อา่ นเขา อา่ นเรา 14 บทความส่งเสรมิ การอ่าน จากผเู้ ชี่ยวชาญ 10 ประเทศ
อ่านเขา อ่านเรา 14 บทความส่งเสรมิ การอา่ น จากผเู้ ชีย่ วชาญ 10 ประเทศ พิมพ์ครง้ั แรก สงิ หาคม 2556 จำานวนพิมพ์ 1,000 เล่ม ISBN 978-616-235-173-0 ทปี่ รกึ ษา ดร.ทศั นยั วงศ์พิเศษกุล บรรณาธิการ วัฒนชัย วินจิ จะกลู กองบรรณาธิการ วภิ าศยั นยิ มาภา นันธนา เจรญิ ภกั ดี ทัศนีย ์ จนั อนิ ทร์ ปก / รปู เลม่ วฒั นสนิ ธ ์ุ สุวรตั นานนท์ พมิ พท์ ี่ บริษทั มาตา การพมิ พ ์ จำากัด โทรศัพท ์ 0 2923 5725 จัดพมิ พ์โดย สำานกั งานอุทยานการเรียนรู้ สาำ นกั งานบรหิ ารและพฒั นาองคค์ วามรู ้ (องค์การมหาชน) เลขที่ 999/9 อาคารสำานกั งานเซ็นทรลั เวิลด ์ ชนั้ 17 ถ.พระราม 1 แขวงปทมุ วนั เขตปทุมวนั กรงุ เทพมหานคร 10330 โทรศัพท์ 0 2264 5963-65 โทรสาร 0 2264 5966
คาำ นาำ สำานักงานอุทยานการเรียนรู้ มีบทบาทและภารกิจชัดเจนในเร่ืองของการพัฒนา คุณภาพคน ด้วยการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านและการแสวงหาความรู้ผ่านกระบวนการเรียนรู้ ท่หี ลากหลายและสร้างสรรค ์ รปู ธรรมหนง่ึ ซึง่ เป็นทรี่ จู้ กั กนั ดคี ือ อุทยานการเรยี นรู้ หรือ TK park เป็นแหล่งเรียนรู้ท่ีให้บริการแก่ประชาชนโดยเฉพาะคนหนุ่มสาวและวัยรุ่น ที่ช้ัน 8 ศูนยก์ ารคา้ เซน็ ทรลั เวิลด์ กลา่ วไดว้ า่ ในระยะ 8 ปีนับจากการก่อตง้ั และเปดิ ใหบ้ ริการอุทยาน การเรียนร้ ู ได้จุดประกายให้สังคมไทยเกิดความต่นื ตัวพัฒนาปรับปรุงแหล่งเรียนร้ทู ่มี ีลักษณะ สรา้ งสรรค์ทนั สมัยมากขึน้ เกิดเปน็ แหลง่ เรยี นร้รู ูปแบบใหมข่ ึน้ มาจาำ นวนไมน่ ้อย การเปิดพื้นท่ีให้คนรุ่นใหม่มีเสรีภาพในการค้นคว้า แสวงหาและแสดงออกในเชิง สร้างสรรค์ ดังเช่นอุทยานการเรียนรู้ เป็นแนวทางหน่ึงในการพัฒนาคุณภาพคนเพื่อเตรียม ความพร้อมของประเทศให้สามารถรับมือกับความเปลี่ยนแปลงต่างๆ ได้ เพราะเป็นที่ ประจักษ์ชัดว่าแม้แต่ประเทศที่ไม่มีทรัพยากรธรรมชาติ แต่หากมีคนท่ีมีคุณภาพแล้ว ประเทศน้นั ย่อมสามารถสรา้ งความมงั่ ค่ังและพัฒนาสงั คมใหเ้ กิดความผาสกุ ได้ แต่สิ่งเหนี่ยวร้ังที่เป็นข้อจำากัดของการพัฒนาคุณภาพคนคือปัญหาความเหลื่อมลำ้า ท้ังความเหลื่อมลำ้าของรายได้ และความเหล่ือมล้ำาของโอกาส กล่าวสำาหรับการลดความ เหลอื่ มลาำ้ ทางเศรษฐกจิ อาจแกไ้ ขไดด้ ว้ ยการเพ่มิ รายไดล้ ดรายจา่ ยในกล่มุ คนยากจน แต่การ ลดความเหลอ่ื มลาำ้ ทางโอกาสนน้ั ตอ้ งสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การกระจายทรพั ยากรและความรใู้ หท้ ว่ั ถงึ เทา่ เทยี ม และเข้าถงึ ไดอ้ ยา่ งสะดวก การเข้าถึงหนังสือ ความรู้ และการอ่าน เป็น “สิทธิ” ของผู้คนในทุกสังคม หาใช่ การหยิบย่ืนมอบให้โดยคนกลุ่มท่ีอยู่เหนือกว่าส่งต่อให้แก่คนอีกกลุ่มหนึ่งซึ่งด้อยกว่า ดังน้ัน ไม่ว่าจะยากดีมีจน จะอยู่อาศัยในเมืองใหญ่ทันสมัย หรือชนบทห่างไกลทุรกันดาร หากผู้ใด
ต้องการอ่านต้องการรู้ ผู้น้ันควรจะต้องได้อ่านและได้รู้ เพราะการอ่านเป็นหนทางสู่ความรู้ และจินตนาการ ก่อให้เกิดความมุ่งม่ันและความใฝ่ฝันท่ีจะก้าวไปข้างหน้า ทำาให้ปัจเจกชนมี แรงผลักดันและสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของตนให้บรรลุเป้าหมายของการมีชีวิตท่ดี ีงาม เป่ยี มดว้ ยศกั ดิศ์ รีของความเปน็ มนุษย์ ย่ิงใกล้เข้าสู่การรวมตัวของสิบประเทศในนามประชาคมอาเซียนในปี 2558 การ เรยี นร้ทู จ่ี ะเข้าใจและยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของผคู้ น ย่ิงทวีความสำาคญั มากข้ึน การเรียนรู้ดังกล่าวน้ีเกิดข้ึนได้จากพ้ืนฐานของการอ่าน เมื่อได้อ่านจึงได้รู้ถึงความแตกต่าง ทางด้านเช้อื ชาติ ภาษา ศาสนา วัฒนธรรม วถิ ชี ีวติ ทัศนคติและคา่ นยิ ม ตลอดจนรู้จกั ท่จี ะ นำาเอาความหลากหลายเหล่าน้ีมาสร้างเสริมเพ่ิมพูนผลประโยชน์ทางสังคมบนพ้ืนฐานของ ความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั การพัฒนาคุณภาพคนด้วยการอ่าน ทงั้ ท่เี ปน็ การอ่านแบบเดมิ และรปู แบบการอ่าน แบบใหม่ๆ ผ่านส่ือที่มิใช่หนังสือ จะต้องดำาเนินไปพร้อมกับการส่งเสริมให้คนรุ่นใหม่รู้จักคิด วิเคราะห์ จึงจะนำามาสู่การมองเห็นโอกาสใหม่ๆ ในอันท่ีจะยกระดับชีวิตความเป็นอยู่และ เพม่ิ ประสทิ ธิภาพของแตล่ ะประเทศ เพ่อื ใหเ้ ท่าทันกบั ความเปล่ยี นแปลงและสามารถแข่งขนั กับโลกได้ คำากล่าวของ ซุนวู ที่ว่า “รู้เขา รู้เรา รบร้อยครั้ง ชนะร้อยครั้ง” น้ันพิสูจน์แล้วว่า จรงิ อย่างยิง่ แต่คงมใิ ชก่ ารรบเทา่ นั้นหรอกทจี่ ำาเปน็ ตอ้ งรู้เขาและร้เู รา แมแ้ ตค่ วามรว่ มมือกัน ระหว่างผู้คนในประเทศที่มีภูมิหลังแตกต่างกันดังเช่นประชาคมอาเซียนก็จำาต้องรู้เขารู้เรา เช่นกัน นี่คือท่ีมาของชื่อหนังสือเล่มนี้ท่ีจะช่วยให้เรารู้จักและเข้าใจประเทศของเราและ เพอ่ื นบ้านมากยงิ่ ข้ึนผ่าน “การอ่าน” ทั้งท่ีเป็นความหมายโดยตรงและโดยนยั หนงั สอื “อา่ นเขา อา่ นเรา” รวบรวมบทความทม่ี กี ารนาำ เสนอในการประชมุ วชิ าการ ประจำาปี 2556 (Thailand Conference on Reading 2013) จำานวน 6 เร่ือง และ บทความท่ีนำาเสนอในการประชุมเม่ือปี 2554 (Thailand Conference on Reading 2011) จาำ นวน 7 เร่ือง รวมถงึ การสมั มนาวชิ าการ TK Forum 2011 อีก 1 เรือ่ ง รวมทัง้ สน้ิ เป็น 14 บทความ พร้อมกันนี้ยังจัดทำาดีวีดีบันทึกการบรรยายพิเศษในการประชุมปีล่าสุด
2 หัวข้อไว้ในหนังสือเล่มน้ีด้วย ได้แก่ การบรรยายเร่ือง “คุณภาพการศึกษาท่ีเท่าเทียม: บทบาทสำาคัญของการพัฒนาทักษะและนิสัยการอ่านในช่วงวัยประถมศึกษา” โดย ดร.ธีร์ จินกราน ผู้ประสานงานด้านสิทธิการศึกษา ภายใต้คณะกรรมการแห่งชาติด้านการพิทักษ์ สิทธิเด็ก ประเทศอินเดีย และการบรรยายเร่ือง “วัฒนธรรมหนังสือในอุษาคเนย์” โดย รศ.ดร.สุเนตร ชตุ นิ ธรานนท ์ ผูอ้ ำานวยการสถาบันเอเชยี ศกึ ษา จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั สำานักงานอุทยานการเรียนรู้ หวังว่าการจัดประชุมวิชาการเก่ียวกับการส่งเสริม การอ่านของกล่มุ ประเทศอาซียน โดยนาำ เอามติ ิเรือ่ ง “การอ่าน” มาเป็นแกนของการเรยี นรู้ และทำาความเข้าใจซึ่งกันและกัน จะส่งผลต่อการปรับเปล่ียนภูมิทัศน์ทางความคิดท่ีเรามีต่อ ประเทศเพอ่ื นบ้าน และหวงั ว่าองคค์ วามรู้จากหลากหลายประเทศท่นี ำาเสนอผ่านการประชุม แต่ละครั้งจะสามารถจุดประกายให้ผู้เข้าร่วมนำาไปประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสมสอดคล้องกับ บริบทของไทย
สารบัญ วา่ ดว้ ยห้องสมุด ห้องสมุดเพือ่ ชีวิต: แผนยุทธศาสตร์ 9 ของคณะกรรมการหอสมุดแห่งชาติสิงคโปร ์ สู่ป ี ค.ศ. 2020 กลยุทธเ์ พอ่ื การพฒั นาหอ้ งสมดุ และการส่งเสริมการอา่ นในเด็กและเยาวชน 25 ของประเทศเกาหลี อุทยานการอ่านสายรุ้ง: ความคิดริเร่มิ ระดบั รากหญา้ นาำ เดก็ ๆ 39 ในอินโดนีเซียตะวันออกสูโ่ ลกแห่งจนิ ตนาการ การส่งเสรมิ การอ่านและหอ้ งสมุด ในสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว 55 การหมุนเวยี นหนงั สือระหวา่ งห้องสมุด: แนวทางส่งเสรมิ การใชป้ ระโยชนจ์ ากหนังสอื 77 และสารสนเทศอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ คิดใหมเ่ รอื่ งบทบาทของห้องสมุดขนาดเลก็ และโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นในเมยี นมาร์ 95
สารบญั วา่ ด้วยการอ่าน 113 คณุ ภาพการศกึ ษาที่เท่าเทยี ม: บทบาทสาำ คญั ของการพฒั นาทกั ษะ 123 และนสิ ยั การอ่านทด่ี ีในระดบั ประถมศึกษา 147 การอา่ นหนงั สอื ในมาเลเซยี : โครงการส่งเสริมระดับบคุ คล ครวั เรือนและโรงเรยี น 163 มายาคตขิ องวฒั นธรรมการไม่ร้หู นังสือ: กรณขี องเด็กอินโดนเี ซีย 185 ปจั จยั สง่ เสริมคนไทยใหม้ วี ัฒนธรรมการอา่ น 207 เดก็ ฟิลปิ ปินสท์ กุ คนเปน็ นกั อา่ น 229 การเสริมสร้างประเทศแห่งนักอ่านในสงิ คโปร์ 245 เด็กอ่านโลก: จากทกั ษะการอ่านสู่ทักษะแห่งศตวรรษใหม ่ “เปิดชวี ิต อ่านเพื่อนบ้าน” วิเคราะหห์ นงั สือนิทานพ้ืนบ้านอาเซียน 262 ภาคผนวก 269 โครงการประชุมวิชาการ ประจำาป ี 2556 Thailand Conference on Reading 2013 “Reading for Equity” เก่ียวกบั ผเู้ ขียน
สำ�หรับปี ค.ศ. 2020 เร�กำ�หนดแผนยทุ ธศ�สตรใ์ หม่ พรอ้ มกบั วิสยั ทศั น์ใหมว่ �่ “นกั อ่�นเพ่อื ชวี ติ ชุมชนแหง่ ก�รเรียนรู้ และประเทศช�ตทิ ่เี ต็มไปดว้ ยองค์คว�มร้”ู
ห้องสมุดเพือ่ ชวี ติ แผนยทุ ธศาสตรข์ องคณะกรรมการ หอสมดุ แหง่ ชาตสิ งิ คโปร์ สู่ปี ค.ศ.2020 เกียง โกะ๊ ไล ลิน (Kiang-Koh Lai Lin) และ จสั นา ฐานสขุ ลาล (Jasna Dhansukhlal) บทนำา หอ้ งสมดุ นบั เปน็ เปา้ หมายทสี่ าำ คญั ของสงั คมทพ่ี ฒั นาแลว้ โดยถกู นาำ มาใชเ้ ปน็ ช่องทางนำาไปสู่กระบวนการเรียนรู้และพัฒนาทักษะความรู้อันยืนยาวตราบชั่วชีวิตของ คนเรา อันเป็นสิ่งจำาเป็นสำาหรับเราและสามารถนำามาใช้ได้ไม่ว่าจะอยู่ในช่วงเวลาใดของชีวิต นับตั้งแต่การศึกษาในระบบทั้งระดับโรงเรียนและมหาวิทยาลัยไปจนถึงการเรียนรู้ในชีวิต หลังจากน้ัน รวมไปถึงการศึกษานอกระบบอย่างเช่น การเรียนภาคคำ่า เป็นต้น ห้องสมุด ถือเป็นสถานท่ีกลางๆ ท่ัวไปท่ีผู้คนจากทุกสาขาอาชีพสามารถเดินเข้ามาเพ่ือแสวงหาความรู้ และใชค้ วามรทู้ ไ่ี ดม้ าทาำ ให้ชวี ติ ของตนกา้ วหน้าย่งิ ขนึ้ ในสงั คมส่วนใหญ่ ห้องสมุดสาธารณะมี บทบาทสำาคัญต่อสังคมในแง่ของการสร้างความม่ันใจว่าจะไม่มีใครถูกทอดทิ้งให้ล้าหลังใน เรือ่ งการแสวงหาความรแู้ ละข้อมูลซ่ึงจาำ เป็นต่อความกา้ วหน้าส่วนบคุ คล ดังนั้น อาจกล่าวได้ ว่าห้องสมดุ มีความสาำ คญั กบั ชีวติ เพอ่ื ใหเ้ หน็ ภาพทชี่ ดั เจนขน้ึ เราจะขอเลา่ ใหฟ้ งั ถงึ ประสบการณข์ องคณะกรรมการ หอสมุดแห่งชาติสิงคโปร์ (NLB) วันเวลาที่ผ่านไปทำาให้ภูมิทัศน์ทางกายภาพและทางสังคม ของสิงคโปร์มีการเปล่ียนแปลงไป ห้องสมุดมีส่วนช่วยเชื่อมโยงผู้คนท้ังหลายเข้ากับชุมชน ของพวกเขาและสร้างความผูกพันอันแข็งแกร่งระหว่างชุมชนต่างๆ เข้าด้วยกัน จนส่งผลให้ ประเทศชาติโดยรวมมีความเข้มแข็งข้ึนตามไปด้วย ห้องสมุดประชาชนท้ัง 24 แห่งของเรา แปลจาก “Libraries for Life: NLB’s Strategic Plan into 2020” นาำ เสนอในงานประชุมวิชาการ Thailand Conference on Reading 2011 วันที่ 24-25 สิงหาคม 2554 ห้องสมุดเพ่อื ชวี ติ | 9
ถูกใช้เป็นสถานท่ีจัดทำาโครงการเพ่ือส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชนและการพัฒนาตนเอง ของคนในชุมชน และเมื่อเวลาผ่านไปห้องสมุดของเราได้กลายมาเป็นศูนย์รวมสำาหรับ ชาวสิงคโปร์ท้ังหมดโดยไม่มีการแบ่งแยกอายุ เชื้อชาติ ภาษา อาชีพ ระดับการศึกษาและ ศาสนาแต่อย่างใด แมจ้ ะมคี วามกา้ วหนา้ ดา้ นไอทแี ละสอ่ื ดจิ ทิ ลั มากมายเพยี งใด คนสงิ คโปรก์ ย็ งั คง ไม่ท้ิงเครือข่ายทางกายภาพของห้องสมุด ผลสำารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการแสดงให้ เห็นว่าผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในห้องสมุดคิดเป็น 4.33 จาก 5 ในแต่ละปีมีผู้มาใช้ ห้องสมุดถึง 37 ล้านคน และการยืมหนังสือก็เพ่ิมข้ึนอย่างต่อเน่ืองเป็น 33 ล้านใน ปีงบประมาณ 2010 (พ.ศ. 2553) เพม่ิ ขนึ้ จากปงี บประมาณ 2005 (พ.ศ. 2548) ซึ่งมีเพยี ง 27 ล้าน การเข้ามามีสว่ นร่วมในกจิ กรรมของหอ้ งสมุดกท็ าำ สถิตสิ ูงเป็นประวัตกิ ารณเ์ นือ่ งจาก ผู้มาใช้บริการห้องสมุดยุคปัจจุบันต้องการแสวงหาการเรียนรู้ในเชิงของประสบการณ์มากขึ้น ควบคไู่ ปกับการใช้เวลาวา่ งในการเรียนรู้และการอา่ นจากหนังสือ ผลสาำ รวจทเ่ี ราไดท้ าำ ยงั แสดงใหเ้ หน็ อกี ดว้ ยวา่ ชาวสงิ คโปรจ์ าำ นวนมากใชเ้ วลาอยกู่ บั ลูกหลานในห้องสมุดมากข้ึน วัยรุ่นก็เข้ามาศึกษาหาความรู้ในห้องสมุด ขณะที่คนวัยเกษียณ และผู้สูงอายุฆ่าเวลาด้วยการอ่านหนังสือและเข้าร่วมกิจกรรมในห้องสมุดตามความต้องการ ของพวกเขา ด้วยเหตุนี้ห้องสมุดสาธารณะของสิงคโปร์จึงได้จัดให้พื้นท่ีในห้องสมุดมีความ ปลอดภัยและสะดวกสบาย เหมาะกับการท่ีชาวสิงคโปร์ทุกช่วงอายุจะมาใช้เวลากันอย่าง สบายใจ ไมว่ ่าจะเพ่ือการพกั ผ่อนและนนั ทนาการหรือเพ่ือการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ การรเิ รมิ่ กิจกรรมการอา่ นใหมๆ่ ในปที ผ่ี า่ นมาเพยี งแคป่ เี ดยี ว เราไดร้ เิ รม่ิ โครงการใหมๆ่ ดา้ นการอา่ นหลายโครงการ ให้กับชาวสิงคโปร์เพ่ือดึงดูดพวกเขาให้สนใจในการอ่านและการเรียนรู้ นอกจากเป็น ส่วนหน่ึงของการเข้าถึงผู้ใช้แล้วยังเป็นการสนับสนุนแผนงานความต้ังใจการทำาห้องสมุดเพ่ือ ชีวิตอีกด้วย เราจะขอเล่าให้ฟังถึงกิจกรรมบางส่วนท่ีได้ดำาเนินการไปแล้วรวมถึงผลท่ีได้รับ ดังน้ี 10 | อ่านเขา อ่านเรา
