วยตนเอง โดยคานงึ ถึงสภาพแวดล้อมของผเู้ รยี น โรงเรียน และชุมชนเป็นหลกั แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ี เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เพื่อพัฒนาความเข้าใจ เกี่ยวกับสัญลักษณ์ และการดาเนินการต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยเน้นขั้นตอนหรือวิธีการท าง คณิตศาสตร์ จัดทาไวเ้ พอ่ื สะดวกต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน สามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ดท้ ุก ปีการศกึ ษา ผ้ทู ่จี ะนาไปใชค้ วรอ่านคาช้ีแจงการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ให้เข้าใจกอ่ นนาไปใช้จริง ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ีจะช่วยให้การเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ดาเนินไปด้วยดี และทาให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความสามารถ มที ักษะกระบวนการและมีคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ตรงตามจุดมุ่งหมายของหลกั สตู ร ตอ่ ไป ....................................

สารบญั ข เรื่อง หน้า สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 1 ตวั ชว้ี ัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 2 คาอธิบายรายวิชา 7 โครงสรา้ งเวลาเรียน 9 โครงสรา้ งรายวิชา 10 กาหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 จานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 11 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 1 12 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 2 17 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 3 23 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 4 27 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 5 32 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 6 37 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 7 42 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 8 47 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 9 52 แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี 10 57 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 11 61 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 12 65 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 13 69 แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 14 73 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 15 77 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 16 81 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 17 85 แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 18 89

1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กาหนดให้ สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบอ้ื งตน้ ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ นาไปใช้ ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 จานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ - การอ่าน การเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดง ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวน จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 - หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และ 2. เปรียบเทยี บและเรยี งลาดับจานวนนับ การเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ตา่ งๆ กระจาย - การเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จานวน เศษส่วน 3. บอก อ่าน และเขียนเศษสว่ นแสดง - เศษส่วนทมี่ ตี ัวเศษนอ้ ยกวา่ หรือเทา่ กบั ปรมิ าณสิง่ ต่างๆ และแสดงสง่ิ ต่างๆ ตัวสว่ น ตามเศษส่วนทก่ี าหนด - การเปรยี บเทียบและเรียงลาดับ 4. เปรียบเทียบเศษสว่ นทตี่ ัวเศษเทา่ กัน เศษส่วน โดยท่ีตัวเศษน้อยกวา่ หรอื เท่ากับตัว สว่ น การบวก การลบ การคูณ การหารจานวน 5. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 สญั ลักษณแ์ สดงการบวกและประโยค - การบวกและการลบ สญั ลักษณ์แสดงการลบของจานวนไม่ - การคณู การหารยาวและการหารส้นั เกนิ 100,000 และ 0 - การบวก ลบ คูณ หารระคน 6. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค - การแก้โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทย์ สญั ลักษณ์ แสดงการคณู ของจานวน 1 ปัญหา พร้อมท้งั หาคาตอบ หลักกบั จานวนไม่เกิน 4 หลกั และ จานวน 2 หลักกับจานวน 2 หลัก 7. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สญั ลักษณ์ แสดงการหารที่ตวั ต้งั ไมเ่ กนิ 4 หลัก ตัวหาร 1 หลกั

3 ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 8. หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 9. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา 2 ขัน้ ตอน ของจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 การบวก การลบเศษสว่ น 10. หาผลบวกของเศษส่วนทมี่ ีตัวสว่ น - การบวกและการลบเศษส่วน เทา่ กนั และผลบวกไมเ่ กิน 1 และหาผล - การแก้โจทย์ปญั หาการบวกและโจทย์ ลบของเศษส่วนทม่ี ีตัวส่วนเท่ากัน ปญั หาการลบเศษส่วน 11. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการ บวกเศษสว่ นทีม่ ีตวั ส่วนเทา่ กันและ ผลบวกไมเ่ กนิ 1 และโจทยป์ ญั หาการ ลบเศษสว่ นทีม่ ีตัวสว่ นเท่ากัน สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนกุ รม และ นาไปใช้ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 แบบรูป 1. ระบจุ านวนทีห่ ายไปในแบบรูปของ - แบบรปู ของจานวนท่ีเพม่ิ ข้นึ หรอื ลดลง จานวนที่เพม่ิ ข้นึ หรอื ลดลงทลี ะเทา่ ๆ กัน ทลี ะเท่าๆ กนั สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พันธห์ รอื ช่วยแกป้ ัญหาท่ี กาหนดให้ ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 3 - -

4 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ อ้ งการวดั และ นาไปใช้ ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 เงนิ 1. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การบอกจานวนเงนิ และเขยี นแสดง เกยี่ วกับเงิน จานวนเงนิ แบบใชจ้ ดุ 2. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การเปรยี บเทียบจานวนเงินและการ เกยี่ วกับเวลา และระยะเวลา แลกเงนิ - การอา่ นและเขียนบนั ทึกรายรบั รายจา่ ย - การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับเงนิ เวลา - การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที - การเขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาที - การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งช่ัวโมงกบั นาที - การอา่ นและการเขยี นบนั ทกึ กิจกรรมท่ี ระบเุ วลา - การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกับเวลาและ ระยะเวลา ความยาว 3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวท่ี - การวดั ความยาวเป็นเซนตเิ มตรและ เหมาะสมวัดและบอกความยาวของส่งิ มลิ ลิเมตร เมตรและเซนตเิ มตร ต่างๆ เป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร กโิ ลเมตรและเมตร เมตรและเซนตเิ มตร - การเลอื กเคร่อื งมอื วดั ความยาวท่ี 4. คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็น เหมาะสม เซนติเมตร - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ 5. เปรียบเทียบความยาวระหว่าง เปน็ เซนติเมตร เซนตเิ มตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกับ - การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้ เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จาก ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยความยาว สถานการณต์ ่างๆ - การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ความยาว

5 ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 3 6. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา เกีย่ วกับความยาวทีม่ หี น่วยเปน็ เซนติเมตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและ เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร น้าหนัก 7. เลือกใชเ้ ครือ่ งชัง่ ท่เี หมาะสม วดั และ - การเลอื กเครอ่ื งชัง่ ทเ่ี หมาะสม บอกน้าหนกั เป็นกิโลกรัมและขีด - การคาดคะเนน้าหนกั เปน็ กิโลกรมั และ กโิ ลกรมั และกรัม เปน็ ขดี 8. คาดคะเนน้าหนกั เป็นกิโลกรัมและเป็น - การเปรยี บเทียบนา้ หนกั โดยใช้ ขีด ความสัมพันธ์ระหว่างกโิ ลกรมั กบั กรัม 9. เปรยี บเทยี บน้าหนักระหว่างกิโลกรมั เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรมั และกรมั เมตริกตันกบั กิโลกรมั จาก - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกบั นา้ หนัก สถานการณต์ ่างๆ 10. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา เกย่ี วกบั นา้ หนักทมี่ หี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั กบั กรมั เมตรกิ ตันกบั กิโลกรัม นา้ หนัก 11. เลือกใชเ้ คร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วดั และ - การวัดปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตร เปรยี บเทียบปรมิ าตร ความจุเปน็ ลิตร และมลิ ลลิ ิตร และมลิ ลลิ ิตร - การเลือกเคร่ืองตวงทเี่ หมาะสม 12. คาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตร - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจุเปน็ 13. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ลติ ร เก่ียวกับปรมิ าตรและความจุทมี่ หี นว่ ย - การเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจุ เป็นลิตรและมลิ ลลิ ิตร โดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างลติ รกบั มลิ ลลิ ติ ร ช้อนชา ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวงกบั มลิ ลลิ ิตร - การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ปรมิ าตร และความจทุ มี่ ีหนว่ ยเปน็ ลติ รและ มลิ ลิลิตร

6 สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง รปู เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 รปู เรขาคณิตสองมิติ 1. ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมิตทิ ม่ี ีแกน - รปู ทมี่ แี กนสมมาตร สมมาตรและจานวนแกนสมมาตร สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแกป้ ัญหา ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป. 3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการนาเสนอ 1. เขียนแผนภูมริ ปู ภาพ และใชข้ ้อมลู จาก ขอ้ มลู แผนภูมริ ูปภาพในการหาคาตอบของ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจาแนก โจทยป์ ัญหา ขอ้ มลู 2. เขยี นตารางทางเดียวจากขอ้ มลู ทเี่ ป็น - การอา่ นและการเขยี นแผนภมู ริ ปู ภาพ จานวนนบั และใชข้ ้อมูลจากตารางทาง - การอ่านและการเขยี นตารางทางเดยี ว เดียวในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา (one – way table) สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนบั เบอ้ื งต้น ความนา่ จะเปน็ และนาไปใช้ ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 - -

7 คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ช่ัวโมง/ปี ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย ตัวหนังสอื แสดงจานวนนบั หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย การเปรยี บเทยี บจานวน การเรียงลาดับจานวน แบบรูปของจานวนที่เพิม่ ข้ึนและลดลง การบวกจานวนนับทีม่ ีผลบวกไม่เกนิ 100,000 การบวกจานวนสามจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ ปัญหาการบวก การลบจานวนทีม่ ตี ัวต้งั ไมเ่ กนิ 100,000 การลบจานวนสามจานวน การหาตัวไมท่ ราบ ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การคูณจานวนหนงึ่ หลกั กับจานวนไม่เกินส่ีหลัก การคณู กบั จานวนสองหลกั กบั จานวนสองหลัก โจทย์ ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปญั หาการลบ การหารที่มตี วั ต้งั ไมเ่ กินส่หี ลักและตัวหารมหี นึ่งหลกั การหา ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครอ่ื งมอื วัดความยาวทเ่ี หมาะสม การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ เป็นเซนติเมตร การ เปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหน่วยความยาว โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับความยาว รปู ที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เท่ากับตัวสว่ น การเปรยี บเทียบเศษส่วน การเรยี งลาดับเศษส่วน การบวกเศษสว่ นที่มีตัวสว่ นเท่ากนั การลบเศษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกนา้ หนกั เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเคร่ืองช่ังที่เหมาะสม การคาดคะเนน้าหนักเป็น กิโลกรมั และเป็นขีด การเปรยี บเทียบน้าหนกั โดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่างกิโลกรัมกบั กรัม เมตรกิ ตัน กับกิโลกรัม โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั น้าหนกั การวดั ปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลติ ร การเลอื ก เคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์ ปัญหาเกีย่ วกับปริมาตรและความจทุ ่ีมหี น่วยเป็นลิตรและมลิ ลิลิตร การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และจาแนก ข้อมลู การอา่ นและเขียนแผนภมู ิรูปภาพ การอา่ นและเขียนตารางทางเดยี ว การบอกเวลาเป็นนาฬิกา และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบ ระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งชัว่ โมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมท่ีระบเุ วลา โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรยี ญและธนบัตรชนดิ ต่างๆ การบอกจานวนเงนิ และ เขียนแสดงจานวนเงินแบบใช้จดุ และการอ่าน การเปรียบเทยี บจานวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ ปัญหาและการสรา้ งโจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน

8 โดยการจดั ประสบการณห์ รอื สร้างสถานการณ์ทีใ่ กลต้ ัวผู้เรยี นไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ ฝกึ ทกั ษะ โดย การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปญั หา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ไี ดไ้ ปใช้ในการเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจาวัน อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มี ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละมีความเช่อื มั่นใน ตนเอง ตัวช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม 28 ตวั ชว้ี ัด

9 โครงสร้างเวลาเรียน ภาคเรยี นท่ี 1 กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 บทท/่ี เร่ือง เวลา (ช่วั โมง) ภาคเรียนท่ี 1 บทท่ี 1 จานวนนบั ไม่เกิน 100,000 18 บทที่ 2 การบวกและการลบจานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 28 บทท่ี 3 เวลา 16 บทที่ 4 รูปเรขาคณติ 2 บทที่ 5 แผนภมู ิรปู ภาพและตารางทางเดยี ว 7 บทท่ี 6 เศษส่วน 16 บทท่ี 7 การคณู 18 รวมภาคเรยี นที่ 1 105

10 โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคัญ เวลา เรียนรู้/ตัวชีว้ ดั (ชม.) จานวนนับไม่เกิน 100,000 ค 1.1 จานวนนับที่ไม่เกิน 100,000 และ 0 สามารถอ่าน 18 ป.3/1 และเขียนแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย ป.3/2 และตวั หนังสือ จานวนตา่ ง ๆ จะมคี า่ มากหรือนอ้ ย ข้ึนอยู่กับจานวนหลักและค่าของตัวเลขในแต่ละ หลักที่จะทาให้จานวนมีค่าแตกต่างกัน ซึ่งจานวน นับที่ไม่เกิน 100,000 จะเป็นการบอกจานวนที่มี ตัวเลขที่ไม่เกินหกหลัก จานวนนบั ไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากัน หรือไม่เท่ากันและค่าไม่เท่ากันอาจมีค่ามากกว่า หรือน้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น โดยใช้ เครอื่ งหมาย = ≠ > < แสดงการเปรียบเทยี บ การ เรียงลาดับจานวน หลาย ๆ จานวน ทาได้โดยการ เปรียบเทยี บจานวนทุก ๆ จานวน แล้วเรียงลาดับ จานวนจากน้อยไปมาก หรอื จากมากไปนอ้ ย

11 กาหนดแผนการจดั การเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 จานวนนบั ไมเ่ กนิ 100,000 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี เรือ่ ง จานวน (ช่วั โมง) 1 การอ่านและเขียนตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสอื แสดงจานวน 1 2 การอ่านและเขียนตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และ 1 ตัวหนังสือแสดงจานวน 1 3 หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขียนตวั เลข แสดงจานวนในรปู กระจาย 1 4 หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตวั เลข 1 แสดงจานวนในรปู กระจาย 1 5 หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขยี นตัวเลข 1 แสดงจานวนในรปู กระจาย 1 1 6 การเปรยี บเทียบจานวน 1 1 7 การเปรียบเทยี บจานวน 1 8 การเปรียบเทียบจานวน 1 1 9 การเรียงลาดบั จานวน 1 10 การเรยี งลาดับจานวน 1 11 แบบรปู ของจานวนท่เี พมิ่ ขนึ้ ทลี ะ 3 1 1 12 แบบรปู ของจานวนที่เพมิ่ ข้นึ ทีละ 5 18 13 แบบรปู ของจานวนที่เพมิ่ ข้ึนทีละ 8 14 แบบรปู ของจานวนที่เพม่ิ ข้นึ ทีละ 10 15 แบบรปู ของจานวนทล่ี ดลงทลี ะ 3 16 แบบรปู ของจานวนทล่ี ดลงทีละ 5 17 แบบรปู ของจานวนท่ีลดลงทีละ 8 18 แบบรปู ของจานวนทล่ี ดลงทีละ 10 รวม

12 แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 1 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 จานวนนับไมเ่ กิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชั่วโมง เรอ่ื ง การอ่านและเขยี นตัวเลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง และตัวหนังสอื แสดงจานวน สอนวันท.ี่ ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนนิ การของจานวน ผลทเ่ี กิดข้นึ จากการดาเนนิ การ สมบัติของการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตวั ชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขียน ตวั เลขฮินดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวน นบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0 สาระสาคัญ จานวนนับทีไ่ ม่เกนิ 100,000 และ 0 เปน็ จานวนที่ประกอบดว้ ยหลกั หนว่ ย หลักสิบ หลักรอ้ ย หลักพนั หลักหมน่ื และหลกั แสน สามารถอ่านและเขยี นแทนดว้ ยตัวเลขฮินดูอารบิก ตวั เลขไทย และ ตัวหนังสือ ซ่งึ ต้องใสเ่ ครอื่ งหมายจุลภาค (,) ทุกช่วงสามตาแหน่งของจานวนโดยนบั จากหลักหน่วยไป ทางซา้ ยมือ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 ได้ (K) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ไดถ้ ูกต้อง (P) 3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ ถกู ต้อง 4. นาความรู้เกย่ี วกับการอ่านและเขียนตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดง จานวนนับไมเ่ กนิ 100,000 ไปใช้แกป้ ญั หาทางคณิตศาสตรไ์ ด้ (A) สาระการเรยี นรู้ การอา่ นและเขยี นตวั เลขฮนิ ดูอารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน

13 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่อื มโยง คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน กิจกรรมการเรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ สูบ่ ทเรยี น 1. ครูจัดกิจกรรมโดยใหน้ ักเรยี นดูหลักลกุ คิดแล้วครูแนะนาว่าแต่ละหลกั จะมีลกู คดิ ได้ เพียง 9 ลูกถา้ ใส่ครบ 10 ลกู จะต้องนาลกู คดิ ในหลักนนั้ ออกแล้วใส่ลกู คดิ ในหลักถัดไปทางซ้าย 1 ลกู เปน็ เชน่ นีท้ ุกหลกั จากน้ันครใู สล่ ูกคดิ ในหลกั ลูกคิดแสดงจานวนนบั 1,235 หมนื่ พัน ร้อย สบิ หนว่ ย ครถู ามนักเรยี นว่า - จานวนลูกคดิ ในหลักหน่วยมีก่ลี กู และแสดงจานวนใด (5 ลูก แสดงจานวน 5) - จานวนลูกคิดในหลกั สิบมกี ี่ลกู และแสดงจานวนใด (3 ลกู แสดงจานวน 30) - จานวนลกู คดิ ในหลกั รอ้ ยมีกล่ี ูกและแสดงจานวนใด (2 ลกู แสดงจานวน 200) - จานวนลูกคดิ ในหลักพนั มีกลี่ กู และแสดงจานวนใด (1 ลกู แสดงจานวน 1,000) ครสู รปุ การเขียนแสดงจานวนบนกระดานดงั นี้ ตวั เลขฮินดูอารบกิ 1,235 ตวั เลขไทย ๑,๒๓๕ ตวั หนงั สอื หนง่ึ พนั สองรอ้ ยสามสบิ หา้

14 ขนั้ สอน 1. ครใู หน้ กั เรยี นใสล่ ูกคดิ ในหลกั หน่วย หลกั สิบ หลกั รอ้ ย หลกั พันโดยแตล่ ะหลกั ไมเ่ กนิ 9 ลูกหรอื บางหลกั ไม่ตอ้ งใสล่ ูกคดิ แล้วให้นักเรยี นบอกจานวนลกู คิดในแต่ละหลกั เขียนตัวเลขฮินดู- อารบิก ตัวเลขไทยและตัวหนังสือ เช่น 5,403 ให้นักเรียนเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตวั หนังสอื แสดงจานวนนบั 5,403 บนกระดานจะได้ หม่ืน พนั ร้อย สิบ หน่วย ตวั เลขฮินดอู ารบกิ 5,403 ตวั เลขไทย ๕,๔๐๓ ตวั หนังสอื ห้าพันสร่ี ้อยสาม 2. ครนู าลกู คิดใสใ่ นหลักพนั 10 ลกู แลว้ ถามนกั เรยี นว่าลกู คิดแสดงจานวนใด (10 พนั ) ครูแนะนาว่า 10 พันคือ 1 หมื่น แล้วแนะนาว่าจะต้องนาลูกคิดทั้ง 10 ลูกออกแล้วใส่ลูกคิดในหลกั ถัดไปทางซ้ายของหลักพัน 1 ลูกแทนครูแนะนาว่าหลักถัดไปทางซ้ายของหลักพันเรียกว่าหลกั หม่ืน ดังนั้นลูกคิดในหลักหมื่น 1 ลูกแสดงจานวน 1 หมื่น ครูเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทยและ ตวั หนังสือแสดงจานวน 1 หมืน่ ตัวเลขฮินดูอารบกิ 10,000 ตัวเลขไทย ๑๐,๐๐๐ ตัวเลขหนังสือ หนงึ่ หม่ืน 3. ใส่ลูกคิดในหลักหมน่ื จนครบ 10 ลูกแล้วถามนักเรียนว่าลูกคิดแสดงจานวนใด (10 หม่ืน) 4. ครูแนะนาว่า 10 หม่ืนคือ 1 แสนแล้วแนะนาต้องนาลูกคิดในหลักหมืน่ 10 ลูกออก แล้วใส่ลูกคดิ ในหลกั ถัดไปทางซา้ ยของหลักหมื่น 1 ลูกแทนครแู นะนาว่าหลกั ถัดไปทางซ้ายของหลกั หมืน่ เรยี กว่าหลกั แสนแล้วรว่ มกันสรปุ ความสมั พนั ธ์ต่างๆ ดงั น้ี 10 หนว่ ย คือ 1 สบิ 10 สิบ คอื 1 รอ้ ย 10 รอ้ ย คือ 1 พนั 10 พัน คอื 1 หมนื่ 10 หม่ืน คอื 1 แสน

15 5. ครจู ดั ลกู คดิ แสดงจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 ใหน้ ักเรยี นบอกจานวนพร้อมทง้ั เขียน ตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตวั เลขไทยและตวั หนังสอื 2 – 3 ตวั อยา่ ง เช่น 32,090 56,143 80,755 ครเู ขยี น ตวั เลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทยและตัวหนังสือแสดงจานวนบนกระดาน แล้วให้นกั เรียนจดั ลกู คิดแสดง จานวนตามครทู กี่ าหนด 3 – 4 ตัวอย่าง เชน่ 21,645 43,706 50,289 64,507 6. ครูให้นักเรยี นทาใบงานที่ 1 การอ่านและเขียนตัวเลขฮนิ ดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือแสดงจานวน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรียนร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 1 ข้นั สรุป 1. ครูและนกั เรยี นร่วมกนั สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้รว่ มกัน ดงั น้ี การเขยี นตัวเลขแสดงจานวน นับท่ีมากกว่า 999 แต่ไม่เกิน 100,000 เลขโดดทางซา้ ยของหลักรอ้ ยอยู่ในหลักพัน เลขโดดทางซ้าย ของหลักพนั อยใู่ นหลักหมื่น เลขโดดทางซ้ายของหลักหมื่นอยู่ในหลกั แสน สอื่ การเรียนรู้ 1. ลกู คิดหรอื หลกั ลูกคดิ 2. ใบงานท่ี 1 การอา่ นและเขยี นตัวเลขฮนิ ดอู ารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน การวัดผลและประเมนิ ผล ส่ิงท่ตี อ้ งการวดั วธิ ีวดั เคร่อื งมือวัด เกณฑ์การประเมนิ 1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานที่ ใบงานที่ 1 70% ขึน้ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์ 1 การประเมิน 2. ดา้ นทกั ษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรยี นไดค้ ะแนนระดับ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คณุ ภาพดขี น้ึ ไป ทักษะกระบวนการ 3. ด้านคุณลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนไดค้ ะแนนระดับ ทีพ่ ึงประสงค์ คณุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ พฤตกิ รรมด้าน คุณภาพดขี ้ึนไป คณุ ลกั ษณะ ทพ่ี งึ ประสงค์

16 ความคดิ เห็นผู้บรหิ าร ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ () ผู้อานวยการโรงเรียน ..../................../........ บันทกึ หลงั การเรียนการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนได้คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดมี าก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

17 แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 2 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ชว่ั โมง เรอื่ ง การอ่านและเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง และตัวหนังสือแสดงจานวน สอนวันท่.ี ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลท่เี กิดขนึ้ จากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตัวชว้ี ัด ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขียน ตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนงั สือ แสดงจานวน นบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 สาระสาคัญ หลักเลขประกอบหลักหนว่ ย หลกั สิบ หลกั ร้อย หลักพนั หลกั หม่ืน และหลักแสน โดยแต่ละ หลักจะมีคา่ ประจาหลกั เปน็ 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดทอ่ี ยู่ หลักต่างกันของจานวนนบั มีค่าต่างกนั ยกเวน้ 0 อยใู่ นหลักใดก็ยงั มคี า่ เท่ากบั 0 จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 ได้ (K) 2. เขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ไดถ้ ูกตอ้ ง (P) 3. อ่านตัวเลขฮินดูอารบิกและตัวเลขไทย แสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 ได้ ถูกต้อง 4. นาความรเู้ ก่ียวกับการอา่ นและเขียนตัวเลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตวั หนงั สอื แสดง จานวนนับไม่เกนิ 100,000 ไปใชแ้ กป้ ญั หาทางคณติ ศาสตรไ์ ด้ (A) สาระการเรียนรู้ การอ่านและเขยี นตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจานวน

18 ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่อื สารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอื่ มโยง คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. ม่งุ มนั่ ในการทางาน กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความเข้าใจเก่ยี วกับหลกั ลูกคิดแต่ละหลัก โดยครู สาธติ การใชล้ ูกคิดหน้าชัน้ เรียน แล้วตั้งคาถามให้นักเรยี นตอบ ดงั นี้ หมนื่ พนั ร้อย สิบ หนว่ ย ครถู ามนกั เรียนว่า - หลกั ลกู คิดดา้ นขาวมือสุดใช้แทนจานวนในหลกั ใด (หลกั หนว่ ย) - หลกั ลูกคิดถัดจากหลักหน่วยไปทางซา้ ยมอื ใช้แทนจานวนในหลกั ใด (หลกั สิบ) - หลักลกู คดิ ถัดจากหลักสิบไปทางซา้ ยมอื ใช้แทนจานวนในหลกั ใด (หลกั รอ้ ย) - หลกั ลูกคดิ ถดั จากหลกั รอ้ ยไปทางซา้ ยมือใชแ้ ทนจานวนในหลักใด (หลกั พัน) - หลักลกู คดิ ถัดจากหลกั พนั ปทางซา้ ยมือใช้แทนจานวนในหลกั ใด (หลกั หมน่ื ) 2. ครขู ออาสาสมัครนกั เรยี น 1 คน ออกมาหยิบลูกคดิ ใสในหลกั ลูกคิด แสดงจานวนไม่ เกิน 100,000 ตามความต้องการของนกั เรียน แล้วนกั เรยี นทงั้ ชั้นอ่านตวั เลขทีแ่ ทนด้วยหลกั ลกู คดิ นนั้

19 3. ครูนาลูกคิดใส่ในหลกั ลกู แสดงจานวนนบั 3,052 ดังรูป หมื่น พัน รอ้ ย สบิ หนว่ ย ครตู ั้งคาถามให้นักเรียนตอบดงั น้ี - หลกั พันมลี กู คดิ จานวนกลี่ กู และแสดงจานวนใด (3 ลกู แสดงจานวน 3,000) - หลักรอ้ ยมลี กู คิดจานวนกล่ี ูก และแสดงจานวนใด (0 ลกู แสดงจานวน 0) - หลักสบิ มีลกู คิดจานวนก่ลี กู และแสดงจานวนใด (5 ลกู แสดงจานวน 50) - หลกั หน่วยมลี ูกคิดจานวนกลี่ ูก และแสดงจานวนใด (2 ลูก แสดงจานวน 2) - หลกั ลูกคิดแสดงจานวนใด อ่านวา่ อย่างไร (3,052 อ่านว่า สามพนั ห้าสบิ สอง) ขน้ั สอน 1. ครูแจกบัตรภาพตอ่ ไปน้ใี หน้ กั เรยี นกลุม่ ละ 4 ใบ ใหน้ ักเรียนแต่ละกลมุ่ ช่วยกนั เขียน วงกลมแทนลูกคิดลงในบัตรภาพใหส้ อดคล้องกบั จานวนที่กาหนดให้ หมื่น พัน รอ้ ย สิบ หน่วย หม่นื พัน รอ้ ย สบิ หน่วย 37,028 40,869 หม่นื พัน รอ้ ย สบิ หนว่ ย หม่นื พนั ร้อย สบิ หน่วย 57,475 38,009

20 นกั เรียนชว่ ยกันเขียนตัวเลขไทยและตัวหนงั สอื แสดงจานวน ดงั นี้ 37,028 ๓๗,๐๒๘ สามหม่นื เจ็ดพนั ย่สี ิบแปด 40,869 ๔๐,๘๖๙ สห่ี ม่ืนแปดร้อยหกสิบเก้า 57,475 ๕๗,๔๗๕ ห้าหมื่นเจด็ พนั สีร่ ้อยเจ็ดสิบห้า 38,009 ๓๘,๐๐๙ สามหม่ืนแปดพนั เก้า 2. ครูแจกบัตรภาพหลักลูกคิดให้นักเรียนกลุ่มละ 4 ใบให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกัน เขียนจานวนแทนลกู คดิ ลงในบตั รภาพให้สอดคลอ้ งกบั ภาพทีก่ าหนดให้ หมน่ื พนั รอ้ ย สิบ หน่วย หมื่น พนั รอ้ ย สิบ หน่วย หม่ืน พัน รอ้ ย สบิ หน่วย หมน่ื พนั รอ้ ย สิบ หนว่ ย นกั เรยี นชว่ ยกันเขียนตวั เลขไทยและตัวหนงั สอื แสดงจานวน ดงั น้ี 17,592 ๑๗,๕๙๒ หนึ่งหมน่ื เจ็ดพนั ห้าร้อยเกา้ สบิ สอง 53,156 ๕๓,๑๕๖ ห้าหมน่ื สามพนั หนง่ึ รอ้ ยหา้ สิบหก 47,232 ๔๗,๒๓๒ ส่ีหมื่นเจด็ พนั สองร้อยสามสบิ สอง 63,236 ๖๓,๒๓๖ หกหมื่นสามพนั สองร้อยสามสบิ หก 3. ครูติดบัตรตัวเลขแสดงจานวนนับไม่เกิน 100,000 บนกระดาน 3-4 จานวน แล้ว สาธิตการอ่านแตล่ ะจานวนให้นักเรียนฟงั โดยใหน้ กั เรยี นรว่ มกันอ่านตาม 94,354 50,280 38,753 85,427

21 4. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 2 การอ่านและเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และ ตัวหนังสือแสดงจานวน เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 2 ขนั้ สรปุ 1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปสงิ่ ทไ่ี ด้เรียนรู้ร่วมกัน ดังน้ี จานวนนับที่ไม่เกนิ 100,000 สามารถอ่านและเขยี นแทนด้วยตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื ซึ่งการบอกจานวนไม่ เกิน 100,000 จะเป็นการบอกจานวนทม่ี ีตัวเลขไมเ่ กนิ หกหลัก ส่อื การเรยี นรู้ 1. ลกู คดิ หรอื หลักลกู คิด 2. บตั รภาพ 3. บตั รตวั เลข 4. ใบงานท่ี 2 การอ่านและเขยี นตวั เลขฮินดอู ารบกิ ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจานวน การวดั ผลและประเมนิ ผล ส่งิ ท่ีตอ้ งการวดั วธิ ีวัด เครื่องมอื วดั เกณฑ์การประเมนิ 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานท่ี 2 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ 2 การประเมิน 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดขี น้ึ ไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนไดค้ ะแนนระดบั ทพี่ งึ ประสงค์ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คณุ ภาพดีข้นึ ไป คุณลักษณะ ที่พึงประสงค์

22 ความคดิ เห็นผู้บรหิ าร ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ () ผู้อานวยการโรงเรียน ..../................../........ บันทกึ หลงั การเรียนการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนได้คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดมี าก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

23 แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 3 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ช่วั โมง เร่อื ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตวั เลข เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง แสดงจานวนในรปู กระจาย สอนวันท่.ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดข้นึ จากการดาเนนิ การ สมบตั ิของการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขียน ตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจานวน นับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 สาระสาคญั หลกั เลขประกอบหลกั หนว่ ย หลกั สบิ หลักร้อย หลกั พัน หลกั หม่ืน และหลักแสน โดยแต่ละ หลกั จะมีค่าประจาหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดทอ่ี ยู่ หลักตา่ งกันของจานวนนบั มีคา่ ต่างกนั ยกเว้น 0 อยู่ในหลักใดก็ยังมคี ่าเท่ากับ 0 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพรอ้ มทั้งเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับไมเ่ กิน 1,000 ในรปู กระจายได้ (K) 2. เขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจายไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 3. นาความรูเ้ ก่ียวกบั หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนใน รูปกระจาย ไปใช้แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ได้ (A) สาระการเรียนรู้ หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจาย ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่อื มโยง

24 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมั่นในการทางาน กิจกรรมการเรยี นรู้ ขัน้ นาเขา้ สู่บทเรียน 1. ครูทบทวนหลกั และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลักของจานวนนับไม่เกิน 100 โดยครู เตรยี มมัดไม้มัดละ 10 จานวน 3 มัดกบั ไม้อีก 4 อันแล้วถามคาถามใหน้ ักเรียนชว่ ยกันตอบ ดังนี้ - มมี ดั ไมอ้ ยู่กมี่ ัด กับไมอ้ ีกก่ีอนั (3 มดั กับอกี 4 อัน) - มีไมท้ ้งั หมดกี่อัน (สามสิบส่ีอนั ) - เขียนตวั เลขแสดงจานวนไมท้ งั้ หมดได้อยา่ งไร (34 หรอื ๓๔) - 34 แทนจานวนก่ีสิบกบั กหี่ นว่ ย (3 สิบกบั 4 หนว่ ย) - 3 ทางซา้ ยอยใู่ นหลกั ใด (หลักสิบ) และ 4 ทางขวาอยใู่ นหลกั ใด (หลักหน่วย) - เลขโดด 3 ในหลักสิบมคี า่ เทา่ ใด (30) เลขโดด 4 ในหลกั หนว่ ยมีค่าเทา่ ใด (4) ขน้ั สอน 1. ครเู ขยี นจานวนนบั สองจานวนบนกระดานเชน่ 58 แล้วถามนักเรียนว่า - เลขโดด 5 อย่ใู นหลกั ใด มคี า่ เทา่ ไร (หลักสบิ มคี า่ 50) - เลขโดด 8 อยใู่ นหลกั ใด มีคา่ เทา่ ไร (หลกั หนว่ ย มีคา่ 8) 2. ครูจัดกิจกรรมทานองเดียวกันอีก 3 – 5 จานวนเช่น 65 76 89 95 99 จากนั้นครู ยกตัวอย่างจานวนนับท่ีเลขโดดในหลักสิบและหลักหน่วยเป็นจานวนเดียวกัน เช่น 11 22 33 ให้ นักเรยี นบอกหลกั และค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั 3. ครูและนกั เรียนรว่ มกนั สรปุ เลขโดดตัวเดยี วกันถ้าอยูใ่ นหลกั ต่างกันจะมคี ่าต่างกนั 4. ครยู กตัวอยา่ งจานวนสามหลกั เช่น 120 และ 549 ใหน้ กั เรียนบอกหลกั และคา่ ของ เลขโดดในแตล่ ะหลกั โดยครูถามนกั เรียนดังน้ี 120 เลขโดด 1 อยู่ในหลักใด มีคา่ เทา่ ไร (หลกั ร้อย มีค่า 100) เลขโดด 2 อยู่ในหลักใด มคี า่ เทา่ ไร (หลกั สบิ มีคา่ 20) เลขโดด 0 อยูใ่ นหลักใด มคี ่าเทา่ ไร (หลกั หน่วย มีคา่ 20) 549 เลขโดด 5 อย่ใู นหลกั ใด มคี า่ เท่าไร (หลกั รอ้ ย มคี ่า 500) เลขโดด 4 อยใู่ นหลกั ใด มีคา่ เทา่ ไร (หลกั สบิ มีคา่ 40) เลขโดด 9 อยใู่ นหลักใด มีค่าเทา่ ไร (หลกั หน่วย มีคา่ 9) 5. ครยู กตัวอย่างจานวนนับ 495 แลว้ ถามนกั เรยี นดังต่อไปน้ี 495 เลขโดด 9 อยใู่ นหลักใด มคี า่ เทา่ ไร (หลกั สบิ มีคา่ 90) 495 เลขโดด 5 อยใู่ นหลกั ใด มีคา่ เทา่ ไร (หลกั หนว่ ย มีค่า 5)

25 ครูถามนกั เรยี นวา่ จานวนนบั 495 เลขโดด 9 กับ เลขโดด 5 มคี ่าต่างกันเทา่ ไร คดิ ได้อย่างไร (85 คิดได้จาก 9 อยู่ในหลักสิบมีค่า 90 และ 5 อยู่ในหลักหน่วยมคี ่า 5 ดังนั้น 90 – 5 = 85) 6. ครูใหน้ ักเรียนทาใบงานที่ 3 หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขียนตัวเลข แสดงจานวนในรูปกระจาย เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรยี นช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นกั เรียนรว่ มกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานที่ 3 ขัน้ สรุป 1. ครูและนักเรียนรว่ มกันสรุปสิ่งท่ีได้เรียนรู้รว่ มกัน ดังนี้ จานวนนับท่ีมีสามหลัก เลข โดดทางขวาอยู่ในหลกั หน่วย เลขโดดทางซ้ายของหลกั หน่วยอยู่ในหลกั สิบ เลขโดดทางซ้ายของหลัก สบิ อยู่ในหลกั ร้อย สื่อการเรียนรู้ 1. มัดไม้ 2. ใบงานที่ 3 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูป กระจาย การวดั ผลและประเมนิ ผล สงิ่ ท่ีต้องการวดั วธิ ีวัด เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 3 70% ขนึ้ ไป ถือว่าผ่านเกณฑ์ 3 การประเมิน 2. ดา้ นทักษะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรียนได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดขี น้ึ ไป ทักษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรียนไดค้ ะแนนระดบั ท่ีพงึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ พฤตกิ รรมด้าน คุณภาพดีข้นึ ไป คณุ ลกั ษณะ ทพ่ี ึงประสงค์

26 ความคดิ เห็นผู้บรหิ าร ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ () ผู้อานวยการโรงเรียน ..../................../........ บันทกึ หลงั การเรียนการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรตู้ ามจุดประสงค์การเรียนรู้ นกั เรียนได้คะแนนเฉลยี่ รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คดิ เปน็ ร้อยละ นกั เรยี นอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นักเรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1.3 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดมี าก คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรยี นอยใู่ นระดบั ปรบั ปรุง คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

27 แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี 4 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรยี น 18 ช่วั โมง เร่อื ง หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตวั เลข เวลาเรียน 1 ชวั่ โมง แสดงจานวนในรปู กระจาย สอนวันท่.ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกิดข้นึ จากการดาเนนิ การ สมบตั ิของการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตัวชี้วัด ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขียน ตวั เลขฮนิ ดอู ารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนงั สอื แสดงจานวน นับไมเ่ กนิ 100,000 และ 0 สาระสาคญั หลกั เลขประกอบหลกั หนว่ ย หลกั สบิ หลักร้อย หลกั พัน หลกั หม่ืน และหลักแสน โดยแต่ละ หลกั จะมีค่าประจาหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดับ ทาใหเ้ ลขโดดทอ่ี ยู่ หลักตา่ งกันของจานวนนบั มีคา่ ต่างกนั ยกเว้น 0 อยู่ในหลักใดก็ยังมคี ่าเท่ากับ 0 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลักพรอ้ มทั้งเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับไมเ่ กิน 1,000 ในรปู กระจายได้ (K) 2. เขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจายไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 3. นาความรูเ้ ก่ียวกบั หลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนใน รูปกระจาย ไปใช้แก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ได้ (A) สาระการเรียนรู้ หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจาย ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่อื มโยง

28 คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมนั่ ในการทางาน กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ ส่บู ทเรยี น 1. ครทู บทวนหลกั และคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ของจานวนนับไม่เกนิ 1,000 โดยตดิ บตั รภาพลูกคิดแสดงจานวน 652 บนกระดานดงั น้ี หมน่ื พัน รอ้ ย สิบ หน่วย ครถู ามคาถามใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบ ดงั น้ี - บตั รภาพแสดงจานวนใด (หกรอ้ ยห้าสบิ สอง) - เขยี นตัวเลขแสดงจานวนได้อยา่ งไร (652 หรอื ๖๕๒) - 652 เปน็ จานวนที่มีกรี่ อ้ ย (6 ร้อย) กับกสี่ บิ (5 สบิ ) กับกี่หนว่ ย (2 หนว่ ย) - 6 อยใู่ นหลกั ใด (หลกั ร้อย) มคี ่าเท่าใด (600) - 5 อยู่ในหลักใด (หลักสิบ) มีคา่ เทา่ ใด (50) - 2 อย่ใู นหลักใด (หลกั หนว่ ย) มีค่าเท่าใด (2) - 315 เขียนในรูปกระจายได้อย่างไร (315 = 300 + 10 + 5) ขัน้ สอน 1. ครูติดบัตรภาพลกู คิดแสดงจานวน 8,173 บนกระดานดงั นี้ หมนื่ พัน รอ้ ย สิบ หนว่ ย ครถู ามคาถามให้นักเรียนช่วยกนั ตอบ ดงั น้ี - บัตรภาพแสดงจานวนใด (แปดพนั หนง่ึ รอ้ ยเจด็ สบิ สาม) - เขียนตัวเลขแสดงจานวนได้อยา่ งไร (8,173 หรอื ๘,๑๗๓)

29 - 8,173 เปน็ จานวนทมี่ กี พี่ นั (8 พนั ) กับกร่ี ้อย (1 รอ้ ย) กบั กสี่ บิ (7 สบิ ) กบั ก่ี หน่วย (3 หนว่ ย) - 8 อยู่ในหลกั ใด (หลกั พนั ) มีคา่ เท่าใด (8,000) - 1 อย่ใู นหลักใด (หลกั ร้อย) มีคา่ เท่าใด (100) - 7 อยใู่ นหลกั ใด (หลกั สบิ ) มีคา่ เท่าใด (70) - 3 อยู่ในหลักใด (หลกั หนว่ ย) มคี ่าเทา่ ใด (3) - 8,173 เขียนในรปู กระจายได้อยา่ งไร (8,173 = 8,000 + 100 + 70 + 3) 2. ครูยกตวั อย่างจานวนนบั เช่น 6,301 ให้นักเรยี นช่วยกนั ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี - 6 อยู่ในหลกั ใด (หลกั พัน) มีค่าเท่าใด (3,000) - 3 อยใู่ นหลักใด (หลักร้อย) มีค่าเทา่ ใด (300) - 0 อยู่ในหลกั ใด (หลักสบิ ) มีค่าเทา่ ใด (0) - 1 อยใู่ นหลักใด (หลกั หน่วย) มีค่าเท่าใด (1) - 6,301 เขยี นในรูปกระจายไดอ้ ย่างไร (6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1) ครแู นะนาวา่ 6,301 = 6,000 + 300 + 0 + 1 สามารถเขียนในรูปกระจายไดอ้ กี แบบดงั น้ี 6,301 = 6,000 + 300 + 1 3. ครูบอกจานวนนบั แล้วให้ตัวแทนนกั เรียนออกมาเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจายบนกระดานดงั นี้ 2,430 = 2,000 + 400 + 30 5,261 = 5,000 + 200 + 60 + 1 1,245 = 1,000 + 20 + 40 + 5 9,720 = 9,000 + 700 + 20 8,012 = 8,000 + 10 + 2 4. ครูใหน้ ักเรยี นทาใบงานท่ี 4 หลกั ค่าของเลขโดดในแตล่ ะหลกั และการเขียนตวั เลข แสดงจานวนในรูปกระจาย เม่ือเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและ นักเรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 4 ขน้ั สรุป 1. ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันสรุปสงิ่ ท่ีไดเ้ รยี นร้รู ่วมกนั ดงั น้ี การเขยี นตัวเลขแสดงจานวน นับใดๆ ในรูปกระจายเปน็ การเขียนในรูปการบวกคา่ ของเลขโดดในหลักต่างๆ ของจานวนนน้ั สือ่ การเรยี นรู้ 1. บัตรภาพลกู คดิ 2. ใบงานท่ี 4 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูป กระจาย

30 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธีวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 4 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 4 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดบั กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี นึ้ ไป คุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ความคดิ เห็นผบู้ รหิ าร ลงชื่อ.....................................ผูต้ รวจ () ผอู้ านวยการโรงเรียน ..../................../........

31 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

32 แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 5 รายวชิ าคณิตศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ชัว่ โมง เร่ือง หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั และการเขยี นตัวเลข เวลาเรียน 1 ช่วั โมง แสดงจานวนในรูปกระจาย สอนวันท.่ี ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลที่เกดิ ขึ้นจากการดาเนินการ สมบตั ขิ องการ ดาเนนิ การ และการนาไปใช้ ตวั ช้ีวดั ค 1.1 ป.3/1 : อา่ นและเขียน ตวั เลขฮินดอู ารบิก ตวั เลขไทย และตัวหนังสือ แสดงจานวน นบั ไม่เกนิ 100,000 และ 0 สาระสาคัญ หลกั เลขประกอบหลักหนว่ ย หลกั สบิ หลกั รอ้ ย หลักพัน หลกั หมนื่ และหลักแสน โดยแตล่ ะ หลักจะมคี ่าประจาหลักเป็น 1, 10, 100, 1000, 10,000 และ 100,000 ตามลาดบั ทาใหเ้ ลขโดดท่อี ยู่ หลกั ตา่ งกนั ของจานวนนับมีคา่ ตา่ งกนั ยกเวน้ 0 อยู่ในหลักใดกย็ ังมีค่าเทา่ กบั 0 จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหลักและค่าของเลขโดดในแต่ละหลกั พร้อมทั้งเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับไม่เกิน 1,000 ในรปู กระจายได้ (K) 2. เขียนตวั เลขแสดงจานวนในรูปกระจายไดถ้ ูกต้อง (P) 3. นาความรู้เกย่ี วกับหลัก คา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนใน รปู กระจาย ไปใชแ้ กป้ ัญหาทางคณิตศาสตรไ์ ด้ (A) สาระการเรียนรู้ หลกั ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย ทกั ษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการส่ือสารและการสอื่ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่ือมโยง

33 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ยั 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเข้าส่บู ทเรยี น 1. ครูทบทวนจานวนนบั ไมเ่ กิน 10,000 โดยครูยกตวั อย่าง 2,496 โดยครูติดบตั รภาพ หลักลูกคดิ แสดงจานวน 2,496 บนกระดานดังน้ี หมน่ื พัน รอ้ ย สิบ หนว่ ย ครถู ามคาถามใหน้ ักเรยี นชว่ ยกันตอบ ดังนี้ - บัตรภาพหลักลูกคิดแสดงจานวนใด (สองพันสร่ี อ้ ยเกา้ สบิ หก) - เขียนตวั เลขแสดงจานวนได้อย่างไร (2,496 หรอื ๒,๔๙๖) - 2,496 เขยี นในรปู กระจายได้อยา่ งไร (2,496 = 2,000 + 400 + 90 + 6) ขั้นสอน 1. ครกู าหนดจานวนหา้ หลกั ให้นกั เรยี นชว่ ยกนั ใส่ลกู คดิ แสดงจานวนท่ีกาหนดให้ทีละ จานวน เช่น 38,047 62,365 ครตู รวจสอบความถกู ต้อง แลว้ ครูติดบตั รภาพหลกั ลูกคดิ ที่แสดงจานวน 38,047 บนกระดาน หมน่ื พัน ร้อย สบิ หน่วย ครูถามคาถามให้นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบ ดังนี้ - บัตรภาพหลกั ลูกคิดแสดงจานวนใด (สามหม่ืนแปดพนั สสี่ บิ เจ็ด) - เขยี นตวั เลขแสดงจานวนได้อย่างไร (38,047 หรอื ๓๘,๐๔๗) - 38,047 เปน็ จานวนกหี่ มนื่ (3 หม่นื ) กบั กพ่ี ัน (8 พัน) กบั กรี่ อ้ ย (0 รอ้ ย) กับก่ี สบิ (4 สบิ ) กับก่ีหน่วย (7 หน่วย)

34 - 3 อยู่ในหลกั ใด (หลกั หม่นื ) มคี า่ เทา่ ใด (30,000) - 8 อย่ใู นหลกั ใด (หลักพนั ) มคี ่าเทา่ ใด (8,000) - 0 อย่ใู นหลักใด (หลักรอ้ ย) มคี า่ เทา่ ใด (0) - 4 อยู่ในหลกั ใด (หลกั สบิ ) มคี า่ เทา่ ใด (40) - 7 อยูใ่ นหลกั ใด (หลกั หน่วย) มคี า่ เท่าใด (7) - 38,047 เขยี นในรูปกระจายได้อย่างไร (38,047 = 30,000 + 8,000 + 40 + 7) 2. ครูแนะนาการเขียน 62,365 ในรูปกระจายดังนี้ 62,365 = 60,000 + 2,000 + 300 + 60 + 5 3. ครตู ดิ บตั รภาพลกู คดิ แสดงจานวน 100,000 หมืน่ พนั ร้อย สิบ หนว่ ย ครูถามคาถามใหน้ กั เรยี นช่วยกันตอบ ดังน้ี - บตั รภาพหลักลกู คิดแสดงจานวนใด (หนึ่งแสน) - เขียนตัวเลขแสดงจานวนไดอ้ ยา่ งไร (100,000 หรอื ๑๐๐,๐๐๐) 4. ครูยกตวั อย่างจานวนนับทีม่ ากกว่า 10,000 แตน่ ้อยกว่า 100,000 เชน่ 40,740 บน กระดานใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั บอกคา่ ของเลขโดดในแตล่ ะหลกั ดังน้ี 4 ในหลกั หมนื่ มีคา่ เทา่ ใด (40,000) 0 ในหลกั พันมีคา่ เท่าใด (0) 7 ในหลักร้อยมีคา่ เท่าใด (700) 4 ในหลกั สบิ มีคา่ เทา่ ใด (40) 0 ในหลกั หน่วยมคี า่ เทา่ ใด (0) หลงั จากนนั้ ครูใหน้ ักเรียนชว่ ยกนั ตอบคาถามต่อไปน้ี - 40,740 เขียนในรปู กระจายได้อยา่ งไร (40,740 = 40,000 + 700 + 40) - ค่าของเลขโดด 4 ในหลักสิบและหลักหม่ืนต่างกันหรือไม่(ต่างกัน) ถ้าต่างกัน ต่างกนั อยูเ่ ทา่ ใด (40,000 – 40 = 39,960) - คา่ ของเลขโดด 0 ในหลักหน่วยและหลกั พันต่างกันหรือไม่ (ไมต่ ่างกนั ) 5. ครูยกตวั อยา่ งทานองเดยี วกันน้อี กี 1-2 ตัวอย่างเช่น 25,713 78,406 6. ครูใหน้ กั เรยี นทาใบงานที่ 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตัวเลข แสดงจานวนในรูปกระจาย เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง จากน้ันครูและ นักเรียนร่วมกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานท่ี 5

35 ข้นั สรุป 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ สง่ิ ทไ่ี ดเ้ รยี นรูร้ ว่ มกนั ดงั น้ี การเขยี นตวั เลขแสดงจานวน ใดๆ ในรูปกระจาย เป็นการเขียนในรูปการบวกค่าของเลขโดดในหลักตา่ งๆ ของจานวนนน้ั และเลข โดดเดยี วกันถา้ อยใู่ นหลักตา่ งกนั จะมีคา่ ตา่ งกัน ยกเว้น 0 สื่อการเรียนรู้ 1. บตั รภาพลกู คดิ 2. ใบงานท่ี 5 หลัก ค่าของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรูป กระจาย การวัดผลและประเมนิ ผล ส่งิ ที่ต้องการวัด วธิ ีวัด เคร่ืองมอื วัด เกณฑก์ ารประเมนิ 1. ด้านความรู้ ทากจิ กรรมจากใบงานที่ ใบงานท่ี 5 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์ 5 การประเมิน 2. ดา้ นทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนไดค้ ะแนนระดบั กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤตกิ รรมดา้ น คณุ ภาพดีข้ึนไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤติกรรมด้าน แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดับ ทพ่ี งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤติกรรมดา้ น คณุ ภาพดีขนึ้ ไป คุณลกั ษณะ ทพี่ งึ ประสงค์ ความคิดเห็นผู้บรหิ าร ลงชอ่ื .....................................ผู้ตรวจ () ผู้อานวยการโรงเรยี น ..../................../........

36 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

37 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 6 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนบั ไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ช่วั โมง เรอื่ ง การเปรยี บเทียบจานวน เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวันท.่ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลท่ีเกดิ ขึ้นจากการดาเนนิ การ สมบตั ขิ องการ ดาเนินการ และการนาไปใช้ ตัวชว้ี ดั ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ ต่างๆ สาระสาคัญ จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากันหรอื ไมเ่ ท่ากนั และค่าไม่เทา่ กนั อาจมีคา่ มากกวา่ หรอื น้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึง่ เทา่ นนั้ โดยใชเ้ ครื่องหมาย = ≠ > < แสดงการเปรยี บเทียบ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกนิ 100,000 ทม่ี จี านวนหลกั ไมเ่ ทา่ กนั ได้ (K) 2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า มากกว่าหรอื น้อยกวา่ ไดถ้ กู ต้อง 3. เขยี นเปรยี บเทียบจานวนนับไม่เกนิ 100,000 โดยใช้เครอ่ื งหมาย = ≠ > < ไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 4. นาความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทยี บจานวนไปใชแ้ กป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทยี บจานวน ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล

38 คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝเ่ รยี นรู้ 3. มุ่งมน่ั ในการทางาน กจิ กรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเขา้ สู่บทเรียน 1. ครทู บทวนการเปรียบเทียบจานวนนบั สองจานวนทไ่ี มเ่ กิน 1,000 โดยครยู กตวั อยา่ ง มาคร้ังละ 2 จานวนให้นักเรียนเปรียบเทียบจานวนใดมากกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ โดยให้เหตุผล ประกอบแล้วเขยี นประโยคสญั ลกั ษณแ์ สดงการเปรียบเทียบบนกระดานเช่น 316 > 87 268 < 452 254 > 248 199 < 209 918 = 918 0=0 2. นักเรียนร่วมกนั สรปุ การเปรียบเทียบจานวน ดงั นี้ 1) เปรียบเทียบจานวนหลกั กอ่ น จานวนใดมจี านวนหลกั มากกวา่ จานวนน้ันจะ มากกว่า 2) ถ้าจานวนหลกั เท่ากนั ใหเ้ ปรยี บเทียบคา่ ของเลขโดดในหลกั ทางซ้ายสดุ กอ่ น ถา้ คา่ ของเลขโดดในหลักทางซา้ ยสุดของจานวนใดมากกว่า จานวนนัน้ จะมากกว่าถา้ ค่าของเลขโดดใน หลักทางซ้ายสดุ ของทัง้ สองจานวนเทา่ กนั ให้เปรยี บเทียบคา่ ของเลขโดดในหลกั ถดั ไปทางขวาทลี ะหลัก ขัน้ สอน 1. ครูเขียนตัวเลขแสดงจานวนนับสองจานวนท่ีไม่เกิน 100,000 โดยท้ังสองมีจานวน หลักไมเ่ ท่ากบั บนกระดาน เชน่ 52,582 5,248 ครถู ามคาถามใหน้ กั เรียนช่วยกนั ตอบ ดังน้ี - จานวนสองจานวนน้ีเทา่ กนั หรอื ไม่ (ไมเ่ ทา่ กนั ) - จานวนทางซา้ ยมือมกี ี่หลัก (5 หลกั ) - จานวนทางขวามือมีก่ีหลัก (4 หลกั )

39 - จานวนทางซา้ ยจะมากกวา่ หรือนอ้ ยกว่าจานวนทางขวา (มากกวา่ ) 2. ครูแนะนาให้นักเรียนใชเ้ ครือ่ งหมาย > หรอื < แสดงการเปรียบเทียบจานวน 52,582 มากกว่า 5,248 5,248 นอ้ ยกว่า 52,582 52,582 > 5,248 5,248 < 52,582 3. ครยู กตวั อยา่ ง จานวนค่อู นื่ ๆ ทม่ี จี านวนหลกั ไม่เท่ากันอีก 3 ตวั อย่างแลว้ ให้นักเรยี น พจิ ารณาเปรียบเทียบพรอ้ มทง้ั อธบิ ายเหตผุ ล 3,567 21,542 100,000 12,541 43,261 1,342 4. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงานที่ 6 หลกั การเปรยี บเทยี บจานวน เมอื่ เสรจ็ แลว้ ให้นกั เรียน ชว่ ยกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากนนั้ ครแู ละนกั เรียนรว่ มกันเฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 6 ขนั้ สรปุ 1. ครแู ละนกั เรยี นร่วมกันสรปุ สิง่ ท่ีได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเปรียบเทยี บจานวนนับไม่ เกิน 100,000 ที่จานวนหลักไม่เทา่ กันโดยจานวนนับทมี่ ีจานวนหลักมากกว่าจะมากกว่าและจานวน นับทีม่ จี านวนหลักน้อยกว่าจะน้อยกวา่ ส่ือการเรยี นรู้ ใบงานที่ 6 หลกั คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขยี นตวั เลขแสดงจานวนในรปู กระจาย

40 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธีวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 6 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 6 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดบั กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี นึ้ ไป คุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ความคดิ เห็นผบู้ รหิ าร ลงชื่อ.....................................ผูต้ รวจ () ผอู้ านวยการโรงเรียน ..../................../........

41 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

42 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 7 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนบั ไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ช่วั โมง เรอื่ ง การเปรยี บเทียบจานวน เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวันท.่ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลท่ีเกดิ ขึ้นจากการดาเนนิ การ สมบตั ขิ องการ ดาเนินการ และการนาไปใช้ ตัวชว้ี ดั ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ ต่างๆ สาระสาคัญ จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากันหรอื ไมเ่ ท่ากนั และค่าไม่เทา่ กนั อาจมีคา่ มากกวา่ หรอื น้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึง่ เทา่ นนั้ โดยใชเ้ ครื่องหมาย = ≠ > < แสดงการเปรยี บเทียบ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกนิ 100,000 ทม่ี จี านวนหลกั ไมเ่ ทา่ กนั ได้ (K) 2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า มากกว่าหรอื น้อยกวา่ ไดถ้ กู ต้อง 3. เขยี นเปรยี บเทียบจานวนนับไม่เกนิ 100,000 โดยใช้เครอ่ื งหมาย = ≠ > < ไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 4. นาความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทยี บจานวนไปใชแ้ กป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทยี บจานวน ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล

43 คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ 1. มวี ินยั 2. ใฝเ่ รียนรู้ 3. มงุ่ ม่ันในการทางาน กิจกรรมการเรียนรู้ ขน้ั นาเข้าส่บู ทเรยี น 1. ครทู บทวนการเปรียบเทยี บจานวนนบั สองจานวนทีไ่ มเ่ กนิ 100,000 ท่มี จี านวนหลัก ไม่เทา่ กนั โดยครยู กตัวอย่างมาครัง้ ละ 2 จานวนใหน้ กั เรยี นเปรยี บเทียบวา่ จานวนใดมากกว่า น้อยกว่า หรอื เท่ากันโดยให้เหตผุ ลประกอบแลว้ เขียนประโยคสัญลักษณ์แสดงการเปรยี บเทียบบนกระดาน เช่น 1,543 < 42,560 81,425 > 9,741 3,468 < 59,467 10,456 > 9,999 41,843 > 8,913 42,536 = 42,563 2. นักเรยี นสรปุ การเปรยี บเทียบจานวนไมเ่ กิน 100,000 ทม่ี ีจานวนหลกั ไมเ่ ท่ากนั ดงั นี้ ถ้าจานวนสองจานวนทนี่ ามาเปรยี บเทียบกนั มจี านวนหลกั ไมเ่ ท่ากนั จานวนทม่ี จี านวนหลกั มากกวา่ จะมากกว่าและจานวนทมี่ ีจานวนหลักน้อยกว่าจะน้อยกว่า ขนั้ สอน 1. ครูยกตัวอย่างจานวนนับสองจานวนที่มีจานวนหลกั เทา่ กันและเลขโดดทางซ้ายสุด ไม่เท่ากนั เช่น 74,684 96,751 ครถู ามคาถามใหน้ ักเรยี นช่วยกนั ตอบ ดงั น้ี - จานวนสองจานวนนี้มจี านวนหลักเท่ากนั หรือไม่ (เทา่ กนั ) - 7 ในหลกั หม่ืนมีคา่ เทา่ ไร (70,000) - 9 ในหลกั หม่ืนมคี า่ เท่าไร (90,000) - จานวนใดมากกว่า (96,751) เพราะเหตุใด (90,000 มากกว่า 70,000)

44 2. ครแู นะนาใหน้ ักเรยี นใช้เครอ่ื งหมาย > หรอื < แสดงการเปรียบเทยี บจานวน 74,684 น้อยกว่า 96,751 96,751 มากกวา่ 74,684 74,684 < 96,751 96,751 > 74,684 3. จากนั้นครูยกตัวอย่างจานวนนับสองจานวนที่มีจานวนหลักเท่ากันและเลขโดด ทางซา้ ยสุดไม่เท่ากันให้นักเรยี นเปรียบเทยี บจานวนพร้อมทั้งบอกเหตผุ ลอกี 3 ตัวอย่างเช่น 37,591 81,751 55,671 12,951 43,581 28,478 4. ครใู ห้นกั เรยี นทาใบงานท่ี 7 หลกั การเปรียบเทยี บจานวน เมอื่ เสร็จแล้วให้นักเรียน ชว่ ยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากน้ันครแู ละนักเรยี นร่วมกนั เฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 7 ขนั้ สรปุ 1. ครูและนักเรียนร่วมกนั สรุปส่ิงท่ีได้เรยี นรู้ร่วมกัน ดังนี้ การเปรียบเทียบจานวนทม่ี ี จานวนหลักเทา่ กันว่า ถ้าจานวนท่ีนามาเปรยี บเทยี บกันมีจานวนหลักเท่ากนั ให้เปรียบเทียบค่าของ เลขโดดหลกั ซ้ายสุดกอ่ น สื่อการเรยี นรู้ ใบงานท่ี 7 การเปรียบเทยี บจานวน

45 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธีวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 7 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 7 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดบั กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี นึ้ ไป คุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ความคดิ เห็นผบู้ รหิ าร ลงชื่อ.....................................ผูต้ รวจ () ผอู้ านวยการโรงเรียน ..../................../........

46 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรียนร้ตู ามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นได้คะแนนเฉล่ียรอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมนิ ทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยู่ในระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยูใ่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

47 แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี 8 รายวิชาคณติ ศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 จานวนนบั ไม่เกิน 100,000 เวลาเรียน 18 ช่วั โมง เรอื่ ง การเปรยี บเทียบจานวน เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวันท.่ี ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การ ดาเนินการของจานวน ผลท่ีเกดิ ขึ้นจากการดาเนนิ การ สมบตั ขิ องการ ดาเนินการ และการนาไปใช้ ตัวชว้ี ดั ค 1.1 ป.3/2 : เปรียบเทียบและเรียงลาดับจานวนนับไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ ต่างๆ สาระสาคัญ จานวนนับไม่เกิน 100,000 สามารถนามาเปรียบเทียบกันได้ โดยมีค่าเท่ากันหรอื ไมเ่ ท่ากนั และค่าไม่เทา่ กนั อาจมีคา่ มากกวา่ หรอื น้อยกว่ากันอย่างใดอย่างหนึง่ เทา่ นนั้ โดยใชเ้ ครื่องหมาย = ≠ > < แสดงการเปรยี บเทียบ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. เปรยี บเทยี บจานวนนับไม่เกนิ 100,000 ทม่ี จี านวนหลกั ไมเ่ ทา่ กนั ได้ (K) 2. เขียนเปรียบเทียบจานวนนับไม่เกิน 100,000 ว่ามีค่าเท่ากันหรือไม่เท่ากัน และมีค่า มากกว่าหรอื น้อยกวา่ ไดถ้ กู ต้อง 3. เขยี นเปรยี บเทียบจานวนนับไม่เกนิ 100,000 โดยใช้เครอ่ื งหมาย = ≠ > < ไดถ้ กู ตอ้ ง (P) 4. นาความรู้เกี่ยวกับการเปรียบเทยี บจานวนไปใชแ้ กป้ ัญหาทางคณติ ศาสตร์ได้ (A) สาระการเรียนรู้ การเปรียบเทยี บจานวน ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการสอ่ื สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชอ่ื มโยง 3. ความสามารถในการใหเ้ หตุผล


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook