Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 4

Description: บทที่ 4

Search

Read the Text Version

ก คำนำ การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้นับเป็นวิธีหนึ่งที่ทาให้ครูผู้สอนได้มีการเตรียมการสอน ลว่ งหน้า ก่อนท่จี ะทาการสอนจริง โดยมกี ารเตรยี มเน้ือหาเตรยี มกจิ กรรม เตรยี มส่อื การเรยี นการสอน รวมท้ังวิธีการวัดผลประเมินผลซึ่งการเตรียมการสอนจะช่วยให้ครูผู้สอนมีความพร้อมที่จะสอนให้ ผเู้ รียนบรรลตุ ามจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร การจดั ทาแผนการจัดการเรยี นรฉู้ บับน้ี ผจู้ ดั ทาได้ศึกษาค้นคว้าหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้ันพ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พทุ ธศกั ราช 2560) เอกสารอน่ื ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง วเิ คราะห์ หลักสตู ร จดั ทากาหนดการสอน โครงสรา้ งรายวชิ า และหารปู แบบการทาแผนการจัดการเรยี นรู้โดย เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นผ่านกระบวนการคิดด้วยตนเอง โดยคานงึ ถงึ สภาพแวดล้อมของผเู้ รยี น โรงเรียน และชุมชนเป็นหลัก แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับนี้ เป็นแผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 รูปเรขาคณิต เพื่อพัฒนาความเข้าใจเก่ียวกับสญั ลักษณ์ และการดาเนินการต่อวิชาคณิตศาสตร์ โดยเน้นขั้นตอนหรือวิธีการทางคณิตศาสตร์ จัดทาไว้เพื่อ สะดวกต่อการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน สามารถนาไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ทุกปกี ารศกึ ษา ผู้ท่ีจะนาไปใช้ ควรอ่านคาชี้แจงการใชแ้ ผนการจดั การเรียนร้ใู หเ้ ข้าใจกอ่ นนาไปใช้จริง ข้าพเจ้าหวังเป็นอย่างย่ิงว่า แผนการจัดการเรียนรู้ฉบับน้ีจะช่วยให้การเรียนการสอน กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ดาเนินไปด้วยดี และทาให้ผู้เรยี นมีความรู้ ความสามารถ มที กั ษะกระบวนการและมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงคต์ รงตามจดุ มุ่งหมายของหลกั สตู ร ตอ่ ไป ....................................

สารบัญ ข เรอ่ื ง หน้า สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ 1 ตัวชี้วดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง 2 คาอธิบายรายวชิ า 7 โครงสร้างเวลาเรยี น 9 โครงสร้างรายวิชา 10 กาหนดแผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 4 รูปเรขาคณติ 11 แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 1 12 แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 2 17

1 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 จานวนและพีชคณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนุกรม และ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสัมพันธ์หรือช่วยแก้ปัญหาที่ กาหนดให้ สาระท่ี 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของส่ิงท่ีต้องการวัดและ นาไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่าง รูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และนาไปใช้ สาระที่ 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถิติ และใช้ความรทู้ างสถิติในการแก้ปัญหา มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนับเบอ้ื งตน้ ความน่าจะเป็น และนาไปใช้

2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระท่ี 1 จานวนและพชี คณิต มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจานวน ระบบจานวน การดาเนินการของ จานวน ผลที่เกิดขึ้นจากการดาเนินการ สมบัติของการดาเนินการ และการ นาไปใช้ ชัน้ ตวั ชวี้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 จานวนนับไม่เกิน 100,000 และ 0 1. อ่านและเขียน ตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ - การอ่าน การเขยี นตวั เลขฮินดูอารบกิ ตวั เลขไทย และตัวหนังสอื แสดง ตัวเลขไทย และตัวหนังสอื แสดงจานวน จานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 - หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลกั และ 2. เปรียบเทยี บและเรยี งลาดับจานวนนับ การเขียนตวั เลขแสดงจานวนในรปู ไม่เกิน 100,000 จากสถานการณ์ตา่ งๆ กระจาย - การเปรยี บเทยี บและเรยี งลาดบั จานวน เศษส่วน 3. บอก อ่าน และเขียนเศษสว่ นแสดง - เศษส่วนทมี่ ตี ัวเศษนอ้ ยกวา่ หรือเทา่ กบั ปรมิ าณสิง่ ต่างๆ และแสดงสง่ิ ต่างๆ ตัวสว่ น ตามเศษส่วนทก่ี าหนด - การเปรยี บเทียบและเรียงลาดับ 4. เปรียบเทียบเศษสว่ นทตี่ ัวเศษเทา่ กัน เศษส่วน โดยท่ีตัวเศษน้อยกวา่ หรอื เท่ากับตัว สว่ น การบวก การลบ การคูณ การหารจานวน 5. หาคา่ ของตวั ไมท่ ราบค่าในประโยค นับไมเ่ กิน 100,000 และ 0 สญั ลักษณแ์ สดงการบวกและประโยค - การบวกและการลบ สญั ลักษณ์แสดงการลบของจานวนไม่ - การคณู การหารยาวและการหารส้นั เกนิ 100,000 และ 0 - การบวก ลบ คูณ หารระคน 6. หาคา่ ของตัวไมท่ ราบคา่ ในประโยค - การแก้โจทยป์ ญั หาและการสร้างโจทย์ สญั ลักษณ์ แสดงการคณู ของจานวน 1 ปัญหา พร้อมท้งั หาคาตอบ หลักกบั จานวนไม่เกิน 4 หลกั และ จานวน 2 หลักกับจานวน 2 หลัก 7. หาคา่ ของตวั ไม่ทราบคา่ ในประโยค สญั ลักษณ์ แสดงการหารที่ตวั ต้งั ไมเ่ กนิ 4 หลัก ตัวหาร 1 หลกั

3 ชน้ั ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 8. หาผลลัพธก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน ของจานวนนบั ไมเ่ กิน 100,000 และ 0 9. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหา 2 ขัน้ ตอน ของจานวนนบั ไม่เกิน 100,000 และ 0 การบวก การลบเศษสว่ น 10. หาผลบวกของเศษส่วนทมี่ ีตัวสว่ น - การบวกและการลบเศษส่วน เทา่ กนั และผลบวกไมเ่ กิน 1 และหาผล - การแก้โจทย์ปญั หาการบวกและโจทย์ ลบของเศษส่วนทม่ี ีตัวส่วนเท่ากัน ปญั หาการลบเศษส่วน 11. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาการ บวกเศษสว่ นทีม่ ีตวั ส่วนเทา่ กันและ ผลบวกไมเ่ กนิ 1 และโจทยป์ ญั หาการ ลบเศษสว่ นทีม่ ีตัวสว่ นเท่ากัน สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวเิ คราะหแ์ บบรูป ความสมั พนั ธ์ ฟังก์ชัน ลาดับและอนกุ รม และ นาไปใช้ ชน้ั ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 แบบรูป 1. ระบจุ านวนทีห่ ายไปในแบบรูปของ - แบบรปู ของจานวนท่ีเพม่ิ ข้นึ หรอื ลดลง จานวนที่เพม่ิ ข้นึ หรอื ลดลงทลี ะเทา่ ๆ กัน ทลี ะเท่าๆ กนั สาระที่ 1 จานวนและพชี คณติ มาตรฐาน ค 1.3 ใช้นิพจน์ สมการ และอสมการ อธิบายความสมั พันธห์ รอื ช่วยแกป้ ัญหาท่ี กาหนดให้ ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 3 - -

4 สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ อ้ งการวดั และ นาไปใช้ ชนั้ ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 เงนิ 1. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การบอกจานวนเงนิ และเขยี นแสดง เกยี่ วกับเงิน จานวนเงนิ แบบใชจ้ ดุ 2. แสดงวธิ ีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา - การเปรยี บเทียบจานวนเงินและการ เกยี่ วกับเวลา และระยะเวลา แลกเงนิ - การอา่ นและเขียนบนั ทึกรายรบั รายจา่ ย - การแก้โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับเงนิ เวลา - การบอกเวลาเปน็ นาฬกิ าและนาที - การเขยี นบอกเวลาโดยใชม้ หัพภาค (.) หรอื ทวิภาค (:) และการอ่าน - การบอกระยะเวลาเปน็ ช่ัวโมงและนาที - การเปรยี บเทียบระยะเวลาโดยใช้ ความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งช่ัวโมงกบั นาที - การอา่ นและการเขยี นบนั ทกึ กิจกรรมท่ี ระบเุ วลา - การแกโ้ จทย์ปญั หาเก่ยี วกับเวลาและ ระยะเวลา ความยาว 3. เลือกใช้เครื่องมือวัดความยาวท่ี - การวดั ความยาวเป็นเซนตเิ มตรและ เหมาะสมวัดและบอกความยาวของส่งิ มลิ ลิเมตร เมตรและเซนตเิ มตร ต่างๆ เป็นเซนตเิ มตรและมลิ ลิเมตร กโิ ลเมตรและเมตร เมตรและเซนตเิ มตร - การเลอื กเคร่อื งมอื วดั ความยาวท่ี 4. คาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและเป็น เหมาะสม เซนติเมตร - การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ 5. เปรียบเทียบความยาวระหว่าง เปน็ เซนติเมตร เซนตเิ มตรกบั มลิ ลเิ มตร เมตรกับ - การเปรียบเทยี บความยาวโดยใช้ เซนติเมตร กโิ ลเมตรกบั เมตร จาก ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งหนว่ ยความยาว สถานการณต์ ่างๆ - การแก้โจทย์ปญั หาเก่ียวกบั ความยาว

5 ชน้ั ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นร้แู กนกลาง ป. 3 6. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา เกีย่ วกับความยาวทีม่ หี น่วยเปน็ เซนติเมตรและมลิ ลเิ มตร เมตรและ เซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร น้าหนัก 7. เลือกใชเ้ ครือ่ งชัง่ ท่เี หมาะสม วดั และ - การเลอื กเครอ่ื งชัง่ ทเ่ี หมาะสม บอกน้าหนกั เป็นกิโลกรัมและขีด - การคาดคะเนน้าหนกั เปน็ กิโลกรมั และ กโิ ลกรมั และกรัม เปน็ ขดี 8. คาดคะเนน้าหนกั เป็นกิโลกรัมและเป็น - การเปรยี บเทียบนา้ หนกั โดยใช้ ขีด ความสัมพันธ์ระหว่างกโิ ลกรมั กบั กรัม 9. เปรยี บเทยี บน้าหนักระหว่างกิโลกรมั เมตรกิ ตันกับกโิ ลกรมั และกรมั เมตริกตันกบั กิโลกรมั จาก - การแกโ้ จทยป์ ญั หาเก่ียวกบั นา้ หนัก สถานการณต์ ่างๆ 10. แสดงวธิ หี าคาตอบของโจทยป์ ัญหา เกย่ี วกบั นา้ หนักทมี่ หี นว่ ยเปน็ กโิ ลกรมั กบั กรมั เมตรกิ ตันกบั กิโลกรัม นา้ หนัก 11. เลือกใชเ้ คร่ืองตวงท่ีเหมาะสม วดั และ - การวัดปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตร เปรยี บเทียบปรมิ าตร ความจุเปน็ ลิตร และมลิ ลลิ ิตร และมลิ ลลิ ิตร - การเลือกเคร่ืองตวงทเี่ หมาะสม 12. คาดคะเนปรมิ าตรและความจเุ ป็นลิตร - การคาดคะเนปรมิ าตรและความจุเปน็ 13. แสดงวิธีหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา ลติ ร เก่ียวกับปรมิ าตรและความจุทมี่ หี นว่ ย - การเปรยี บเทียบปรมิ าตรและความจุ เป็นลิตรและมลิ ลลิ ิตร โดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหว่างลติ รกบั มลิ ลลิ ติ ร ช้อนชา ชอ้ นโตะ๊ ถ้วยตวงกบั มลิ ลลิ ิตร - การแก้โจทยป์ ญั หาเกี่ยวกบั ปรมิ าตร และความจทุ มี่ ีหนว่ ยเปน็ ลติ รและ มลิ ลิลิตร

6 สาระที่ 2 การวดั และเรขาคณติ มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะหร์ ปู เรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณติ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ ง รปู เรขาคณิต และทฤษฎบี ททางเรขาคณิต และนาไปใช้ ชน้ั ตัวชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง ป. 3 รปู เรขาคณิตสองมิติ 1. ระบรุ ปู เรขาคณิตสองมิตทิ ม่ี ีแกน - รปู ทมี่ แี กนสมมาตร สมมาตรและจานวนแกนสมมาตร สาระท่ี 3 สถิตแิ ละความนา่ จะเป็น มาตรฐาน ค 3.1 เข้าใจกระบวนการทางสถติ ิ และใชค้ วามรทู้ างสถิติในการแกป้ ัญหา ชั้น ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง ป. 3 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู และการนาเสนอ 1. เขียนแผนภูมริ ปู ภาพ และใชข้ ้อมลู จาก ขอ้ มลู แผนภูมริ ูปภาพในการหาคาตอบของ - การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและจาแนก โจทยป์ ัญหา ขอ้ มลู 2. เขยี นตารางทางเดียวจากขอ้ มลู ทเี่ ป็น - การอา่ นและการเขยี นแผนภมู ริ ปู ภาพ จานวนนบั และใชข้ ้อมูลจากตารางทาง - การอ่านและการเขยี นตารางทางเดยี ว เดียวในการหาคาตอบของโจทยป์ ญั หา (one – way table) สาระท่ี 3 สถติ แิ ละความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลกั การนบั เบอ้ื งต้น ความนา่ จะเปน็ และนาไปใช้ ช้ัน ตัวชวี้ ัด สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง ป. 3 - -

7 คาอธบิ ายรายวชิ า รายวชิ าพนื้ ฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 200 ช่ัวโมง/ปี ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮนิ ดอู ารบกิ ตวั เลขไทย ตัวหนังสอื แสดงจานวนนบั หลัก คา่ ของเลขโดดในแต่ละหลัก และการเขียนตัวเลขแสดงจานวนในรปู กระจาย การเปรยี บเทยี บจานวน การเรียงลาดับจานวน แบบรูปของจานวนที่เพิม่ ข้ึนและลดลง การบวกจานวนนับทีม่ ีผลบวกไม่เกนิ 100,000 การบวกจานวนสามจานวนที่มีผลบวกไม่เกิน 100,000 โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ ปัญหาการบวก การลบจานวนทีม่ ตี ัวต้งั ไมเ่ กนิ 100,000 การลบจานวนสามจานวน การหาตัวไมท่ ราบ ค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกและการลบ โจทย์ปัญหาและการสร้างโจทย์ปัญหาการลบ การคูณจานวนหนงึ่ หลกั กับจานวนไม่เกินส่ีหลัก การคณู กบั จานวนสองหลกั กบั จานวนสองหลัก โจทย์ ปญั หาและการสรา้ งโจทย์ปญั หาการลบ การหารที่มตี วั ต้งั ไมเ่ กินส่หี ลักและตัวหารมหี นึ่งหลกั การหา ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสญั ลกั ษณ์แสดงการคูณและการหาร โจทย์ปัญหาและการสรา้ งโจทย์ปัญหา การหาร การวัดความยาวเป็นเซนติเมตรและมิลลิเมตร เมตรและเซนติเมตร กิโลเมตรและเมตร การเลือกเครอ่ื งมอื วัดความยาวทเ่ี หมาะสม การคาดคะเนความยาวเปน็ เมตรและ เป็นเซนติเมตร การ เปรียบเทยี บความยาวโดยใชค้ วามสมั พนั ธร์ ะหวา่ งหน่วยความยาว โจทย์ปัญหาเกยี่ วกับความยาว รปู ที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร การบอก อ่านและเขียนเศษส่วนที่ตัวเศษน้อยกว่าหรือ เท่ากับตัวสว่ น การเปรยี บเทียบเศษส่วน การเรยี งลาดับเศษส่วน การบวกเศษสว่ นที่มีตัวสว่ นเท่ากนั การลบเศษส่วนที่มตี ัวส่วนเท่ากัน โจทย์ปัญหาการบวกและการลบเศษส่วน การวัดและบอกนา้ หนกั เป็นกิโลกรัมและขีด กิโลกรัมและกรัม การเลือกเคร่ืองช่ังที่เหมาะสม การคาดคะเนน้าหนักเป็น กิโลกรมั และเป็นขีด การเปรยี บเทียบน้าหนกั โดยใช้ความสมั พันธ์ระหว่างกิโลกรัมกบั กรัม เมตรกิ ตัน กับกิโลกรัม โจทยป์ ญั หาเก่ยี วกบั น้าหนกั การวดั ปริมาตรและความจุเป็นลิตรและมิลลิลติ ร การเลอื ก เคร่ืองตวงท่ีเหมาะสม การคาดคะเนปริมาตรและความจุเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและ ความจุโดยใช้ความสัมพันธ์ระหว่างลิตรกับมิลลิลิตร ช้อนชา ช้อนโต๊ะ ถ้วยตวงกับมิลลิลิตร โจทย์ ปัญหาเกีย่ วกับปริมาตรและความจทุ ่ีมหี น่วยเป็นลิตรและมลิ ลิลิตร การเก็บรวบรวมขอ้ มลู และจาแนก ข้อมลู การอา่ นและเขียนแผนภมู ิรูปภาพ การอา่ นและเขียนตารางทางเดยี ว การบอกเวลาเป็นนาฬิกา และนาที การเขียนบอกเวลาและการอ่าน การบอกระยะเวลาเป็นชั่วโมงและนาที การเปรียบเทียบ ระยะเวลาโดยใชค้ วามสมั พันธร์ ะหวา่ งชัว่ โมงกับนาที การอ่านและการเขียนบันทึกกิจกรรมท่ีระบเุ วลา โจทย์ปัญหาเก่ียวกับเวลาและระยะเวลา เงินเหรยี ญและธนบัตรชนดิ ต่างๆ การบอกจานวนเงนิ และ เขียนแสดงจานวนเงินแบบใช้จดุ และการอ่าน การเปรียบเทยี บจานวนเงินและการแลกเงิน การอ่าน และการเขียนบันทึกรายรับ รายจ่าย โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ ปัญหาและการสรา้ งโจทยป์ ญั หาการบวก ลบ คูณ หารระคน

8 โดยการจดั ประสบการณห์ รอื สร้างสถานการณ์ทีใ่ กลต้ ัวผู้เรยี นไดศ้ กึ ษา คน้ ควา้ ฝกึ ทกั ษะ โดย การปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพื่อพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคานวณ การแก้ปญั หา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนาประสบการณ์ ด้านความรู้ ความคิด ทักษะและกระบวนการท่ไี ดไ้ ปใช้ในการเรียนรู้ส่งิ ต่าง ๆ และใช้ในชีวติ ประจาวัน อย่างสร้างสรรค์ เพ่ือให้เห็นคุณค่าและมีเจตคติท่ีดีต่อคณิตศาสตร์ สามารถทางานได้อย่างเป็นระบบ มี ระเบียบ รอบคอบ มคี วามรบั ผิดชอบ มีวิจารณญาณ มีความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรคแ์ ละมีความเช่อื มั่นใน ตนเอง ตัวช้วี ดั ค 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11 ค 1.2 ป.3/1 ค 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9, ป.3/10, ป.3/11, ป.3/12, ป.3/13 ค 2.2 ป.3/1 ค 3.1 ป.3/1, ป.3/2 รวม 28 ตวั ชว้ี ัด

9 โครงสร้างเวลาเรยี น กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 บทท่ี/เร่ือง เวลา (ช่วั โมง) ภาคเรียนท่ี 1 บทท่ี 1 จานวนนับไม่เกิน 100,000 18 บทที่ 2 การบวกและการลบจานวนนบั ไม่เกนิ 100,000 28 บทท่ี 3 เวลา 16 บทท่ี 4 รูปเรขาคณิต 2 บทท่ี 5 แผนภูมริ ปู ภาพและตารางทางเดียว 7 บทท่ี 6 เศษส่วน 16 บทท่ี 7 การคณู 18 รวมภาคเรยี นที่ 1 105