• วนั หนงั สอื โลกและลขิ สทิ ธิ์ (Book World and Copyright Day) : กจิ กรรม แลกเปลยี่ นหนงั สอื 2011และกจิ กรรมคน้ หานกั อา่ น(Spot-The–Reader 2011) เพอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั วนั หนงั สอื โลกและลขิ สทิ ธ ิ์ทาง NLB ไดจ้ ดั กจิ กรรมแลกเปลยี่ น หนังสือ 2011 ขึ้นเป็นกิจกรรมเพียงวันเดียวท่ีเปิดโอกาสให้คนรักหนังสือมีส่วนช่วยดูแล สิ่งแวดล้อมพร้อมๆ ไปกับการอ่าน กิจกรรมน้ีจัดติดต่อกันเป็นปีท่ีสามแล้วโดยห้องสมุด สาธารณะสงิ คโปร์เพื่อใหบ้ รรดาผู้มีใจรกั หนงั สือทง้ั หลายเอาหนงั สอื ทตี่ นมีมาแลกเปลี่ยนกัน ปนี มี้ ผี เู้ ขา้ มารว่ มงานกวา่ 7,000 คนและมหี นงั สอื เปลย่ี นมอื กนั มากถงึ 77,000 เลม่ กิจกรรมนี้ทำาให้ผู้ที่มาใช้ห้องสมุดและผู้ที่ไม่ได้มาใช้สามารถมอบชีวิตใหม่ให้กับหนังสือของ ตนด้วยการแบ่งปันให้กับคนอื่นๆ ขณะเดียวกันก็เป็นโอกาสให้เขาได้หนังสือเล่มใหม่ๆ สาำ หรบั การอา่ นทงั้ เพื่อความบันเทงิ และเพ่อื หาความรู ้ อกี กจิ กรรมทน่ี า่ สนใจในวนั หนงั สอื โลกและลขิ สทิ ธ ์ิกค็ อื กจิ กรรมคน้ หานกั อา่ น (Spot - The - Reader 2011) อาสาสมคั รกวา่ 600 คนจาก 62 กลมุ่ ไดอ้ อกเยย่ี มตามหา้ งสรรพสนิ คา้ ตลาด โรงพยาบาล สวนสาธารณะย่านธุรกิจการค้าและใจกลางเมือง 12 แห่ง เมื่อวันที่ 21 เมษายน 2554 ระหว่างเวลา 11:00-15:00 น. เพ่ือค้นหาคนท่ีกำาลังอ่านหนังสือและ มอบของทร่ี ะลกึ ให ้ อาสาสมคั รเหล่านีป้ ระกอบดว้ ยสมาชกิ ของชมรมอา่ นหนังสอื ต่างๆ ผนู้ ำา ชมุ ชน นักเรียนจากโรงเรยี นตา่ งๆ และเจ้าหนา้ ท่ี NLB ตลอดระยะเวลา 4 ชว่ั โมงอาสาสมัคร ได้พบนักอ่านมากถึง 6,000 คน (เพ่ิมข้ึนเกือบร้อยละ 10 จากปีก่อน) และได้มอบถุงขนม เปน็ รางวลั ถึง 6,000 ชดุ ดว้ ยกนั เราหวงั วา่ กจิ กรรมแบบนจ้ี ะชว่ ยกระตนุ้ นกั อา่ นใหร้ กั ษานสิ ยั รกั การอา่ นไวต้ อ่ ไป และตอกย้ำาถงึ ความสำาคัญของการพฒั นานิสัยรกั การอ่านตลอดชีวิต หอ้ งสมดุ เพ่อื ชีวติ | 11
• การเปิดห้องสมุดสาธารณะสองแห่งในห้างสรรพสินค้า Serangoon และ Clementi ในเดอื นเมษายนและพฤษภาคม พ.ศ.2554 NLB ไดเ้ ปดิ หอ้ งสมดุ สาธารณะใหม่ สองแห่งตั้งอยู่ในห้างสรรพสินค้า Serangoon และ Clementi เพ่ือเป็นการสนับสนุน วสิ ัยทัศน์ใหม่ของห้องสมดุ เพื่อชวี ติ หอ้ งสมดุ สาธารณะ Serangoon (SRPL) เปน็ หอ้ งสมดุ สาธารณะแหง่ แรกในสงิ คโปร์ ท่ีมีการจัดพื้นที่เฉพาะสำาหรับการเล่นเกม SRPL มีวัตถุประสงค์ส่งเสริมการเรียนรู้และ การสร้างวัฒนธรรมการอ่านผ่านการเล่นเกม เกมที่นำามาใช้จะแสดงให้เห็นถึงเน้ือหาการ ศึกษาหรือคุณค่าการเรียนรู้อย่างมีนัยสำาคัญ นอกเหนือจากเกมที่เล่นกันอยู่ตามบ้านแล้ว SRPL ยังมีเกมอ่ืนๆ อีกหลากหลายที่จะช่วยเพ่ิมพูนกระบวนการการเรียนรู้และค้นพบให้ กับนักเล่นเกมทั้งมือใหม่และมือเก๋า SRPL ยังได้ร่วมมือกับองค์กรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น Singapore Cybersports and Online Gaming Association และ DigiPen Institute of Technology เพ่อื จดั ทาำ โปรแกรมและการฝึกอบรมในเร่อื งเกย่ี วกบั เกมด้วย จากการทท่ี ตี่ ง้ั ของหอ้ งสมดุ อยใู่ นหา้ งสรรพสนิ คา้ และเปน็ จดุ รวมของการคมนาคม ขนส่งหลัก ห้องสมุดจัดให้มีหนังสือมากมายหลากหลายที่เหมาะกับการอ่านง่ายและรวดเร็ว เช่น หนงั สอื การต์ ูน นิยายภาพและนิตยสาร โดยจดั วางใหง้ า่ ยและสะดวกต่อการหยิบติดตัว ไปอา่ น และเพอ่ื เปน็ การเฉลมิ ฉลองการเปดิ ตวั ของ SRPL จงึ มกี ารจดั นทิ รรศการเรอ่ื ง “เซรางกูน: สถานที่ท่ีไม่มีใครเหมือน” ขึ้นเพ่ือนำาเสนอมรดกทางวัฒนธรรมในเขตพื้นท่ี เซรางกูน รวมท้ังแสดงผลงานของภาพถ่ายท่ีได้รับรางวัลจากการประกวดภาพถ่ายในหัวข้อ “ผู้คน สถานทีแ่ ละความทรงจาำ ” SRPL ยงั ได้ร่วมมือกบั National Heritage Board (NHB) เพอื่ จัดแสดงนทิ รรศการอกี สองเร่ืองเก่ยี วกับ “อาหาร” และ “เคร่อื งเทศ” โดยพุ่งเป้าไปยงั เด็กและคนหนุ่มสาว เพ่ือสร้างจิตสำานึกและเรียนรู้เก่ียวกับมรดกทางวัฒนธรรมของถนน สายอาหารและการค้าเครอ่ื งเทศของสิงคโปร์ หอ้ งสมดุ ยงั ไดร้ ว่ มมอื กบั ชมุ ชนและองคก์ รระดบั รากหญา้ จดั โปรแกรมทมี่ เี นอ้ื หา เหมาะทั้งกับเด็กและผู้ใหญ่ ผ่านการเรียนรู้แบบโต้ตอบ อาทิ หัวข้อเก่ียวกับมรดกทาง 12 | อ่านเขา อ่านเรา
วัฒนธรรม การใช้ชีวิตอย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ไม้ยืนต้น หรือแม้แต่การเล่านิทาน สำาหรับเด็ก มกี ารแนะนาำ บรกิ ารใหมส่ องบรกิ ารพรอ้ มกบั การเปดิ หอ้ งสมดุ สาธารณะ Clementi (CMPL) ได้แก่การบริการถุงสีนำ้าตาลลึกลับซึ่งพุ่งเป้าไปที่กลุ่มคนที่หยุดพักทานอาหารกลาง วนั เปน็ การบริการที่สอดคลอ้ งกับแนวคดิ “แวะด่วน” คือแวะรับและไป โดยท่ใี นถงุ จะบรรจุ หนังสือที่ได้รับการคัดสรรแล้วตามความนิยม นอกเหนือจากบริการถุงสีนำ้าตาลลึกลับแล้ว เด็กๆ ยังสามารถเพลิดเพลนิ กบั การเรยี นรู้จากประสบการณ์ผา่ นซุ้มนิทานดิจิทัลแบบโต้ตอบ ซึง่ เปดิ ตวั เปน็ คร้งั แรกด้วย หอ้ งสมดุ สาธารณะ Clementi เปน็ หอ้ งสมดุ ลาำ ดบั ท ี่24 ในประเทศสงิ คโปร ์มพี นื้ ที่ ทั้งหมด 1,900 ตารางเมตร มีหนังสือ นิตยสารและสื่อภาพและเสียงประมาณ 150,000 รายการในสี่ภาษาหลัก โดยมีทั้งหนังสือนวนิยายและสารคดีสำาหรับผู้ใหญ่และคนหนุ่มสาว ถึง 83,000 เล่ม และหนังสือสำาหรับเด็ก 67,000 เล่ม มีนิตยสารท้องถิ่นและต่างประเทศ กว่า 400 รายการ และหนังสือพิมพส์ ีภ่ าษาอกี จำานวนหนึ่ง • หนงั สอื มชี ีวติ (Books Come Alive) หนงั สือมีชวี ติ หรือ Books Come Alive (BCA) เป็นกจิ กรรมการอ่านระดับ ประเทศสำาหรบั เด็กอายุ 7 ถงึ 12 ปี มีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ ส่งเสริมการอ่าน ส่งเสรมิ ปฏสิ ัมพนั ธ์ และการแบ่งปันความสนใจในการอ่านระหว่างเพื่อนกับเพื่อน ขยายประสบการณ์การอ่าน และให้โอกาสเด็กๆ ในการเรยี นรู้ BCA เรม่ิ ตน้ เมอ่ื วนั ท ี่4 มถิ นุ ายน 2554 ดว้ ยกจิ กรรมลกึ ลบั มากมายสาำ หรบั เดก็ และ จะมีต่อเนื่องกันไปจนถึงเดือนพฤศจิกายน 2554 กิจกรรมเปิดตัวจัดข้ึนระหว่างวันที่ 27-29 พฤษภาคมท่ี United Square Shopping Mall มีเด็กมาร่วมส่งบทวิจารณ์หนังสือ และ ร่วมกิจกรรมแนวลึกลับถึง 412 คน และมผี ู้มาสมคั รเป็นสมาชิกหอ้ งสมดุ ใหมอ่ ีก 56 ราย นบั ตงั้ แตเ่ ปดิ ตวั โครงการมาไดม้ กี ารดำาเนนิ กจิ กรรมไปแลว้ ทง้ั สนิ้ 56 กจิ กรรม (ข้อมูล ณ วันที่ 30 มถิ นุ ายน 2554) ซึง่ รวมทัง้ กจิ กรรมหลกั ของ BCA และกจิ กรรมพเิ ศษ สำาหรบั เด็ก และมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมท้ังส้นิ มากกว่า 1,364 คน ห้องสมดุ เพอื่ ชีวติ | 13
กจิ กรรม Code RE(a)D เปน็ กจิ กรรมแนวทา้ ทายยอดนยิ มของ BCA ซง่ึ เปน็ การดงึ เด็กให้หันมาอ่านหนังสือ โดยใช้เกมแก้เง่ือนงำาผสานกับกิจกรรมการอ่าน/วาดภาพ ความ ท้าทายจะประกอบไปด้วยปริศนา 14 รายการซึ่งเด็กๆ จะต้องไขให้ได้ก่อนจะนำามาปะติด- ปะตอ่ เปน็ คำาตอบซง่ึ เป็นช่ือหนังสือลึกลับ เริม่ แรกเลยเดก็ จะตอ้ งไปรบั คู่มือนักสบื (โดยยืมได้ 6 ครั้ง) และรวบรวมเบาะแสของแต่ละสัปดาห์จากห้องสมุดสาธารณะ ความท้าทายจะ สิ้นสุดลงในเดือนกันยายนพร้อมกับการปล่อยปริศนาสุดท้ายออกมา เด็กที่มีคำาตอบถูกต้อง มีโอกาสที่จะชนะรางวัลลึกลับ ปรากฏว่าใน 2 สัปดาห์แรกของกิจกรรมน้ี (4-19 มิถุนายน 2554) มเี ด็กมารบั คมู่ ือไปถงึ 2,362 เล่มโดยเป็นการยืมท้งั ส้ิน 15,277 คร้งั ในชว่ งเดอื นแรกของการเปดิ ตวั โครงการนมี้ เี ดก็ มากกวา่ 1,776 คนไดเ้ ขา้ รว่ มใน กจิ กรรมท่หี ลากหลายของ BCA • kidsREAD กจิ กรรมการอา่ นระดบั ประเทศซง่ึ เปดิ ตวั อยา่ งเปน็ ทางการเมอ่ื วนั ท ี่23 เมษายน 2547 โดยมีนาย ลี เซียง-หลุง (Lee Hsien Loong) ซ่ึงเป็นรองนายกรัฐมนตรีในขณะน้ัน เป็นประธาน กิจกรรมน้ีเป็นความร่วมมือกันระหว่าง NLB, People’s Association (PA) และชุมชนท่ีช่วยเหลือตนเองอีก 5 ชุมชนเพื่อส่งเสริมและปลูกฝังนิสัยรักการอ่านในหมู่เด็ก อายุ 4-8 ปจี ากครอบครัวผู้มีรายไดต้ ่ำาในประเทศสงิ คโปร์ ผลจากการรว่ มมอื กนั ดงั กลา่ วไดก้ อ่ ใหเ้ กดิ ชมรม kidsREAD ขน้ึ ถงึ 120 แหง่ ทว่ั ประเทศสงิ คโปรโ์ ดยมอี าสาสมคั รมากกว่า 5,000 คน และเขา้ ถึงเดก็ ไดม้ ากกว่า 13,500 คน จากแผนเร่ิมแรกที่จะจัดต้ังชมรมการอ่านข้ึนโดยใช้พ้ืนท่ีตามศูนย์ชุมชน ห้องสมุดสาธารณะ หรือไม่ก็ศูนย์บริการต่างๆ ที่เข้าร่วมกับกลุ่มชุมชนเหล่านี้ ปรากฏว่าภายหลังมีองค์กรต่างๆ เข้ามาร่วมด้วยเพ่ิมข้ึน ท้ังโรงเรียนประถมศึกษา ศูนย์บริการครอบครัว ศูนย์ดูแลนักเรียน โรงเรยี นอนบุ าล องคก์ รสาำ หรบั ผมู้ ีความต้องการพเิ ศษ และสถานสงเคราะหเ์ ดก็ ในอนาคตหากแผนยทุ ธศาสตรห์ อ้ งสมดุ ป ีค.ศ.2020 ไดร้ บั การอนมุ ตั งิ บประมาณ ดำาเนินการสาำ หรบั ป ี พ.ศ. 2555 ถึง 2559 โครงการ kidsREAD จะเกบ็ เด็กไวใ้ นโครงการได้ จนพวกเขาสำาเร็จชั้นประถม 2 แทนที่จะอยู่ในโครงการได้แค่ปีเดียว เราจะเพิ่มคุณภาพของ โครงการให้ดีข้ึน และหลักสูตรจะได้รับการปรับแต่งเพื่อตอบสนองความก้าวหน้าในการ 14 | อา่ นเขา อ่านเรา
พัฒนาทักษะการอ่านที่เหมาะสำาหรับวัยของพวกเขา โครงการจะได้รับการขยายให้ ครอบคลมุ จำานวนเด็กทม่ี ากขน้ึ • การเปดิ ตวั การฉลองครบรอบ5ปีของกจิ กรรมการอา่ นกบั คณุ พอ่ ครบ10,000 รายและมากกว่านน้ั การเปดิ ตวั การฉลองครบรอบ 5 ป ี ของกจิ กรรมการอา่ นกบั คณุ พอ่ ครบ 10,000 รายและมากกว่าน้ัน ภายใต้แนวคิด “การอ่าน - ของขวัญช้ินแรกท่ีมอบให้กับลูกของคุณ” เม่ือวันเสาร์ท ่ี 4 มิถุนายน 2554 ณ The Plaza ของอาคารหอสมดุ แห่งชาติ สามารถดึงดดู ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรมได้ประมาณ 2,000 ราย บรรดาคณุ พอ่ และสมาชกิ ในครอบครวั จากทกุ สาขาอาชพี ไดใ้ ชเ้ วลาบา่ ยวนั เสาร ์ สนุกสนานกับกิจกรรมต่างๆ อาทิ การเล่านิทาน การแสดง เกม การประชุมเชิงปฏิบัติการ เคล็ดลับการอ่าน คำาแนะนาำ เก่ียวกบั หนังสอื เดก็ และงานฝีมอื เกๆ๋ นบั ตง้ั แตไ่ ดม้ กี ารรเิ รม่ิ กจิ กรรมนขี้ น้ึ ตงั้ แตเ่ ดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ.2550 มผี ไู้ ดร้ บั ประโยชนจ์ ากการเขา้ รว่ มกจิ กรรมนีไ้ ปมากกว่า 60,000 ราย กิจกรรมมจี ดุ ม่งุ หมายเพอื่ เพมิ่ จำานวนพอ่ ท่ีอา่ นหนงั สอื กบั ลูกเปน็ ประจาำ ให้มากขนึ้ • READ! Singapore โครงการรณรงค์มาอา่ นหนงั สอื กนั เถอะ!สงิ คโปร ์เปน็ การทาำ งานรว่ มกบั พนั ธมติ ร กว่า 120 รายไม่วา่ จะเป็นผูผ้ ลิตหนงั สือ องค์กรชุมชน และองค์กรธรุ กจิ รวมทง้ั โรงเรียนอีก นับร้อย ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมา 6 ปีกิจกรรมรณรงค์นี้ได้จัดการอภิปรายหนังสือ การ ต้ังชมรมการอ่านและกิจกรรมอื่นๆ ที่เก่ียวข้องกับการอ่านมากกว่า 1,600 คร้ังและดึงดูด ผู้คนมากกว่า 160,000 คนจากท่ัวประเทศสิงคโปร์ให้มาเข้าร่วม ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ที่กว้างขวางและหลากหลาย ประสบความสำาเร็จอย่างมากในหมู่คนขับรถแท็กซ่ี ช่างทำาผม ครู เจ้าหน้าท่ีอนามัย พนักงานบริการ พนักงานต้อนรับ ข้าราชการพลเรือน เยาวชนและ ผู้สูงอายุ ส่งผลให้มีการต้ังชมรมอ่านหนังสือของกลุ่มพวกเขาขึ้น จนถึงปัจจุบันมีชมรมอ่าน หนังสอื เกิดข้นึ แลว้ กว่า 90 ชมรม หอ้ งสมุดเพื่อชวี ติ | 15
กจิ กรรมสาำ คญั ภายใตโ้ ครงการรณรงค ์มาอา่ นหนงั สอื กนั เถอะ!สงิ คโปร์2011 คอื การเปิดตัว MobileRead ซ่ึงเป็นโปรแกรมแอพพลิเคช่ันท่ีพัฒนาโดยคณะกรรมการ หอสมุดแห่งชาติ (NLB) เพ่ือส่งเสริมให้คนอ่านหนังสือในระหว่างการเดินทาง บรรดาคนรัก หนังสอื และใช้โทรศัพท ์ iPhone สามารถเขา้ ถึงเรอื่ งสนั้ ซ่งึ ได้รับเลอื กเป็นหนงั สอื อ่านสำาหรบั กิจกรรมในปีนี้รวมถึงหนังสือที่ได้รับการคัดเลือกในหกปีท่ีผ่านมา โดยสามารถโหลดอ่าน หนังสือเหล่านไี้ ดฟ้ รี เทา่ นนั้ ยงั ไมพ่ อ NLB ยงั จบั มอื กบั Infocomm Development Authority of Singapore (IDA) ส่งเสริมกิจกรรม MobileRead ให้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ท่ีทันสมัย นับต้ังแต่เปิดตัวอย่างไม่เป็นทางการในเดือนมกราคม 2554 มีการดาวน์โหลดไป แลว้ ถึง 40,000 ครง้ั รวมทั้ง e-books อกี 29,000 คร้ังดว้ ย ในวันที ่ 1 กรกฎาคม NLB และ IDA ได้เป็นเจ้าภาพจัดเทศกาล “เพลดิ เพลนิ กับไลฟสไตล์การอา่ นแบบดิจิทัล” ขน้ึ ซึ่งไดจ้ ัดแสดงหนงั สอื ภายใตก้ ิจกรรม มาอ่านหนังสือ กันเถอะ! สงิ คโปร์ ควบค่ไู ปกับกจิ กรรมอืน่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้องกบั การอ่าน การรณรงคใ์ นปนี มี้ ผี ลงานของนกั เขยี นสงิ คโปรท์ ไี่ ดร้ บั การคดั เลอื กเขา้ รว่ มโครงการ มากท่ีสุดนับตั้งแต่เริ่มกิจกรรมน้ีเมื่อปี พ.ศ. 2548 คือจำานวน 20 คนประกอบด้วยบทกวี 4 เลม่ นยิ ายและเร่ืองสั้นอย่างละ 8 เลม่ ผลงานท้ัง 20 เลม่ จะถูกแปลเป็นส่ีภาษา หนึง่ ใน นั้นคือ Gone Case โดย Dave Chua ซ่ึงเป็นผลงานช้ินแรกของนักเขียนชาวสิงคโปร์ท่ีได้ ตีพิมพเ์ ป็นนิยายภาพ (graphic novel) อกี ดว้ ย นยิ าย เรอื่ งสนั้ และบทกวที ไี่ ดร้ บั การคดั เลอื กยงั ไดร้ บั การรวบรวมและพมิ พเ์ ผยแพร่ ลงในหนงั สือ READ! Singapore 2011 ซ่งึ สามารถยมื อา่ นไดจ้ ากหอ้ งสมุดของ NLB ทุกแห่ง กจิ กรรมรณรงค์ มาอ่านหนงั สอื กันเถอะ! สิงคโปร์ 2011 เรมิ่ ขึน้ ตั้งแต่ 23 มถิ นุ ายน ไปจนถึง 28 กันยายน 2554 ตลอดระยะเวลา 14 สัปดาห์มีการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอ่าน ตามสถานทีต่ า่ งๆ ทว่ั สิงคโปร์ นอกจากนนั้ ยงั มกี ารจดั งานเทศกาลการอา่ นถงึ 6 งานโดย NLB และผนู้ าำ ชมุ ชน ประสงค์ให้เข้าถึงคนกว่า 2,000 คนเพื่อส่งเสริมการอ่านและจัดต้ังกลุ่มอ่านหนังสือข้ึนใน ปี 2554 16 | อา่ นเขา อ่านเรา
ดว้ ยโครงการทขี่ ยายขอบเขตใหญข่ นึ้ และกวา้ งขน้ึ เพอ่ื ตอบสนองความตอ้ งการและ ความคาดหวังของผู้อ่านท้ังเก่าและใหม่ ทำาให้โครงการ มาอ่านหนังสือกันเถอะ! สิงคโปร์ เติบโตก้าวหน้าอย่างมากนับแต่โครงการได้ถือกำาเนิดข้ึนเมื่อหกปีก่อน การสนับสนุนที่เพิ่ม มากข้นึ ทั้งจากสาธารณะ สถาบนั การคา้ และสถาบันการศกึ ษา รวมทง้ั สือ่ ได้พสิ ูจน์ใหเ้ หน็ ถึง สถานะของโครงการ มาอ่านหนังสือกันเถอะ! สิงคโปร์ ว่าเป็นงานระดับชาติประจำาปีท่ีผู้คน ตงั้ ตารอคอย ความสาำ เรจ็ ของโครงการรณรงค์มาอา่ นหนงั สอื กนั เถอะ!สงิ คโปร์คอื การเกดิ ชมรม การอ่านเป็นจำานวนมากกระจายไปในกลุ่มอาชีพต่างๆ ตัวอย่างเช่น ชมรมการอ่านแท็กซ่ี Sifu ได้ช่วยส่งเสริมให้ชาวสิงคโปร์จำานวนมากปลูกฝังนิสัยรักการอ่านและกลายมาเป็น ผู้เรยี นรู้ตลอดชวี ิตของศตวรรษท่ ี 21 ในอนาคตเราหวงั ทจ่ี ะขยายกจิ กรรมรณรงคใ์ หค้ รอบคลมุ กลมุ่ เปา้ หมายทเ่ี ปน็ เดก็ รวมถงึ สง่ เสรมิ เรอ่ื ง “การเขยี น” และสง่ เสรมิ ใหค้ นรจู้ กั เขยี นความคดิ เหน็ ของตนหลงั อา่ นจบ เราหวังท่ีจะคัดเลือกเรื่องสั้นที่น่าอ่านให้มีจำานวนมากขึ้นและนำามาแปลเป็นภาษาอื่นๆ อีก 3 ภาษา (องั กฤษ จนี มลายู) • ความร่วมมือกบั People’s Association การทำางานร่วมกบั People’s Association (PA) จะชว่ ยให้ NLB สามารถใช้ ประโยชนจ์ ากเครอื ขา่ ยรากหญ้าของ PA เพ่อื เขา้ ถงึ ชาวสิงคโปรใ์ ห้มากข้ึน ในฐานะทเ่ี ปน็ เจา้ ของของโครงการ Passion Card ทาำ ให ้PA ดงึ สมาชกิ มาเขา้ รว่ ม กิจกรรมอนั นา่ ตื่นเตน้ ณ ศูนย์ชุมชนและเอาทเ์ ล็ตตา่ งๆ ของ PA ได้ การรวมตัวกนั ของ NLB และ PA ก่อใหเ้ กดิ พลงั อนั จะนาำ ไปสู่ความสาำ เร็จอยา่ งมหนั ต ์ การรว่ มมอื กันของทง้ั สองหน่วยงาน เช่น ก) บัตร NLB - PAssion สมาชกิ บตั ร PAssion EZ - link ทเี่ ปน็ ชาวสงิ คโปรแ์ ละคนตา่ งชาตทิ ม่ี ถี น่ิ พาำ นกั ถาวรในสิงคโปร ์ (PRS) สามารถเพลิดเพลนิ กบั การเป็นสมาชกิ พเิ ศษระดบั พรเี มี่ยมของ NLB ห้องสมุดเพอ่ื ชีวติ | 17
ฟรี นาน 5 ปที ันทีท่ีลงทะเบียน ซึ่งจะทาำ ให้สมาชิกระดับพรีเม่ยี มสามารถยมื ของในหอ้ งสมดุ ได ้ 8 รายการรวมถึงการยืมวัสดุภาพและเสยี งจากห้องสมดุ สาธารณะได้สูงสุด 4 ช้นิ คนสงิ คโปรแ์ ละ PRS ผลู้ งทะเบยี นใหมห่ รอื ตอ่ อายสุ มาชกิ บตั ร PAssion ตงั้ แตว่ นั ท ่ี 1 สงิ หาคม 2554 เป็นต้นไปจะได้รบั การลงทะเบียนเข้าเปน็ สมาชกิ ระดบั พรเี มย่ี มของ NLB โดยอัตโนมัติโดยมีข้อกำาหนดและเงื่อนไขเช่นเดียวกับการลงทะเบียนเป็นสมาชิกบัตร PAssion EZ - link สว่ นสมาชกิ บัตร PAssion EZ - link ทีล่ งทะเบยี นไว้กอ่ นน้ีจะตอ้ งไป ลงทะเบียนกับทางห้องสมุด NLB เพื่อขอเป็นสมาชิกระดับพรีเมี่ยมของ NLB ได้ฟรีจนกว่า จะหมดอายุของบตั รสมาชิก PAssion ข) ชมรมอ่านหนงั สอื PAssion PA และ NLB จะรว่ มมอื กนั พฒั นาโครงการเพอื่ ดงึ สมาชกิ บตั ร PAssion เขา้ รว่ ม กิจกรรมส่งเสริมการอ่านและกิจกรรมอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้อง หนึ่งในโครงการดังกล่าวได้แก่ การ พฒั นาและการขยายกล่มุ คนที่สนใจเข้าร่วมชมรมอา่ นหนงั สือระหวา่ ง NLB และ PA โดยจะ รณรงคใ์ ห้มสี มาชกิ เพมิ่ ข้ึน และในเวลาเดยี วกนั กจ็ ะใชช้ มรมเปน็ ฐานใหส้ มาชกิ เข้าร่วมในการ ใหบ้ รกิ ารชุมชนท่มี ุ่งส่งเสริมการอ่าน ค) งานเล้ยี งอาหารค่ำาและทุเรียนสาำ หรบั สมาชกิ ชมรมอา่ นหนงั สอื “งานเลย้ี งอาหารคำ่าและทเุ รยี น” เปน็ งานสงั สรรคท์ ีจ่ ัดโดย PA เม่อื วันท ่ี 15 กรกฎาคมสำาหรับคนกว่า 200 คนเพ่ือแนะนำาชมรมอ่านหนังสือ และชักชวนให้ผู้นำาชุมชน รายใหม่จัดต้ังชมรมอ่านหนังสือขึ้น ระหว่างงานสังสรรค์ดังกล่าว NLB ได้จัดการอภิปราย หนงั สือทน่ี า่ สนใจถึง 8 ช่วงด้วยกัน (แบ่งเปน็ ภาษาอังกฤษ 4 ชว่ งและภาษาจีน 4 ช่วง) เพอ่ื กระตุ้นให้เกิดการจัดต้ังชมรมอ่านหนังสือข้ึนในชุมชนใหม่ๆ แผนระยะยาวสำาหรับ PA คือ การจัดตัง้ ชมรมอ่านหนงั สอื ใหค้ รบทุกเขตในประเทศสงิ คโปร์ • การเข้าถงึ ผใู้ ชแ้ ละชุมชน จากการพยายามดงึ ชมุ ชนเขา้ มามสี ว่ นรว่ ม หอ้ งสมดุ สาธารณะไดจ้ ดั ทาำ กจิ กรรม ต่างๆ มากมายตามโรงเรียนและชมรมต่างๆ ในแต่ละชุมชน มีการจัดงานถึง 59 งานเพื่อ รองรับเฉพาะคนหนุ่มสาวซ่ึงสามารถดึงคนมาร่วมงานได้ถึง 19,498 คน ส่วนกิจกรรม 18 | อา่ นเขา อ่านเรา
สำาหรับผสู้ งู วยั มีการจดั ท้ังหมด 4 งานมยี อดรวมของผเู้ ข้ารว่ ม 2,033 ราย ในขณะทก่ี ิจกรรม สำาหรับบุคคลท่ัวไปจัดขึ้น 17 งานมียอดรวมของผู้เข้าร่วม 17,731 ราย ตัวอย่างงานใหญ่ ท่จี ัดขึ้น เช่น เทศกาล Active Aging (1-3 เมษายน) : นอกเหนอื จากการจดั แสดงหนงั สอื และ บริการของห้องสมุดแล้ว บรรณารักษ์ยังจัดให้มีการเล่าเร่ืองหนังสือสู่กันฟัง และการแสดง ดนตรีที่บรรเลงโดย erhu บนเวทีในช่วงเทศกาลอีกด้วย มีหนังสือรวมถึงส่ือภาพและเสียง ให้บริการยืมคืนประมาณ 1,770 รายการ ยอดรวมของหนังสือที่ถูกยืมภายในงานมีท้ังสิ้น 1,497 เล่ม Canberra Day (17 เมษายน) : งานระดบั รากหญา้ ทจี่ ดั โดยศนู ยช์ มุ ชน Jelutung ร่วมกับ Canberra Consultative Citizens’ Committee มีผู้เข้าร่วมงาน 3,000 คนซึ่ง สว่ นใหญ่มาแวะเย่ยี มชมบูธของ NLB เพ่อื เลือกหาและรบั แสตมป์กจิ กรรมสำาหรับนำาไปแลก ถุงขนม ในระหว่างงานมีการยมื หนงั สอื ไป 724 เล่ม สถาบนั การศกึ ษาแหง่ ชาต ิ(10 พ.ค. และ 6 มถิ นุ ายน) : กจิ กรรมรณรงคเ์ พอื่ เขา้ ถงึ สถาบันการศึกษาต่างๆ โดยมีการประชาสัมพันธ์ให้ครูที่เพิ่งจบการศึกษาได้ทราบถึงการ บริการต่างๆ ของห้องสมุด ผลท่ีได้รับเป็นไปในเชิงบวกและได้รับข้อเสนอแนะในทาง สรา้ งสรรค์มากมาย • ชุมชนแหง่ การเรียนรู้ ปจั จบุ นั มชี มุ ชนแหง่ การเรยี นร ู้(LCS) 23 แหง่ เกดิ ขน้ึ ในละแวกใกลเ้ คยี งหอ้ งสมดุ สาธารณะ ชุมชนเหล่าน้ีได้รวมเอาผู้คนในกลุ่มท่ีมุ่งเน้นเร่ืองการอ่านเป็นหลักและกลุ่มท่ี “มุ่งเน้นกิจกรรม” เข้าไว้ด้วยกัน สมาชิกชุมชนประกอบไปด้วยวัยรุ่นและผู้ใหญ่/ผู้สูงวัย มีโอกาสแบ่งปันความสนใจ แบ่งปันหนังสือและความรู้พร้อมไปกับการอภิปรายหนังสือ มกี ารจัดกจิ กรรมไปแลว้ 29 ครงั้ โดยมผี ู้เขา้ ร่วมท้งั สน้ิ 642 ราย กจิ กรรมลา่ สุดทไี่ ด้รับการบรรจุไวใ้ นชุมชนแหง่ การเรยี นรคู้ อื ชมรมนักเขียน นวนิยายชาวสิงคโปร์ที่ CTPL กิจกรรมคร้ังแรกจัดขึ้นเมื่อเดือนพฤษภาคม มีผู้เข้าร่วม 12 คน ส่วนใหญ่เป็นผู้ที่กระตือรือร้นอยากรู้เพิ่มเติมเก่ียวกับการเขียนเชิงสร้างสรรค์และ หอ้ งสมุดเพ่ือชวี ิต | 19
การเขียนนวนิยาย ส่วนชมรมอ่านหนังสือ (ภาษาจีน) ของผู้สูงวัย ชมรมแท็กซ่ี Sifu ชมรม คนรักหนงั สอื และเล่นเกม ยงั คงมกี ิจกรรมทส่ี มาชิกใหก้ ารตอบรับท่ดี ี อนาคต - หอ้ งสมุดเพ่ือชีวิต: แผนยุทธศาสตรข์ อง NLB กับการก้าวเข้าส่ปู ี ค.ศ. 2020 การขบั เคลอ่ื นไปขา้ งหนา้ โดย NLB กาำ หนดแผนยทุ ธศาสตรท์ ม่ี งุ่ เนน้ ทาำ โครงการทมี่ ี วัตถุประสงค์เสริมสร้างความเข้มแข็งในงานหลักของ NLB น่ันคือการส่งเสริมการอ่านและ สรา้ งความมนั่ ใจว่าต้นทนุ ทางสงั คมในเชงิ บวกของหอ้ งสมดุ จะไดร้ ับการขยายให้เพมิ่ ขึ้น จะไดเ้ หน็ การเปลยี่ นแปลงจากหอ้ งสมดุ ธรรมดาๆ ไปเปน็ หอ้ งสมดุ ทรี่ องรบั กจิ กรรม ทางสังคมมากข้ึนและมีปฏิสัมพันธ์กับชุมชนมากข้ึนเพ่ือประโยชน์ของชาวสิงคโปร์ทั้งมวล โครงการต่างๆ เก่ียวกับการส่งเสริมการอ่านจะเปลี่ยนจากรูปแบบ “หน่ึงเดียวเหมาะกับ ทุกคน” ไปเป็นการกำาหนดกรอบกว้างๆ และนำามาดัดแปลงให้เข้ากับความต้องการในการ ร่วมมือกับแต่ละชุมชน จากงานท่ีเราทำาอยู่ในปัจจุบันด้านการเก็บรวบรวมและอนุรักษ์ หนังสือเก่ียวกับสิงคโปร์ ข้ันต่อไปเราจะเก็บรวบรวมงานเขียนเกี่ยวกับสิงคโปร์โดยให้ชุมชน เข้ามามีส่วนร่วมมากข้ึน ปัจจุบันห้องสมุดเรามีเนื้อหาเหล่าน้ีในรูปแบบต่างๆ กันไว้บริการ อยู่บ้างแล้ว และเราจะใช้สิ่งที่มีอยู่สร้างเป็นหมวดหมู่พิเศษใหม่ข้ึนมาเพ่ือยกระดับการอ่าน และการเรียนรู้ของคนสิงคโปร์และเข้าถึงกลุ่มคนต่างๆ ให้กว้างขึ้น ทุกวันนี้การให้บริการ ห้องสมุดรูปแบบดิจิทัลของเรายังเป็นเพียงตัวเสริมการบริการหลักและเครือข่ายของ หอ้ งสมดุ สาธารณะอยู่ เราตอ้ งการจะพัฒนาตอ่ ไปด้วยการให้บรกิ ารหอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั เกดิ ข้นึ ได้ ในทุกที่ทุกเวลา ในแผนงานหอ้ งสมดุ ป ีค.ศ.2000 เราไดใ้ ชโ้ ครงสรา้ งพนื้ ฐานเปน็ ตวั ขบั เคลอ่ื นหลกั เพอ่ื เป็นการวางรากฐานสาำ หรบั เครอื ข่ายห้องสมุดสาธารณะ แต่สำาหรบั แผนในปี ค.ศ. 2010 เราหวังจะพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิทัลเพ่ือให้ทันกับแนวโน้มและเทคโนโลยีของยุค ปัจจุบัน ขณะท่ีแผนสำาหรับปี ค.ศ. 2020 เราได้มีการกำาหนดแผนยุทธศาสตร์ใหม่พร้อมกับ วิสัยทัศน์ใหม่ว่า “นักอ่านเพื่อชีวิต ชุมชนแห่งการเรียนรู้ และประเทศชาติท่ีเต็มไปด้วย องคค์ วามร”ู้ 20 | อ่านเขา อ่านเรา
วสิ ัยทัศน์ใหม่ “นกั อา่ นเพอื่ ชีวิต ชุมชนแห่งการเรยี นรู้ และประเทศชาติที่เตม็ ไปดว้ ยองคค์ วามรู้” กอ่ นอน่ื ขออธบิ ายถงึ เหตผุ ลวา่ ทาำ ไมถงึ ไดเ้ ลอื กวสิ ยั ทศั นใ์ หมน่ ม้ี าเปน็ สว่ นหนง่ึ ของ แผนกลยุทธ์ การอ่านเป็นพ้ืนฐานที่จำาเป็นต่อการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้และห้องสมุด อยู่ในสถานะที่จะโอบอุ้มให้การอ่านเพ่ือชีวิตได้ยกระดับขึ้นมาสู่วาระแห่งชาติได้ ชุมชนแห่ง การเรียนรู้สามารถสร้างข้ึนได้ผ่านการมีปฏิสัมพันธ์ในระดับห้องสมุดท่ีซึ่งแต่ละคนสามารถ เชอ่ื มตอ่ กบั ชุมชนของตนเองไปพรอ้ มๆ กบั การสรา้ งความรสู้ ึกเปน็ เจา้ ของและแบ่งปนั คุณคา่ ในสังคมพหวุ ัฒนธรรมของเราต่อกัน ในทศวรรษหนา้ สงิ คโปรป์ รารถนาจะเปน็ ประเทศทเี่ ตม็ ไปดว้ ยองคค์ วามร ู้ และ ห้องสมุดมีบทบาทสำาคัญในการสร้างให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตขึ้นในหมู่ประชาชนและ ชุมชน ความร่วมมือกันระหว่างห้องสมุดและสถาบันอ่ืนๆ สามารถทำาให้การเข้าถึงแหล่ง ความรู้ของประเทศเปน็ ไปได้กว้างขวางขนึ้ เพอ่ื ใหบ้ รรลวุ สิ ยั ทศั นน์ เ้ี ราจะมงุ่ เนน้ ไปทว่ี ตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ กลยทุ ธห์ ลกั 4 ประการ ดังน ี้ • การอา่ น การเรยี นรแู้ ละข้อมลู ด้านการร้หู นงั สือ วตั ถปุ ระสงคน์ จี้ ะมงุ่ เนน้ ไปทกี่ ารปลกู ฝงั นสิ ยั รกั การอา่ นทมี่ นั่ คงและเพมิ่ ความสนใจ ในคุณภาพการอ่านของนักอ่านให้มากข้ึน เราต้องการท่ีจะวางรากฐานการอ่านอันแข็งแกร่ง ในครอบครัวของกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กเล็ก รักษาความสนใจของเยาวชนในการอ่าน และการเรียนรผู้ ่านการมสี ่วนร่วมของโรงเรยี น ช่วยใหเ้ กดิ บรรยากาศที่กระฉบั กระเฉงในการ เรียนรู้และการมีส่วนร่วมของชุมชนกับผู้สูงวัย ให้ความรู้และข่าวสารใหม่ๆ ด้านข้อมูลการรู้ หนังสือแก่คนสิงคโปร์อย่างต่อเนื่องเพ่ือเสริมสร้างการรับรู้ของคนให้แข็งแกร่งข้ึน และเพ่ือ ให้แนใ่ จว่าพวกเขาจะพฒั นานิสัยการซักถามซง่ึ สามารถนำาไปใชไ้ ดก้ บั ทกุ ๆ ด้านของชวี ิต • ห้องสมดุ ในยคุ ถดั ไป บทบาทของหอ้ งสมดุ อนั มรี ากฐานมาจากความนยิ มชมชอบทจ่ี ะใชห้ อ้ งสมดุ เปน็ พื้นที่ของชุมชนจะถูกเน้นยำ้ามากข้ึนเร่ือยๆ ในอนาคต ห้องสมุดยุคถัดไปจะยังคงเป็นแหล่ง ห้องสมดุ เพอ่ื ชวี ิต | 21
ความรู้ท่ีทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างเท่าเทียมกัน และจะยังคงทำาหน้าท่ีส่งเสริมการ แลกเปล่ยี นความรใู้ หแ้ ก่กันและกนั ตอ่ ไป ภายใต้บทบาทน้หี อ้ งสมุดสาธารณะทง้ั 24 แห่งจะ ปรับเปล่ียนและเสริมสร้างบทบาทของตนให้แข็งแกร่งเพ่ือรองรับการเป็นศูนย์เรียนรู้ ศนู ยว์ ัฒนธรรม และศนู ย์ชุมชนของสังคมต่อไป • ความเป็นเลิศทางเนอื้ หาทั้งในระดับชาติ (สงิ คโปร)์ และระดบั ภมู ภิ าค เราตอ้ งการสรา้ งความมนั่ ใจวา่ ไดม้ กี ารเกบ็ รวบรวมเนอื้ หาทเ่ี กย่ี วกบั สงิ คโปรไ์ วเ้ ปน็ อย่างดี และเชิญชวนให้คนสิงคโปร์เข้าร่วมค้นหาและใช้ประโยชน์จากส่ิงนี้ซึ่งมีอยู่ตาม ห้องสมุดของ NLB โดยหวังว่าการได้เห็นและความซาบซ้ึงในคุณค่าของเน้ือหาท่ีเก่ียวกับ สงิ คโปร ์ จะสง่ เสรมิ ประชาชนใหเ้ กดิ ความรสู้ กึ หวงแหนและภาคภมู ใิ จในเอกลกั ษณข์ องชาตไิ ด้ • ห้องสมดุ ดิจิทลั ทุกท่ีทุกเวลา การเขา้ ถงึ แหลง่ หอ้ งสมดุ ดจิ ทิ ลั และการบรกิ ารจะไดร้ บั การปรบั ปรงุ เพอ่ื ใหผ้ ใู้ ช้ สามารถเข้าถึงและเช่ือมต่อได้อย่างสะดวกง่ายดาย ซ่ึงน่ันย่อมหมายถึงว่า NLB เองจะต้อง ปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วเพ่ือท่ีจะสามารถให้บริการดิจิทัล แกช่ าวสงิ คโปรไ์ ด ้ บทสรปุ แผนยทุ ธศาสตรห์ อ้ งสมดุ ป ีค.ศ.2020 ของ NLB จะชว่ ยใหแ้ นใ่ จไดว้ า่ คนสงิ คโปร์ จะยังคงสามารถเข้าถึงความรู้และใช้การอ่านหนังสือและข้อมูลด้านการรู้หนังสือในการ เข้าถึงความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ NLB จะจัดให้ชาวสิงคโปร์ได้มีสถานที่ท่ีปลอดภัยและ วางใจได้สำาหรบั การเรยี นร้ไู ม่ว่าจะในรูปแบบปกติหรือรปู แบบดจิ ทิ ลั กต็ าม อา้ งอิง Libraries for Life: NLB’s Strategic Plan into 2020. Published 2011. 22 | อ่านเขา อ่านเรา
ห้องสมุดแบกรับหน้�ทีส่ �ำ คัญในก�รเพ่ิมสมรรถนะ ในก�รแข่งขันของประเทศ หอ้ งสมดุ ควรมีบรรย�ก�ศก�รอ่�นทนี่ �่ ร่ืนรมย์ และเปิดใหท้ กุ คนส�ม�รถเข้�ถึงได้อย�่ งเท่�เทียมกนั เพ่ือเป็นที่ส�นคว�มฝนั และอน�คตของพวกเข� 24 | อ่านเขา อา่ นเรา
กลยุทธเ์ พ่ือการพฒั นาหอ้ งสมุด และการส่งเสรมิ การอา่ นในเด็กและเยาวชน ของประเทศเกาหลี ซุก ยนึ ลี (Sook Hyeun Lee) บทนำา ประเทศเกาหลไี ดร้ บั เอกราชจากการปกครองของญป่ี นุ่ หลงั สงครามโลกครงั้ ทสี่ อง เมือ่ ป ี พ.ศ. 2488 แต่เนอื่ งจากเกดิ สงครามเกาหลใี นป ี พ.ศ. 2493 ผลผลิตมวลรวมประชาชาติ เฉลี่ยต่อหัวต่อปีของชาวเกาหลีอยู่ที่ 60 เหรียญดอลลาร์สหรัฐเท่าน้ัน ทำาให้ประเทศเกาหลี เป็นหนึง่ ในประเทศทย่ี ากจนท่สี ุดในโลก แตใ่ นปัจจบุ ันเกาหลีได้กลายเปน็ ประเทศทมี่ อี าำ นาจ ทางเศรษฐกิจท่ีใหญ่ที่สุดเป็นอันดับท่ี 13 ของโลก และได้เปลี่ยนสถานะจากประเทศท่ี รับการช่วยเหลือจากนานาประเทศ มาเป็นประเทศท่ีให้ความช่วยเหลือประเทศอื่นๆ สาเหตุท่ี ประเทศเกาหลีซ่ึงมีจำานวนประชากร 50 ล้านคนแต่ขาดแคลนทรัพยากรธรรมชาติสามารถ พัฒนาจนกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมมีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยและ ประสบความสำาเร็จในด้านเศรษฐกิจได้นั้น เน่ืองมาจากความต้องการอันแรงกล้าท่ีจะได้รับ การศกึ ษาของประชาชนชาวเกาหลเี อง ตง้ั แตป่ ี2543 เปน็ ตน้ มา พอ่ แมช่ าวเกาหลเี รมิ่ ตระหนกั ถงึ ความสาำ คญั ของการอา่ น ในวัยเยาว์และให้ความสนใจในเรื่องการอ่านของเด็กมากข้ึนเป็นผลให้มีการสร้างห้องสมุดใหม่ๆ หลายแห่ง อาทิ โครงการ “ห้องสมุดปาฏิหาริย์” หรือ “Miracle Libraries” ในปี 2546 แปลจาก “Korean National Strategy for Library Development and Reading Promotion for Children and Young Adults” นำาเสนอในงานประชมุ วชิ าการ Thailand Conference on Reading 2011 วนั ที่ 24-25 สิงหาคม 2554 กลยุทธ์เพ่ือการพฒั นาหอ้ งสมุดและการส่งเสรมิ การอ่านในเด็กและเยาวชนของประเทศเกาหล ี | 25
ดำาเนินการโดย MBC ซ่ึงเป็นบริษัทวิทยุและโทรทัศน์ขนาดใหญ่แห่งหนึ่งในเกาหลี โครงการนี้ มีบทบาทสำาคัญในการสร้างห้องสมุดขนาดเล็กมากมายทั่วประเทศ โดยส่วนใหญ่ได้รับการ สนับสนนุ จากภาคเอกชน ความเคลอ่ื นไหวดงั กลา่ วกระตนุ้ ใหภ้ าครฐั ทง้ั ในระดบั ประเทศและระดบั ทอ้ งถน่ิ ในประเทศเกาหลเี ริ่มต่ืนตวั ในปี 2546 กระทรวงวัฒนธรรมได้ประกาศแผนพัฒนาห้องสมุด แบบครบวงจร (Comprehensive Development Plan for the Library) นอกจากน้ี องค์กรภาครัฐระดบั ท้องถ่ินยังได้พยายามปรับปรุงการบรกิ ารสำาหรับเดก็ เชน่ สร้างหอ้ งสมดุ แห่งใหม ่ และการขยายพ้ืนทส่ี ำาหรบั เดก็ ในหอ้ งสมุดสาธารณะ เปน็ ตน้ บทบาทของหอ้ งสมดุ ในการสง่ เสรมิ การอา่ นนน้ั มอิ าจกลา่ วใหเ้ กนิ จรงิ กฎหมายวา่ ดว้ ยห้องสมดุ ประเทศเกาหลีฉบบั ปจั จุบัน ทีม่ ีการแก้ไขรวม 11 ครัง้ ตง้ั แตป่ ี 2506 มีเนอ้ื หา เน้นการก่อต้ังห้องสมุดสาธารณะ และจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายข้อมูลภายใต้การกำากับ ดูแลของประธานาธบิ ดี กฎหมายนค้ี รอบคลมุ แผนการพฒั นาหอ้ งสมดุ แบบครบวงจร โดยกาำ หนดบทบาท ของห้องสมุดในการลดช่องว่างระหว่างคนใช้คอมพิวเตอร์และคนที่ไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์ รวมทั้งการชว่ ยใหม้ กี ารบงั คบั ใชแ้ ผนการพฒั นาห้องสมุดแบบครบวงจรอีกด้วย ในขณะเดยี วกนั กฎหมายสง่ เสรมิ วฒั นธรรมการอา่ นไดเ้ รม่ิ ประกาศใชใ้ นป ี2549 บัญญัติให้จัดต้ังแผนพื้นฐานเพ่ือการส่งเสริมวัฒนธรรมการอ่าน โดยให้องค์กรของรัฐใน ระดับท้องถ่ินให้การศึกษาด้านการอ่านแก่ประชาชนอย่างเท่าเทียมกัน และกำาหนดบทบาท ของชุมชน โรงเรียนและบรษิ ทั เอกชนต่างๆ ในการสนบั สนนุ การอ่าน กฎหมายสง่ เสรมิ หอ้ งสมดุ โรงเรยี น (The School Library Promotion Act) ได้ อธิบายกติกาและข้อบังคับเร่ืองการจัดต้ัง การปฏิบัติงาน และการช่วยเหลือห้องสมุด โรงเรียน รวมทั้งการสนับสนุนทางกฎหมาย เช่น การช่วยเหลือด้านเงินทุนสำาหรับการจัดตั้ง ห้องสมุดโรงเรียน การจัดทำาแผนพื้นฐานเพื่อการส่งเสริมวัฒนธรรมการอ่านของห้องสมุด การจัดวางตำาแหน่งบุคลากรห้องสมุด และการสร้างเครือข่ายห้องสมุด เป็นต้น กล่าวได้ว่า 26 | อ่านเขา อา่ นเรา
กฎหมายส่งเสริมห้องสมุดโรงเรียนนี้มีส่วนช่วยปรับปรุงสภาพแวดล้อมของห้องสมุดโรงเรียน ใหด้ ขี ึ้น รฐั บาลไดป้ ระกาศแผนพฒั นาหอ้ งสมดุ แบบครบวงจรในป ี พ.ศ.2546 ซง่ึ ไดร้ บั แรงบันดาลใจจากการเคลื่อนไหวด้านการอ่านท่ัวประเทศในช่วงปลายทศวรรษ 1990 (ระหวา่ งป ี 2533-2542) โดยมวี ตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื มงุ่ ใหป้ ระชาชนเขา้ ถงึ หอ้ งสมดุ ไดม้ ากขน้ึ เพิ่มจำานวนชุดหนังสือ ให้การบริการห้องสมุดที่เน้นรายบุคคล ตลอดจนส่งเสริมการอ่าน หนังสือ ต่อมาในปี 2549 มีการแก้ไขกฎหมายห้องสมุดเพ่ือให้แผนมีผลบังคับใช้อย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากน้ียังมีการประกาศแผนพัฒนาห้องสมุดแบบครบวงจรฉบับที่สอง ในปี 2552 แผนพัฒนาห้องสมุดแบบครบวงจรท้ังสองฉบับนี้นับเป็นพลังสำาคัญในการ ปรบั ปรุงบรรยากาศของห้องสมุดสาธารณะให้ดขี ้นึ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดพ้ ยายามเพม่ิ ความมชี วี ติ ชวี าใหก้ บั หอ้ งสมดุ โรงเรยี น รวมทงั้ เพิ่มจำานวนห้องสมุดโรงเรียนและจำานวนชุดหนังสือ และจัดหาบุคลากรห้องสมุด ซ่ึงเป็น นโยบายท่ีกำาหนดไว้ในแผนเพ่ิมความมีชีวิตชีวาให้ห้องสมุดโรงเรียนแบบครบวงจร (Com- prehensive Revitalization Plan for School Libraries) ในปี 2546 ผลที่ได้รับ คือ สภาพแวดล้อมของห้องสมุดโรงเรียนแต่ละแห่งได้รับการปรับปรุง โรงเรียนหลายแห่ง สร้างห้องสมุดโรงเรียนใหม่เพ่ือตอบสนองความต้องการของนักเรียนและสนับสนุนการเรียนรู้ ด้วยตนเองโดยการยกระดับหลักสูตรการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 7 ภายใต้กฎหมายส่งเสริม การอ่าน มีการกำาหนดนโยบายสง่ เสริมการอ่าน ซึ่งมีแนวคิดหลกั ดังตอ่ ไปนี้ • เพอ่ื สรา้ งสภาพแวดลอ้ มการอา่ นทด่ี ใี นบา้ น โรงเรยี นอนบุ าล โรงเรยี น และชมุ ชน • เพอ่ื กระตนุ้ นสิ ยั รกั การอา่ น เพอ่ื พฒั นาและเผยแพรโ่ ครงการสง่ เสรมิ การอา่ น ตลอดชวี ิต • เพอื่ สรา้ งกจิ กรรมดา้ นการอา่ นโดยใชป้ ระโยชนจ์ ากชอ่ งทางการสอ่ื สารตา่ งๆ • เพอื่ จดั ทาำ โครงการสง่ เสรมิ การอา่ นโดยเฉพาะในกลมุ่ คนพกิ าร คนสงู อาย ุคนท่ี อยู่ในคุกและผู้ทีอ่ ยูใ่ นครอบครัวทีม่ ีหลายวฒั นธรรม กลยทุ ธเ์ พอื่ การพัฒนาหอ้ งสมุดและการส่งเสริมการอ่านในเด็กและเยาวชนของประเทศเกาหล ี | 27
การปรับปรุงโครงสรา้ งพ้นื ฐานเก่ียวกบั ห้องสมดุ การแกไ้ ขกฎหมายหอ้ งสมดุ แผนพฒั นาหอ้ งสมดุ แบบครบวงจรในป ี 2546 และ ปี 2552 และเพ่ิมความมีชีวิตชีวาให้ห้องสมุดโรงเรียนแบบครบวงจร นำาไปสู่การปรับปรุง ระบบห้องสมดุ ของประเทศครัง้ ท่สี ำาคัญท่ีสุดในประวัติศาสตร์เกาหลี จาำ นวนหอ้ งสมดุ สาธารณะไดเ้ พมิ่ จาก 436 แหง่ ในป ี 2544 เปน็ 748 แหง่ ในป ี 2553 และในช่วง 8 ปีท่ีผ่านมามีจำานวนชุดหนังสือในห้องสมุดสาธารณะเพิ่มขึ้นเท่าตัว ส่วนจำานวนชุดหนังสือในห้องสมุดโรงเรียนได้เพ่ิมขึ้นถึงสองเท่าคร่ึง จำานวนบรรณารักษ์ใน โรงเรยี นยงั เพิม่ ขึน้ เป็นส่เี ทา่ ตวั อีกด้วย จำานวนห้องสมดุ ปี ห้องสมดุ สาธารณะ ปี หอ้ งสมดุ โรงเรยี น ปี หอ้ งสมดุ ขนาดเล็ก 2544 436 2545 8,101 2548 130 2553 748 2553 10,937 2551 3,324 จำานวนชุดหนงั สอื ในห้องสมดุ สาธารณะและห้องสมดุ โรงเรียน ปี 2545 ปี 2549 ปี 2552 จำานวนชดุ หนังสอื 30.97 ลา้ นชุด 49.34 ลา้ นชดุ 62.56 ล้านชุด ห้องสมุดสาธารณะ จำานวนชุดหนงั สือต่อ 0.64 เล่ม 1.01 เลม่ 1.26 เลม่ นกั เรียนหนึง่ คน จำานวนชุดหนงั สือ 48.73 ลา้ นชดุ 72.02 ล้านชุด 114.89 ลา้ นชุด หอ้ งสมดุ โรงเรยี น จำานวนชดุ หนงั สือตอ่ 5.5 เลม่ 9.5 เล่ม 15.4 เล่ม นกั เรยี นหนึ่งคน 28 | อา่ นเขา อา่ นเรา
จาำ นวนบรรณารักษใ์ นหอ้ งสมดุ สาธารณะและห้องสมุดโรงเรยี น จำานวนบรรณารักษ์ ปี 2545 ปี 2549 ปี 2552 ห้องสมดุ สาธารณะ จำานวนผู้ใช้ห้องสมุด 1,918 คน 2,560 คน 3,052 คน 25,051 คน 19,173 คน 16,308 คน ต่อบรรณารกั ษห์ น่ึงคน 164 คน 424 คน 682 คน จำานวนบรรณารกั ษ์ 2% 4.2% 6.2% ห้องสมุดโรงเรยี น รอ้ ยละของโรงเรยี น ที่มบี รรณารกั ษ์ ความพยายามในการส่งเสริมการอ่านในห้องสมดุ และผลทไี่ ด้รบั หอสมดุ แหง่ ชาตปิ ระเทศเกาหลใี ต้(หอสมดุ แหง่ ชาตสิ าำ หรบั เดก็ และเยาวชน) ความพยายามของรฐั บาลสว่ นกลางและสว่ นทอ้ งถนิ่ นาำ ไปสกู่ ารพฒั นาหอ้ งสมดุ ท่เี น้นหนักในด้านปริมาณ เช่น การสร้างห้องสมุดเพ่มิ ข้นึ และการปรับปรุงสภาพแวดล้อม ของห้องสมดุ โดยรวม ตอ่ มาเราเรม่ิ ตระหนักว่าห้องสมดุ ควรมีบรรณารกั ษ์มอื อาชีพประจำาอยู่ ควรมีนโยบายพัฒนาชุดหนังสือท่ีมีคุณภาพ ตลอดจนโครงการส่งเสริมการอ่านท่ีดีเพ่ือ ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการ ดังน้ัน หอสมุดแห่งชาติประเทศเกาหลี หรือ National Library of Korea (NLK) จึงได้พยายามพัฒนาดา้ นคุณภาพใหม้ ากขึน้ หอสมุดแห่งชาติฯ (NLK) จึงจัดตั้งหอสมุดแห่งชาติสำาหรับเด็กและเยาวชน National Library for Children and Young Adults (NLCY) ข้ึนในปี 2549 ในฐานะ ตัวแทนห้องสมุดเด็กในเกาหลี NLCY ได้แสดงออกถึงความเป็นผู้นำาให้ห้องสมุดเด็ก ทัว่ ประเทศได้เหน็ เป็นตัวอยา่ ง ในการให้การบริการที่ดขี ึ้นแกเ่ ด็กๆ และโครงการส่งเสรมิ การ อ่านท่ีดีข้ึน หน่ึงในจุดประสงค์หลักของ NLCY คือการพัฒนาโครงการส่งเสริมการอ่าน สำาหรับเด็กและเยาวชนที่สร้างสรรค์ และเผยแพร่โครงการเหล่านั้นสู่ห้องสมุดสาธารณะ และห้องสมุดตามโรงเรียนต่างๆ นอกจากนี้ NLCY ยังได้จัดทำาโครงการการศึกษาต่อเน่ือง สาำ หรับบรรณารกั ษ์หอ้ งสมดุ เดก็ กลยทุ ธเ์ พือ่ การพัฒนาห้องสมุดและการส่งเสริมการอ่านในเดก็ และเยาวชนของประเทศเกาหล ี | 29
ตอ่ ไปนคี้ อื โครงการการศกึ ษาและโครงการสง่ เสรมิ การอา่ นหลกั ๆ ทจ่ี ดั ทาำ โดย NLCY • โครงการการศกึ ษาต่อเนือ่ งสำาหรบั บรรณารกั ษ์หอ้ งสมุดเดก็ สถติ จิ ากกระทรวงวฒั นธรรม การกฬี าและการทอ่ งเทยี่ วของเกาหล ีพบวา่ เกนิ ครงึ่ หนึ่งของผู้ใช้ห้องสมุดสาธารณะเป็นเด็กและเยาวชน และพบว่าท่ัวประเทศมีการยืมหนังสือ กว่า 92 ล้านเล่มในปี พ.ศ. 2551 และ ร้อยละ 51 ของจำานวนของหนังสือท่ีถูกยืมเป็น หนังสือสำาหรับเด็ก ตัวเลขน้ีช้ีให้เห็นว่าการบริการเด็กๆ เป็นหน่ึงในการบริการท่ีสำาคัญท่ีสุด ของห้องสมุด ในขณะที่มีหนว่ ยงานดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสารและห้องสมุดในเกาหลีจำานวนไม่ก่ีแหง่ ท่ีเปิดหลักสูตรการสอนเก่ียวกับการบริการเด็กๆ เพียงสองหรือสามหลักสูตร ผู้ที่เข้าสู่ตลาด แรงงานในฐานะบรรณารักษ์ห้องสมุดเด็กตามห้องสมุดสาธารณะทั่วไป จึงเป็นผู้จบการ ศกึ ษาทไ่ี มม่ ีความรเู้ ชงิ ลึกและไม่มีความเขา้ ใจในการบริการเดก็ ด้วยเหตุนี้ โครงการการศึกษาต่อเนื่องจึงเป็นส่ิงจำาเป็นอย่างเร่งด่วนเพ่ือให้ บรรณารักษ์หอ้ งสมุดเดก็ ไดร้ บั ความรู้เพื่อปฏบิ ัตงิ านอยา่ งมอื อาชีพ ดังนั้น NLCY ได้กาำ หนด สิ่งที่บรรณารักษ์ห้องสมุดเด็กต้องการเรียนรู้และจัดทำาเป็นแผนกลยุทธ์สำาหรับโครงการ การศึกษาต่อเน่ือง ไม่เพียงเท่าน้ี NLCY ยังได้ทำาการวิเคราะห์เพ่ือปรับหลักสูตรการศึกษา ต่อเนื่องสำาหรับบรรณารักษ์ห้องสมุดเด็กให้ดีขึ้น จนในที่สุดเราได้พัฒนาหลักสูตรท้ังหมด 9 หลักสูตร ซ่ึงรวมถึง หลักสูตรการทำาความเข้าใจหนังสือเด็ก หลักสูตรการสร้างโปรแกรม สำาหรับเด็ก หลักสูตรการส่ือสารกับเด็ก หลักสูตรการทำาความเข้าใจวรรณกรรมเด็ก และ หลักสูตรการอ่านหนังสือภาพเชงิ ลึก หลักสตู รเหล่าน้ไี ด้ถกู ออกแบบโดยใช้ความร้ใู นสาขาหลกั ๆ เชน่ หนังสือเดก็ โครงการส่งเสริมการอ่านและทักษะการส่ือสารกับเด็ก โดยในระยะแรก เราเปิดหลักสูตร ฝึกอบรมเป็นกลุ่ม จากนั้นจึงได้พัฒนาเป็นหลักสูตรการเรียนการสอนผ่านโลกไซเบอร์ ทุกวันนี้ NLCY เน้นหลักสูตรการเรียนการสอนแบบออนไลน์เน่ืองจากได้รับการพิสูจน์แล้วว่าเป็นวิธี ที่ได้ผลมากกว่าสำาหรับบรรณารักษ์ท่ีมีอุปสรรคทางด้านเวลาและสถานท่ีทำาให้ไม่สามารถ เข้าร่วมหลกั สตู รฝึกอบรมเป็นกลมุ่ ได้ เรายงั มีการฝึกอบรมระยะสน้ั เพอื่ เสริมการอบรมทางดา้ น ปฏิบัติ ผลสำารวจความพึงพอใจในหลักสูตร พบว่าร้อยละ 87.2 ของผู้ถูกสำารวจกล่าวว่า 30 | อา่ นเขา อา่ นเรา
การฝึกอบรมช่วยพัฒนาให้พวกเขามีความเป็นมืออาชีพ และร้อยละ 75.4 ของผู้ถูกสำารวจ กล่าวว่าพวกเขาจะประยุกต์ส่ิงท่ีได้เรียนมาในการทำางานด้านห้องสมุด ผลสำารวจนี้ช้ีชัดว่า โครงการนป้ี ระสบผลสาำ เร็จเปน็ อย่างดี • โครงการอา่ นหนงั สอื กบั หอ้ งสมดุ (Reading Books with the Library) โครงการนไ้ี ดร้ บั การออกแบบเพอ่ื มงุ่ สง่ เสรมิ การอา่ นในเดก็ ดอ้ ยโอกาส โดยไดร้ บั ความร่วมมือจากห้องสมุดสาธารณะ 90 แห่งท่ัวประเทศ บรรณารักษ์หรือผู้สอนจะออก เย่ียมศูนย์สงเคราะห์เด็ก หรือศูนย์ดูแลเด็กเป็นประจำาทุกสัปดาห์ เพ่ือจัดโครงการส่งเสริม การอ่านและทำากิจกรรมหลังการอ่านร่วมกับเด็กๆ ด้อยโอกาสเหล่านี้ ในแต่ละปี NLCY ให้เงินสนับสนุนห้องสมุดที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าวแห่งละ 3,500 ดอลลาร์สหรัฐ ซึ่ง งบประมาณสว่ นใหญน่ ำาไปซอื้ หนงั สอื และจา้ งผสู้ อน โครงการนี้นับเป็นโครงการชว่ ยเหลอื ให้ เด็กด้อยโอกาสพัฒนานิสัยรักการอ่านและส่งเสริมจินตนาการของพวกเขาในห้องสมุด นอกจากนี้ยังเป็นการตัดวงจรอุบาทว์แห่งความยากจนด้วยการเพิ่มโอกาสการศึกษาเรียนรู้ และพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ และทักษะการอ่านให้ดีขึ้น เนื่องจากเด็กๆ ที่เข้าร่วม โครงการมาจากครอบครัวยากจน พวกเขาจึงเรียนช้ากว่าเด็กคนอ่ืนในช้ันเรียนและมี ความยากลำาบากในการพัฒนาด้านภาษา นอกจากนี้พวกเขายังมีแนวโน้มในการแสดงออก ถึงปัญหาบุคลิกภาพ เช่น เงียบขรึมหรือก้าวร้าว ในช่วงแรกของโครงการ เด็กๆ ไม่ได้ให้ ความสนใจกับบรรณารักษ์หรือการอ่านมากนัก แต่อย่างไรก็ตามเม่ือเวลาผ่านไประยะหน่ึง พวกเขาเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไป เด็กๆ เร่ิมมีความมั่นใจในการอ่านและ เพลิดเพลินกับชีวิตในโรงเรียน เมื่อพวกเขาเร่ิมมองโลกในแง่ดีข้ึน ผลท่ีตามมาคือพวกเขามี ทักษะการเข้าสงั คมดขี น้ึ ตัวอยา่ งความประทับใจของเดก็ ๆ ทเี่ ข้ารว่ มโครงการ “ครง้ั แรกเมอื่ ไดย้ นิ โครงการบาำ บดั ดว้ ยการอา่ น ผมคดิ วา่ มนั เปน็ โครงการทงี่ เี่ งา่ เพราะผมไม่ได้ป่วยเป็นโรคอะไรสักหน่อย เมื่อผมถามว่า “ทำาไมผมต้องเข้าโครงการบำาบัด ด้วยการอ่าน?” ครูบรรณารักษ์บอกผมว่า “มันจะช่วยให้เธอมีทัศนคติท่ีกว้างไกล มันจะ จรรโลงจิตใจของเธอด้วย” เราเร่ิมอ่านหนังสือและทำากิจกรรมที่สนุกสนานด้วยกัน ในช่วง แรกผมไม่ชอบกิจกรรมในห้องเรียน ครูท่ีสอนการอ่านก็มีความอดทนกับผมอย่างมาก ทำาให้ กลยุทธเ์ พ่ือการพฒั นาห้องสมดุ และการส่งเสรมิ การอา่ นในเดก็ และเยาวชนของประเทศเกาหล ี | 31
ผมค่อยๆ เรม่ิ ชอบการอา่ น สงิ่ ทที่ ำาใหผ้ มสนใจเปน็ พิเศษในระหวา่ งโครงการคอื การได้เรยี นรู้ ว่าคนพกิ ารดาำ เนนิ ชวี ติ อย่างไร ผมเหน็ ใจพวกเขาและตระหนักถึงความทา้ ทายและความยาก ลำาบากท่ีพวกเขาต้องเผชิญ ทุกวันนี้ผมสนใจการอ่านและรู้สึกว่าผมมีความภาคภูมิใจใน ตัวเองมากข้ึน ก่อนหน้าน้ีผมกลัวท่ีจะอ่านออกเสียงในชั้นเรียนแต่ตอนนี้ผมชอบอ่านออก เสียงดงั ๆ และชอบโรงเรยี นมากครบั ” “กอ่ นเขา้ รว่ มโครงการการอา่ นหนงั สอื หนไู มช่ อบอา่ นหนงั สอื เลยคะ่ และไมช่ อบ เข้าห้องสมุดด้วย แต่ตอนน้ีหนูกลายเป็นคนละคน หนูชอบอ่านหนังสือและเป็นคนท่ีชอบ สังคมและมีความมั่นใจมากข้นึ ค่ะ” “ตอนแรกหนปู ระหมา่ มากเมอ่ื เขา้ ชน้ั เรยี นแตไ่ มน่ านทกั ษะการอา่ นของหนเู รมิ่ ดขี นึ้ มากค่ะ และหนูได้พบหนังสือท่ีน่าสนใจมากมาย นอกจากนี้หนูยังอ่านหนังสืออย่างต่อเนื่อง ทัง้ ท่โี รงเรยี นและท่ีบา้ นคะ่ ” “เมอื่ กอ่ นผมไมช่ อบอา่ นหนงั สอื ครบั ผมวา่ มนั นา่ เบอื่ แตโ่ ครงการนที้ าำ ใหผ้ มชอบ อ่านหนังสือมากขึ้น ท่ีผมชอบเป็นพิเศษก็คือการเขียนบทวิจารณ์หนังสือพร้อมกับครูของผม เธอไดก้ รณุ าอธิบายคาำ ศพั ท์ที่ผมไม่รจู้ ัก ตอนนผ้ี มรู้คำาศพั ทม์ ากข้นึ เยอะเลยครบั ” โครงการนที้ าำ ใหเ้ ดก็ ดอ้ ยโอกาสเปลยี่ นแปลงในทางทดี่ ขี น้ึ หลายอยา่ ง รวมทง้ั ยงั เปดิ โอกาสให้บรรณารักษ์ได้มองงานของตนเองในมุมท่ีต่างออกไป แต่เดิมพวกเขาเคยคิดว่า ลูกค้าของพวกเขาคือผู้ท่ีเข้ามาใช้ห้องสมุด แต่ปัจจุบันพวกเขาเห็นว่าผู้ท่ีมีความยากลำาบาก ในการเข้าถึงห้องสมุดนั้นก็เป็นลูกค้ากลุ่มใหญ่อีกกลุ่มหน่ึงด้วย เม่ือเหล่าบรรณารักษ์เห็นว่า โครงการอ่านหนังสือน้ีสามารถเปล่ียนเด็กๆ ได้ พวกเขาก็หันมาตระหนักถึงความสำาคัญ ของการอ่านอีกครั้ง และพบว่างานของพวกเขาเป็นงานที่มีความหมายและน่าพอใจ แม้ว่าห้องสมุดเหล่านี้ยังไม่มีการสนับสนุนทางการเงินท่ีถาวรจาก NLCY แต่ห้องสมุดเองก็ เต็มใจท่จี ะเจยี ดงบประมาณส่วนหนง่ึ เพอื่ ทาำ โครงการนต้ี อ่ 32 | อา่ นเขา อ่านเรา
•การผจญภยั ในหอ้ งสมดุ โดยหนอนหนงั สอื อายุ13-18ปี(LibraryAdventure by Bookworms aged 13 to 18) เดก็ นกั เรยี นมธั ยมตน้ และปลายทชี่ นื่ ชอบการอา่ นตอนเปน็ เดก็ มกั จะมเี วลาอา่ น หนงั สอื น้อยลงเมอ่ื ตอ้ งเรยี นหลายวิชาและมีการบ้านมากขนึ้ โครงการนี้ออกแบบโดย NLCY และได้กระจายสู่ห้องสมุดโรงเรียนทั่วประเทศ หนอนหนังสือวัยรุ่นมีบทบาทในการสร้าง รายการชื่อหนงั สอื แนะนาำ โดยที ่ NLCY จะผลติ โปสเตอร์รายการช่ือหนังสอื แนะนำาทเี่ รยี กว่า “แผนท่ผี จญภยั ในห้องสมุดโดยหนอนหนงั สอื อายุ 13-18 ป”ี ซง่ึ มีการต์ นู ท่วี าดโดยเยาวชน เหล่านี้เป็นส่ือ การมีส่วนร่วมของเยาวชนมีส่วนเร้าให้เพื่อนๆ ของพวกเขาสนใจการอ่าน มากข้ึน เพราะว่าวัยรุ่นมักจะได้รับอิทธิพลจากกลุ่มเพื่อนด้วยกันเองมากกว่าจากผู้ปกครอง ครู หรือบรรณารักษ์ โครงการน้ีเป็นโครงการท่ีสร้างสรรค์และดำาเนินการโดยนักเรียนเป็น สว่ นใหญ่ หนอนหนงั สอื เหลา่ นป้ี ระกอบดว้ ยนกั เรยี นกวา่ 800 คนทเ่ี ปน็ นกั อา่ นตวั ยง และได้ รับเลือกให้แนะนำาหนังสือแก่เพื่อนๆ ภายใต้ 9 ประเด็นท่ีพวกเขาสนใจ เช่น “อนาคตของ ฉนั ” “เพศและความรัก” “เพื่อน” “โลกของเรา” “ความหมายของครอบครัว” “ความลับ แห่งชวี ิต” และ “ทุกอยา่ งทีเ่ ราทำาคอื ศิลปะ” ชมุ ชนออนไลนจ์ ดั ทาำ ข้นึ เพื่อเออื้ ปฏิสัมพันธใ์ น หมู่ผู้ร่วมโครงการ ซ่ึงพวกเขาสามารถเขียนบทวิจารณ์หนังสือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น กันได้ ในแต่ละปีมีนักเรียนระดับมัธยมต้นและปลายจำานวน 40 คน ได้รับเลือกให้เป็นผู้จัด ทำาโครงการนี ้ และโรงเรียนแต่ละแหง่ ได้รบั เงนิ สนับสนุนจาก NLCY จำานวน 2,000 ดอลลาร ์ เงินงบประมาณคร่ึงหน่ึงนำาไปซ้ือหนังสือและส่วนที่เหลือนำาไปจัดกิจกรรมต่างๆ โครงการนี้ มีส่วนอย่างมากในการสร้างบรรยากาศการอ่านโดยสมัครใจในชีวิตประจำาวันของเยาวชน และยังมีส่วนในการส่งเสริมห้องสมุดของโรงเรียน มีบรรณารักษ์และครูจำานวนมากข้ึนท่ีให้ บริการคำาปรึกษาด้านการอ่านแก่นักเรียนเป็นรายบุคคลโดยใช้ประโยชน์จากรายการ ช่ือหนังสือแนะนำานี้ ไม่เพียงเท่าน้ี โครงการน้ียังช่วยสร้างภาพลักษณ์ท่ีดีข้ึนให้กับห้องสมุด ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการเพ่ือดงึ ดูดใหน้ กั เรยี นใชห้ ้องสมุดมากข้นึ กลยทุ ธเ์ พื่อการพัฒนาหอ้ งสมุดและการส่งเสรมิ การอา่ นในเด็กและเยาวชนของประเทศเกาหลี | 33
• โครงการพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู การอา่ นใหก้ บั ครอบครวั หลากวฒั นธรรม (Development and Distribution of Reading Content for Multicultural Families) เมอ่ื มจี าำ นวนแรงงานจากตา่ งประเทศเขา้ มาทาำ งานในเกาหลมี ากขน้ึ รวมทงั้ มกี าร แต่งงานข้ามวัฒนธรรม ทำาให้เกาหลีเปลี่ยนจากสังคมวัฒนธรรมเดียวเป็นสังคมหลาก วัฒนธรรม เรามักจะพบว่าเด็กที่เกิดจากคุณแม่ต่างชาติจะประสบความลำาบากในด้านการ พูดและพัฒนาทางภาษา เด็กๆ เหล่านี้เรียนไม่ทันเพื่อนและมีพฤติกรรมท่ีเงียบขรึมหรือไม่ก็ มีพฤติกรรมรุนแรงกว่าเด็กทั่วไป ด้วยเหตุนี้จึงมีความจำาเป็นที่ห้องสมุดต้องให้การบริการ เฉพาะแก่เด็กจากครอบครัวหลากวัฒนธรรม เพื่อให้พวกเขามีการพัฒนาด้านภาษาและ ทักษะการอ่านที่ดีขึ้น NLCY จึงได้ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยวิสคอนซิน เมืองมิลเวากี (University of Wisconsin, Milwaukee) ประเทศสหรฐั อเมรกิ า จดั ทาำ หนงั สือนทิ านและ ดีวีดีแจกจ่ายให้แก่ห้องสมุดสาธารณะและศูนย์วัฒนธรรมต่างๆ ทั่วประเทศ เพ่ือให้บริการ แก่ผู้ใช้ห้องสมุดหลากวัฒนธรรม หนังสือภาพสำาหรับเล่านิทานของเกาหลีได้รับการแปลเป็น ภาษาอังกฤษ และภาษาต่างๆ เช่น ภาษาเวียดนาม ไทย มองโกเลีย และจีน และในท้าย ท่ีสุดหนังสือภาพเหล่านี้ได้รับการแปลงให้เป็นการ์ตูนแอนิเมช่ันในรูปของดีวีดี เพ่ือให้เด็กได้ เพลิดเพลินอีกด้วย จวบจนปัจจุบันเราได้จัดทำาข้อมูลหนังสือนิทานกว่า 150 เร่ืองและ วางแผนทจ่ี ะทำาอีกกวา่ 130 เรอื่ งในปีนี้ คนท่วั ไปสามารถหาอ่านขอ้ มูลเหล่านไ้ี ด้จากเวบ็ ไซต์ ของหอ้ งสมุดโดยไม่ตอ้ งเสียคา่ ใชจ้ า่ ยใดๆ • โครงการสมดุ ธนาคารหนงั สอื (Reading Bankbook Program) โครงการสมดุ ธนาคารหนงั สอื มงุ่ สง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มนี สิ ยั รกั การอา่ น โครงการนม้ี กี ารใช้ ชิป RFID ซ่ึงแผ่นปา้ ย RFID จะถูกตดิ ไวก้ ับหนังสือทกุ เล่มของ NLCY เดก็ ๆ สามารถทราบ จากสมดุ ธนาคารหนังสอื ว่าพวกเขายมื หนังสอื เลม่ ใด เม่ือไร และยมื ไปแล้วกเ่ี ล่ม โครงการน้ี ประสบความสำาเร็จอย่างงดงามหลังจากที่ได้เปิดตัวไป เด็กๆ จะถือว่าสมุดธนาคารหนังสือ เปน็ สมบตั สิ ่วนตัวท่สี ำาคญั พวกเขามีแนวโน้มท่จี ะอยู่ในหอ้ งสมดุ นานขึ้นและอา่ นมากขึ้นเพื่อ ทาำ สถติ ิการอา่ นให้มากขึ้น นบั ไดว้ า่ โครงการน้ีชว่ ยให้เดก็ ๆ มีความมั่นใจมากขึน้ เมื่อพวกเขา สามารถสร้างสถิติใหม่ในสมุดธนาคารหนังสือ ผู้เขียนรายงานน้ีมักพบเด็กๆ เลือกหนังสือที่ อ่านง่ายหรือหนังสือเล่มบางเพื่อสร้างสถิติให้เร็ว แต่ในภายหลังพวกเขาตัดสินใจอ่านหนังสือ 34 | อ่านเขา อ่านเรา
ทเ่ี หมาะกบั วยั ของตนเองมากขน้ึ และตอบสนองความสนใจในการอา่ นของพวกเขาไดใ้ นทส่ี ดุ • โครงการสอนอา่ นหนงั สอื ของหอสมดุ แหง่ ชาติ (National Public Library Reading Class) NLCY ได้จัดทาำ คมู่ ือการสอนอ่านหนงั สือ และแจกจ่ายคูม่ ือน้ีใหแ้ กห่ ้องสมุด สาธารณะทั่วประเทศ เพื่อการสอนที่มีประสิทธิภาพ ห้องสมุดทำาการจัดอบรมการสอนอ่าน หนังสือโดยมุ่งเป้าไปที่บรรณารักษ์ห้องสมุดเด็กปีละสองคร้ังโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใดๆ ซ่ึง ช่วยพัฒนาความเป็นมืออาชีพให้กับบรรณารักษ์ ต้ังแต่ปี 2553 เราจัดทำาโปสเตอร์เชิญชวน บรรณารักษ์เข้าอบรมสอนการอ่านในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาว และแจกจ่ายไปยังห้องสมุด สาธารณะต่างๆ โดยมีรางวัลจากประธานผู้บริหารของหอสมุดแห่งชาติเกาหลีและ NLCY มอบให้แก่นักเรียนที่จบหลักสูตรการสอนภาคฤดูร้อนและฤดูหนาวที่มีผลการเรียนดีเด่น นอกจากนี้ ยังมีรางวัลจากกระทรวงวัฒนธรรม การกีฬาและการท่องเท่ียวมอบให้กับผู้นำา ดีเด่นจำานวน 30 คน เช่น บรรณารักษ์ ครู และผู้เชี่ยวชาญที่เก่ียวข้องที่มีความเป็นผู้นำาสูง หอ้ งสมดุ สาธารณะท่ีเขา้ ร่วมโครงการอบรมนี้มีจาำ นวนเพิม่ ขึน้ อย่างตอ่ เนือ่ งทกุ ปี ผลที่ไดร้ บั จากสถติ กิ ารอา่ นแหง่ ชาตปิ ี2553 ชใ้ี หเ้ หน็ วา่ การสง่ เสรมิ การอา่ นและความพยายาม ในการพัฒนาห้องสมุดของภาครัฐและภาคเอกชนตั้งแต่ปี 2543 น้ันไม่ได้สูญเปล่า จากสถิติ พบว่าอัตราการอ่านหนังสือของเด็กและเยาวชนอยู่ในระดับสูงสุดหลังจากที่มีการสำารวจ คร้ังแรกในป ี 2536 จำานวนหนังสือที่เดก็ เกาหลแี ต่ละคนอา่ นเพม่ิ จาก 11.6 เล่ม [โดยเฉลย่ี ] ต่อเทอมในปี 2545 เป็น 16.5 เล่มต่อเทอมในปี 2553 ในขณะท่ีมีผู้ใช้ห้องสมุดสาธารณะ ที่เปน็ เดก็ เพิม่ จากรอ้ ยละ 54.3 ในป ี 2545 เป็น ร้อยละ 71.5 ในปี 2553 ปัจจัยที่สำาคัญของ ตัวเลขที่เพ่ิมข้ึนน้ีคือบรรยากาศท่ีดีขึ้นของห้องสมุดเด็ก และการปรับปรุงพ้ืนท่ีของเด็กใน ห้องสมุดสาธารณะต่างๆ ตลอดจนการสร้างห้องสมุดสำาหรับเด็กและห้องสมุดขนาดเล็ก แหง่ ใหม่ๆ กลยุทธเ์ พ่ือการพฒั นาหอ้ งสมดุ และการสง่ เสริมการอ่านในเดก็ และเยาวชนของประเทศเกาหล ี | 35
ปจั จยั ทส่ี าำ คญั อกี ปจั จยั หนง่ึ คอื โครงการอา่ นหนงั สอื 10 นาทใี นตอนเชา้ มเี ดก็ นกั เรยี นระดบั มธั ยมตน้ และปลายกวา่ ครง่ึ หนง่ึ ของจาำ นวนทม่ี อี ยทู่ ว่ั ประเทศเขา้ รว่ มโครงการน้ี พวกเขาอ่านหนังสือ 20.3 เล่มต่อเทอม ในขณะที่นักเรียนท่ีไม่ได้เข้าร่วมโครงการอ่านเพียง 11.8 เล่มตอ่ เทอมเทา่ น้ัน ตัวเลขนี้ช้ชี ดั ว่าโครงการอ่านหนังสือในตอนเช้าไดผ้ ลในการพัฒนา นิสัยการอ่านของเด็กและกระตุ้นให้พวกเขาอ่านมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีจำานวน เด็กนักเรียนระดับประถมและมัธยมเข้าห้องสมุดมากท่ีสุดต้ังแต่ปี 2545 เน่ืองจากมีจำานวน ห้องสมุดและจำานวนชุดหนังสือเพ่ิมมากข้ึน รวมท้ังบรรณารักษ์ห้องสมุดเด็กมอบการบริการ ที่ดีขึ้นแก่ผู้ใช้ห้องสมุดวัยเยาว์ ย่ิงไปกว่านี้ NLCY และห้องสมุดสาธารณะยังจัดหาโครงการ ตา่ งๆ เพ่ือสง่ เสริมความสาำ คญั ของการอ่าน สรุป ในสงั คมยคุ ขา่ วสารขอ้ มลู ไมเ่ พยี งแตก่ ารแขง่ ขนั ในระดบั ปจั เจกบคุ คล แตย่ งั รวมถงึ การแข่งขันระดับประเทศที่ต้องใช้ข้อมูลความรู้เป็นพลังสำาคัญ ห้องสมุดแบกรับหน้าที่สำาคัญ ในการเพ่ิมสมรรถนะในการแข่งขันของประเทศ ห้องสมุดควรมีบรรยากาศการอ่านที่ น่ารื่นรมย์ เพ่อื ให้ผ้ใู ช้รวมท้งั ผ้ทู ่มี ีอุปสรรคในการเข้าถึงห้องสมุดสามารถใช้ห้องสมุดได้อย่าง เทา่ เทยี มกนั และเพ่ือเป็นทสี่ านความฝันและอนาคตของพวกเขา เมอื่ หนงั สอื “การเรยี นรอู้ ยา่ งมหศั จรรยท์ ห่ี อ้ งสมดุ ” (Miraculous Learning at Library) ตพี มิ พ์ในปี 2548 ไดส้ ร้างความประหลาดใจให้กับบรรดาครอบครัวในสงั คมเกาหลี ที่ได้ใช้จ่ายเงินจำานวนมากไปกับการศึกษาภาคเอกชน ผู้เขียนหนังสือเล่มนี้เล่าประสบการณ์ ของเธอเองในการให้การศึกษาแก่ลูกๆ โดยไม่ได้พึ่งการศึกษาภาคเอกชน แต่ใช้ประโยชน์ จากห้องสมุด เธอบนิ ไปเรียนประวตั ิศาสตร์ศิลปท์ ่กี รงุ ปารีส โดยมีลกู สาวอายุ 6 ขวบตามไป ด้วย ลูกของเธอไม่เข้าใจภาษาฝร่ังเศสแม้แต่คำาเดียว แต่หลังจากเข้าร่วมโครงการเล่านิทาน ท่ีจัดทำาโดยห้องสมุดสาธารณะแห่งหน่ึงในกรุงปารีสเป็นประจำาทุกวัน เป็นเวลา 18 เดือน ลกู ของเธอสามารถเขา้ ใจภาษาฝรง่ั เศสเปน็ อย่างดี หลงั จากทเ่ี ธอกลบั ประเทศเกาหล ีเธอพาลกู สาวคนทส่ี องทมี่ ปี ญั หาการพดู ภาษา เกาหลีไปเข้าห้องสมุดสาธารณะและอ่านหนังสือให้ลูกของเธอฟัง ต่อมาลูกสาวของเธอเรียน 36 | อ่านเขา อา่ นเรา
ภาษาเกาหลีได้โดยไม่ยากลำาบาก หลังจากที่ประสบความสำาเร็จในการเรียนด้านภาษาจาก ห้องสมุด เธอให้ลูกสาวของเธออ่านหนังสือเด็กที่เกี่ยวข้องกับวิชาในโรงเรียน ตัวอย่างเช่น เธอจะส่งเสริมให้ลูกๆ ของเธออ่านหนังสือท่ีเกี่ยวกับวิชาคณิตศาสตร์ มากกว่าท่ีจะให้ลูกๆ ทำาแบบฝึกหัดคณิตศาสตร์ ซึ่งเป็นความคิดท่ีดีในการทำาให้แนวคิดทางคณิตศาสตร์เป็นเรื่อง ที่น่าสนุก ผู้เขียนหนังสือฯ อ้างว่าการอ่านสามารถเป็นครูท่ีดีที่สุดและเด็กๆ สามารถเรียนรู้ และเขา้ ใจวชิ าต่างๆ จากการอา่ นหนังสอื ทเี่ ก่ยี วเน่ืองกบั วิชาในโรงเรียนได้ นอกจากนเ้ี ธอยงั ยกยอ่ งใหห้ อ้ งสมดุ เปน็ หนงึ่ ในสถาบนั การศกึ ษาทดี่ ที ส่ี ดุ ทเ่ี ตม็ ไป ด้วยแหล่งข้อมูลและเครื่องมือในการสร้างความรู้ หากเราสร้างห้องสมุดเด็กท่ีน่าร่ืนรมย์และ จัดทำาโครงการส่งเสริมการอ่านให้มากข้ึน จะเป็นการเอื้อประโยชน์ต่อการแข่งขันของ ประเทศในอนาคต เพราะว่าอนาคตของเราขึ้นอย่กู บั เดก็ ๆ วิธีหน่งึ ท่ีเราจะไดป้ ระโยชนส์ งู สดุ จากการลงทุนคือการเสริมสร้างความสามารถพิเศษให้กับเด็กๆ ผลการเรียนในระดับท่ีดีของ นักเรียนเกาหลี รวมทั้งการท่ีเด็กเกาหลีได้รับการจัดอันดับให้เป็นท่ีสองในโครงการประเมิน ผลนักเรียนนานาชาติในกลุ่มประเทศสมาชิกองค์การเพื่อการพัฒนาและความร่วมมือทาง เศรษฐกิจ (Organization for Economic Co-operation and Development หรือ OECD) ในปี 2553 นั้น ไม่ใช่ความสำาเร็จในชั่วข้ามคืน แต่เป็นผลจากการลงทุนและ ความใส่ใจอยา่ งตอ่ เน่ืองตลอดมา กลยทุ ธเ์ พอื่ การพัฒนาห้องสมุดและการสง่ เสรมิ การอ่านในเดก็ และเยาวชนของประเทศเกาหล ี | 37
ไม่สำ�คัญว�่ พวกเข�จะอ�่ นอะไร ไมว่ �่ จะเปน็ นทิ �น หรอื ก�ร์ตนู ญี่ปุน่ ตร�บใดทเ่ี ด็กๆ เร่ิมต้นอ�่ นน่นั คือจุดเร่มิ ต้นทดี่ แี ลว้ นิสัยรักก�รอ่�นน้ีจะเติบโตอย่ภู �ยในตวั เด็กๆ และท�้ ยท่ีสุดพวกเข�กจ็ ะอ�่ นทุกอย่�งทข่ี ว�งหน้�
อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ : ความคดิ รเิ ริม่ ระดับรากหญ้านาำ เดก็ ๆ ในอนิ โดนเี ซียตะวันออกสู่โลกแห่งจนิ ตนาการ นลิ า แทนซลิ (Nila Tanzil) 1. บทนาำ อินโดนีเซียเป็นประเทศหมู่เกาะท่ีมีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วยหมู่เกาะ น้อยใหญก่ ว่า 17,000 เกาะ และเป็นท่อี ยูอ่ าศยั ของประชากรกวา่ 245 ล้านคน ซง่ึ ประกอบ ด้วย 350 ชาตพิ นั ธแุ์ ละมภี าษาพ้นื เมอื งกวา่ 800 ภาษา และเป็นหน่งึ ในประเทศท่ีมชี ่องว่าง ทางสังคมและเศรษฐกิจที่กว้างที่สุดแห่งหน่ึงของโลก มีตั้งแต่ชาวนาในชนบทที่มีรายได้เพียง วันละสองเหรียญสหรัฐไปจนถึงเศรษฐีพันล้านที่อาศัยอยู่ในนครใหญ่ๆ อินโดนีเซียเป็น ประเทศท่ีมีประชากรหนาแน่นที่สุดเป็นอันดับ 5 ของโลกด้วยประชากรกว่า 240 ล้านคน และปัญหาหลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นประเด็นความแตกแยกในสังคมไปจนถึงข้อพิพาท ทางการเมือง จากมุมมองทางเศรษฐกิจจะเห็นว่าชาวอินโดนีเซียกว่า 100 ล้านคนมีรายได้ เพยี งวนั ละสองเหรยี ญสหรฐั หรอื ตาำ่ กวา่ นน้ั และผยู้ ากไรช้ าวอนิ โดนเี ซยี ในชนบทไมม่ นี าำ้ สะอาด เพื่อการอุปโภคบริโภค ตัวเลขอันน่าตกใจนี้ทำาให้เกิดคำาถามขึ้นว่า การศึกษาเป็นประเด็นที่ สำาคัญท่ีสุดที่อินโดนีเซียกำาลังเผชิญอยู่หรือไม่ รัฐบาลสามารถตอบสนองความต้องการของ ประชาชนชายขอบผู้ด้อยโอกาสและมอบความเท่าเทียมทางการศึกษาให้กับผู้ท่ีอาศัยอยู่ใน พน้ื ท่ีห่างไกลหรือไม่ หรือวา่ นัน่ เป็นเร่ืองที่สาธารณชนต้องดาำ เนนิ การเอง ในปี พ.ศ. 2537 รัฐบาลอินโดนีเซียดำาเนินการคร้ังใหญ่ไปในทิศทางท่ีสมควร ด้วย การประกาศนโยบาย “เรียนฟรี 9 ปี” ซึ่งหมายความว่านักเรียนประถม 1 ถึงมัธยม 3 ใน แปลจาก “Rainbow Reading Gardens: A Grassroots Initiative Encouraging Children in Eastern Indonesia to Tap Into Their Imaginations” นำาเสนอในงานประชุมวชิ าการ Thailand Conference on Reading 2013 วันท่ี 21-22 มีนาคม 2556 อทุ ยานการอา่ นสายรุ้ง | 39
โรงเรยี นของรฐั จะไดเ้ รยี นหนงั สอื โดยเทา่ เทยี มกนั โดยไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ย แตค่ วามเปลย่ี นแปลงน้ี มิได้เป็นไปอย่างราบรื่นเนื่องจากในความเป็นจริงแล้วผู้ปกครองยังคงต้องซ้ือเครื่องแบบและ หนังสือเรียน ท้ังยังมีค่าใช้จ่ายนอกเหนือจากน้ัน เช่น ค่าลงทะเบียน ค่าบำารุงรักษาอาคาร ซ่ึงเม่ือรวมกันแล้วจะเป็นเงินจำานวนมากกว่าท่ีผู้ปกครองในชนบทที่มีรายได้เพียงวันละ สองเหรียญสหรัฐจะจ่ายไหว ด้วยเหตุนี้ตัวเลขที่กระทรวงศึกษาธิการเปิดเผยเม่ือปี พ.ศ. 2553 จงึ แสดงให้เห็นว่า ในอินโดนเี ซยี มีผู้ออกจากโรงเรยี นกลางคันท่ีมอี ายุระหวา่ ง 7-15 ปี ถึง 1.3 ล้านคน มีเด็กผู้ด้อยโอกาสเพียงร้อยละ 55 ที่สำาเร็จการศึกษาระดับมัธยมต้น จากการที่มีรายไดเ้ พยี งวนั ละสองเหรยี ญสหรฐั ทาำ ใหผ้ ปู้ กครองสว่ นใหญไ่ มส่ ามารถสง่ ลกู ๆ ไป “เรยี นฟร”ี ได้ ในบรรดา 33 จังหวดั ของอินโดนีเซีย อินโดนีเซยี ตะวันออกเปน็ ทีอ่ ยอู่ าศัยของกลมุ่ ผ้ไู ม่รู้หนงั สอื (illiteracy) ท่มี อี ตั ราสงู ทีส่ ดุ 4 กลมุ่ ไดแ้ ก่ ปาปัว (รอ้ ยละ 36.1) นุสาเตง็ การา ตะวันตก (ร้อยละ 16.48) สุลาเวสีตะวันตก (ร้อยละ 10.33) และนุสาเต็งการาตะวันออก (ร้อยละ 10.13) 1 โครงสร้างพื้นฐานและทรัพยากรมนุษย์ที่จำากัดส่งผลโดยตรงต่อตัวเลขท่ี น่าตกใจนี้ ผู้ที่อาศัยอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลความเจริญในอินโดนีเซียตะวันออกใช้ชีวิตที่เรียบง่าย โดยไม่มีแม้ไฟฟ้าและน้ำาประปา จึงไม่ต้องพูดถึงว่าจะมีโรงเรียนในหมู่บ้านหรือไม่ นักเรียน ช้ันประถมส่วนใหญ่ต้องเดินไปโรงเรียนทุกเช้า บางคนต้องเดินเป็นระยะทางถึงสองกิโลเมตร หากนักเรียนเหล่าน้ีจบการศึกษาและต้องการเรียนต่อในระดับมัธยมต้น บรรดาพ่อแม่ต้อง ส่งลูกของตนไปยังหมู่บ้านท่ีใหญ่กว่าและให้ไปอาศัยอยู่กับญาติ ครอบครัวส่วนใหญ่ไม่อาจ สูญเสียแรงงานช่วยทำางานในไร่หรือในบ้านได้และย่อมไม่สามารถจ่ายค่าท่ีพักค่ากินอยู่และ คา่ เดนิ ทางในหมูบ่ า้ นขา้ งเคียงได้ ภาษาพ้ืนบ้านเองก็เป็นอีกสาเหตุหน่ึงที่ทำาให้อัตราการไม่รู้หนังสือในอินโดนีเซียสูง อย่างน่าตกใจ มีการกำาหนดให้ใช้ภาษาประจำาชาติของอินโดนีเซียหรือที่เรียกว่าบาฮาซา อนิ โดนเี ซียเป็นภาษากลางทัว่ ประเทศมาตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2471 หากนอกโรงเรยี น โรงพยาบาล 1 กระทรวงการศึกษาและวัฒนธรรม, 2555 40 | อ่านเขา อา่ นเรา
และหน่วยงานราชการแล้ว แทบจะไม่มีผู้ใช้เลย เนื่องจากโครงสร้างพ้ืนฐานที่มีจำากัดและ ทรัพยากรมนุษย์ท่ีอาศัยกระจายตัวในพื้นที่ท่ีห่างไกลมหานคร ผู้คนจึงต่างใช้ภาษาพ้ืนเมือง ของตนเองซ่ึงแตกต่างกันไปในแต่ละหมู่บ้าน อุปสรรคทางภาษานี้เองทำาให้เด็กๆ ในพ้ืนที่ ห่างไกลท่ีใช้ภาษาพ้ืนเมืองของตนเองทุกหนทุกแห่งยกเว้นในห้องเรียนต้องประสบปัญหาใน การเรยี น ไมส่ ามารถเขยี นและอา่ นภาษาทป่ี รากฏในหนงั สอื เรยี นทร่ี ฐั บาลกาำ หนดไดอ้ ยา่ งมน่ั ใจ หนังสอื เรยี นในโรงเรียนรัฐลว้ นเขยี นเปน็ ภาษาบาฮาซาอินโดนเี ซียและไม่ใช่ภาษาพนื้ เมือง 2. ทมี่ าของอทุ ยานการอ่านสายรงุ้ ก. อุทยานการอ่านสายรงุ้ คืออะไร ทามาน บาคาน เพลงั หง ิ (อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ ) เปน็ ความรเิ รม่ิ ของอาสาสมคั รเพอ่ื จัดการกับปัญหาการไม่รหู้ นังสือของบุคคลระดับรากหญ้า อุทยานการอ่านสายรุ้งเป็นองค์กรท่ีไม่หวังผลกำาไรท่ีจัดตั้งห้องสมุดข้ึนในหมู่บ้าน ในพื้นทีห่ ่างไกลในอนิ โดนเี ซียตะวนั ออก ภารกจิ ขององค์กรคือสนับสนนุ ให้เด็กๆ สนใจการอา่ น และจัดหาหนังสือที่มีคุณภาพสำาหรับเด็ก โดยจะเน้นท่ีเด็กอายุ 5-13 ปีท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ี ห่างไกลในอนิ โดนเี ซยี ตะวันออก เด็กๆ ท่ีอาศัยอยู่ในพ้ืนที่ห่างไกลเหล่านี้มีโอกาสจำากัดที่จะได้อ่านหนังสือสำาหรับ เด็กท่ีมีคุณภาพหรือไม่มีโอกาสเลย โรงเรียนส่วนใหญ่ไม่มีห้องสมุด และถึงมีห้องสมุดก็จะมี แต่หนังสือเรียน และน่าเศร้าท่ีว่าครูมักจะปิดห้องสมุดใส่กุญแจ และเปิดให้นักเรียนเข้าไป ใชไ้ ดเ้ ฉพาะช่วงพกั เท่านั้น จงึ ไมเ่ ป็นการปลกู ฝงั ให้นักเรยี นรักการอ่าน อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ แห่งแรกตัง้ ขน้ึ เมอ่ื วันท ี่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ที่หมบู่ า้ นโร ในมงั การายตะวนั ตก เขตฟลอเรส จงั หวดั นสุ าเตงการาตะวนั ออก ซง่ึ นบั วา่ เปน็ ทต่ี ง้ั ทเ่ี หมาะสม มากเนอ่ื งจากโรงเรยี นประถมของรฐั ทต่ี ง้ั อยใู่ นหมบู่ า้ นมนี กั เรยี นเพยี ง 90 คน การทม่ี นี กั เรยี น จำานวนน้อยน้ีเองทำาให้การริเร่ิมห้องสมุดแห่งแรกของโครงการอุทยานการอ่านสายรุ้งเป็น เรือ่ งง่ายข้ึน อุทยานการอา่ นสายรงุ้ | 41
ข. แนวคดิ แนวคิดของอุทยานการอ่านสายรุ้งคือห้องสมุดท่ีเต็มไปด้วยหนังสือสำาหรับเด็ก ไม่ เกบ็ คา่ บรกิ าร และตง้ั อยใู่ จกลางชมุ ชนหรอื หมบู่ า้ น หอ้ งสมดุ นจ้ี ะเปน็ สถานทท่ี เ่ี ดก็ ๆ สามารถ อ่านได้อย่างสะดวกสบายและมีความสุขกับหนังสือโดยไม่มีครูคอยส่ังว่าต้องอ่านอะไรและ กดดันให้อ่านหนังสือเล่มนั้นเล่มน้ี เด็กๆ สามารถเลือกอ่านหนังสือได้หลากหลายประเภท เพ่อื สร้างความรู้สึกทีด่ เี ก่ยี วกับการอา่ น ห้องสมุดอทุ ยานนอี้ าจตง้ั อยทู่ บ่ี า้ นของหมอ นกั บวช หัวหน้าหมู่บ้านหรือศูนย์กลางชุมชนหรือศูนย์กลางวัฒนธรรมก็ได้ ดังนั้นเด็กๆ จึงจะรู้สึก ผ่อนคลายและเพลิดเพลินกับหนังสือบนสนามหญ้าหรือริมทะเลได้ เด็กๆ จะอ่านหนังสือ ได้ท่ีบริเวณห้องสมุดเท่านั้นและจะไม่ได้รับอนุญาตให้ยืมหนังสือกลับบ้านได้ ทั้งนี้เพื่อ ปอ้ งกนั ไมใ่ หห้ นงั สอื เสียหายจากน้ำาเค็มหรอื หล่นลงในทอ้ งนาระหว่างเดนิ กลบั บ้าน หอ้ งสมดุ อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ บรหิ ารจดั การโดยชมุ ชนพน้ื บา้ น โดยห้องสมุดจะเป็น ผจู้ ดั หาหนงั สอื จำานวน 500-1,500 เล่มและให้อาสาสมัครของชมุ ชนเป็นผู้ดแู ลพื้นที่การอา่ น และเรียนรู้ ความร่วมมือลักษณะนี้จะทำาให้โครงการเกิดความยั่งยืน ชาวบ้านเองก็จะต้อง รับผิดชอบในด้านการประสานงานและการหมุนเวียนหนังสืออย่างสมำ่าเสมอระหว่างห้องสมุด ต่างๆ ดังน้นั อทุ ยานการอ่านสายร้งุ แต่ละแห่งจะมีหนังสอื ใหมๆ่ หมุนเวยี นทกุ ๆ 6 เดือน เนื่องจากการดำาเนินการห้องสมุดนี้อยู่ในลักษณะองค์กรระดับรากหญ้าและมี งบประมาณจำากัดจึงต้องพ่ึงพาอาสาสมัครเป็นหลัก ผู้ที่มีส่วนร่วมท้ังหมดต่างทำางานด้วย จิตอาสาและไม่ได้รับค่าตอบแทน อาสาสมัครเป็นเสมือนเส้นเลือดหลักที่ทำาให้โครงการ มีชีวิตอยู่ได้ ข้อเสียประการหน่ึงของระบบอาสาสมัครคือเรื่องความมุ่งมั่นทุ่มเท เน่ืองจาก การดูแลห้องสมุดมิใช่แหล่งรายได้ของอาสาสมัครซ่ึงแน่นอนว่ารายได้ประจำาย่อมเป็นส่ิง สำาคัญกว่าและการจัดการห้องสมุดสำาคัญเป็นอันดับรอง แต่ข้อดีของระบบอาสาสมัครก็คือ ต้นทุนคา่ ดาำ เนนิ งานตาำ่ เนอ่ื งจากไมต่ อ้ งจา่ ยเงนิ ใหก้ บั เจา้ หนา้ ทป่ี ระจาำ หอ้ งสมดุ 25 แหง่ เปน็ ประจำาทุกเดือน ระบบนี้จึงเป็นระบบที่ดีท่ีสุดสำาหรับองค์กรขนาดเล็กเช่นอุทยานการอ่าน สายรุ้ง ในขณะเดียวกัน การที่ห้องสมุดต้ังอยู่ในหมู่บ้านที่ห่างไกลและเข้าถึงหนังสือดีๆ ได้ ยาก อาสาสมัครจึงรู้สึกต่ืนเต้นที่จะได้มีโอกาสนำาหนังสือดีมีคุณภาพเข้ามายังหมู่บ้านของตน 42 | อ่านเขา อา่ นเรา
และมีความกระตือรือร้นท่ีจะเข้าร่วมเป็นอาสาสมัคร ชาวบ้านมักเรียกห้องสมุดนี้ว่า “แสง สว่าง” ในความมืด เป็นการนำาความหวังถึงอนาคตท่ีสดใสมาให้บุตรหลานของตนและของ เพ่ือนบ้าน การท่ีเด็กๆ ได้เข้าถึงหนังสือท่ีห้องสมุดจัดหาไว้ให้เป็นการเปิดประตูสู่โลกแห่ง จนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ของเดก็ ๆ แตล่ ะคน ผคู้ นทม่ี สี ว่ นในการบรหิ ารจดั การหอ้ งสมดุ ไมว่ า่ จะเปน็ คร ู หมอ หรอื ผนู้ าำ ทางศาสนา ล้วนมีความมุ่งมั่นอย่างแรงกล้าท่ีจะสนับสนุนให้เกิดการศึกษา แต่กระนั้นก็ตาม “ผู้จัดการ” หอ้ งสมดุ ทด่ี ที ส่ี ดุ และเปน็ แรงบนั ดาลใจมากทส่ี ดุ หลายๆ คนเปน็ ชาวนา ชาวประมง หรอื วยั รุ่น ท่ีมีความกระหายในหนังสือและเข้าใจถึงความสำาคัญของการศึกษา เห็นความสำาคัญของ หนังสือและการศึกษาตอ่ อนาคตของคนในหมู่บ้านร่นุ ตอ่ ๆ ไป เม่ือพูดถึงการอ่าน อินโดนีเซียยังก้าวไปไม่ถึงจุดที่ประชาชนจะรักการอ่าน พ่อแม่ ผู้ปกครองจำานวนมากไม่ได้รู้สึกว่า ตัวเองควรรักการอ่าน และถ่ายทอดความรักความสนใจ เรื่องน้ีต่อไปให้ลูกหลาน พ่อแม่เหล่านี้ไม่อ่านหนังสือให้ลูกฟังก่อนนอนหรือปรบมือช่ืนชม เม่ือลูกอ่านหนังสือออกและอ่านออกเสียงให้พ่อแม่ฟังได้ ดังน้ันความเปล่ียนแปลงน้ีต้องเกิด ข้ึนท่เี ดก็ ต้องสนบั สนนุ ใหเ้ ดก็ ๆ รักหนงั สอื และส่งต่อความร้สู กึ นนั้ ไปยังลกู ๆ ของตนโดยการ อ่านหนังสือให้ฟังทุกคืนและให้เด็กรุ่นต่อไปได้เข้าถึงหนังสือที่ดีมีคุณภาพ เน่ืองจากภารกิจ ของอุทยานการอ่านสายรุ้งคือการสนับสนุนให้เด็กๆ สนใจการอ่าน จึงมุ่งไปที่การจัดหา หนังสือนิทานสำาหรับเด็กๆ ไม่ว่าจะเป็นนิทานอีสป เร่ืองเล่าพื้นบ้าน หนังสือการ์ตูน และ สารานุกรมสำาหรับเด็ก ท้ังนี้เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ท่ีน่าต่ืนเต้นโดยการจัดหาหนังสือที่มี ภาพประกอบสสี นั สวยงามอา่ นง่ายและมเี น้ือหาสนกุ สนานให้เดก็ ๆ ตงั้ แต่อายยุ ังนอ้ ยๆ อทุ ยานการอา่ นสายรงุ้ ยงั เชญิ ชวนอาสาสมคั รจากทว่ั โลกใหม้ ารว่ มสรา้ งแรงบนั ดาลใจ ให้กับเด็กๆ โดยการจัดกิจกรรมย่อยๆ ตลอดปีตามห้องสมุดต่างๆ ผู้ชายท่ีโครงการอุทยาน การอ่านสายรุ้งร่วมงานด้วยส่วนใหญ่จะมีอาชีพเป็นชาวนาหรือชาวประมง ในขณะที่ผู้หญิง มักเป็นแม่บ้าน ส่วนอาสาสมัครที่มาจากบรรดาเมืองใหญ่ๆ หรือนักท่องเท่ียวท่ีมาเยือน อินโดนีเซียก็สามารถมาเย่ียมชมอุทยานการอ่านสายรุ้งเพื่อแบ่งปันประสบการณ์จากอาชีพ ของตนไดเ้ ชน่ กนั นกั บนิ นกั ขา่ ว และนกั ธรุ กจิ ไมเ่ พยี งแตจ่ ะเปน็ ตวั อยา่ งทด่ี เี ทา่ นน้ั แตย่ งั เปน็ ผูท้ กี่ ระตอื รือรน้ ท่จี ะแบ่งปันประสบการณใ์ นอาชพี ของตนให้กบั เดก็ ๆ เพื่อเป็นแรงบันดาลใจ อทุ ยานการอ่านสายรุ้ง | 43
ให้กับพวกเขา เรื่องราวที่อาสาสมัครเหล่านี้เล่าให้เด็กๆ ฟังเป็นแรงบันดาลใจอันยิ่งใหญ่ สำาหรับเด็กๆ ท่อี าศัยอย่ใู นพ้นื ท่หี ่างไกลซ่งึ ไม่ได้พบปะผ้คู นในอาชีพท่หี ลากหลายจากท่วั ทุก มมุ โลกอย่างนั้น พวกเขาไม่เคยมีโอกาสท่ีจะพูดคุยกับนักบินหรือนักข่าว พวกเขาเคยเห็นแต่ เคร่ืองบินหรือเห็นผู้ใหญ่อ่านหนังสือพิมพ์เท่านั้น การท่ีได้พบปะและฟังผู้คนเหล่าน้ีพูดถึง อาชีพของตนเป็นการเปิดประตูสู่จินตนาการและทำาให้เด็กๆ เข้าใจถึงทางเลือกของตนใน อนาคตได้ดยี ิ่งขึน้ อกี ด้วย เด็กๆ ไม่จาำ เปน็ ตอ้ งประกอบอาชีพเป็นชาวนาหรอื ชาวประมงตาม พ่อแม่หากสามารถเป็นอย่างอื่นได้ และการจะไปถึงจุดนั้นต้องอาศัยความฝันท่ียิ่งใหญ่ และ โครงการทอี่ าสาสมคั รคดิ รเิ ริ่มนี้เองทเ่ี ป็นแรงบันดาลใจใหเ้ ดก็ ๆ กล้าท่ีจะฝนั ใหไ้ กล ค. ทต่ี งั้ และผไู้ ดร้ ับผลประโยชน์ ตลอดระยะเวลาสามปีที่ผ่านมา โครงการอุทยานการอ่านสายรุ้งได้ก่อตั้งห้องสมุด สำาหรบั เด็กข้นึ 25 แห่งบนเกาะ 10 เกาะ ทัว่ พน้ื ทอ่ี นิ โดนีเซียตะวนั ออก ไดแ้ ก่ • นสุ าเตงการาตะวนั ออก-เกาะฟลอเรส เกาะโคโมโด เกาะรนิ คา เกาะปาปาการาน เกาะคูคซู าน เกาะติมอร์ • นสุ าเตงการาตะวันตก-เกาะลอมบ็อค เกาะซมั บาวา • มาลกู -ู เกาะบันดาไนยรา • เกาะสุลาเวสี ในจำานวนห้องสมุด 25 แห่งนี้ 20 แหง่ ไม่มีไฟฟ้าใช ้ และเกาะ 4 แหง่ ใน 10 เกาะนี้ มนี ้าำ จืดใชอ้ ย่างจาำ กัด จาำ นวนประชากรในแตล่ ะหมบู่ า้ นลว้ นแตกตา่ งกนั หมบู่ า้ นหนง่ึ อาจมปี ระชากรเพยี ง 70 ครอบครวั และมนี กั เรยี นระดบั ประถมศกึ ษา 40 คน ในขณะทบ่ี างหมบู่ า้ นอาจมปี ระชากร สูงถึง 20,000 คน โครงการอุทยานการอ่านสายรุ้งมีผลกระทบต่อเด็กๆ มากกว่า 3,000 ชีวิตในช่วง อายุ 5-13 ปีท่ัวพ้ืนท่ีอินโดนีเซียตะวันออก เด็กๆ เหล่าน้ีจะไปเยือนอุทยานการอ่านสายรุ้ง อย่างน้อยท่ีสุดสัปดาห์ละครั้ง แล้วแต่สภาพอากาศและระยะทางจากบ้านไปยังห้องสมุด 44 | อ่านเขา อา่ นเรา
ห้องสมุดบางแห่งเปิดให้บริการทุกวัน ข้นึ อย่กู ับความกระตือรือร้นของอาสาสมัครและตาราง เวลาทอ่ี าสาสมคั รประจาำ หอ้ งสมุดจะสละเวลามาได้ ง. เหตุใดอุทยานการอา่ นสายร้งุ จึงเปน็ ตวั อยา่ งที่ดีสาำ หรบั กล่มุ ทใ่ี หญข่ ึน้ ประสบการณ์ 3 ปีในการดำาเนินโครงการอุทยานการอ่านสายรุ้งได้ให้บทเรียน ซ่ึงสามารถใช้ได้โดยตรงกับการวางแผนของชุมชนที่กำาลังเติบโตในการจัดต้ังห้องสมุดสำาหรับ เด็กในพื้นทีห่ า่ งไกล ดงั ตอ่ ไปน้ ี • เข้าใจกลุ่มเป้าหมาย หากชุมชนพื้นบ้านไม่ใช้ภาษาอังกฤษควรจัดหาหนังสือท่ีเขียนเป็นภาษาท่ีเด็กๆ เขา้ ใจและใชไ้ ดด้ ที ส่ี ดุ อาจฟงั ดเู หมอื นเปน็ เรอ่ื งทน่ี า่ จะรกู้ นั อยแู่ ลว้ แตห่ นงั สอื เดก็ ทม่ี อี ยทู่ ว่ั โลก มกั จะตพี มิ พเ์ ปน็ ภาษาองั กฤษเปน็ สว่ นใหญแ่ ละหาซอ้ื ไดง้ า่ ย องคก์ รตา่ งๆ จงึ รบั บรจิ าคหนงั สอื เหล่านี ้ แต่หากอาสาสมัครและเด็กๆ ใช้ภาษาอังกฤษไมค่ ล่องหนังสอื เหลา่ นั้นก็จะถกู ท้ิงไวใ้ ห้ ฝุ่นจับเสียเปล่าๆ กรณีเช่นนี้มักพบในพื้นท่ีชนบทอันห่างไกลความเจริญในอินโดนีเซีย การสร้างผลกระทบเป็นสิ่งสำาคัญท่ีสุด ดังนั้น จึงไม่ควรแต่เอาหนังสือไปกองให้ในหมู่บ้าน แลว้ คดิ วา่ เปน็ อันจบกนั การมอบหนงั สือเปน็ สง่ิ สำาคญั ท่ีจะกระตนุ้ ใหเ้ ด็กๆ อยากเรยี นร้กู จ็ รงิ แต่ไม่ควรจัดให้หนังสือส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ เด็กส่วนใหญ่ชอบหนังสือท่เี ก่ยี วกับสัตว์ใน ภาษาของตน การมอบหนังสือในภาษาแม่ของพวกเขาจึงเป็นเร่ืองสำาคัญ เน่ืองจากเด็กๆ เหล่านพ้ี ดู แต่ภาษาพ้นื เมืองของตนเท่านั้นในการใชช้ วี ติ • ไมค่ วรตั้งห้องสมุดในอาคารท่ีดูโอ่อา่ น่าเกรงขาม เป็นเรอ่ื งสาำ คัญทห่ี ้องสมดุ ตอ้ งตง้ั อยใู่ นสถานท่ๆี ให้เดก็ ๆ และอาสาสมัครร้สู กึ ว่าตน ได้รับการต้อนรับในบรรยากาศท่ีเป็นมิตร อาคารรูปแบบทันสมัยและน่าเกรงขามอาจไม่ใช่ สถานทท่ี เ่ี หมาะสมสาำ หรบั ผทู้ อ่ี าศยั อยใู่ นหมบู่ า้ นทห่ี า่ งไกลความเจรญิ เนื่องจากพวกเขาจะรสู้ กึ เกรง็ และอดึ อดั ใจทจ่ี ะเขา้ ใกลห้ อ้ งสมดุ อาคารทอ่ี อกแบบงา่ ยๆ ในพน้ื ทท่ี อ้ งถ่ินจะเหมาะท่ีสุด เราตอ้ งคาำ นงึ ถงึ ปัจจัยดา้ นจติ วทิ ยาของทีต่ ้งั นัน้ ๆ และสร้างบรรยากาศที่ทำาใหผ้ ูท้ ่ีเข้ามาเยือน ห้องสมุดรู้สึกเหมือนอยู่บ้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเม่ือชุมชนพื้นบ้านเองเป็นผู้บริจาคท่ีตั้ง แก่ห้องสมดุ อทุ ยานการอ่านสายรุ้ง | 45
• ทต่ี ั้งอันเหมาะสมของห้องสมุด ที่ต้ังท่ีเหมาะสมเป็นส่วนสำาคัญยิ่งต่อความสำาเร็จของโครงการ ท่ีตั้งที่ดีที่สุดคือ ใจกลางหมู่บ้านหรือสถานท่ีในหมู่บ้านท่ีเด็กๆ และพ่อแม่ผ่านไปมาเสมอๆ ที่ต้ังเอง ยังเปน็ ส่ือโฆษณาหรอื สง่ิ เตอื นใจใหเ้ ดก็ ๆ มาเยีย่ มเยือนและอา่ นหนังสอื ไปในตัวอีกด้วย • ความยดื หยุน่ พื้นที่บางแห่งในอินโดนีเซียตะวันออกล้าหลังมากด้านการรู้หนังสือ ตัวอย่างเช่น บนเกาะติมอร์มีอุทยานการอ่านสายรุ้งตั้งอยู่ในหมู่บ้านที่เด็กๆ ส่วนใหญ่เริ่มเรียนอ่านเขียน ตอนอยู่ประถม 4 ดังน้ันห้องสมุดจึงต้องสามารถตอบสนองความต้องการของเด็กๆ เหล่านี้ ได้ แม้ว่าอุทยานการอ่านสายรุ้งส่วนใหญ่จะมีกลุ่มเป้าหมายอายุ 5-13 ปี แต่เม่ือคำานึงถึง ทักษะการอ่านของเด็กๆ แล้วในพ้นื ท่บี างแห่งควรยืดหย่นุ และอนุโลมให้วัยร่นุ เข้าใช้บริการ หอ้ งสมดุ อยา่ งสบายใจรว่ มกบั เด็กที่อายุนอ้ ยกวา่ ได้ • ไมม่ เี งนิ เขา้ มาเกย่ี วข้อง อุทยานการอ่านสายรุ้งมุ่งม่ันในระบบอาสาสมัครและไม่ต้องการให้ชุมชนพ่ึงพา องค์กรในด้านการเงิน เป็นเรื่องดีกว่าท่ีจะมอบแหจับปลาให้กับชุมชนแทนที่จะย่ืนปลาให้ วันแล้ววันเล่าปีแล้วปีเล่า การมอบเงินให้กับชุมชนจะไม่ช่วยให้อนาคตของพวกเขาดีข้ึนหรือ ขับเคล่ือนการศึกษาแต่อย่างใด ด้วยเหตุนี้จึงจำาเป็นที่จะทำาให้ชุมชนเข้าใจว่าการที่จะทำาให้ โครงการนด้ี าำ เนนิ ไปอยา่ งราบรน่ื เพอ่ื ประโยชนข์ องเดก็ ๆ ตอ้ งอาศยั การผลกั ดนั โดยอาสาสมัคร และอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้คนที่มีความเห็นอย่างเดียวกันทั้งในชุมชนและที่อยู่ นอกเหนอื ชุมชนออกไป • โปรแกรมสร้างเสริมความสามารถเป็นสิง่ สาำ คัญ เมื่อคำานึงถึงการขาดแคลนทรัพยากรมนุษย์ในหมู่บ้านที่ห่างไกลแล้วจึงจำาเป็นที่ ต้องจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการให้กับอาสาสมัครท่ีทำาหน้าท่ีบริหารจัดการห้องสมุด การ สร้างเสริมความสามารถน้ีไม่เพียงแต่จะช่วยสนับสนุนความพยายามต่างๆ ของอาสาสมัคร เท่าน้ันแต่ยังจะทำาให้พวกเขามีทักษะใหม่ๆ และมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ อาสาสมัครคนอ่ืนๆ การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างความสามารถนี้ เป็นหนทาง 46 | อา่ นเขา อา่ นเรา
หนึ่งท่ีอุทยานการอ่านสายรุ้งแสดงให้สาธารณชนเห็นได้ว่า ทางโครงการขอบคุณและชื่นชม เหลา่ อาสาสมัครทีไ่ ด้ทาำ งานและให้บรกิ ารด้วยความทุม่ เท • การหมุนเวยี นหนังสือ สำาหรับองค์กรระดับรากหญ้าขนาดเล็กอย่างอุทยานการอ่านสายรุ้งแล้ว ระบบการ หมุนเวียนหนังสือช่วยให้ห้องสมุดแต่ละแห่งได้มีหนังสือใหม่ทุกๆ 6 เดือนโดยที่อาสาสมัคร และผู้จัดการไม่ต้องซื้อหนังสือใหม่เอง อาสาสมัครสามารถแสดงความเห็นได้ว่าเม่ือใดถึง เวลาท่ีควรมีการหมุนเวียนหนังสือหรือแลกเปลี่ยนหนังสือของตนกับห้องสมุดอ่ืนๆ ท่ีมีอยู่อีก 24 แห่ง 3. คำาบอกเล่าจากผู้เก่ยี วขอ้ ง เมื่อกล่าวถึงอุปสรรคและปัญหาที่อาสาสมัครต้องเจอในการบริหารจัดการห้องสมุด แตล่ ะคนตา่ งกม็ คี วามรสู้ กึ และความคดิ เหน็ ของตน กระนน้ั เรากส็ ามารถเหน็ แนวโนม้ รปู แบบ ของอปุ สรรคและปัญหาได้ อาเวนตัส อาบู แหง่ หมบู่ ้านโร เกาะฟลอเรส กล่าววา่ “เดก็ ๆ ในหมูบ่ ้านของเรามี ศักยภาพท่ีจะประสบความสำาเร็จ แต่พวกเขาไม่มีส่ิงอำานวยความสะดวกท่ีดีท่ีจะสนับสนุน พวกเขา ที่จะทำาใหจ้ นิ ตนาการของเขาเติบโต ไมเ่ พยี งแต่เท่านน้ั ชาวบา้ นที่นเี่ องก็ไมเ่ ขา้ ใจถึง ความสำาคัญของการศึกษา หรือไม่เข้าใจว่ามันสำาคัญต่อเด็กๆ รุ่นต่อไปอย่างไร ระดับการ ศึกษาในนสุ าเตงการาตะวนั ออกอยู่ในระดบั ต่ำามากเมอ่ื เทยี บกับจงั หวดั อืน่ ๆ ในอินโดนเี ซีย” ยเู ลยี นา มิมาน แห่งหมบู่ ้านปากา เกาะฟลอเรส กล่าววา่ “ปัญหาความทา้ ทายที่ ยิง่ ใหญ่ที่สุดของเรา คอื การเผชิญกบั พอ่ แมผ่ ู้ปกครองทไี่ มเ่ ข้าใจความสาำ คญั ของการอา่ นและ การศึกษา พวกเขาคิดว่าเป็นหน้าท่ีของโรงเรียนแต่เพียงฝ่ายเดียวในการสร้างและสนับสนุน ใหเ้ ด็กรักการเรียนร”ู้ เธอกล่าวต่อไปวา่ “มีหนงั สือท่เี ขยี นเป็นภาษาองั กฤษทัง้ เลม่ และเดก็ ๆ ก็ไม่สนใจท่ีจะอ่านเพราะพวกเขาไม่เข้าใจเน้ือหา จะให้มีหนังสือภาษาอังกฤษในห้องสมุด กไ็ ด้ แตข่ อให้มีคาำ แปลดว้ ย สงิ่ ทด่ี ีท่สี ดุ คือจดั หาหนงั สอื ที่มสี องภาษามาไวใ้ หเ้ ดก็ ๆ” อุทยานการอา่ นสายรงุ้ | 47
อีกความเห็นหน่ึงที่คล้ายคลึงกันมาจาก ราฟาเอล มัท แห่งหมู่บ้านดาตัค เกาะฟลอเรส ท่กี ล่าวว่า “โดยท่วั ไปแล้วเราจำาเป็นต้องสนับสนุนให้เด็กๆ สนใจในการอ่าน เน่ืองจากพวกเขาไม่คุ้นเคยกับการอ่าน และพ่อแม่ก็ไม่ได้กระตุ้นให้อ่าน พ่อแม่ไม่ได้ สนับสนุนให้ลูกๆ อา่ นหนงั สอื เพราะวา่ พวกพอ่ แมเ่ องกไ็ มไ่ ดร้ บั การศกึ ษาในระบบ หรอื ถา้ ได้ เรียนมาก็น้อยมาก พวกเขามาจากภูมิหลังท่มี ีฐานะทางเศรษฐกิจตำา่ ดังน้นั การศึกษาจึงไม่ใช่ สง่ิ ทส่ี าำ คญั เรง่ ดว่ นแน่ พอ่ แมจ่ ะตอ้ งการใหล้ ูกๆ ชว่ ยงานในนาหรอื ออกจับปลามากกว่า” พ่อแม่ผู้ปกครองมีบทบาทสำาคัญในการเลี้ยงดูลูกๆ เพราะเด็กๆ จะทำาในสิ่งท่ีตน เหน็ พอ่ แมท่ าำ ในกรณนี ้ี หากพวกเขาไมเ่ คยเหน็ พอ่ แมอ่ า่ นหนงั สอื พวกเขากจ็ ะคดิ วา่ การอา่ น ไมใ่ ชเ่ รื่องสาำ คัญ อนั จะเปน็ การปิดโอกาสท่ีเด็กๆ จะไดส้ รา้ งนิสยั ในชว่ งเวลาท่ีสาำ คัญของชีวติ การให้การศึกษากับพ่อแม่ถึงความสำาคัญของการอ่านให้ลูกๆ ฟังตั้งแต่ยังเยาว์วัยนับว่ามี ความสาำ คญั มากตอ่ ความสาำ เรจ็ ของโปรแกรมการอา่ นใดๆ ในขณะทน่ี สิ ยั รกั การอา่ นแพรห่ ลาย ในมหานครและพ้ืนที่ที่ประชากรมีฐานะดีในอินโดนีเซีย การอ่านก็ยังคงไม่เป็นที่นิยมหรือ ยอมรับในพื้นทีห่ า่ งไกลในอินโดนเี ซยี ตะวันออก เอกัสตินัส เยฮอต แห่งหมู่บ้านคากา เกาะฟลอเรส กล่าวว่า “เด็กๆ สนใจการ อา่ นอย่างมาก แต่ผมคิดว่าเราต้องการหนงั สือมากกวา่ นใ้ี นห้องสมุด พวกเด็กๆ ชอบหนังสือ ทม่ี ภี าพประกอบเยอะๆ หนงั สอื ประเภทนีจ้ ะดงึ ดูดเดก็ ๆ ได้อย่างมาก” ความเห็นน้ีแสดงให้เห็นว่าอันท่ีจริงแล้วเด็กๆ ที่อาศัยอยู่ในพื้นท่ีห่างไกลก็สนใจ การอ่านมากเช่นกัน ยุทธศาสตร์หน่ึงของโครงการอุทยานการอ่านสายรุ้งก็คือ การจัดหา หนงั สอื ท่ีมีภาพประกอบเพ่ือกระตุ้นความสนใจของพวกเขา อย่างไรก็ตามปัญหาอย่างหนึ่งก็ คอื อาสาสมคั รบางคนซง่ึ สว่ นมากเปน็ ครเู หน็ วา่ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งดที เ่ี ดก็ เลอื กทจ่ี ะอา่ นหนงั สอื ทม่ี ภี าพ ประกอบเยอะๆ ดังเช่นการ์ตูนหรือนิทาน ครูอยากให้เด็กอ่านหนังสือด้านวิทยาศาสตร์ท่ีมี เนื้อหาซับซ้อนที่แทบจะไม่มีภาพประกอบหรือไม่มีเลยมากกว่า นี่ก็เป็นความท้าทายอีก ประการหน่ึง ครูควรเข้าใจว่าส่ิงท่ีควรทำาเป็นสิ่งแรกคือการทำาให้เด็กๆ ตกหลุมรักการอ่าน เสียก่อน ไม่สำาคัญว่าพวกเขาจะอ่านอะไร ไม่ว่าจะเป็นนิทานหรือการ์ตูนญี่ปุ่น ตราบใดท่ี เด็กๆ เริ่มต้นอ่านนั่นคือจุดเริ่มต้นท่ีดีแล้ว นิสัยรักการอ่านนี้จะเติบโตอยู่ภายในตัวเด็กๆ และทา้ ยที่สุดพวกเขาก็จะอา่ นทุกอยา่ งทข่ี วางหนา้ 48 | อา่ นเขา อา่ นเรา
ฟลอเรยี นสั มารโ์ ทโน แหง่ หมู่บ้านเพงกา เกาะฟลอเรส กล่าวว่า “ปญั หาหน่งึ ที่ อาสาสมคั รเผชญิ อยู่คือการที่ไม่มวี ธิ ีหรือเทคนิคมาตรฐานที่จะกระต้นุ ใหเ้ ดก็ อ่าน” น่ีเป็นความท้าทายที่พบอยู่ทั่วไปแต่เราก็ไม่ควรยอมแพ ้ โครงการอุทยานการอ่าน สายรงุ้ ไดห้ าทางออกโดยการจดั การอบรมปฏบิ ตั กิ ารระยะเวลาสองวนั ใหก้ บั อาสาสมคั รทด่ี แู ล ห้องสมุดของโครงการในหมู่บ้านต่างๆ ในด้านเทคนิคการเล่านิทาน วิธีพัฒนาหลักสูตรที่จะ ทาำ ให้เดก็ เขา้ หอ้ งสมุดมาอ่านหนงั สือ และมาแลกเปลี่ยนแบ่งปันประสบการณเ์ กยี่ วกับเรือ่ งที่ ตนอ่านแล้วคิดว่าดีและไม่ดี สำาหรับหลักสูตรการอบรมเชิงปฏิบัติการน้ีโครงการอุทยานการ อ่านสายรุ้งร่วมมือกับสมาคมเพื่อความก้าวหน้าของวรรณกรรมเด็ก (Society for the Advancement of Children’s Literature) ผเู้ ปน็ ผบู้ กุ เบกิ โดยม ี ดร. มรุ ต ิ บนุ นั ทา ผกู้ อ่ ตง้ั สมาคม ทาำ หน้าทเี่ ปน็ วทิ ยากรผู้อบรม มฟิ ตาฮุล ราซัค แหง่ ลอมบ็อค นสุ าเตงการาตะวนั ตก กลา่ วว่า “แทบจะไม่เคยมี ใครอ่านหนังสือให้เด็กๆ ท่ีอาศัยอยู่ในหมู่บ้านฟังเลย แม้แต่พ่อแม่ของพวกเขาเอง ในหมู่บ้านไม่มีหนังสือเลยจริงๆ ไม่มีร้านหนังสือหรือห้องสมุดสาธารณะหรือแม้แต่โครงการ สง่ เสริมการอ่านท่รี ัฐบาลให้การสนับสนนุ ” แม้จะมีปัญหาท้าทายหลากหลายท่ีอาสาสมัครต้องเผชิญ แต่ผู้ที่ได้ไปเยี่ยมชม ห้องสมุดในโครงการอุทยานการอ่านสายรุ้งล้วนแต่มีความเห็นในเชิงบวกและต่างรู้สึก ประทับใจทีไ่ ดเ้ ห็นเด็กๆ ตนื่ เตน้ เมอื่ ไดเ้ หน็ หนงั สอื นทิ านวางอยู่บนช้ัน แซ็ค ปีเตอร์สัน แห่งหนังสือพิมพ์เดอะจาการ์ต้า โกลบ กล่าวว่า “ผมหวังเป็น อยา่ งยง่ิ วา่ ความบนั เทงิ ทเ่ี ดก็ ๆ ไดร้ บั จากการอา่ นหนงั สอื ทอ่ี ทุ ยานฯ จะตามพวกเขากลบั บา้ น ไปด้วยในคืนน้นั แต่ก็ยังมีความเป็นจริงอย่ทู ่วี ่าไม่เคยมีใครอ่านหนังสือให้พ่อแม่ของพวกเด็ก เหล่าน้ีฟัง ดังน้ัน พวกพ่อแม่ก็จะไม่เข้าใจถึงอำานาจและศักยภาพของการอ่าน เร่ืองนี้ทำาให้ เด็กๆ เสียโอกาส เราต้องทำาให้เด็กๆ เร่มิ ต้งั คำาถามกับพ่อแม่ว่าทำาไมถึงไม่อ่านหนังสือให้ฟัง กอ่ นนอน กระนน้ั กเ็ ถอะ เราคงตอ้ งเรม่ิ ทไ่ี หนสกั แหง่ ผมจงึ หวงั วา่ เดก็ ๆ ทม่ี ายงั อทุ ยานฯ จะ ตกหลุมรักการอ่านและส่งต่อความรสู้ ึกนั้นให้กบั ลกู หลานของตนต่อไปในอนาคต” อุทยานการอ่านสายรุ้ง | 49
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278