10 โครงสร้างรายวชิ า หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ สาระสาคญั เวลา รปู เรขาคณติ เรยี นรู้/ตัวช้ีวัด (ชม.) ค 2.2 เม่ือพับกระดาษรูปเรขาคณิตสองมิติตามแนว 2 ป.3/1 เส้นประแล้ว ทั้งสองส่วนทับกันสนิทพอดี เรียก รอยพับนี้ว่า แกนสมมาตร และเรยี กรูปเรขาคณิต สองมิติท่ีมีแกนสมมาตรว่า รูปสมมาตร ซึ่งรูป เรขาคณิตสองมิติบางรูปมีแกนสมมาตรมากกว่า 1 แกน

11 กาหนดแผนการจัดการเรยี นรู้ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 รปู เรขาคณติ แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ เร่ือง จานวน (ชัว่ โมง) 1 รูปทม่ี แี กนสมมาตร 2 การประยกุ ต์ใช้รปู ที่มแี กนสมมาตร 1 1 รวม 2

12 แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 รายวชิ าคณติ ศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 รูปเรขาคณิต เวลาเรียน 2 ชัว่ โมง เรื่อง รูปทมี่ แี กนสมมาตร เวลาเรียน 1 ชว่ั โมง สอนวันท.ี่ ...... เดือน.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 2.2 : เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และ นาไปใช้ ตวั ชีว้ ดั ค 2.2 ป.3/1 : ระบุรูปเรขาคณิตสองมติ ิที่มแี กนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร สาระสาคญั รูปที่เมอ่ื พับแล้ว แต่ละข้างของรอยพับทบั กนั สนิทเปน็ รูปท่ีมแี กนสมมาตร รอยดบั น้ีเปน็ แกน สมมาตร รปู ทมี่ แี กนสมมาตรบางรูปท่ีมีแกนสมมาตรมากกว่า 1 แกน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายลกั ษณะของรปู เรขาคณิตทม่ี แี กนสมมาตรได้ (K) 2. สร้างรปู สมมาตรและระบจุ านวนแกนสมมาตรของรปู สมมาตรได้ (P) 3. นาความรู้เก่ียวกับรูปที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตรไปใช้แก้ปัญหาทาง คณติ ศาสตร์ (A) สาระการเรยี นรู้ รปู ท่มี ีแกนสมมาตร ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. ความสามารถในการสื่อสารและการสอื่ ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเชื่อมโยง คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนิ ัย 2. ใฝ่เรยี นรู้ 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

13 กิจกรรมการเรียนรู้ ขนั้ นาเข้าสบู่ ทเรียน 1. ครแู จกกระดาษใหน้ กั เรียนคนละ 1 แผน่ แลว้ พบั กระดาษ ดังน้ี พับจากดา้ นบนมาดา้ นล่าง พับจากมุมซ้ายบนมาทับมมุ ขวาลา่ ง พบั จากดา้ นขวามาดา้ นซ้าย พบั จากมมุ ซ้ายลา่ งมาทับมุมขวาบน 2. ให้นักเรียนรว่ มกันอภิปรายรว่ มกนั ว่าวิธีการพับกระดาษแบบใดเรียกว่าทบั กันสนทิ พอดี และเกิดรอยพบั กี่รอย มวี ิธพี ับดา้ นอืน่ ๆ อกี หรอื ไม่ ขัน้ สอน 1. ครูพับกระดาษ แล้วตัดตามรอยท่ีขีดไว้ ให้นักเรียนทายว่า เมื่อคล่อี อกมาแล้วจะได้ เป็นรูปอะไร ครูคล่รี ปู ทไ่ี ดจ้ ากการตัดกระดาษให้นกั เรียนดูแล้วใหต้ อบว่าเปน็ รปู อะไรและใหส้ งั เกตว่า ท้งั สองขา้ งของรอยพบั มลี กั ษณะเหมือนกนั หรอื ไม่ มีขนาดเท่ากนั หรอื ไม่ และเมอื่ พับกลับตามรอยเดมิ ทั้งสองข้างทบั กนั สนทิ หรือไม่ จากนน้ั แนะนาว่า รปู ทตี่ ดั ไดน้ ้ี มีลกั ษณะเปน็ รูปทม่ี แี กนสมมาตร โดยมี รอยพับเป็นแกนสมมาตร 2. ครนู ากระดาษทีต่ ดั เปน็ รูปที่ไมม่ แี กนสมมาตร เชน่ บัวรดน้า ใหน้ กั เรยี นสังเกตวา่ ทั้ง สองข้างของรูปมลี กั ษณะเหมือนกันหรือไม่ (ไม่เหมือนกัน) และนักเรียนคิดว่า จะสามารถพับรปู แลว้ ทาให้ท้ังสองข้างของรูปทับกันสนิทได้หรือไม่ จากนั้นให้ตัวแทนนักเรียนออกมาพับรูปบัวรดน้า ดังกล่าวให้เพื่อนๆ ดู แล้วบอกผลการพับ ครูถามนักเรียนว่า รูปบัวรดน้านี้เป็นรูปท่ีมีแกนสมมาตร หรือไม่ (ไม่ม)ี เพราะเหตุใด (ไมส่ ามารถพบั รูปแลว้ ทาใหท้ ัง้ สองขา้ งของรอยพับทบั กันสนิท) 3. ครูแบ่งนักเรยี นเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 4 – 5 คน โดยคละความสามารถ ครูจัดกิจกรรม พบั กระดาษโดยแจกกระดาษรูปสามเหลีย่ มหน้าจวั่ รูปสี่เหลย่ี มมมุ ฉาก รูปหา้ มเหล่ียมดา้ นเท่า รูปหก เหลี่ยมด้านเทา่ รปู แปดเหลี่ยมด้านเทา่ วงกลม และวงรีทีม่ ีเส้นประแสดงรอยพบั ใหน้ กั เรยี นทกุ คนใน กลุ่ม ให้นักเรยี นพับตามรอยเส้นประและให้สังเกตแต่ละข้างของรอยพบั ของรูปเรขาคณิตสองมติ ิแต่ ละรปู แลว้ ใหบ้ อกผลการสังเกต ซึ่งควรจะไดว้ า่ แต่ละขา้ งของรอยพบั ทับกันสนทิ พอดี ครถู ามวา่ รปู เรขาคณิตสองมิติที่พับทัง้ หมดนี้เปน็ รูปท่ีมีแกนสมมาตรหรอื ไม่ (เป็นรูปทม่ี ีแกนสมมาตร) เพราะเหตุ

14 ใด (เพราะเมื่อพับตามรอยเส้นประ ทาให้ทั้งสองข้างของรูปทับกันสนิท) ให้นักเรียนทุกคนช้ีแกน สมมาตรของรูปนั้น 4. ครูแจกกระดาษรปู สีเ่ หลีย่ มด้านขนาน รูปสามเหลี่ยมด้านไมเ่ ท่า รูปสเี่ หลี่ยมคางหมู (ท่ีไม่ใชร่ ูปสี่เหลี่ยมคางหมูหนา้ จ่ัว) รปู ห้าเหลย่ี ม รปู หกเหลย่ี ม รูปแปดเหลี่ยม ท่ีไมใ่ ช่รปู หลายเหลี่ยม ด้านเทา่ มุมเท่าที่มเี สน้ ประแสดงรอยพับใหน้ กั เรยี นทุกคนในกลุ่ม แล้วใหน้ ักเรยี นพบั ตามรอยเส้นประ และใหส้ ังเกตว่าแต่ละขา้ งของรอยพบั ทับสนิทหรือไม่ แล้วใหบ้ อกผลการสังเกต ซ่ึงควรจะได้ว่า แต่ละ ข้างของรอยพบั ไม่ทบั กันสนิท ครูถามว่า รูปเรขาคณิตสองมิติท่ีพับท้ังหมดนี้เป็นรูปทม่ี ีแกนสมมาตร หรอื ไม่ (เปน็ รูปท่ไี มม่ แี กนสมมาตร) เพราะเหตใุ ด (เพราะเมือ่ พบั ตามรอยเสน้ ประ แลว้ ทงั้ สองข้างของ รปู ไมท่ บั กันสนทิ ) ให้นักเรียนทุกคนชีแ้ กนสมมาตรของรูปน้ัน 5. จากกิจกรรมในข้อ 3. และข้อ 4. ครูให้นักเรียนรว่ มกันอภิปรายเพื่อนาไปสู่ข้อสรุป ท่ีว่า รูปหลายเหลยี่ มบางรปู เป็นรูปทม่ี ีแกนสมมาตร บางรูปเปน็ รูปทีไ่ ม่มีแกนสมมาตร ส่งวงกลมและ วงรเี ปน็ รปู ท่ีมแี กนสมมาตร 6. ครูให้นักเรียนทาใบงานท่ี 1 รูปท่ีมีแกนสมมาตร เมื่อเสร็จแล้วให้นักเรียนช่วยกัน ตรวจสอบความถูกต้อง จากนั้นครูและนักเรียนรว่ มกนั เฉลยกิจกรรมในใบงานที่ 1 ข้ันสรปุ 1. ครูและนกั เรยี นรว่ มกนั สรปุ สิง่ ท่ีได้เรียนรู้ร่วมกัน ดังนี้ รูปสมมาตร คือ รูปทพี่ บั คร่ึง แล้ว รปู แต่ละขา้ งของรอยพบั นี้ทบั กนั สนทิ รูปบางรูปอาจมีแกนสมมาตรไดม้ ากกว่าหนง่ึ แกน ซึง่ เม่อื พบั ตามรอยพับแลว้ รปู นน้ั จะตอ้ งทับกนั พอดี ส่อื การเรียนรู้ 1. กระดาษ 2. กรรไกร 3. กระดาษรปู เรขาคณิตท่ีมเี ส้นประ 4. กระดาษรปู เรขาคณติ ทไ่ี มม่ เี สน้ ประ 5. ใบงานท่ี 1 รปู ที่มแี กนสมมาตร

15 การวดั ผลและประเมนิ ผล สิ่งทีต่ ้องการวัด วิธีวัด เคร่ืองมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ดา้ นความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานที่ 1 70% ขึน้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 1 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สังเกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นักเรยี นไดค้ ะแนนระดบั กระบวนการ ทักษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คุณภาพดีขึ้นไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ด้านคณุ ลกั ษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ พฤตกิ รรมดา้ น คุณภาพดขี นึ้ ไป คุณลักษณะ ท่ีพึงประสงค์ ความคดิ เห็นผบู้ รหิ าร ลงชื่อ.....................................ผูต้ รวจ () ผอู้ านวยการโรงเรียน ..../................../........

16 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรูต้ ามจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นไดค้ ะแนนเฉลีย่ รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยใู่ นระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรบั ปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยใู่ นระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอย่ใู นระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอปุ สรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

17 แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 2 รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 รูปเรขาคณติ เวลาเรียน 2 ชัว่ โมง เรื่อง การประยกุ ต์ใชร้ ูปทีม่ ีแกนสมมาตร เวลาเรยี น 1 ช่วั โมง สอนวันท.ี่ ...... เดอื น.......................... พ.ศ. ......... ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563 ............................................................................................................................. ................................... มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ค 2.2 : เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรปู เรขาคณิต และทฤษฎีบททางเรขาคณิต และ นาไปใช้ ตวั ชว้ี ัด ค 2.2 ป.3/1 : ระบรุ ปู เรขาคณติ สองมิติที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตร สาระสาคญั รูปที่เม่ือพับแล้ว แต่ละข้างของรอยพับทับกันสนิทเป็นการประยุกต์ใช้รูปที่มีแกนสมมาตร รอยดับน้ีเปน็ แกนสมมาตร การประยุกตใ์ ช้รปู ทม่ี แี กนสมมาตรบางการประยกุ ต์ใช้รปู ทีม่ ีแกนสมมาตรมากกวา่ 1 แกน จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. อธบิ ายลักษณะของรปู เรขาคณิตทีม่ ีแกนสมมาตรได้ (K) 2. สร้างรปู สมมาตรและระบจุ านวนแกนสมมาตรของรปู สมมาตรได้ (P) 3. นาความรู้เก่ียวกับการประยุกต์ใช้รูปที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกนสมมาตรไปใช้ แกป้ ัญหาทางคณิตศาสตร์ (A) สาระการเรยี นรู้ การประยุกตใ์ ช้รปู ทีม่ ีแกนสมมาตร ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 1. ความสามารถในการสือ่ สารและการสอ่ื ความหมายทางคณิตศาสตร์ 2. ความสามารถในการเช่ือมโยง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. ม่งุ ม่ันในการทางาน

18 กจิ กรรมการเรียนรู้ ข้นั นาเข้าสูบ่ ทเรียน 1. ครูนาภาพในชีวิตจริงท่ีมีลักษณะเป็นภาพท่ีมีแกนสมมาตร เช่น ภาพลายกระจัง ภาพลายเหล็กดัด ภาพลายกระเบอื้ ง ภาพลายผ้า ฯลฯ ใหน้ กั เรยี นดู แลว้ ช้ีให้นักเรียนสงั เกตวา่ ท้ังสอง ข้างของแต่ละภาพมีลกั ษณะเหมอื นกัน ครูสนทนาเพ่มิ เติมว่า เราสามารถสร้างภาพทม่ี ีลักษณะของ ลวดลายดงั กลา่ วได้ ขน้ั สอน 1. ครูให้ตัวแทนกลุ่ม 2 คน แสดงการพับกระดาษรูปส่ีเหลี่ยมจัตุรัสและรูป ส่ีเหลี่ยมผืนผ้า เพ่ือหาแกนสมมาตร และให้ขีดเสน้ ตามรอยพับเพื่อแสดงแกนสมมาตร ครูแนะนาวา่ ควรลองพับหลายๆ แนวแลว้ นาเสนอโดยระบุจานวนแกนสมมาตรของแต่ละรปู ซงึ่ จะได้ดังนี้ มแี กนสมมาตร 2 แกน มีแกนสมมาตร 4 แกน 2. ครูให้แต่ละกลมุ่ ทากิจกรรมสารวจรปู ที่มแี กนสมมาตร โดยแจกกระดาษที่ตดั เป็นรปู เรขาคณิตสองมิตแิ ละรูปอืน่ ๆ ทีม่ ีลักษณะเปน็ รูปท่มี แี กนสมมาตรและรปู ทไ่ี ม่มแี กนสมมาตร เชน่ รูป ดาว 5 แฉก รูปตัวอักษร H, T, O, S, Y, M, N, A, X, Z เป็นต้น ถ้าพบว่าเป็นรูปที่มแี กนสมมาตรให้ ขีดเสน้ แสดงแกนสมมาตรทกุ เสน้ พร้อมนาเสนอโดยแสดงวิธีพบั ประกอบการอธบิ าย (แตล่ ะกลมุ่ ไดร้ ปู ที่แตกตา่ งกัน กลุ่มละ 5 รปู ) พรอ้ มระบุจานวนแกนสมมาตรของแตล่ ะรูป 3. ครูติดรูปหลายเหล่ียมที่มเี สน้ ประเป็นแกนสมมาตรบนกระดาน 3 – 4 รูป แล้วให้ ตวั แทนนกั เรียนออกมาต่อเตมิ รูปให้สมบูรณ์ เช่น 4. ครูให้นักเรียนทาใบงานที่ 2 การประยุกต์ใช้รูปท่ีมีแกนสมมาตร เม่ือเสร็จแล้วให้ นักเรียนช่วยกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ ง จากน้ันครแู ละนกั เรยี นร่วมกันเฉลยกจิ กรรมในใบงานท่ี 2 ขนั้ สรปุ 1. ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรยี นรรู้ ว่ มกนั ดงั นี้ - รูปทมี่ แี กนสมมาตรกับรูปท่ีไมม่ ีแกนสมมาตร มีลกั ษณะแตกตา่ งกันอยา่ งไร (รปู ท่ีมีแกนสมมาตรจะสามารถพับรูปแล้วทาให้ทั้งสองข้างของรอยพับทับกันสนิท แต่รูปท่ีไม่มีแกน สมมาตรจะไมส่ ามารถพบั รูปแลว้ ทาให้ท้งั สองขา้ งของรอยพบั ทับกนั สนทิ )

19 - รูปที่มีแกนสมมาตรจะมีแกนสมมาตรได้น้อยท่ีสุดก่ีแกน และมากท่ีสุดก่ีแกน พร้อมบอกตัวอย่างประกอบ (รูปท่ีมีแกนสมมาตรจะมีแกนสมมาตรได้น้อยท่ีสุด 1 แกน เช่น รูป สามเหลี่ยมบางชนดิ (รูปสามเหลยี่ มหนา้ จว่ั ) รปู สเ่ี หลย่ี มบางชนดิ (รูปสเ่ี หลยี่ มรปู วา่ ว) รูปคน รปู ผเี สอื้ เป็นตน้ และจะมแี กนสมมาตรไดม้ ากทสี่ ุด มากมายนับไมถ่ ้วน เชน่ วงกลม) - คากล่าวที่ว่า “รูปหลายเหลย่ี มทกุ รูปเป็นรูปที่มีแกนสมมาตร” เป็นจรงิ หรือไม่ เพราะเหตใุ ด (ไมจ่ รงิ เพราะมรี ปู หลายเล่ยี มบางรปู ท่ีไมม่ แี กนสมมาตร เชน่ รูปหา้ มเหล่ยี มบางรูป) ส่อื การเรียนรู้ 1. ภาพในชีวิตจริงท่ีมีแกนสมมาตร 2. รปู หลายเหลี่ยม 3. ใบงานท่ี 2 การประยุกตใ์ ช้รปู ท่มี ีแกนสมมาตร การวัดผลและประเมินผล ส่งิ ทีต่ อ้ งการวดั วธิ ีวดั เครอื่ งมือวดั เกณฑ์การประเมิน 1. ด้านความรู้ ทากิจกรรมจากใบงานท่ี ใบงานท่ี 2 70% ขนึ้ ไป ถอื ว่าผ่านเกณฑ์ 2 การประเมนิ 2. ด้านทักษะ สงั เกตพฤติกรรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรยี นได้คะแนนระดับ กระบวนการ ทกั ษะกระบวนการ พฤติกรรมด้าน คณุ ภาพดขี ้นึ ไป ทกั ษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลักษณะ สงั เกตพฤตกิ รรมดา้ น แบบสงั เกต นกั เรียนได้คะแนนระดบั ทีพ่ งึ ประสงค์ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ พฤติกรรมด้าน คณุ ภาพดขี น้ึ ไป คณุ ลกั ษณะ ทีพ่ งึ ประสงค์ ความคิดเห็นผ้บู รหิ าร ลงชอื่ .....................................ผู้ตรวจ () ผอู้ านวยการโรงเรียน ..../................../........

20 บันทึกหลังการเรยี นการสอน 1. ผลการเรยี นรู้ 1.1 ผลการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ นกั เรยี นไดค้ ะแนนเฉล่ยี รอ้ ยละ 1.2 ผลการประเมินทกั ษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ นักเรยี นอยใู่ นระดบั ดมี าก คน คดิ เปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ดี คน คิดเปน็ ร้อยละ นักเรยี นอยใู่ นระดบั พอใช้ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.3 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ นักเรียนอยใู่ นระดบั ดีมาก คน คิดเปน็ ร้อยละ นกั เรียนอยู่ในระดบั ดี คน คิดเป็นรอ้ ยละ นกั เรียนอย่ใู นระดบั พอใช้ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ นักเรยี นอยู่ในระดบั ปรับปรุง คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2. ปญั หาและอุปสรรค 3. ขอ้ เสนอแนะ/แนวทางในการแก้ปญั หา ลงชอ่ื .....................................ผสู้ อน () ..../................../........

21 ใบงาน หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4 รูปเรขาคณติ สาระที่ 1 จานวนและพีชคณติ มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ค 2.2 : เขา้ ใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณิต สมบตั ขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททาง เรขาคณิต และนาไปใช้ ตัวชี้วดั ค 2.2 ป.3/1 : ระบุรูปเรขาคณิตสองมิติที่มีแกนสมมาตรและจานวนแกน สมมาตร

22 ใบงานท่ี 1 รูปท่ีมแี กนสมมาตร คาชแ้ี จง จงพจิ ารณารูปตอ่ ไปน้ีมีแกนสมมาตรหรือไม่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8.

23 ใบงานที่ 2 การประยุกตใ์ ช้รูปท่ีมแี กนสมมาตร คาชี้แจง ให้นกั เรยี นสร้างภาพที่เป็นรปู สมมาตรทม่ี เี ส้นประเปน็ เสน้ สมมาตร 4 – 5 ภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook