Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OBEC Awards ดาริกา มณีฉาย โรงเรียนสตรีทุงสง (ครูผู้สอนยอดเยี่ยม Active Teacher003293)

OBEC Awards ดาริกา มณีฉาย โรงเรียนสตรีทุงสง (ครูผู้สอนยอดเยี่ยม Active Teacher003293)

Published by DARIKA MARNEECHAI, 2021-09-07 09:01:00

Description: OBEC Awards ดาริกา มณีฉาย โรงเรียนสตรีทุงสง (ครูผู้สอนยอดเยี่ยม Active Teacher003293)

Search

Read the Text Version

- 45 - 3) รูปแบบการจดั พิมพ์ จัดรปู เล่มแผนการจัดการเรียนรู้ การนาเสนอนา่ สนใจ มีการจัดเรยี งลาดับ อยา่ งเปน็ ขน้ั ตอน และบนั ทกึ หลงั แผนการสอนท่สี ่งผลถงึ ผเู้ รยี น ภาพท่ี 33 แผนการจดั การเรียนรู้ ตวั อย่าง บันทึกหลงั แผนการสอนทสี่ ่งผลถงึ ผูเ้ รยี น/รายงานการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ระบบเตอื น การชนในรถยนต์ บทสรปุ กิจกรรมเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดและแก้ปัญหา เร่ือง ระบบเตือนการชนในรถยนต์ ออกแบบมา เพ่ือให้นักเรียนเข้าใจวิธีการเร่ิมต้นเขียนโปรแกรมควบคุมบอร์ดสมองกลฝังตัว ซ่ึงจะเป็นพ้ืนฐานในการทา โครงงานส่ิงประดิษฐ์ในแผนการจัดการเรียนรู้ถัดไป สถานการณ์อุบัติเหตุรถชนที่ยกขึ้นมาเป็นประเด็นศึกษา นาไปสู่การร่วมกันอภิปรายถึงสาเหตุ อันจะช่วยให้นักเรียนฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์และคิดอย่างมี วิจารณญาณ อีกท้ังช่วยให้ตระหนักถึงปัญหา จนนาไปสู่การหาแนวทางหรือมาตรการแก้ไข โดยใช้ทักษะการ คิดสร้างสรรค์และแก้ปัญหา ช่วยกันออกแบบระบบเตือนการชนในรถยนต์ ซึ่งนักเรียนแต่ละกลุ่มสามารถ ออกแบบได้อย่างอิสระ จากอุปกรณ์พ้ืนฐานท่ีครูจัดเตรียมให้ (บอร์ดสมองกลฝังตัว เซนเซอร์วัดระยะทาง ลาโพง หลอดไฟ ฯลฯ) ท้ังน้ีนักเรียนต้องบูรณาการทักษะด้านเทคโนโลยี วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตรแ์ ละศาสตร์ อ่นื ๆ ในการแก้ปัญหาตามความเหมาะสม กจิ กรรมน้ีนาไปใชจ้ ัดการเรียนการสอนในรายงวชิ าเทคโนโลย(ี วทิ ยาการคานวณ) ระดบั ช้นั มัธยมศึกษา ปที ่ี 4 จานวน 190 คน ระยะเวลาท่ีใช้จดั กิจกรรมจานวน 4 คาบ ผลการจดั กิจกรรม พบวา่ นกั เรยี นได้รบั ความ สนุกสนานและความรู้เบ้ืองต้นในการทาโครงงานสิ่งประดิษฐ์จากการลงมือเขียนโปรแกรม เพื่อการออกแบบ และสร้าง “ระบบเตือนการชนในรถยนต์” ในแบบของตน โดยทุกกลุ่มทากิจกรรมผ่าน 100% ท้ังนี้เกิดจาก ความน่าสนใจของกิจกรรมซ่ึงเป็นความรู้ใหม่ การให้คาปรึกษาและกระบวนการแข่งขันเชิงกลุ่ม สาระสาคัญ และทักษะที่นักเรียนได้รับ คือ การเขียนโปรแกรมวัดระยะทางโดยใช้บอร์ดสมองกลฝังตัว (Arduino) ร่วมกับ เซนเซอร์วัดระยะทาง (Ultrasonic Sensor) ลงมือปฏิบัติจนเข้าใจการเขียนโปรแกรมควบคุมบอร์ดสมองกล เบอ้ื งต้น และเข้าใจลาดบั ข้ันตอนในการพฒั นาโครงงานสงิ่ ประดิษฐ์ - 45 - OBEC AWARDS

- 46 - จุดเด่นของกิจกรรมนี้ คือ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ทาให้มีความเข้าใจในการเขียนโปรแกรมอย่าง เป็นรูปธรรม สาหรับจุดท่ีควรพัฒนาและปรับปรุง คือ หากต้องการให้นักเรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเขียน โปรแกรมต้องใช้เวลาทากิจกรรมเพม่ิ ขน้ึ กิจกรรม “ระบบเตือนการชนในรถยนต์” เหมาะสาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา เป็นการจัดการ เรียนรู้เพ่ือเปิดประสบการณ์ในการเขียนโปแกรมควบคุมบอร์ดสมองกลเบ้ืองต้น เนื่องจากการเขียนโปรแกรม เป็นเนอ้ื หาและทักษะค่อนข้างซับซ้อน จึงต้องให้เวลากบั นักเรียน และท่ีสาคัญต้องให้ลงมอื ปฏิบัติจริง จงึ จะถือ วา่ ประสบความสาเรจ็ ในการจัดกจิ กรรม บนั ทึกการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 1. ข้อมูลนักเรียน กิจกรรมน้นี าไปใช้จดั การเรยี นการสอนในรายงวิชาเทคโนโลย(ี วทิ ยาการคานวณ) ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษา ปีที่ 4 จานวน 190 คน โดยแบ่งเป็นนกั เรยี นชาย 70 คน นกั เรยี นหญิง 120 คน หมายเหตุ : ม.4/1 เป็นนกั เรียนห้องเรยี นพิเศษวิทยาศาสตรค์ ณติ ศาสตร์เทคโนโลยแี ละสิ่งแวดล้อม (SMTE) 2. การจดั การเรยี นรู้ เปน็ กิจกรรมในห้องเรียนรายวิชาเทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ระยะเวลา ท่ีใช้จานวน 4 คาบ (200 นาที) ออกแบบมาเพ่ือให้นักเรียนเข้าใจวิธีการเร่ิมต้นเขียนโปรแกรมควบคุมบอร์ด สมองกลฝังตวั ซึ่งจะเปน็ พื้นฐานในการทาโครงงานส่งิ ประดษิ ฐใ์ นแผนการจดั การเรียนรู้ถัดไป 3. ส่ือและแหล่งเรยี นรู้ 1. Link วีดีทัศนส์ ถานการณ์อบุ ตั ิเหตุทเี่ กดิ จากการถอยรถชน 2. Link : shorturl.at/vIJ68 ตวั อย่างการใช้ Ultrasonic Sensor เบือ้ งต้น 3. Link : https://1th.me/8vAJX ตวั อย่างการใช้ Ultrasonic Sensor 4. Link : https://youtu.be/mBtPYcKhbdk ทฤษฎีการคานวนระยะทางของ Ultrasonic Sensor - 46 - OBEC AWARDS

- 47 - 4. วัสดุ อุปกรณ์ 1. Arduino board (รุน่ ใดก็ได้ท่ีนักเรียนเตรยี มมาเพ่ือทาโครงงาน) 2. Ultrasonic Sensor (วัดระยะทางสง่ิ กีดขวาง) 3. สายไฟผู้-ผ,ู้ ผู้-เมยี 4. บอรด์ ทดลอง 5. Led (หลอดไฟ) หรือ ลาโพง (Buzzer) 5. พฤตกิ รรมผเู้ รียน นักเรยี นกระตือรือร้นในการทากิจกรรม มีการปรกึ ษาหารือท้ังในกล่มุ และระหว่างกลมุ่ สืบค้นข้อมูลใน อินเทอร์เน็ตจากแหล่งเรียนรู้ที่ครูจัดเตรียมไว้ให้และการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองทางอินเทอร์เน็ตอย่าง ต่อเน่ือง เพ่ือใหบ้ รรลุเปา้ หมายในการสรา้ งชนิ้ งานของตน เน่ืองจากเนื้อหาของกิจกรรมที่ทาเป็นความรู้ใหม่สาหรับผู้เรียน จึงเกิดบรรยากาศการซักถามใน หอ้ งเรยี น ครทู าหน้าทีเ่ ดินไปใหค้ าปรกึ ษาตามกลุ่มตา่ งๆ นกั เรยี นทท่ี าสาเร็จแลว้ ใหค้ าปรกึ ษาเพื่อนกลุ่มอื่น 6. จดุ เดน่ กจิ กรรมการเรียนรู้ นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง ต้องสืบค้นความรู้ ต้องบูรณาการทักษะด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และศาสตร์อน่ื ๆ ในการแก้ปัญหาตามความเหมาะสม เปน็ กิจกรรมที่ช่วยทาใหม้ คี วามเข้าใจในการ เขยี นโปรแกรมอย่างเปน็ รูปธรรม 7. อปุ สรรค/ปญั หา (พร้อมระบุแนวทางที่ไดใ้ ชแ้ ก้ไข ถ้ามี) สาหรับจุดที่ควรพัฒนาและปรับปรุง คือ หากต้องการให้นักเรียนเข้าใจอย่างลึกซึ้งในการเขียน โปรแกรมต้องใช้เวลาทากิจกรรมเพ่ิมขึ้น ต้องใช้เวลาทากิจกรรมเพิ่มข้ึนหากต้องการให้นักเรียนเข้าใจอย่าง ลึกซงึ้ ในการเขียนโปรแกรม 8. ขอ้ เสนอแนะเพอื่ นาไปใช้ กิจกรรม “ระบบเตือนการชนในรถยนต์” เหมาะสาหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา เป็นการจัดการ เรียนรู้เพ่ือเปิดประสบการณ์ในการเขียนโปแกรมควบคุมบอร์ดสมองกลเบ้ืองต้น เนื่องจากการเขียนโปรแกรม เป็นเน้อื หาและทักษะค่อนข้างซับซ้อน จงึ ตอ้ งให้เวลากับนักเรียน และท่ีสาคัญตอ้ งให้ลงมอื ปฏบิ ัติจริง จงึ จะถือ ว่าประสบความสาเร็จในการจดั กิจกรรม - 47 - OBEC AWARDS

- 48 - ภาคผนวก • ตวั อย่างภาพถ่ายการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ นักเรียนเขียนโปรแกรมควบคุมบอร์ดสมองกลฝังตัว เพ่ือออกแบบ “ระบบเตือนการชนในรถยนต์” ท่ี เหมาะสม โดยวางเงอื่ นไขท่ีสามารถช่วยลดอุบัตเิ หตุในการชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้อุปกรณ์ที่ครูเตรียมให้ ได้แก่ เซนเซอร์วัดระยะทาง (Ultrasonic Sensor) บอร์ดสมองกลฝังตัว (Arduino) อุปกรณ์ Output เช่น หลอดไฟ ลาโพงขนาดเล็ก มาประยุกต์ใช้ - 48 - OBEC AWARDS

- 49 - ผลงานวงจร “ระบบเตือนการชนในรถยนต์” โดยแต่ละกลุ่มมีแนวคิดในการออกแบบต่างกัน เช่น ระยะในการเตอื น และลักษณะการเตือนด้วยไฟ หรอื เสียงจากลาโพงทแ่ี ตกตา่ งกัน อาทิ เช่น เม่ือรถยนต์ถอยหรือเข้าใกล้สิ่งกีดขวางที่มีระยะห่างน้อยกว่าหรือเท่ากับ 1.5 เมตร ลาโพง (บัซเซอร์)จะสง่ สญั ญาณเตอื นมาในรปู แบบของเสียงตด๊ิ ติ๊ด และไฟจะกระพริบเปน็ เวลา 0.1 วนิ าที - 49 - OBEC AWARDS

- 50 - ตวั ชี้วดั ท่ี 2 คุณภาพขององค์ประกอบในแผนการจดั การเรยี นรู้แสดงถงึ การเปดิ โอกาสให้ผ้เู รียนมีส่วนรว่ ม ในการจดั การเรียนรู้ 1) กระบวนการจัดการเรยี นรสู้ อดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรยี นรู้แบบ Active Learning สืบเนื่องจากข้าพเจ้าได้รับการคัดเลือกให้ได้รับการอบรมครู “หลักสูตรการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ท่ีส่งเสรมิ ทกั ษะการคิดและแก้ปัญหา” เป็นรุ่นแรก จึงได้นาความรู้ท่ี ได้รับจากการอบรมมาขยายผลในการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยเนน้ ใหน้ ักเรียนเกิด “ทักษะการคิดและ แก้ปัญหา” ผ่านการพัฒนาโครงงานเพ่ือสร้างนวัตกรรม ซ่ึงมีแนวทางในการจัดการเรียนการสอนท่ีสอดคล้อง กับแนวคิด Active Learning อยา่ งหลากหลาย ดังนี้ 1. แบบระดมสมอง (Brainstorming) 2. กรณีศกึ ษา (Case Study) 3. การเรยี นรูผ้ า่ นเกม (Games Based Learning) 4. แบบแลกเปล่ียนความคิด (Think – Pair – Share) 5. แบบสะท้อนความคิด (Student’s Reflection) 6. แบบตัง้ คาถาม (Questioning-based Learning) 7. การเรยี นร้โู ดยใชก้ จิ กรรมเปน็ ฐาน (Activity-Based Learning) 8. การเรียนร้โู ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning) 9. การเรยี นรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) 10. การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) 11. เรยี นรู้ด้วยการลงมือทา (Learning by Doing) 12. การเรยี นร้จู ากการสบื คน้ (Inquiry-Based Learning) ขยายความเพิ่มเติม คือ การจัดการเรียนรูที่มีมาแตอดีตที่เนนถายทอดเนื้อหาความรูจาเปนตอง เปลี่ยนแปลงไปสูการเนนทักษะกระบวนการ เชน ทกั ษะการคิดและแกปญหา เพื่อใหผูเรยี นสามารถดารงชีวิต ท้ังดานการงาน การเปนทรัพยากรมนุษยที่มีคุณภาพของประเทศ และสามารถดารงชีวิตท่ามกลางความ เปล่ียนแปลงในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงทักษะการคิดและแกปญหาจะเกิดข้ึนได้ต้องอาศัยกระบวนการจัดการเรียนการ สอนทสี่ อดคลอ้ งกบั แนวคิด Active Learning อย่างหลากหลายดงั ท่กี ล่าวมาข้างตน้ ภาพท่ี 34 องคป์ ระกอบทง้ั 4 ของทักษะการคดิ และแกปญหา - 50 - OBEC AWARDS

- 51 - ทักษะการคิดและแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาโครงงาน เปนความสามารถในการประยุกตใชความรู ทกั ษะ วิธีการหรอื ประสบการณ์ทีม่ ี มาใชในการแกปญหาใหมหรือไมคุนเคย ซ่ึงการพัฒนาทักษะการแกปญหา ควรผานกระบวนการที่ทาใหนักเรียนไดแสดงพฤติกรรมท่ีเปนการแสดงถึงความสามารถในการแกปญหา ประกอบด้วย การระบุปญหา การเสนอแนวทางการแกไขปญหา การเลือกวิธีการแกปญหาพรอมใหเหตุผลใน การแกปญหาทเี่ หมาะสมที่สุด และการทดลองหรือการลงมอื แกปญหา ประเมนิ ผลปรบั ปรงุ แกไข ภาพที่ 35 Model การจัดการเรียนการสอนเพ่อื พฒั นาทักษะการแก้ปัญหา ทั้งน้ีความสามารถในการแกปญหาจะไมไดเสร็จสิ้นภายใตกระบวนการดังกลาวเพียงรอบเดียว ถ้าแกปญหาดาเนินมาถึงขั้นตอนการประเมินและปรับปรุงแกไขแลว ผูแกปญหาอาจตองยอนกลับไปเริ่มตั้งแต การระบุปญหา ซึง่ รอบใหมนี้ปญหาที่ระบุอาจเปนปญหาเดิมที่ยังตองการการแกปญหาท่ีมีประสิทธิภาพมากขึ้น หรืออาจเปนการคนพบปญหาใหมอันเปนผลจากการแกปญหาเดิมในตอนเริ่มตน การจัดการเรียนการสอนท่ี สามารถสงเสริมการแกปญหาของนักเรียนไมไดจากัดวาตองสอนดวยวิธกี ารใดวิธีการหนึ่งเพียงเทานั้น อาจเปน การสอนตามแนวสะเต็ม การสอนแบบใชปญหาเปนฐาน การสอนแบบใชโครงงาน หรือการสอนแบบ สืบเสาะทางวิทยาศาสตร เปนตน ภาพที่ 35 บรรยากาศในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพฒั นาทักษะการแก้ปัญหา - 51 - OBEC AWARDS

- 52 - การจัดสภาพแวดลอมและบรรยากาศการเรยี นรู้ทสี่ อดคล้องกบั แนวคดิ Active Learning การจัดการเรียนรูของครูมีผลตอนักเรียนโดยตรง และคุณภาพจากการเรียนรูของนักเรียนมีผล สะทอน มาจากการดาเนินการเรียนการสอนของคุณครู ซึ่งในที่นี้จะกลาวถึง การจัดสิ่งแวดลอมและ สรางบรรยากาศ เพื่อการเรียนรู การจัดเนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมที่หลากหลายใหนักเรียนไดเรียนรูจาก ประสบการณจริง ได ปฏิบัติจริง ฝกทักษะการคิดและการแกปญหา การไดประยุกตใชความรูไปใชในสถาน การณใหมๆ เพ่ือกระตุน ใหนักเรียนไดพัฒนาทักษะการแกปญหา เปนผูใฝรูใฝเรียนอยางตอเนื่อง การจัดส่ิง แวดลอมและสรางบรรยากาศเปนปจจัยท่ีสาคัญท่ีมีอิทธิพลตอการเรียนรู เกิดบรรยากาศที่ กระตุนแรงจูงใจทั้ง ชวนใหนักเรียนอยากรูอยากเห็น มีความเชื่อมั่นในตนเอง กลาคิด กลาทา การจัด ส่ิงแวดลอมและสรางบรรยา กาศท่ีดีจะชวยเอื้อตอการเรียนรู สงผลใหเรียนรูอยางมีความสุข พัฒนาศักยภาพ ของนักเรียน มีความคิดสราง สรรค เกิดปฏิสัมพันธท่ีดีตอกัน ครูมีบทบาทสาคัญอยางยิ่งท่ีจะดาเนินการจัดการ เรียนรูใหมีประสิทธิภาพ นอกจากตองปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอนเพ่ือใหเกิดการกระตุนการคิดและการ แกปญหาแลว ครูตองคานึงถึง สภาพแวดลอมที่มีใหสามารถดาเนินการบริหารจัดการใหเอื้อใหมีบรรยากาศท่ี เหมาะสม เหมาะกับการ เปนแหลงเรียนรูที่คุมคาเกิดประโยชนและเอ้ือตอการเรียนรูของนักเรียน เชน ความ เหมาะสมของวัย ความ เหมาะสมดานความรู ความถนัด ความแตกตางระหวางบุคคลและความสามารถในการ ทางานรวมกันได การ สรางบรรยากาศท่ีสาคัญในการเรียนรูดานกายภาพ ดานอารมณซึ่งจะนาไปสูการกระตุน การเรียนรู ความอยากเรียนรู เกดิ การพฒั นาสติปญญาของนักเรยี นได ภาพที่ 36 บรรยากาศการเรียนรู้ - 52 - OBEC AWARDS

- 53 - หลักการท่ัวไปของการจดั บรรยากาศการเรียนรู มีดังนี้ 1. การจดั สภาพแวดลอมทางกายภาพ เปนสวนท่สี งเสริมบรรยากาศการเรียนรูเปนอยางดี เนื่องจาก นักเรียนมักใชเวลาสวนใหญอยูในหองเรียน ควรใหนักเรียนรูสึกสะดวกสบาย และคลองตัวในการเคล่ือนไหว โต๊ะเกาอี้ของนักเรียนควรมีการเปล่ียนรูปแบบการจัดไดหลายรูปแบบเพื่อความรูสึกไมจาเจ มีสภาพเหมาะสม กับเนื้อหาวิชา หรือรายวิชาท่ีกาลังเรียนอยู นอกจากน้ียังสามารถดัดแปลงเพื่อตอบสนองกับการจัดกิจกรรม ต างๆ เชน การใชคาถามนา สาธิตการทดลองในกลุมใหญ หรือเคล่ือนยายใหเกิดท่ีวางตรงกลางเพ่ือใหสามารถ ทากิจกรรมถาตองการพื้นท่ีมาก เชน การเลนเกม การแสดงบทบาทสมมติ การแบงกลุมอภิปราย การทดลอง วิทยาศาสตร หรือการทดสอบประสิทธิภาพของช้ินงานที่ออกแบบ เปนตน ครูควรใหนักเรียนเปนผูรวมกันคิด ออกแบบสิ่งตางๆ ดวยตนเองจะทาใหนักเรียนเกิดความรูสกึ มีสวน รวม มีความกระตอื รือรน ซ่ึงเปนสง่ิ สาคัญท่ี จะชวยใหนักเรียนไดพัฒนาการคิดสรางสรรค และการรวมกัน ทางานเพ่ือการแกปญหาไดดี และไมอึดอัดใน การทากิจกรรม การจัดโตะเกาอี้ควรมีความเหมาะสมตอจานวน นักเรียนในหอง ไมแนนหรือแออัดจนเกินไป ความรูสึกคับแคบจะมีผลตอตานความคิดท่ีเปนอิสระ อีกท้ังเปน อุปสรรคตอการจัดกิจกรรม เพราะย่ิงมี นักเรียนมากยิ่งเปนปญหาในการจัดการเรียนดูแลใหคาปรึกษาของครูไม ทั่วถึง ซึ่งปญหาเหลาน้ีจะทาใหสงเส ริมการเรียนรูของนกั เรียนไดยากขึ้น ตัวอยางการจดั โตะและเกาอี้นั้นใหครู พจิ ารณาถึงวัตถปุ ระสงคเปนหลัก เช น การจัดแบบตวั ยู การจัดแบบเปนกลุม การจัดแบบโตะประชุม การจัดแบบวงกลม การจดั แบบกลุมที่ปรกึ ษา การจัดแบบกลุมปฏิบัติการ การจัดแบบประชุม/แยกกลุม ซ่ึงครูสามารถ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมไดใน หนังสอื ครูวิทยาศาสตรมืออาชีพแนวทางการสูการเรยี นการสอนท่ีมี ประสทิ ธผิ ล ภาพท่ี 37 สภาพแวดลอม/บรรยากาศการเรียนรู 2. การจัดสภาพแวดลอมทางจิตวิทยา การแสดงพฤติกรรมของครูมีผลตอความรูสึกและการเรียน ของนักเรียน ครูที่มีพฤติกรรมควบคุม (Controlling) จะทาใหนักเรียนมีความใฝรูอยูในระดับต่า โดยธรรมชาติ ของผูเปนครูแมจะมิไดแสดงพฤติกรรมการควบคุมนักเรียนใหปรากฏก็ตาม ก็จากบุคลิกภาพ หนาท่ีและ สงิ่ แวดลอมในโรงเรยี นผลักดันใหครูเปนผูมีอานาจท่ีจะควบคุมพฤติกรรมของนักเรยี น ท้ังน้ีเพื่อประโยชนใน ด านการปกครอง และการสอน ถาหากครูไมระมัดระวังในเรือ่ งดังกลาว ครกู ็จะแสดงการควบคมุ นักเรียนโดย ไม รตู ัวเปนการกระทาที่ครูไมไดต้ังใจซ่งึ จะเปนผลตอบรรยากาศและการเรียนรูของเดก็ โดยตรง นอกจากนี้ เจตคติ ของครูมีความสาคัญของการเรียนของนักเรยี น ครูที่มีเจตคติท่ีดีตอการเรียนรู มีความต้ังใจท่ีจะปลูกฝง ความรู ความคิด และคุณสมบัติที่พึงประสงคใหมีข้ึนในตัวนักเรียน พยายามปฏิบัติตอนักเรียนอยางสรางสรรค จะมี สวนชวยในการพัฒนานักเรียนใหบรรลุวัตถุประสงค และมีประสิทธภิ าพใหเกิดขึ้นกับนักเรียนไดเปนอยางมาก แนวทางสาหรับครเู พ่ือสงเสรมิ บรรยากาศการเรยี นรู มดี ังน้ี - 53 - OBEC AWARDS

- 54 - - หองเรียนท่ีมีอิสระเสรีเต็มท่ีจะมีเสียงดังทั้งหอง ในสภาพแวดลอมท่ีสมดุล เสียงนั้นจะเปนการพูด แลกเปลยี่ นความคิดเห็นและการแนะนากิจกรรม ตางๆ ท่ีนาไปสูการเติบโตทางความรูและความคดิ ควบคูกันไป นอกจากน้ีควรใหนักเรียนไดทางานไดอยางอิสระ จัดสภาพแวดลอมในหองเรียน กระตุนความคิดและการแกป ญหา โดยมีเวลาวางใหนกั เรยี นไดคิดและแกปญหาอยางอสิ ระ - ครูยืดหยุนและอดทน เมื่อมีเหตุเบี่ยงเบนความสนใจออกไปหรือการขัดจังหวัดเกิดขึ้นใน หองเรียน หรือนอกหองเรียน สนับสนุนใหนักเรียนถามคาถามสาคัญๆ เพราะความกระตือรือรนในการถาม คาถามของ นกั เรียน จะนาไปสูการเรียนรูสิ่งใหมในหองเรยี น - ใหนักเรียนมีประสบการณที่ทาผิดบาง ระหวางการลงมือแกปญหา หากสถานการณหรือ การทา กิจกรรมไมไดมีอันตรายใดๆ เกิดข้ึนระหวางทาง การทาผิดไมวาจะทาผิดในกิจกรรมหรือการลงมือ ปฏิบัติก็ สามารถเปนบทเรียนสาหรับนักเรียนใหจดจาไปได ควรใหนักเรียนไดทดลอง คนพบ เพ่ือใหเกิดความรู ความ เขาใจ และลงมือแกปญหาดวยตนเอง กลาคิดกลาทา ถามีความผิดพลาดเกิดข้ึนก็พรอมยอมรับและหา แนวทางปรับปรุงแกไข - นาผลผลิตของคนอ่ืนมาใหนักเรียนไดดู และเปรียบเทียบขอดีขอเสีย เพ่ือใหนักเรียนไดเห็น แนว ทางการคิดและการแกปญหาของเพื่อนคนอื่นๆ นอกจากนี้ยังชวยใหนักเรียนเขาใจและยอมรับในการคิด และ การตอบสนองที่มีหลายรูปแบบ สนับสนุนใหนักเรียนมีความสนใจใฝรู คนพบแนวทางในการแกปญหา ใหมๆ และสอ่ื สารแนวคิดของตนเองได้ จากแนวทางการจัดสิ่งแวดลอมและบรรยากาศดานตางๆ หากครูสามารถนามาใชในการจัด สภาพสถานท่ีเรียนไดเหมาะสม นากิจกรรมมาใหนักเรียนไดฝกหาความรู การไดฝกทักษะการคิดและการ แก้ปัญหาบอยๆ จะทาใหนักเรียนมีความเชื่อม่ันวา ตนเองสามารถแสดงความสามารถทั้งความรู ความคดิ และ แสดง ทกั ษะตางๆ ตามเปาหมายของการศึกษาได ภาพที่ 38 บรรยากาศการเรยี นรู - 54 - OBEC AWARDS

- 55 - 2) มีรูปแบบการออกแบบกิจกรรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติและเรียนรู้ด้วยวิธี หลากหลาย ผู้สอนการออกแบบกิจกรรมเชิงปฏิบัติการให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้ท้าทายและหลากหลาย แม้รายวิชาที่เน้นทางด้านการบรรยายหลักการ และทฤษฎีก็สามารถจัดกิจกรรม เสรมิ อาทกิ ารอภปิ ราย การแกไ้ ขสถานการณ์ทีก่ าหนด เสริมเขา้ กับกิจกรรมการบรรยาย ภาพท่ี 38 กิจกรรมเชิงปฏบิ ตั ิการให้ผ้เู รียนลงมือปฏิบัติ - 55 - OBEC AWARDS

- 56 - 3) มีกจิ กรรมท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ้เู รยี นมีส่วนรว่ มในการจัดการเรียนรู้ ผู้สอนจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaboratory Learning) ส่งเสริมให้เกิดการ ร่วมมือในกลุ่มผู้เรียน ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ คอยสร้างบรรยากาศการมีส่วนร่วม และการ เจรจาโต้ตอบในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่ือส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ท่ีดีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและ กนั ระหว่างผ้สู อนและเพ่ือน ๆ ในชั้นเรียน ภาพที่ 39 เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการจดั การเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั ท่ี 3 การออกแบบกจิ กรรมทผี่ ู้เรยี นสามารถสร้างความรู้ไดด้ ว้ ยตนเอง 1) มีกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ีหลากหลาย ทา้ ทาย ผู้สอนจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนให้ท้าทาย และหลากหลาย เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถสร้างความรู้ ได้ด้วยตนเอง กระตุนแรงจงู ใจท้งั ชวนใหนักเรยี นอยากรูอยากเห็น มคี วามเช่อื ม่ันในตนเอง กลาคิด กลาทา ภาพที่ 40 กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ท้าทาย - 56 - OBEC AWARDS

- 57 - 2) กจิ กรรมการเรียนรู้เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนมกี ารส่อื สารและแลกเปล่ียนอยา่ งหลากหลาย นอกจากจะเปิดให้นักเรียนอภอปรายร่วมกันหน้าช้ันเรียน ผู้สอนได้ใช้ Cloud Computer และ ชัน้ เรียนออนไลน์ในการใหผ้ ู้เรยี นมกี ารส่ือสาร แลกเปล่ียนความรู้ หรือทางานร่วมกัน ซึ่งเปน็ สว่ นหนึ่งในการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงเข้ามาใช้ ลดการใช้กระดาษอีกทั้งมีความสะดวกและ รวดเรว็ ในการแลกเปล่ียนข้อมูลระหว่างกนั ภาพท่ี 41 Google Education - 57 - OBEC AWARDS

- 58 - ภาพท่ี 42 ช้ันเรียนออนไลน์ - 58 - OBEC AWARDS

- 59 - 3) มีกิจกรรมทผ่ี เู้ รยี นแสดงออกหรอื ถา่ ยทอดความคดิ ผา่ นส่อื ตา่ งๆ อยา่ งหลากหลาย ภาพที่ 43 การเผยแพรผ่ ลงานนักเรยี นผา่ นชอ่ งทาง Youtube - 59 - OBEC AWARDS

- 60 - องคป์ ระกอบท่ี 2 คุณประโยชน์ ตวั ชีว้ ัดที่ 1 ความสามารถในการสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้  ผู้เรยี นสามารถนาความรู้ไปประยุกตใ์ ชไ้ ด้ ร้อยละ 85 ขึ้นไป นักเรียนนาความรู้ที่ได้จากการจัดการเรียนการสอนไปใช้สร้างนวัตกรรม เกิดองค์ความรู้ท่ี หลากหลาย เกดิ ความเขา้ ใจ และสร้างแรงบัลดาลใจในการสร้างสรรคช์ นิ้ งานในอนาคต ภาพที่ 44 ผลการจัดกิจกรรมท่สี ง่ เสริมทักษะการคดิ ตามแนวทาง Active Learning - 60 - OBEC AWARDS

- 61 - ตัวชี้วดั ที่ 2 ความสามารถวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และประเมินค่า  กิจกรรมการเรยี นรู้ส่งผลใหผ้ ้เู รยี นสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ รอ้ ยละ 85 กจิ กรรมการเรียนรู้ออกแบบขึ้นบนฐานความรู้การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการ คิดและแก้ปัญหา ตามหลักสูตรการอบรมของ สสวท. ตามท่ีข้าพเจ้าได้รับการอบรม อันจะช่วยให้นักเรียนฝึก ทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบและครบถว้ น ดังแสดงในภาพที่ 45 ภาพที่ 45 Model การพฒั นากจิ กรรมการเรยี นรู้ที่เนน้ ทักษะการคิดวเิ คราะห์ ของ สสวท. - 61 - OBEC AWARDS

- 62 - ตวั ชี้วัดที่ 3 ความสามารถในการคดิ สรา้ งสรรค์  ผเู้ รียนสามารถสรา้ งชิน้ งานผา่ นเกณฑ์ในระดับดมี าก ร้อยละ 85 กิจกรรมการเรียนรูส้ ง่ เสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างสรา้ งสรรค์ กลา่ วคอื การคิดด้วยมมุ มองท่ีหลากหลาย และแปลกใหม่ไดอ้ ย่างคลอ่ งแคล่ว (สร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยขี ้ึนมาแกป้ ัญหาในชวี ิประจาวัน) เป็นการคดิ ท่ี มคี ุณคา่ สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ นาไปสู่การสร้างสรรค์ส่งิ ใหม่หรอื พัฒนาของเดิมให้ดขี ้นึ บรรยากาศที่สง่ เสริมการคิดสร้างสรรค์ ผู้สอนอยา่ เพ่ิงรีบตัดสินความคดิ ของนักเรียน ให้คุณค่ากับ คาถามของนกั เรียน ชน่ื ชมกบั ความคดิ ท่ีแปลกใหม่ สรา้ งสรรค์แนวการสอนใหมๆ่ อยเู่ สมอ ภาพที่ 46 Model การพฒั นากจิ กรรมการเรยี นรทู้ ี่สง่ เสริมทักษะการคิดสร้างสรรค์ ของ สสวท. ตัวช้ีวดั ที่ 4 กจิ กรรมการเรียนรเู้ ชอื่ มโยงกบั สภาพแวดลอ้ มใกลต้ ัว  มีกิจกรรมการเรียนรูเ้ ช่ือมโยงกับสภาพแวดลอ้ มใกล้ตัว 3 กิจกรรมขน้ึ ไป ในองคร์ วมของการพัฒนาโครงงานสรา้ งนวตั กรรมทางเทคโนโลยีข้ึนมาแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน มีพื้นฐานมาจากการท่ีนักเรียนวิเคราะห์สภาพแวดล้อมใกล้ตัวว่าเกิดปัญหาอย่างไร ยกตัวอย่างเช่นในกิจกรรม ระบบเตือนการชนในรถยนต์ ก็ใช้สภาพปัญหาของอุบัติเหตุทางท้องถนน เป็นตัวตั้งต้นเพ่ือให้นักเรียน ออกแบบระบบแก้ไข นอกจากนี้สภาพปัญหามลภาวะทางอากาศ นักเรียนก็นา Senser MQ2 มาวัดค่า คุณภาพอากาศ แล้วออกแบบระบบบาบัดอากาศหรือระบบเตือนภัย ต่างๆ นาค่าน้ันมาเป็นเงื่อนไขเพ่ือสร้าง - 62 - OBEC AWARDS

- 63 - นวัตกรรมข้ึนมาแก้ปัญหา ยกตัวอย่างอีกกรณีเช่นสภาพปัญหามลภาวะทางน้า นักเรียนก็ออกแบบเครื่องวัด ค่า PH ของนา้ โดยใช้ Senser วดั ค่า PH ออกแบบระบบตูป้ ลาอัจฉริยะ เป็นตน้ ภาพท่ี 47 ตวั อย่างนวัตกรรมที่นกั เรยี นพฒั นาขน้ึ มาบนพื้นฐานการเชื่อมโยงกบั สภาพแวดลอ้ มใกล้ตัว ตัวช้ีวัดที่ 5 กิจกรรมการเรยี นรสู้ ามารถแก้ปญั หาใหช้ มุ ชน สงั คม หรือประเทศชาติ  มกี จิ กรรมการเรยี นรู้ท่สี ง่ ผลถึงการแก้ปญั หาให้ชุมชน สังคม หรือประเทศชาติ 3 กจิ กรรม จุดประสงค์ท่ีนักเรียนสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีข้ึนมาก็เพื่อแก้ปัญหา โดยผู้สอนจัดกิจกรรม การเรียนรู้ท่ีเน้นการใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) เพ่ือให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์ สังเคราะห์ หาแนวทางแก้ไขร่วมกันโดยการระดมสมอง (Brainstorming) เพ่ือหาแนวทางแก้ปัญหาในชีวิตที่ พบเจอ ดังนั้น นวัตกรรมท่ีสร้างขึ้นสามารถนามาขยายผลเพ่ือแก้ปัญหาให้ชุมชน สังคม หรือประเทศชาติ ยกตัวอย่างเช่น สภาพปัญหาของอุบัติเหตุทางท้องถนน สภาพปัญหามลภาวะทางอากาศ สภาพปัญหา มลภาวะทางน้า ปญั หาสุขภาพ ปัญหาภัยพบิ ัติ โดยโครงงานส่ิงประดิษฐ์ทส่ี ร้างขึน้ กเ็ พือ่ แกป้ ญั หาดงั กล่าว ภาพท่ี 48 ตวั อยา่ งนวัตกรรมทน่ี กั เรยี นพัฒนาขนึ้ มาเพ่ือแก้ปญั หา - 63 - OBEC AWARDS

- 64 - ภาพท่ี 49 กระบวนการเรยี นรโู้ ดยการปฏบิ ัตจิ รงิ /การลงมือทา (Learning by Doing) องค์ประกอบที่ 3 ความคดิ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ ตวั ชวี้ ดั ท่ี 1 การนาความรู้ไปใชแ้ ก้ปญั หาใหม่หรือสถานการณใ์ หม่  สะทอ้ นถงึ การมีแนวคิดใหมใ่ นการแก้ปัญหาใหมห่ รอื สถานการณ์ใหม่ 3 กจิ กรรม ขนึ้ ไป ผู้สอนส่งเสริมให้นักเรียนได้คิดสิ่งแปลกๆ ใหม่ๆ โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้คิดพัฒนา โครงงาน ได้อย่างอิสระ ส่งเสริมให้นักเรียนกล้าตอบทุกอย่างที่คิดโดยไม่มีการวิพาก์วิจารณ์หรือประเมินค่า เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็น โต้แย้ง แสดงเหตุผล ส่งเสริมให้นักเรียนถามคาถาม และให้ความ สนใจกับคาถามของนักเรียน กระตือรือร้นต่อคาถามท่ีแปลกๆ ของนักเรียน โดยการตอบอย่างมีชีวิตชีวา หรือ - 64 - OBEC AWARDS

- 65 - ชี้แนะให้หาคาตอบจากแหล่งอื่นๆ ด้วยตนเอง ทาให้ผู้เรียนสามารถสะท้อนถึงการมีแนวคิดใหม่ในการ แก้ปญั หา ดังเห็นได้จากโครงงานท่ีนักเรยี นพัฒนาขึ้นมาแกป้ ญั หาได้อยา่ งหลากหลาย ภาพท่ี 50 ความคิดริเร่ิมสรา้ งสรรค์ในการสร้างชิน้ งาน ตัวช้ีวดั ที่ 2 กจิ กรรมแสดงถึงผูเ้ รยี นได้ใช้ความคดิ ของตนอยา่ งมีเหตผุ ล  ผ้เู รยี นได้ใช้ความคดิ ของตนอย่างมเี หตผุ ล 3 กิจกรรม ขน้ึ ไป ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นเสมอ เช่น นาเสนอร่างโครงงาน นาเสนอ โครงงาน ตลอดจนจดั นิทัศการแสดงผลงาน เน้นใหเ้ หน็ วา่ ความคิดของนักเรียนมีคณุ ค่าและสามารถนาไปใชใ้ ห้ เกิดประโยชน์ได้ สง่ เสริมใหน้ ักเรียนได้ใช้วิจารณญาณของตนเอง และยกย่องชมเชยเมื่อมจี ินตนาการแปลกกว่า ผู้อื่น ใช้คาถามปลายเปิด กระตุ้น ย่ัวยุและเร้าความรู้สึกนึกคิด ให้ชวนคิด ให้ได้ความหมายท่ีลึกซ้ึง สมบูรณ์ ที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ การจัดการเรียนการสอนแบบโครงงานทาให้นักเรียนได้ใช้ความคิดของตนอย่างมี เหตุผล เช่น นักเรยี นระบุถึงปัญหาทตี่ นเองตอ้ งการแก้ได้อย่างชัดเจน นักเรียนต้องให้เหตุผลทช่ี ัดเจนวา่ เหตุใด ถึงตัดสินใจสร้างนวัตกรรมนั้นๆ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ผลดีผลเสียว่ามีมากน้อยอย่างไร หากจะเลือก แนวทางอย่างใดอย่างหนง่ึ ในการพัฒนานวตั กรรม - 65 - OBEC AWARDS

- 66 - ตอนท่ี 4 ตัวชวี้ ัดร่วม เบ้ืองต้น องค์ประกอบท่ี 1 ผลทีเ่ กิดกับผ้เู รียน ตัวชีว้ ดั ที่ 1 ดา้ นคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ 1) นกั เรียนผา่ นการประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ครบท้ัง 8 ขอ้ คิดเปน็ ร้อยละ 100 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ คือ รักชาติ ศาสน์กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่ง คุณลักษณะสาคัญท่ี โรงเรียนสตรีทุ่งสง ปลูกฝังให้เกิดกับนักเรียนทุกคนเพื่อให้นักเรียนมีความเก่งและความดี อย่ใู นสังคมอยา่ งมคี วามสุข 2) นักเรียนประพฤติปฏิบัติตนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท่ีเป็นจุดเน้นของสถานศึกษา ได้ครบทุกขอ้ คดิ เป็นรอ้ ยละ 100 นักเรียนประพฤติปฏิบัติตนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค์ท่ีเป็นจุดเน้นของสถานศึกษาได้ ครบทกุ ข้อคดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ ดังนี้ มวี ินัยและประพฤติตนงามอย่างไทย, มีสุขภาพพลานามัยแข็งแรงสมบรู ณ์ , รักและหวงแหนส่งิ แวดล้อม, เปน็ บคุ คลแห่งการเรียนรู้ นอกจากน้ีผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา รอบสาม โดยคณะผู้ประเมิน ภายนอก สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา มีผลการประเมิน ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับคุณภาพ ดีมาก คะแนนที่ได้ 9.37 และผลการ ประเมนิ คณุ ภาพสถานศกึ ษาโดยรวมอยู่ในระดบั คุณภาพ ดมี าก ทุกตวั บง่ ชี้ และตัวบง่ ชี้ที่ 5 ผลสมั ฤทธิ์ทางการ เรยี นของผเู้ รียน อยูใ่ นระดบั ดี สถานศกึ ษาไดร้ ับการรับรองมาตรฐานการศึกษา ดงั ตารางที่ 11 ตารางที่ 11 สรุปผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม จาแนกตามกลุ่มตวั บ่งช้ีระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน : มัธยมศกึ ษา การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมธั ยมศกึ ษา นา้ หนกั คะแนน ระดับ คะแนน ทไี่ ด้ คุณภาพ กลุม่ ตัวบ่งช้พี นื้ ฐาน ตัวบ่งชี้ท่ี 1 ผูเ้ รยี นมสี ขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี 10.00 9.82 ดมี าก ตัวบ่งชท้ี ี่ 2 ผู้เรยี นมีคุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นยิ มท่พี งึ ประสงค์ 10.00 9.37 ดมี าก ตวั บ่งชท้ี ่ี 3 ผูเ้ รยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรยี นรูอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 10.00 9.07 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ท่ี 4 ผเู้ รียนคดิ เป็น ทาเปน็ 10.00 9.34 ดีมาก ตวั บง่ ชที้ ี่ 5 ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นของผู้เรยี น 20.00 12.77 ดี ตวั บ่งชี้ท่ี 6 ประสทิ ธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนทีเ่ น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั 10.00 10.00 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ี่ 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจัดการและพฒั นาสถานศกึ ษา 5.00 5.00 ดมี าก ตวั บ่งชท้ี ่ี 8 พัฒนาการของการประกันคณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและตน้ สังกดั 5.00 4.99 ดีมาก กลุม่ ตัวบ่งชี้อัตลกั ษณ์ ตวั บ่งชีท้ ี่ 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณิธาน พนั ธกิจ และวัตถปุ ระสงค์ 5.00 5.00 ดมี าก ของการจัดตงั้ สถานศกึ ษา ตวั บง่ ชี้ท่ี 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ท่ีสงผลสะท้อนเป็นเอกลกั ษณ์ 5.00 5.00 ดมี าก ของสถานศกึ ษา - 66 - OBEC AWARDS

- 67 - การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานมธั ยมศกึ ษา นา้ หนกั คะแนน ระดบั คะแนน ทไ่ี ด้ คณุ ภาพ กลมุ่ ตวั บ่งชม้ี าตรฐานการส่งเสรมิ ตวั บง่ ชท้ี ่ี 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพ่อื สง่ เสรมิ บทบาทของสถานศึกษา 5.00 5.00 ดมี าก ตัวบง่ ชที้ ี่ 12 ผลการส่งเสรมิ พัฒนาสถานศึกษาเพ่ือยกระดบั มาตรฐานรกั ษามาตรฐาน 5.00 5.00 ดมี าก และพัฒนาสคู่ วามเป็นเลศิ ท่สี อดคลอ้ งกับแนวทางการปฏิรูปการศกึ ษา คะแนนรวม 100.00 90.36 ดมี าก สถานศกึ ษามผี ลคะแนนรวมทุกตวั บง่ ช้ี ต้งั แต่ 80 คะแนนขน้ึ ไป  ใช่  ไมใ่ ช่ สถานศกึ ษามบี ง่ ชท้ี ไ่ี ดร้ ะดบั ดีข้ึนไป 10 ตวั บ่งชี้ จากท้ังหมด 12 ตัวบ่งชี้  ใช่  ไม่ใช่ สถานศกึ ษามีมตี ัวบง่ ชี้ใดท่มี รี ะดบั คณุ ภาพต้องปรับปรุง หรอื ต้องปรบั ปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่ สรปุ ผลการจัดการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานของสถานศกึ ษาในภาพรวม  สมควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา  ไมส่ มควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา ท่มี า : รายงานสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสอง จาก สมศ. ตารางท่ี 12 ผลการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษา แสดงในตารางสรุปผลไดด้ ังน้ี ตวั บง่ ช้ที ่ี ชอื่ ตัวบ่งช้ี ระดับคณุ ภาพ 1 ผเู้ รยี นมีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ที่ดี ดีมาก 2 ผู้เรยี นมคี ณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านยิ มท่ีพงึ ประสงค์ ดีมาก 3 ผู้เรยี นมีความใฝ่รู้ และเรยี นรอู้ ย่างตอ่ เนอ่ื ง ดมี าก 4 ผเู้ รยี นคิดเปน็ ทาเป็น ดีมาก 5 ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของผเู้ รียน ดีมาก 6 ประสิทธภิ าพการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผู้เรยี นเป็นสาคญั ดีมาก 7 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจัดการและพฒั นาสถานศึกษา ดมี าก 8 พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและหนว่ ยงานตน้ สงั กดั ดีมาก 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา ปณธิ าน/วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ และวตั ถุประสงค์ ดีมาก ของการจัดตัง้ สถานศึกษา 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจดุ เดน่ ที่สง่ ผลสะท้อนเปน็ เอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา ดีมาก 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่อื สง่ เสรมิ บทบาทของสถานศึกษา ดีมาก 12 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผเู้ รียน ดี ท่มี า : รายงานสรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสอง จาก สมศ. 3) นักเรียนได้รับรางวัล/การยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกาศชมเชยจากหน่วยงาน/องคก์รระดับ เขต/จังหวัด ผลการเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน รายการหุ่นยนต์และรายการคอมพิวเตอร์ ระดับ เขต ประจาปีการศึกษา 2562 จาก สพฐ. ได้รับรางวัลเหรียญทองชนะเลิศ 6 รายการ เหรียญทอง 6 รายการ เหรยี ญเงิน 1 รายการ เหรียญทองแดง 2 รายการ เขา้ รว่ ม 1 รายการ ดงั ตารางท่ี 13 - 67 - OBEC AWARDS

- 68 - ตารางท่ี 13 ผลการควบคมุ นักเรยี นเข้าแข่งขนั งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต ปกี ารศกึ ษา 2562 ที่ วัน/เดอื น/ปี รางวัล/เกยี รตคิ ุณ หน่วยงานทีม่ อบ หลักฐาน 1. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ูส้ อนนักเรียน ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรยี ญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการ สพม.12 เกียรติ ประกวดโครงงานคอมพวิ เตอร์ประเภทซอฟตแ์ วร์ ระดบั ชัน้ ม.4-ม.6 ระดับเขตพน้ื ท่ี บตั ร 2. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ู้สอนนกั เรียน ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรยี ญทอง ชนะเลศิ กิจกรรมการ สพม.12 เกยี รติ แข่งขนั สรา้ ง Web Applications ระดับช้ัน ม.4-ม.6 ระดบั เขตพน้ื ท่ี บัตร 3. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนกั เรยี น ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทอง ชนะเลศิ กจิ กรรมการ สพม.12 เกยี รติ แขง่ ขันการสร้างเกมสรา้ งสรรค์กบั คอมพิวเตอร์ ระดับช้ัน ม.1-ม.3 ระดบั เขตพน้ื ที่ บัตร 4. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ู้สอนนักเรยี น ได้รับรางวัลระดบั เหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการ สพม.12 เกยี รติ แข่งขันการสรา้ งการ์ตูนแอนเิ มชั่น (2DAnimation) ระดับชน้ั ม.1-ม.3 ระดับเขตพ้นื ที่ บัตร 5. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนกั เรยี น ได้รับรางวลั ระดับเหรียญทอง ชนะเลศิ กจิ กรรมการ สพม.12 เกยี รติ แข่งขันหุ่นยนต์ผสม ระดับชัน้ ม.4-ม.6 ระดบั เขตพนื้ ที่ บตั ร 6. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนกั เรยี น ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญทอง ชนะเลศิ กิจกรรมการ สพม.12 เกยี รติ แข่งขันหุน่ ยนต์ผสม ระดบั ชน้ั ม.1-ม.3 ระดบั เขตพน้ื ท่ี บตั ร 7. 4-6 ก.ย. 62 ครูผ้สู อนนกั เรียน ได้รบั รางวัลระดับเหรียญทอง กจิ กรรมการแขง่ ขนั สพม.12 เกียรติ หนุ่ ยนตร์ ะดับสงู ระดับช้นั ม.1-ม.3 ระดบั เขตพน้ื ที่ บตั ร 8. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนกั เรียน ได้รบั รางวลั ระดับเหรียญทอง กจิ กรรมการแขง่ ขัน สพม.12 เกียรติ หุ่นยนตร์ ะดบั สูง ระดับช้นั ม.4-ม.6 ระดบั เขตพื้นที่ บัตร 9. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ้สู อนนักเรยี น ไดร้ บั รางวัลระดับเหรยี ญทอง กจิ กรรมการแข่งขนั สพม.12 เกยี รติ หุ่นยนตร์ ะดับพื้นฐาน ระดับช้ัน ม.1-ม.3 ระดบั เขตพืน้ ที่ บัตร 10. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนักเรียน ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญทอง กจิ กรรมการแขง่ ขัน สพม.12 เกียรติ หนุ่ ยนต์ระดับพ้นื ฐาน ระดับชัน้ ม.4-ม.6 ระดบั เขตพื้นท่ี บัตร 11. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนกั เรยี น ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรยี ญทอง กิจกรรมการแข่งขัน สพม.12 เกยี รติ หุ่นยนตร์ ะดับกลาง ระดบั ช้ัน ม.1-ม.3 ระดับเขตพื้นที่ บตั ร 12. 4-6 ก.ย. 62 ครูผู้สอนนกั เรียน ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทอง กจิ กรรมการแข่งขัน สพม.12 เกยี รติ หุ่นยนตร์ ะดับกลาง ระดบั ช้นั ม.4-ม.6 ระดับเขตพ้ืนที่ บตั ร 13. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนักเรียน ได้รับรางวลั ระดบั เหรยี ญเงินกิจกรรมการแขง่ ขนั การ สพม.12 เกยี รติ ตดั ต่อภาพยนต์ ระดับช้นั ม.4-ม.6 ระดบั เขตพื้นที่ บัตร 14. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ูส้ อนนักเรียน ได้รับรางวัลระดบั เหรยี ญทองแดง กจิ กรรมการแขง่ ขนั สพม.12 เกียรติ การสรา้ งเกมสรา้ งสรรค์จากคอมพวิ เตอร์ ระดบั ชั้น ม.4-ม.6 ระดับเขตพน้ื ที่ บตั ร 15. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ู้สอนนกั เรยี น ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง กิจกรรมการแขง่ ขัน สพม.12 เกยี รติ การเขยี นโปรแกรมด้วยภาษาคอมพวิ เตอร์ ระดบั ช้ัน ม.4-ม.6 ระดบั เขตพนื้ ที่ บตั ร 16. 4-6 ก.ย. 62 ครูผู้สอนนกั เรยี น ได้เข้าร่วม กิจกรรมการแขง่ ขันการสร้าง Webpage สพม.12 เกยี รติ ประเภท Text Editor ระดบั ชั้น ม.1-ม.3 ระดบั เขตพื้นที่ บตั ร 4) นักเรียนได้รับรางวัล/การยกย่องเชิดชูเกียรติ/ประกาศชมเชยจากหน่วยงาน/องค์กร ระดับชาติ/นานาชาติ 1. นกั เรยี นไดร้ ับโอกาสให้นาผลงานดา้ นโครงงานคอมพิวเตอร์ระดบั นานาชาติ ในงาน Thailand-Japan ICT Fair 2016 ณ จังหวดั ชลบรุ ี 2. ไดร้ บั โล่เกียรติยศ ระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรียน - อันเป็นผลมาจากการปฏิบัติหน้าที่ในบทบาทของครูที่ปรึกษาและระบบดูแล ชว่ ยเหลือนักเรยี น 3. ไดร้ บั โลเ่ กียรติยศ โรงเรยี นประชาธิปไตยรักษามาตรฐาน - 68 - OBEC AWARDS

- 69 - - การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นพลเมืองดี รู้จักสิทธิและหน้าท่ีตามกฎเกณฑ์กติกาและ ดารงชีวิตอยรู่ ว่ มกันในสังคมอย่างมคี วามสุข เป็นสมาชิกท่ดี ีของพลโลกของประเทศ ตวั ชีว้ ัดท่ี 2 ผลงาน/ชิ้นงาน /ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงาน 1) นกั เรยี นทุกคนมผี ลงาน / ช้ินงาน / ภาระงาน /ผลการปฏบิ ตั ิงาน ครบถว้ นตามที่ครูกาหนด นักเรียนทุกคนมีผลงานได้นาเสนอและจัดแสดงแลกเปล่ียนเรยี นร้ซู ง่ึ กนั และกนั ครูให้นกั เรยี น ออกมานาเสนอผลงานหน้าช้ันเรียน มีการซักถามแลกเปล่ียนเรียนรู้กันและกัน และให้เพื่อนๆ ร่วมกับครู ประเมินผลชนิ้ งาน และคดั เลือกผลงานดีเดน่ นาเผยแพรใ่ นงานวันวชิ าการและสง่ เขา้ แข่งขันตามศักยภาพ ภาพที่ 51 ผลงาน/ชิน้ งาน /ภาระงาน/ผลการปฏบิ ตั งิ าน - 69 - OBEC AWARDS

- 70 - ภาพที่ 51 ผลงาน/ชนิ้ งาน /ภาระงาน/ผลการปฏิบตั งิ าน (ต่อ) - 70 - OBEC AWARDS

- 71 - ภาพที่ 51 ผลงาน/ชนิ้ งาน /ภาระงาน/ผลการปฏิบตั งิ าน (ต่อ) - 71 - OBEC AWARDS

- 72 - ภาพท่ี 51 ผลงาน/ช้นิ งาน /ภาระงาน/ผลการปฏิบัตงิ าน (ตอ่ ) 2) ผลงาน / ชน้ิ งาน / ภาระงาน / ผลการปฏบิ ตั งิ านของนักเรยี นมคี ุณภาพตามเกณฑท์ ่ีกาหนดใน ระดบั ดีขึ้นไป คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 ครูมอบหมายงานให้นักเรียนปฏิบัติ เพอ่ื ฝึกให้นักเรยี นเข้าใจในเรื่องที่เรยี นมากย่งิ ข้ึน พร้อม ท้ังฝึกความชานาญ เมื่องานของนักเรียนผิดหรือบกพร่อง ได้ดาเนินการช้ีแนะและให้นักเรียนแก้ไข ปรับปรุง ผลงาน จนนกั เรยี นปฏบิ ตั ชิ ้ินงานไดใ้ นระดับดี ภาพที่ 52 ผลงาน / ชนิ้ งาน / ภาระงาน - 72 - OBEC AWARDS

- 73 - ภาพท่ี 52 ผลงาน / ช้นิ งาน / ภาระงาน (ต่อ) - 73 - OBEC AWARDS

- 74 - ภาพท่ี 53 ผลงานของนักเรียนมีคณุ ภาพ 3) ผลงาน / ชิ้นงาน / ภาระงาน / ผลการปฏิบัติงานเกิดจากการปฏิบัติงานของนักเรียนตาม หลกั สูตรอยา่ งแทจ้ ริงและไดร้ ับการรบั รองจากผบู้ รหิ ารโรงเรียน นักเรียนมีผลการเรียนอยู่ในระดับ ดี และดีมาก คิดเป็นร้อยละ 90 และจบหลักสูตรช่วงฃ้ัน ตามท่ีสถานศึกษากาหนด คิดเป็นร้อยละร้อย (เอกสาร ปพ.5) และนักเรียนสามารถสร้างผลงานจากการ ประยุกต์ใช้คอมพวิ เตอรไ์ ดอ้ ยา่ งน้อยคนละ 1 ช้ินงาน มีโอกาสนาเสนอผลงานในระดบั นานาชาติ ตวั ช้ีวัดที่ 3 การเผยแพรผ่ ลงานนักเรียน 1) นกั เรยี นไดน้ าเสนอ/จดั แสดง/แลกเปลย่ี นเรียนรู/้ ผลงาน/ช้นิ งาน/ภาระงาน/ผลการปฏบิ ตั งิ าน ท่มี คี ณุ ภาพในรูปแบบต่างๆตามวาระและโอกาสในระดับสถานศึกษาไม่จากดั จานวนครัง้ นักเรียนทุกคนมีโอกาสและสามารถนาเสนอผลงานจัดแสดงแลกเปล่ียนเรียนรู้ผลงานชิ้นงาน ท่มี ีคุณภาพในรปู แบบต่างๆ ตามวาระต่าง ๆ เช่น การจัดแสดงผลงานในโอกาสที่โรงเรียนเป็นเจ้าภาพในการ นาเสนอผลงานทางวิชาการโรงเรียน และจัดแสดงผลการเม่ือมีคณะบุคคลเข้าเย่ียมชมโรงเรียน นอกจากน้ียัง ได้นาผลงานจากการพัฒนาการเรียนการสอนไปแสดงผลงานด้วยการเข้าร่วมการแข่งขันหรือประกวดในงาน แข่งขนั ทกั ษะวชิ าการตามสถาบันการศึกษาต่างๆ - 74 - OBEC AWARDS

- 75 - ภาพท่ี 54 การจัดนทิ รรศการเผยแพร่ผลงานนักเรยี น 2) นักเรียนไดน้ าเสนอ/จัดแสดง/แลกเปลย่ี นเรียนรู้/ผลงาน/ชิน้ งาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัตงิ าน ท่ีมคี ณุ ภาพในรูปแบบตา่ ง ๆ ตามวาระและโอกาสต่อสาธารณะในระดบั เขต/จังหวดั อย่างนอ้ ย 1 ครั้งต่อปี - นักเรียนได้นาผลงานจากการพัฒนาการเรียนการสอนไปแสดงผลงานในงานมหกรรม วชิ าการมัธยมศกึ ษาระดบั เขตอยา่ งตอ่ เนื่องทกุ ปีการศึกษา - 75 - OBEC AWARDS

- 76 - - นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทั กษะคอมพิวเตอร์ระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ สถาบนั อุดมศกึ ษาในท้องถิน่ อยา่ งตอ่ เนื่องเปน็ ประจาทุกปีการศกึ ษา ภาพท่ี 55 จดั แสดงนทิ รรศการและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ 3) นักเรยี นไดน้ าเสนอ/จดั แสดง/แลกเปลีย่ นเรยี นร้/ู ผลงาน/ช้ินงาน/ภาระงาน/ผลการปฏบิ ัตงิ าน ท่มี คี ุณภาพในรูปแบบต่าง ๆ ตามวาระและโอกาสตอ่ สาธารณะในระดับภาค - นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะคอมพิวเตอร์ระดับภาคใต้อย่างต่อเน่ืองเป็น ประจาทกุ ปีการศึกษา ดงั ผลการแข่งขันข้างตน้ - การนาเสนอโครงงานในการเปดิ ศนู ยส์ ะเต็มศึกษาระดับภาคใต้ตอนบน ณ โรงเรียน เบญจมราชทู ิศ - 76 - OBEC AWARDS

- 77 - - จัดแสดงนิทรรศการผลงานนักเรียน สังกัด สพม.12 โดยการนาเสนอโครงงาน คอมพิวเตอร์ ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นระดบั ภาค ภาพที่ 56 แขง่ ขนั ทักษะวชิ าการระดบั ชาติ 4) นักเรยี นไดน้ าเสนอ/จดั แสดง/แลกเปลี่ยนเรยี นร/ู้ ผลงาน/ชนิ้ งาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัตงิ าน ทม่ี คี ุณภาพในรูปแบบตา่ งๆตามวาระและโอกาสตอ่ สาธารณะในระดบั ชาติ/นานาชาติ - นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันทักษะคอมพิวเตอร์ระดับภาคใต้อย่างต่อเน่ืองเป็น ประจาทุกปกี ารศึกษา - นักเรียนเข้าร่วมการแข่งขันการประกวดโครงงานคอมพิวเตอร์ภาคภาษาไทยใน งาน Open House กลุ่มโรงเรียนหอ้ งเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ปกี ารศกึ ษา 2559 - นกั เรียนเขา้ รว่ มแลกเปล่ียนเรยี นร้โู ครงงานคอมพิวเตอร์ระดับนานาชาติ ในงาน Thailand-Japan ICT Fair 2016 ณ จังหวดั ชลบรุ ี ภาพท่ี 57 แลกเปลีย่ นเรยี นรู้โครงงานคอมพวิ เตอรร์ ะดับนานาชาติ - 77 - OBEC AWARDS

- 78 - ภาพท่ี 58 แลกเปลย่ี นเรยี นรู้โครงงานคอมพิวเตอร์ระดับนานาชาติ (ต่อ) ตวั ช้ีวัดที่ 4 การไดร้ ับรางวลั /ยกย่องเชิดชู 1) ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงานของนักเรียนได้รับรางวัล/ยกย่องเชิดชูในระดับ เขต/จังหวัด ผลการเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน รายการหุ่นยนต์และรายการคอมพิวเตอร์ ระดับเขต ประจาปีการศึกษา 2562 จาก สพฐ. ได้รับรางวัลเหรียญทองชนะเลิศ 6 รายการ เหรียญทอง 6 รายการ เหรียญเงนิ 1 รายการ เหรยี ญทองแดง 2 รายการ เขา้ รว่ ม 1 รายการ ดังตารางท่ี 14,15,16 ตารางที่ 14 ผลการควบคุมนกั เรยี นเขา้ แขง่ ขนั งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี น ระดับเขต ปกี ารศึกษา 2562 ที่ วนั /เดือน/ปี รางวลั /เกยี รตคิ ณุ หนว่ ยงานท่ีมอบ หลักฐาน 1. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ู้สอนนักเรยี น ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรยี ญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการ สพม.12 เกียรติ ประกวดโครงงานคอมพวิ เตอรป์ ระเภทซอฟตแ์ วร์ ระดับช้นั ม.4-ม.6 ระดบั เขตพน้ื ท่ี บัตร 2. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนักเรียน ได้รบั รางวัลระดบั เหรียญทอง ชนะเลิศ กจิ กรรมการ สพม.12 เกียรติ แขง่ ขันสรา้ ง Web Applications ระดบั ช้นั ม.4-ม.6 ระดับเขตพืน้ ท่ี บตั ร 3. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนกั เรียน ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ กจิ กรรมการ สพม.12 เกียรติ แข่งขนั การสรา้ งเกมสร้างสรรคก์ ับคอมพวิ เตอร์ ระดับช้นั ม.1-ม.3 ระดบั เขตพื้นที่ บตั ร 4. 4-6 ก.ย. 62 ครูผ้สู อนนกั เรียน ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญทอง ชนะเลศิ กิจกรรมการ สพม.12 เกยี รติ แขง่ ขนั การสร้างการ์ตูนแอนิเมชัน่ (2DAnimation) ระดับชั้น ม.1-ม.3 ระดับเขตพื้นท่ี บัตร 5. 4-6 ก.ย. 62 ครูผู้สอนนักเรยี น ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรียญทอง ชนะเลิศ กจิ กรรมการ สพม.12 เกยี รติ แข่งขันหนุ่ ยนต์ผสม ระดบั ชนั้ ม.4-ม.6 ระดบั เขตพนื้ ที่ บตั ร 6. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนกั เรียน ได้รบั รางวัลระดบั เหรียญทอง ชนะเลิศ กิจกรรมการ สพม.12 เกียรติ แขง่ ขนั หนุ่ ยนต์ผสม ระดับชน้ั ม.1-ม.3 ระดบั เขตพน้ื ท่ี บัตร 7. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนกั เรยี น ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญทอง กจิ กรรมการแขง่ ขัน สพม.12 เกยี รติ หุ่นยนต์ระดับสงู ระดับชั้น ม.1-ม.3 ระดับเขตพนื้ ท่ี บตั ร 8. 4-6 ก.ย. 62 ครผู ้สู อนนักเรียน ไดร้ ับรางวัลระดับเหรียญทอง กิจกรรมการแขง่ ขนั สพม.12 เกยี รติ - 78 - OBEC AWARDS

- 79 - ท่ี วนั /เดอื น/ปี รางวลั /เกยี รตคิ ุณ หนว่ ยงานท่ีมอบ หลกั ฐาน หนุ่ ยนตร์ ะดับสงู ระดับชนั้ ม.4-ม.6 ระดับเขตพ้นื ที่ บัตร 9. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนักเรยี น ได้รับรางวัลระดับเหรียญทอง กจิ กรรมการแขง่ ขนั สพม.12 เกยี รติ ระดับเขตพื้นท่ี บตั ร หุ่นยนต์ระดบั พ้ืนฐาน ระดับชน้ั ม.1-ม.3 สพม.12 เกียรติ 10. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนกั เรยี น ได้รับรางวัลระดบั เหรยี ญทอง กจิ กรรมการแขง่ ขนั ระดบั เขตพน้ื ท่ี บัตร ห่นุ ยนต์ระดบั พื้นฐาน ระดับชั้น ม.4-ม.6 สพม.12 เกยี รติ ระดับเขตพน้ื ที่ บัตร 11. 4-6 ก.ย. 62 ครูผ้สู อนนกั เรียน ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรยี ญทอง กิจกรรมการแขง่ ขนั สพม.12 เกยี รติ หุ่นยนต์ระดบั กลาง ระดบั ช้ัน ม.1-ม.3 ระดับเขตพ้นื ท่ี บตั ร 12. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนกั เรยี น ได้รบั รางวลั ระดับเหรยี ญทอง กิจกรรมการแขง่ ขนั สพม.12 เกียรติ ระดับเขตพื้นท่ี บตั ร ห่นุ ยนต์ระดับกลาง ระดบั ชน้ั ม.4-ม.6 สพม.12 เกยี รติ 13. 4-6 ก.ย. 62 ครผู สู้ อนนกั เรยี น ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรยี ญเงินกจิ กรรมการแข่งขนั การ ระดับเขตพื้นที่ บัตร ตดั ตอ่ ภาพยนต์ ระดบั ชัน้ ม.4-ม.6 สพม.12 เกียรติ ระดับเขตพน้ื ที่ บัตร 14. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนักเรียน ได้รับรางวัลระดับเหรียญทองแดง กิจกรรมการแข่งขัน สพม.12 เกยี รติ การสร้างเกมสรา้ งสรรคจ์ ากคอมพวิ เตอร์ ระดับช้นั ม.4-ม.6 ระดบั เขตพื้นท่ี บัตร 15. 4-6 ก.ย. 62 ครูผู้สอนนักเรยี น ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรียญทองแดง กจิ กรรมการแขง่ ขนั การเขียนโปรแกรมดว้ ยภาษาคอมพวิ เตอร์ ระดับชนั้ ม.4-ม.6 16. 4-6 ก.ย. 62 ครูผสู้ อนนักเรยี น ไดเ้ ขา้ ร่วม กจิ กรรมการแข่งขันการสรา้ ง Webpage ประเภท Text Editor ระดับชน้ั ม.1-ม.3 2) ผลงาน/ช้ินงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงานของนักเรียนได้รับรางวัล/ยกย่องเชิดชูในระดับ ภาค - การไปร่วมกจิ กรรมแข่งขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมภาคใต้ ระดับภาค ตารางที่ 15 ผลการแขง่ ขันคอมพิวเตอร์ งานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดับเขต/ภาค ครั้งท่ี 69 ปีการศึกษา 2562 ทมี่ า : ผลการแข่งขันงานศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นระดับเขต ครงั้ ท่ี 69 ปีการศึกษา 2562 - 79 - OBEC AWARDS

- 80 - ตารางที่ 16 ผลการแขง่ ขนั รายการห่นุ ยนต์ งานศิลปะหตั ถกรรมนกั เรียนครัง้ ท่ี 69 ปีการศกึ ษา 2562 ทีม่ า : ผลการแข่งขนั งานศิลปะหตั ถกรรมนกั เรียนครั้งท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา 2562 3) ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงานของนักเรียน ได้รับรางวัล/ยกย่องเชิดชูใน ระดบั ชาติ/นานาชาติ 1. ผลการเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน รายการหุ่นยนต์และรายการคอมพิวเตอร์ ระดับเขต ประจาปีการศึกษา 2562 จาก สพฐ. ได้รับรางวัลเหรียญทองชนะเลิศ 6 รายการ เหรียญทอง 6 รายการ เหรียญเงิน 1 รายการ เหรียญทองแดง 2 รายการ เข้าร่วม 1 รายการ ได้รับเกียรติบัตรในการเป็นผู้ ควบคุมนักเรียนเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน รายการหุ่นยนต์และรายการคอมพิวเตอร์ ระดับชาติ ประจาปีการศึกษา 2562 จาก สพฐ. ได้รับรางวัลเหรียญทอง 1 รายการ เหรียญเงิน 1 รายการ เหรียญ ทองแดง 2 รายการ เขา้ ร่วม 2 รายการ ดงั ตารางท่ี 17,18 - 80 - OBEC AWARDS

- 81 - ตารางท่ี 17 ผลการควบคุมนักเรียนเขา้ แขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ระดับชาติ ปีการศึกษา 2562 ท่ี วัน/เดอื น/ปี รางวลั /เกียรติคณุ หน่วยงานท่ี หลักฐาน มอบ 1. 6-8 ม.ค. 63 ครผู สู้ อนนกั เรียน ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรียญทองกจิ กรรมการแขง่ ขนั สพฐ. เกยี รติ โครงงานคอมพวิ เตอร์ประเภทซอฟตแ์ วร์ ระดบั ช้นั ม.4-ม.6 ระดบั ชาติ บัตร 2. 6-8 ม.ค. 63 ครผู สู้ อนนกั เรยี น ไดร้ ับรางวลั ระดบั เหรยี ญเงิน กจิ กรรมการแขง่ ขนั สพฐ. เกียรติ หนุ่ ยนตผ์ สม ระดบั ชน้ั ม.1-ม.3 ระดบั ชาติ บตั ร 3. 6-8 ม.ค. 63 ครูผสู้ อนนกั เรยี น ไดร้ บั รางวลั ระดบั เหรยี ญทองแดง กิจกรรมการ สพฐ. เกยี รติ แข่งขนั หุ่นยนต์ผสม ระดับชน้ั ม.4-ม.6 ระดับชาติ บัตร 4. 6-8 ม.ค. 63 ครูผสู้ อนนกั เรียน ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรยี ญทองแดง กิจกรรมการ สพฐ. เกียรติ แขง่ ขนั การสรา้ งเกมสรา้ งสรรค์กับคอมพิวเตอร์ ระดบั ชนั้ ม.1-ม.3 ระดับชาติ บตั ร 5. 6-8 ม.ค. 63 ครูผสู้ อนนักเรียน ได้เขา้ ร่วม กิจกรรมการแข่งขันการสร้างการต์ ูน สพฐ. เกยี รติ แอนิเมชน่ั (2D Animation) ระดบั ช้ัน ม.1-ม.3 ระดับชาติ บัตร 6. 6-8 ม.ค. 63 ครูผสู้ อนนักเรยี น ได้เขา้ ร่วม กิจกรรมการแขง่ ขนั สรา้ ง Web สพฐ. เกยี รติ Applications ระดบั ชัน้ ม.4-ม.6 ระดับชาติ บัตร ตารางที่ 18 ผลการแขง่ ขันรายการคอมพวิ เตอรแ์ ละหุ่นยนต์ งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นระดับชาติ ครงั้ ท่ี 69 ปีการศกึ ษา 2562 - 81 - OBEC AWARDS

- 82 - ทมี่ า : ผลการแข่งขนั งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียนระดับชาติ ครั้งท่ี 69 ปกี ารศกึ ษา 2562 - การไปร่วมแสดงผลงานระดับนานาชาตใิ นงาน Thailand-Japan ICT Fair 2017 4) ผลงาน/ชิ้นงาน/ภาระงาน/ผลการปฏิบัติงานของนักเรียน ได้รับรางวัล/ยกย่องเชิดชู และมีผู้ นาไปประยุกตใ์ ช้/เปน็ แนวคดิ ในการพัฒนาผลงานของนกั เรียน/ครนู อกสถานศกึ ษา - จดั แสดงนิทรรศการหรอื การเยี่ยมชมในโอกาสที่สถานศกึ ษาตา่ งๆขอศึกษาดูงานใน สถานศกึ ษา - สง่ เอกสารเผยแพร่ผา่ นระบบสารบรรณออนไลน์ (My Office) - นาเสนอเผยแพร่ผลการปฏิบตั ิงานท่ีเปน็ เลศิ Best Practice องคป์ ระกอบท่ี 2 ผลการพัฒนาตนเอง ตัวชี้วดั ที่ 1 เป็นแบบอย่างและเปน็ ท่ยี อมรับจากบคุ คลอื่นๆ 1) พฒั นาตนเองในด้านคุณธรรม จรยิ ธรรม การพัฒนาจติ อยา่ งนอ้ ย ปลี ะ๑ ครั้ง มีความประพฤติ ปฏบิ ัติตนอยูศ่ ลิ ธรรม โดยการต้งั มน่ั อย่ใู นศิล ๕ ยึดหลกั พรหมวหิ าร ๔ เมตตา ความปรารถนาให้ผู้อื่นไดร้ บั สขุ กรุณา ความปรารถนาใหผ้ ู้อื่นพ้นทุกข์ มุทิตา ความยนิ ดเี มอ่ื ผู้อน่ื ไดด้ ี อุเบกขา การรจู้ ักวางเฉย เข้าร่วมกิจกรรมอันตามธรรมเนียมประเพณี เช่น วันสารทเดือนสิบ พระเพณีชักพระ วัน สาคญั ทางศาสนา และได้สง่ เสริมกิจกรรมของนักเรยี นซึงเปน็ กิจกรรมประจาปี ของสถานศึกษา คือ การให้ทาน ไฟ โครงการอ่มิ บุญ และค่ายจริยธรรม อยา่ งตอ่ เน่ือง 2) ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดีตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ทั้งในหนา้ ทรี่ าชการและสว่ นตน ความเป็นอยู่ที่ต้องไม่ฟุ้งเฟ้อต้องประหยัดไปในทางท่ีถูกต้อง\"ยึดถือปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความ ถูกต้องและสุจริตมีสติย้ังคิดพิจารณาอย่างรอบคอบ ก่อนท่ีจะตัดสินใจ หรือกระทาการใดๆ จนกระท่ังเกิดเป็น ภูมิคุ้มกันที่ดีในการดารงชีวิต โดยสามารถคิดและกระทาบนพ้ืนฐานของความมีเหตุมีผล พอเหมาะ พอประมาณกับสถานภาพ บทบาทและหน้าท่ีของตน ในแต่ละสถานการณ์ ตลอดจนอบรมสั่งสอนให้ศิษย์มี ความเขา้ ใจและตระหนักถงึ คณุ ค่าของการอยู่ร่วมกนั ของคนในสังคม - 82 - OBEC AWARDS

- 83 - 3) น้อมนาแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกตใ์ ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน จนไดร้ ับการยอมรบั หรือการยกย่องเชดิ ชจู ากหน่วยงาน/องคก์ รภาครัฐและเอกชน ระดบั เขต/จงั หวัด ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ได้ยึดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซ่ึงได้กาหนดคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของผู้เรียนข้อท่ี 5 ในจานวน 8 ข้อ คือ “อยู่อย่าง พอเพียง” โดยมุ่งเน้นในเรื่องกระบวนการคิด ปลูกฝังให้ผู้เรียนดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง คือรู้จักความพอดี ประมาณตน มีเหตุมีผล ทั้งยังมีส่วนร่วมกับสถานศึกษาในการจัดทาหลักสูตร ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง และรว่ มแสดงผลงานวชิ าการตามโอกาส 4) นอ้ มนาแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน จนไดร้ บั การยอมรบั หรอื การยกย่องเชดิ ชจู ากหน่วยงาน/องคก์ รระดบั ชาติ มีส่วนร่วมในการดาเนินงานกับสถานศึกษา บริหารจัดการตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี ง จนได้รบั คดั เลอื กเปน็ โรงเรียนตน้ แบบการนาหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใชใ้ นการบริหารจัดการ ตัวชี้วัดที่ 2 พฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง (การได้รบั การพัฒนา/พัฒนาตนในรอบ 2 ปี) ให้รายงาน 2 สว่ น คอื สว่ นที่ 1 การได้รับการพฒั นา ข้าพเจ้าเขา้ รบั การพัฒนาผา่ นการอบรมเกิน 41 ชว่ั โมงตอ่ ปี ตารางที่ 19 ตัวอย่างหลกั สูตรทไี่ ดร้ ับพัฒนา วนั /เดือน/ปี จานวนครงั้ เรือ่ ง หนว่ ยพัฒนา/สถานท่ี การนาผลไปใช้ ชวั่ โมง 14-15 ม.ค. 63 12 อบรมเชญิ ปฏบิ ตั ิการ เตรยี มความพร้อมเพอื่ โรงเรยี นสตรีทุ่งสง จัดทาตัวบง่ ชแี้ ละ รับการประกันคณุ ภาพภายนอก รอบ 4 มาตรฐานการศึกษาของ โรงเรียนใหส้ อดคลอ้ งกบั การประกันคณุ ภาพ 30 พ.ย. - 1 ธ.ค.62 12 อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นาการเรียนการสอนโดย โรงเรยี นสตรที ุ่งสง เพื่อยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ ใช้ O-NET เปน็ ฐาน ทางการเรียน 4 ส.ค. 62 6 อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ การจดั ทารายงานวิธปี ฏบิ ัติ โรงเรยี นสตรที งุ่ สง เพ่ือยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ ท่ีเปน็ เลิศ (Best Practices) ทางการเรยี น 5-10 ธ.ค.62 10 วัน ศกึ ษาดูงาน ณ โรงเรียนเฉลิมขวญั สตรี จังหวดั โรงเรยี นสตรีท่งุ สง ผลการศึกษามาพัฒนา พิษณุโลก ตนเองและโรงเรยี น 10-11 ส.ค. 62 12 อบรมโครงการสง่ เสรมิ การเรียนรเู้ พื่อพฒั นา กระทรวงดจิ ทิ ลั เพือ่ จัดทาแผนการเรยี นรู้ ทกั ษะด้านโคด้ ดง้ิ สสู่ ังคมดจิ ทิ ลั ในอนาคต เศรษฐกิจและสังคม บรู ณาการโคด้ ด้งิ 20-21 ส.ค. 62 12 อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร การพฒั นาระบบการ สพม.12 จดั ทาตัวบง่ ชีแ้ ละ ประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพ่อื เตรยี ม โรงเรียนสตรีทุ่งสง มาตรฐานการศึกษาของ รับการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบ4 โรงเรยี นใหส้ อดคล้อง 18-20 ธ.ค. 61 18 เขา้ รว่ มประชุมวิชาการ สสวท. จดั ทาแผนการเรยี นรู้ตาม นานาชาติ ISMTEC2018 หวั ข้อ “การนาการ แนวคิดเชิงคานวณ คดิ เชงิ คานวณเข้าสู่การศกึ ษา - 83 - OBEC AWARDS

- 84 - สว่ นท่ี 2 การพัฒนาตนเอง ขา้ พเจา้ เข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองเกนิ 41 ชว่ั โมงตอ่ ปี โดยเลือกศึกษาหลกั สูตรที่ตนเองสนใจ และเอื้อประโยชนต์ อ่ การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาที่ตอนรับผดิ ชอบ ตารางท่ี 20 ตวั อย่างหลกั สูตรท่ีเข้ารบั การอบรมเพ่ือพัฒนาตนเอง วนั /เดอื น/ปี จานวนครง้ั เรื่อง หน่วยพัฒนา/สถานท่ี การนาผลไปใช้ สสวท. และ สพฐ ช่ัวโมง สสวท. และ สพฐ ออกแบบแผนการจัดการ สสวท. และ สพฐ เรียนร/ู้ กจิ กรรม 29 ม.ี ค.-29 ม.ิ ย.63 20 หลกั สตู รการอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรยี นรู้ สสวท. และ สพฐ สสวท. และ สพฐ ออกแบบแผนการจัดการ วิทยาการคานวณสาหรบั ครู ป.1-3 (C4T-6) เรยี นร/ู้ กจิ กรรม ออกแบบแผนการจดั การ 29 ม.ี ค.-29 ม.ิ ย.63 20 หลักสตู รการอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรยี นรู้ เรียนร/ู้ กจิ กรรม ออกแบบแผนการจัดการ วทิ ยาการคานวณสาหรบั ครู ป.4-6 (C4T-7) เรยี นร/ู้ กจิ กรรม ออกแบบแผนการจดั การ 29 ม.ี ค.-29 มิ.ย.63 20 หลกั สตู รการอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรียนรู้ เรียนร/ู้ กจิ กรรม วิทยาการคานวณสาหรับครู ม.1-3 (C4T-8) 29 มี.ค.-29 ม.ิ ย.63 20 หลกั สตู รการอบรมออนไลนก์ ารจดั การเรยี นรู้ วิทยาการคานวณสาหรับครู ม.4-6 (C4T-9) 12 ก.ค.-12 ก.ย.63 15 หลกั สตู รการจัดการเรยี นรู้ทีส่ ง่ เสรมิ ทกั ษะการ คดิ และแกป้ ญั หา ภาพท่ี 59 เกียรติบัตรหลักสูตรการอบรมออนไลนก์ ารจัดการเรยี นรวู้ ิทยาการคานวณ - 84 - OBEC AWARDS

- 85 - ภาพที่ 60 เกียรตบิ ตั รหลกั สตู รการอบรมออนไลน์การจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาการคานวณ องค์ประกอบที่ 3 การดาเนินงาน/ผลงานทเ่ี ปน็ เลิศ ตัวช้ีวดั ที่ 1 การนาองค์ความรจู้ ากการได้รบั การพัฒนาหรือการพัฒนาตนเองไปใชป้ ระโยชน์ 1) นาไปพฒั นานกั เรียนแบบองค์รวมได้ ความรู้ ทักษะกระบวนการ และเจตคติ ในการจัดกระบวนการเรียนการสอน ใช้หลักการเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการคิดเป็น แก้ปัญหาเป็นจากการปฏิบัติจริงและสามารถถ่ายทอดแก่คนอ่ืนได้ เชน่ การนาเสนอโครงงานในชั้นเรียน 2) นาไปบรู ณาการกับหน่วย/เร่อื งอน่ื ๆได้ นาความรู้ท่ีได้มาบูรณาการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่ใช้โครงงานเป็นฐาน พัฒนา โครงงาน (การพัฒนาโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์และระบบสมองกลฝังตัว : Micro:bit KidBright Arduino ) เน้นให้ผู้เรียนคิดเอง ทาเอง สร้างนวัตกรรมท่ีช่วยแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน ฝึกทักษะการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง การวิเคราะห์ สังเคราะหค์ วามรใู้ นศาสตร์ตา่ งๆ เพื่อสร้างชน้ิ งาน 3) นาไปบรู ณาการกบั รายวิชาอนื่ ๆได้ - บูรณาการในทุกกลุ่มวิชาในรูปแบบการสอนแนว STAR STEM ซ่ึงเป็นการจัดการเรียนรู้ ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติจากการเรียนรู้ในสังคมท้องถ่ินอย่างมีคุณธรรมจริยธรรม โดยโรงเรียนได้กาหนด เป็นหลักสูตรสถานศึกษาบูรณาการร่วมกันท้ัง 8 กลุ่มสาระ โดยเชื่อมโยงกับกลุ่มสาระการงานอาชีพและ เทคโนโลยีในรายวชิ าการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ คือ การเลือกใช้ซอฟต์แวร์นาเสนองานได้อย่างเหมาะสม ท้ัง ยังเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนทาโครงงานในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลายให้มีความรู้ในการใช้โปรแกรม - 85 - OBEC AWARDS

- 86 - ประยุกต์ และส่งผลงานเข้าประกวดประเภทซอฟแวร์ โครงงานระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย ได้รับรางวัล เหรียญทอง ในงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียนระดับชาติ คร้ังที่ 69 - บูรณาการในรายวิชาภาษาไทย (รายงานโครงงาน) ในการสอนแบบโครงงานน้ัน จาเปน็ ต้องอาศัยหลกั การใช้ภาษา และรูปแบบการรายงานทีถ่ ูกตอ้ งตามหลักภาษาไทย - บูรณาการในรายวิชาภาษาอังกฤษ โดยให้ผู้เรียนสร้างเว็บแอพลิเคชั่นสองภาษา เพ่ือเผยแพร่ข้อมูลด้านการท่องเที่ยงของอาเภอทุ่งสง และได้ส่งผลงานเข้าแข่งขันทักษะคอมพิวเตอร์ประกวด โครงงาน ไดร้ ับรางวลั เหรียญทองระดับภาค และนาเสนอโครงงานสู่เวทีนานาชาติ ในงาน Thailand – Japan ICT Fair 2017 4) นาไปใช้เป็นต้นแบบเผยแพร่ขยายผลได้ - ผู้เรียนนาองค์ความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ในการแข่งขันทักษะวิชาการต่าง ๆ ตามโอกาส จนได้รับรางวัล เช่น รางวัลเหรียญทองการประกวดโครงงานชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับภาค ประจาปี การศึกษา 2562 - ร่วมแสดงผลงานในการจัดนทิ รรศร่วมกับโรงเรยี นทุกกจิ กรรม เช่น งานแสดงผลงาน โรงเรยี นมาตรฐานสากลระดบั ภาคใต้ - จดั ทาเอกสารคู่มือและนาเผยแพร่เพ่ือเปน็ ส่ือประกอบการสอน หรอื แนวทางในการพัฒนา นวตั กรรมไปยังโรงเรียนที่มบี ริบทใกลเ้ คียงกนั และกลุ่มโรงเรียนมัธยมในสังกัด สพม.12 5) เชอ่ื มโยง/นาไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ในการพัฒนาตัวเองน้ัน ได้ดาเนนิ การเพอื่ เป็นการแสวงหาความรู้เพ่ือจะนามาพัฒนางาน และขยายผลไปยังผเู้ รียนโดยตรง ทง้ั ในรปู แบบการสอนห้องเรียนปกติ และจดั หลักสตู รเพมิ่ เตมิ เชน่ กิจกรรม ชมุ นมุ กิจกรรมค่ายคอมพวิ เตอร์ และกจิ กรรมสอนเสริมแก่นกั เรียนกลุม่ สนใจ เพือ่ พฒั นาต่อยอดสง่ การแขง่ ขนั ทักษะ ตลอดจนการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ หมาะสม ตามศักยภาพของผเู้ รียนเช่น นกั เรยี นหอ้ งเรียนพิเศษวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี เพ่อื เป็นการ ส่งเสรมิ ให้หผ้ เู้ รยี นเกิดประสบการณ์ และมีแหลง่ เรยี นรู้เพิ่มข้นึ นอกห้องเรียนและมแี นวคดิ ท่เี ปน็ สากลและเกิดพฒั นาชน้ิ งานได้ ในโอกาสต่อไป รวมถึงศกึ ษาเพอื่ การออกแบบการสอนสาหรบั กลุม่ นกั เรยี นทีย่ ังขาดความพร้อมเพือ่ ยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ให้ ตวั ช้วี ัดที่ 2 การแกป้ ัญหา/การพฒั นาผเู้ รยี น 1) การแก้ปญั หา/พัฒนาผ้เู รยี นโดยใชก้ ระบวนการวิจยั ในชัน้ เรยี น การวเิ คราะห์ผู้เรียนเปน็ การศึกษาปัญหาเพื่อหาแนวทางการพฒั นาการเรียนการสอนในช้นั เรยี นใหเ้ กดิ ประสิทธผิ ล ดงั นนั้ การวิจัยในชนั้ เรยี นจงึ เป็นอีกหน้าทีท่ ี่ครูผู้สอนพึงปฏิบัตซิ ึ่งมเิ คยละเลยในการ ดาเนนิ การดงั กล่าว จงึ ไดม้ ีการวจิ ยั ดังน้ี - การสง่ เสรมิ เจตคตใิ นการสง่ งานของนกั เรียน - การพัฒนาความสามารถทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์สาหรับนกั เรยี นท่เี รียนอ่อน โดยใช้ บทเรียนบนเครือขา่ ยอินเตอร์เน็ต - การศกึ ษาและการแกป้ ัญหานักเรยี นโดยใช้ระบบดแู ลชว่ ยเหลือนักเรยี น โดยการวเิ คราะห์ - 86 - OBEC AWARDS

- 87 - ผู้เรียนรายบุคคล และหาแนวทางการสอนแบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรยี นแบบมีส่วนร่วม การเรียนรู้แบบ แก้ปัญหา โดยอาศัยเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามาจัดการและสนับสนุนการเรียนการสอน เช่นการจัดการสอนแบบ สาธิต แบบประสบการณ์ตรง แบบนอกสถานท่ีหรือนอกชั้นเรียน รวมถึงการจัดค่ายเพ่ือเป็นการกระตุ้นให้ ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิดจากแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย ตัวอย่างนวัตกรรมท่ีใช้ในการเรียนการสอน ได้แก่ การสอนแบบศูนย์การเรียน การใช้กระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ การสอนแบบเรียนรู้ร่วมกัน และการเรียนผ่าน บทเรียนบนเครือขา่ ยอินเตอรเ์ น็ต การวิจยั ในชัน้ เรียน ฯลฯ 2) การแก้ปญั หา / พฒั นาผู้เรยี นโดยใชน้ วตั กรรมทางการเรียนการสอน 1) กรณีนารูปแบบการสอนด้วยกระบวนการโครงงานใช้ในการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสตรีทุ่งสง โดยบรู ณาการกับหลักสูตรท้องถิ่น และรายวชิ าอ่ืนๆ เพื่อพัฒนานกั เรียนให้มคี วามรู้สามารถในการเชอื่ มโยงความรู้และการปฏิบัติจริง เกิดความรู้ ทย่ี ่ังยนื มที กั ษะในการนาไปใช้ประโยชนไ์ ดต้ อ่ ไปในชีวิตประจาวนั ทงั้ ตวั เองและผ้อู น่ื ในสงั คม 2) กรณีพัฒนานักเรียนโดยการใช้บทเรียนบนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต( www.classofjoy) ควบคู่กับคู่มือการจัดการเรียนรู้ เพื่อแก้ปัญหาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน ซ่ึงมีปัญหามาจากหลายสาเหตุท่ีส่งผลให้ นักเรียนมีผลสัมฤทธ์อิ ยใู่ นระดบั ปานกลาง เช่น พ้ืนฐานความรดู้ า้ นคอมพวิ เตอร์ เปน็ นักศกึ ษาวชิ าทหารจงึ ไมไ่ ด้ เขา้ ชั้นเรียน จึงไดจ้ ัดทาบทเรียนบนเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ ในรายวชิ าดังกลา่ วเพ่ือใหผ้ ู้เรียนสามารถทบทวนหรือ ติดตามงานได้ และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองได้หลายๆ คร้ัง จนเกิดความรู้ความเข้าใจตามจุดประสงค์การ เรยี นร้ใู นชุดวชิ าดงั กลา่ ว ส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทส่ี งู ข้ึนตามลาดับ 3) การแกป้ ัญหา/พฒั นาผ้เู รยี นโดยใชร้ ะบบดแู ลช่วยเหลือนักเรยี น 1) กรณีนักเรียนท่ีมีปัญหา ไม่ว่าจะเป็น ปัญหาทางการเรียนหรือปัญหาพฤติกรรมได้ แก้ปัญหาโดย การพูดคุยกับนักเรียนเพ่ือหาแนวทางการแก้ปัญหา เชิญผู้ปกครองและผู้มีส่วนเก่ียวข้องมา รับทราบปัญหา พร้อมทั้งหาแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน ทั้งน้ีโรงเรียนได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ นักเรยี นกลมุ่ เส่ยี งโดยเชญิ วทิ ยากรมาให้ความรู้ 2) กรณีพัฒนานักเรียนกลุ่มปกติ ได้พัฒนานักเรียนด้านความเป็นผู้นาและผู้ตาม การส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ มีสมรรถนะด้านการส่ือสาร ทักษะชีวิต ทักษะการคิด ทกั ษะการแกป้ ัญหาและทักษะการใช้เทคโนโลยี 3) กรณีนักเรียนกลุ่มมีความเป็นเลิศ ได้ทาการส่งเสริมให้นักเรียนแสดงความสามารถของ ตนเองในโอกาสต่าง ๆ ส่งเสริมให้เป็นผู้นาในการพัฒนาเพ่ือน ๆ และองค์กร เช่น เป็นประธานคณะสี เป็น ผนู้ าในการดาเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ข้าพเจ้า มีความตระหนักและรักษ์ในความเป็นครู ปฏิบัติหน้าท่ีโดยยึดถือหลักปฏิบัติตนตาม จรรยาบรรณวิชาชีพท้ัง ๙ ข้อ ด้วยความตระหนัก พัฒนาตนเอง และผู้เรียนให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา ๒๒ ว่าด้วยการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพฒั นาตนเองได้ และว่าถือผ้เู รยี นมีความสาคญั ท่ีสุด กระบวนการจัดการศกึ ษาตอ้ งส่งเสริมใหผ้ ู้เรียนสามารถพัฒนา ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ดังน้ัน การจัดการเรียนรู้จึงไม่จาเป็นต้องจากัดอยู่ในช้ันเรียน เวลาเรียน หรือ ระดับช้ันเรียน แต่สามารถแบ่งตามความสนใจ เหมาะกับศักยภาพของผู้เรียน โดยการส่งเสริมและพัฒนาให้ผู้เรียนได้ สร้างองค์ความรู้จากการฝึกปฏิบัติ ด้วยกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักทางานเป็นทึม รู้จักแก้ปัญหาตาม สถานการณ์ จนประสบผลสาเร็จ เกิดความภาคภูมิใจร่วมกัน นาไปสู่การพัฒนาเยาวชนของประเทศให้มีความรู้ด้าน เทคโนโลยี ตามกรอบและทิศทางของตามเจตนารมณ์ ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ น่ันคือ ดี เก่ง และมี ความสุข ตระหนักยิง่ ในอาชีพครูตามพระราชดารสั พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระวชริ เกล้าเจา้ อยู่หัว - 87 - OBEC AWARDS

- 88 - พระราชทานพระราชวโรกาสให้คณะกรรมการคุรุสภาคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ และคณะกรรมการ มูลนิธิช่วยครูอาวุโสในพระบรมราชูปถัมภ์นาครูอาวุโส ประจาปี ๒๕๕๙ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท รับ พระราชทานเคร่ืองหมายเชิดชูเกียรติ และเงินช่วยเหลือครูอาวุโสเข้ารับพระราชทานเคร่ืองหมายเชิดชู เกียรติ และรับพระราชทานเงินช่วยเหลือ ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจิตรลดา พระราชวังดุสิต ๑๓ มีนาคม ๒๕๖๑ “....งานของครูนั้น ถือได้ว่าเป็นงานสร้างสรรค์อย่างแท้จริง เพราะเป็นการวางรากฐานความรู้ ความดี และความสามารถทุก ๆ ด้านแก่ศิษย์ เพื่อช่วยให้สามารถดารงตนเป็นคนดี มีอาชีพเป็นหลักฐาน และเป็นประโยชน์ต่อสังคม เพราะเหตุที่งานของครูเป็นงานท่ีหนักและเป็นงานสร้างสรรค์ที่บริสุทธิ์ ผู้เป็น ครูจึงต้องปฏิบัติหน้าท่ีด้วยความต้ังใจที่แน่วแน่ด้วย ความพากเพียร อดทน และด้วยความเมตตากรุณา อย่างสูง ท้ังต้องสารวมระวังตนในเรื่องความประพฤติปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ไม่ปล่อยตัวปล่อยใจไปตาม ความตอ้ งการทไี่ มส่ มควรแก่ฐานะและเกียรติภมู ขิ องครู …” ภาพท่ี 60 ภาพประทับใจในความเปน็ ครู - 88 - OBEC AWARDS

- 89 - ภาคผนวก ก รายงานวิจยั ช้ันเรยี น รายงานวจิ ัยชั้นเรียน ช่อื เร่ือง การพัฒนาผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นด้านความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ โดยการเรยี นรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ที่ใช้ Arduino ของนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 โรงเรยี นสตรที งุ่ สง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ชอื่ ผูว้ จิ ยั ดารกิ า มณีฉาย บทคดั ย่อ การวิจัยครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วย Arduino ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน สาหรับนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 โรงเรียนสตรีทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 2) เพ่ือศึกษาผลคะแนนด้านความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์จากการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานโดยใช้ Arduino สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนสตรีทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 3) เพ่ือประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ท่ีมีต่อ การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานโดยใช้ Arduino สาหรับนกั เรยี นช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4/2 โรงเรยี นสตรีทงุ่ สง จ. นครศรีธรรมราช จานวน 39 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ด้วยวิธีการจับฉลากโดยใช้หน่วยห้องเรียนเป็น การสุ่ม เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวจิ ัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) 2) แบบทดสอบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) 3) แบบ ประเมินความคิดสร้างสรรค์ของโครงงาน 4) แบบประเมนิ ความพงึ พอใจ สถิติท่ีใชใ้ นการวิจัย ประกอบด้วย ค่า รอ้ ยละ (Percentage) ค่าเฉล่ยี ( ) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) และ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้กิจกรรมการเรียนแบบโครงงานเป็นฐาน ที่ใช้ Arduino หลังได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 2) ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์รายกุล่มโดยเฉลี่ยมากกว่าร้อยละ 80 จานวน 9 กลุ่ม และไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 จานวน 3 กลมุ่ 3) ผลการประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 4/2 โรงเรยี นสตรที ุ่งสง ใน ภาพรวมด้านการจัดการเรียนรู้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.64) 5) ผลการประเมินความพึง พอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ในภาพรวมด้านกระบวนการกลุ่ม มีความพึง พอใจอยู่ในระดบั มากที่สดุ ( = 4.70) คาสาคัญ : วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ; การเรียนแบบโครงงานเป็นฐาน ; ความคิดสร้างสรรค์ ; ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น ; ความพึงพอใจ ความเปน็ มาและความสาคัญของปัญหา จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ได้ช้ีให้เห็นถึงความจาเป็น ในการปรับเปล่ียนจุดเน้นในการสร้างความพร้อมทางด้านกายภาพท้ังโครงสร้างพ้ืนฐานและการยกระดับ คุณภาพคนโดยจะต้องเร่งพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนา นวัตกรรมและความคิด สร้างสรรค์ให้เป็นปัจจัยหลัก เพ่ือให้เป็นพลังขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยให้ดียิ่งขึ้นซึ่งแนว ทางการสร้างความพร้อมและการพัฒนาดังกล่าวพัฒนาบุคคลทุกช่วงวัยให้มีความพร้อมท้ังกายใจสติปัญญา อารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนมีสมรรถนะทักษะและความรู้พ้ืนฐานท่ีจาเป็นในการดารงชีวิตอันจะ นาไปสู่การพัฒนาประเทศแบบยั่งยืน ( สานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2560) ซง่ึ สอดคลอ้ งกับรายวิชาเทคโนโลย(ี วทิ ยาการคานวณ) เป็นวิชาท่ไี ดเ้ กิดขึ้นใหม่ซ่งึ เปน็ รายวิชาพื้นฐานใน กลุ่มสาระการวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซ่ึงมเี ป้าหมายพัฒนาผูเ้ รียนให้ใช้ทักษะการคดิ เชิงคานวณสามารถคิด - 89 - OBEC AWARDS

- 90 - วิเคราะห์ แก้ปัญหา อย่างเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ สามารถค้นหาข้อมูล หรือสารสนเทศ ประเมิน จัดการ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างนวัตกรรมไปใช้ในการแก้ปัญหาประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริง และทางานร่วมกันอย่างสร้างสรรค์ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย รู้เท่าทัน มีความ รับผิดชอบ มจี รยิ ธรรม ( สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2561) การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานเป็นวิธกี ารจัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง มีการ เรียนรู้ที่เฉพาะเจาะจงหรือวัตถุประสงค์การเรียนรู้ตามโครงงานท่ีผู้เรียนได้กาหนด ด้วยตนเองช่วยให้ผู้เรียนมี อิสระมากข้ึนสามารถเรียนรู้ในสิ่งที่ตนเองสนใจ เป็นการสร้างแรงจูงใจ ให้แก่ผู้เรียนและมีความรับผิดชอบใน การเรยี นมากขึ้น นอกจากน้ียังเป็นการส่งเสริมให้ผเู้ รียนฝึก ทักษะในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนรู้จักวิธที างานอย่าง มีระบบและแผนงานที่ดี มีโอกาสได้ฝึกฝนกระบวนการในการค้นหาความรู้ ตลอดจนผู้เรียนเกิดความคิด สร้างสรรค์และสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ได้ในชีวิตจริงในแง่ของวิธีการทางานอย่างมีระบบและมีความคิด สร้างสรรค์ ดังนั้นการเรียนรู้ แบบโครงงานจึงเป็นวิธีการเรียนรู้หน่ึงท่ีผู้สอนส่วนใหญ่เลือกท่ีจะนามาใช้ในการ จัดกิจกรรมการเรยี น การสอนเพอ่ื สง่ เสรมิ ความคิดสร้างสรรค์ให้แกผ่ ้เู รยี น (ชัยวฒั น์ พทุ ธิรตั น์, 2553) จากท่กี ล่าวมาข้างต้นท้ังหมดนี้ผวู้ จิ ัยจึงมีความสนใจท่จี ะศึกษาผลการเรียนรแู้ บบโครงงานเป็นฐานโดย ใช้ Arduino ท่ีมีผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 เพื่อนาผลการศึกษาท่ีได้มา พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอนทุสี่ ่งเสริม การคิดวเิ คราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบรวมไปถึงการเขียนโปรแกรม และสร้างนวัตกรรมที่แปลกใหม่ท่ีส่งผลให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น และสอดคล้องกับ แนวทางในการจัดการเรียนการสอนตาม นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาเยาวชนของชาติเข้าสู่ โลกยุคศตวรรษที่ 21 ท่ีมุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม รักความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ ความคิด สร้างสรรค์ การคิด เชิงวิพากษ์ มีทักษะด้านเทคโนโลยีสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน ในสังคมโลกได้ วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั 1. เพ่ือเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนท่ีเรียนด้วย Arduino ระหว่างก่อนเรียนและ หลังเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน สาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4/2 โรงเรยี นสตรี ทุ่งสง จ.นครศรธี รรมราช 2. เพื่อศึกษาผลคะแนนด้านความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์จากการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานโดยใช้ Arduino สาหรบั นกั เรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4/2 โรงเรียนสตรที ุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช 3. เพ่ือประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ท่ีมีต่อการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น ฐานโดยใช้ Arduino สาหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4/2 โรงเรยี นสตรีทงุ่ สง จ.นครศรีธรรมราช วธิ ดี าเนนิ การวิจยั การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็นฐาน ท่ีใช้ Arduino ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) มีการดาเนนิ การวจิ ัย ดังนี้ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง ประชากร คอื นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 5 ห้อง จานวนนกั เรียน 189 คน โรงเรียนสตรีทุ่ง สง จ.นครศรธี รรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ห้อง 2 จานวน 39 คน ซ่ึงได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ดว้ ยวธิ กี ารจบั ฉลากโดยใช้หน่วยหอ้ งเรียนเปน็ การสุม่ - 90 - OBEC AWARDS

- 91 - เครือ่ งมือการวจิ ัย 1. แผนการจัดการเรียนรู้วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 การพัฒนาโครงงาน จานวน 3 แผนการเรียนรู้ ใชเ้ วลา 24 ช่ัวโมง 2. แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนใชแ้ บบทดสอบแบบปรนัยชนิด 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ 3. แบบประเมินชิ้นงานดา้ นความคดิ สร้างสรรค์ 4. แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐานโดยใช้ Arduino หนว่ ยการเรยี นรู้ การพฒั นาโครงงาน 5. บอรด์ Arduino 6. โปรแกรม Arduino IDE การสรา้ งเคร่ืองมอื ท่ใี ช้การวจิ ยั 1. ศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาและหลักสูตรแกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี รายวชิ าเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) (ว31111) 2. ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เอกสาร ตารา และงานวิจัยที่เก่ียวข้องแล้วนามาเป็นแนวคิดในการทางาน วิจยั 3. กาหนดหัวข้อในการทางานวิจยั 4. จัดทาชุดกิจกรรมแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการ คานวณ) (ว31111) โดยจัดการเรยี นร้แู บบใช้โครงงานเป็นฐาน โดยใช้ Arduino 5. ตรวจสอบความถูกตอ้ งของชุดกิจกรรมแผนการจดั การเรียนรู้ท่ีเนน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั 6. เสนอครูพี่เล้ยี งและอาจารย์นเิ ทศวชิ าเอก ปรบั ปรงุ แก้ไขเพมิ่ เติม เพ่อื ความถูกตอ้ งและสมบูรณ์ การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 1. ทาการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล ในการวดั หาผลสมั ฤทธิ์ก่อนเรยี นและหลงั เรียน ใช้เกณฑ์การวัดของแต่ละ คน โดยการให้แบบทดสอบ แบบ 4 ตัวเลือก ตอบถูกไดค้ ะแนนข้อละ 1 คะแนน และตอบผดิ ได้คะแนนขอ้ ละ 0 คะแนน 2. ทาการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์หาค่าความแตกต่างของค่าเฉล่ียของคะแนนที่ได้จากการทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น โดยใช้สถิติ t-test แบบ dependent 3. ประเมนิ ผลงานของผ้เู รียนโดยใช้แบบประเมนิ ความคิดรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ 4. นาค่าผลการประเมนิ ความคดิ สร้างสรรค์หาคา่ เฉลยี่ รายกลุ่ม การวิเคราะห์ขอ้ มลู 1.ทดสอบความแตกต่างของคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจัดการเรียนรู้แบบใช้ โครงงานเป็นฐาน โดยใช้ Arduino ใช้ค่าเฉล่ีย ( ) ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบความ แตกต่างของคา่ เฉล่ยี โดยใช้สถิติทดสอบที แบบไมเ่ ป็นอิสระตอ่ กนั (t–test แบบ dependent) 2.นาผลการประเมินความคิดสรา้ งสรรค์ของชน้ิ งานของผู้เรียนมาหาเฉลยี่ รายกลุ่มและค่าเฉล่ียโดยรวม เปรียบเทยี บกับสมมตุ ฐิ านท่ตี งั้ ไว้ 3. นาผลการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนมาหาค่าเฉลี่ย ( ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) เพ่ือให้ความหมายของค่าที่วัดได้ ผู้วิจัยได้กาหนดเกณฑ์ท่ีใช้ในการให้ความหมายโดยอ้างอิงมาจาก งานวิจัย (วชิ ชดุ า คมั ภรี ์เวช, 2556) ซึ่งการใหค้ วามหมายโดยการใหค้ า่ เฉลี่ยเปน็ รายด้านและรายข้อ ดังนี้ - 91 - OBEC AWARDS

- 92 - คะแนนเฉล่ยี 1.00 - 1.50 หมายถึง พงึ พอใจอยู่ในระดับนอ้ ยท่ีสดุ คะแนนเฉลย่ี 1.51 - 2.50 หมายถึง พึงพอใจอย่ใู นระดบั น้อย คะแนนเฉล่ีย 2.51 - 3.50 หมายถึง พงึ พอใจอยใู่ นระดบั ปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 3.51 - 4.50 หมายถึง พงึ พอใจอย่ใู นระดบั มาก คะแนนเฉลี่ย 4.51 - 5.00 หมายถงึ พงึ พอใจอยู่ในระดบั มากท่ีสุด ผลและอภิปรายผล การพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ท่ีใช้ Arduino ของนักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 โดยนาไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4/2 จานวน 39 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย ด้วยวิธกี ารจับฉลากโดยใช้หน่วยห้องเรียนเป็นการสุ่มจากน้ัน นา ผลคะแนนของกลุ่มตวั อย่างที่ไดจ้ ากการทาแบบทดสอบก่อนเรยี นและแบบทดสอบหลังเรียนมาทาการวิเคราะห์ ผล โดยผลการวิจัยมดี ังน้ี 1. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ท่ีใช้ Arduino ของนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 กอ่ นและหลงั ไดร้ ับการจดั การเรียนรู้ ปรากฏผลดังตารางท่ี 1 ตารางท่ี 1 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ที่ใช้ Arduino ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 และหลังไดร้ บั การจัดการเรยี นรู้ กิจกรรมการเรยี นแบบโครงงาน จานวน คะแนนเต็ม คา่ เฉล่ยี ค่าเบย่ี งเบน t-test มาตรฐาน เปน็ ฐานโดยใช้ Arduino (n) (Score) ( ) (S.D.) ก่อนเรียน 39 20 9.79 1.74 -11.54* หลังเรียน 39 20 15.72 2.67 * มีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 จากตารางที่ 1 พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนจดั การเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน โดยใช้ Arduino หลงั ได้รับการจัดการเรยี นรสู้ ูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสาคญั ทางสถติ ิทีร่ ะดับ .05 ซึง่ สอดคล้องกับ สมมตฐิ านทต่ี ัง้ ไว้ 2.ผลคะแนนความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ท่ีใช้ Arduino ของ นักเรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 กอ่ นและหลงั ได้รบั การจัดการเรยี นรู้ ปรากฏผลดงั ตารางที่ 2 ตารางที่ 2 ผลการคะแนนความคิดสร้างสรรค์ทางการเรียนที่จัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ที่ใช้ Arduino ของนกั เรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 และหลงั ไดร้ ับการจดั การเรยี นรู้ ด้าน/ประเด็นความคดิ กลุ่มที่ กลมุ่ ที่ กลุม่ ที่ กลมุ่ กลมุ่ ท่ี กลมุ่ ท่ี กลุม่ ท่ี กลมุ่ ท่ี กลมุ่ ที่ กลมุ่ ที่ กลมุ่ ท่ี กล่มุ ท่ี กล่มุ ที่ สรา้ งสรรค์ 1 2 3 ท่ี 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 ความคดิ ริเรมิ่ 4453243454434 ความคดิ คล่อง 3535253544324 ความคิดยดื หยุ่น 4324333344445 ความคดิ ละเอยี ด ลออ 5545352444534 รวม 16 17 14 17 10 17 11 16 17 16 16 12 17 คิดเปน็ ค่าเฉลยี่ ร้อยละ 80 85 70 85 50 85 55 80 85 80 80 60 85 จากตารางท่ี 2 พบว่า ผลคะแนนความคิดสร้างสรรค์ที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 จานวน 9 กลุ่ม และไม่ ผา่ นเกณฑร์ อ้ ยละ 80 จานวน 3 กลุ่ม - 92 - OBEC AWARDS

- 93 - 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ท่ีใช้ Arduino ของ นักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรียนสตรที ุ่งสง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ด้านการจัดการ เรียนรู้ ปรากฏดงั ตารางที่ 3 ตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนรูแ้ บบโครงงานเป็น ฐาน ท่ีใช้ Arduino ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ดา้ นการจดั การเรยี นรู้ ขอ้ ที่ รายการประเมิน S.D. แปลความหมาย 1 ช่วยให้นกั เรียนมีความเข้าใจเนอื้ หาสาระไดด้ ีขึ้น 4.59 .60 มากทสี่ ดุ 4.62 .75 มากทสี่ ดุ 2 เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้มีการแสวงหาความรู้ด้วย ตัวเอง 3 ทาให้นักเรียนได้รับการกระตุ้นการเรียนรู้จากเพ่ือน 4.74 .50 มากทส่ี ดุ สมาชิกกลุ่ม 4 ทาใหป้ ระสทิ ธิภาพการเรยี นรูข้ องนักเรยี นเพม่ิ ขึน้ 4.69 .52 มากทส่ี ุด 4.44 .79 มาก 5 สง่ เสรมิ ใหน้ ักเรียนมกี ารเรียนร้รู ว่ มกันระหวา่ งกลุม่ 4.62 .71 4.87 .34 มากที่สุด 6 ส่งเสริมใหน้ ักเรียนไดม้ ีการคิดวิเคราะห์และตัดสินใจ มากทส่ี ดุ 4.69 .52 7 ส่งเสริมให้นกั เรยี นมโี อกาสแสดงความคดิ เหน็ มากทสี่ ดุ 8 เป็นการสง่ เสริมให้นักเรยี นมกี ารร่วมระดมความคิดของ สมาชิกกลมุ่ 9 ส่งเสริมให้นักเรยี นมที ักษะในการนาเสนอเชงิ วิชาการ 4.62 .78 มากทีส่ ุด 10 ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรบั ผิดชอบในการศึกษา 4.54 .76 มากที่สุด รวม 4.64 .22 มากทส่ี ุด จากตารางที่ 3 พบวา่ ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรแู้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน โดย ใช้ Arduino ในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( =4.64) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่งเสริมให้นักเรียนมี โอกาสแสดงความคดิ เห็น จัดอยู่ในระดบั มากที่สุดและมคี ่าเฉล่ยี สูงท่ีสดุ ( =4.87) รองลงมาทอี่ ยู่ในระดับมาก คือ สง่ เสรมิ ให้นักเรยี นมีการเรยี นร้รู ว่ มกันระหว่างกล่มุ ( =4.44) - 93 - OBEC AWARDS

- 94 - 4. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ที่ใช้ Arduino ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ด้าน กระบวนการกลุ่ม ปรากฏดงั ตารางท่ี 4 ตารางท่ี 4 ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักเรยี นต่อการเรียนรู้แบบโครงงานเป็น ฐาน ท่ีใช้ Arduino ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ดา้ นกระบวนการกลมุ่ ขอ้ ท่ี รายการประเมิน S.D. แปลความหมาย 1 นักเรยี นไดฝ้ กึ การรับฟังความคดิ เห็นของผอู้ ่นื 4.62 .78 มากทีส่ ดุ 2 สง่ เสริมใหน้ ักเรยี นไดฝ้ กึ ทกั ษะการประสานงานกบั ผู้อ่นื 4.77 .49 มากทส่ี ดุ 3 ส่งเสริมใหน้ กั เรยี นได้ฝึกทักษะการแก้ไขปญั หาความขดั แยง้ ภายในกลุ่ม 4.67 .62 มากทีส่ ุด 4 ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนไดม้ กี ารบรหิ ารเวลาอยา่ งเหมาะสม 4.51 .97 มากที่สุด 5 สง่ เสรมิ ใหน้ กั เรียนไดฝ้ กึ ความอดทน/อดกลัน้ 4.51 .76 มากท่ีสดุ 6 ส่งเสรมิ ให้เกิดความสามัคครี ะหว่างสมาชกิ กลมุ่ 4.90 .31 มากทส่ี ดุ 7 สง่ เสริมให้มกี ารสร้างสัมพนั ธภาพระหวา่ งนกั เรยี นในชนั้ เรียน 4.69 .66 มากทส่ี ดุ 8 ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นได้มีปฏสิ มั พันธ์กบั ครู 4.79 .52 มากทส่ี ดุ 9 ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าของตนเอง มีความภาคภูมิใจที่ตนเองมีส่วนช่วยให้ 4.87 .34 มากทส่ี ุด กลุ่มสาเร็จ มากที่สดุ 10 นกั เรียนสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้จากการจัดกิจกรรมไปประยกุ ต์ใชไ้ ด้ 4.90 .31 รวม 4.70 .24 มากท่สี ดุ จากตารางท่ี 4 พบวา่ ความพงึ พอใจของนกั เรียนที่มตี ่อการจดั การเรยี นรแู้ บบใช้โครงงานเป็นฐาน โดย ใช้ Arduino ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ( =4.70) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่งเสริมให้เกิดความ สามัคคีระหว่างสมาชิกกลุ่มและนักเรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้จากการจัดกิจกรรมไปประยุกต์ใช้ได้ จัดอยู่ใน ระดับมากท่ีสุดและมีค่าเฉลี่ยสูงท่ีสุด ( =4.90) รองลงมา คือ ส่งเสริมให้เห็นคุณค่าของตนเอง มีความ ภาคภูมิใจที่ตนเองมีสว่ นชว่ ยให้ กลมุ่ สาเร็จ ( =4.87) สรุป จากการวจิ ัย เรื่อง การพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ โดยการเรยี นร้แู บบ โครงงานเป็นฐาน ที่ใช้ Arduino ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนสตรีทุ่งสง ในรายวิชาเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) พบวา่ 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนท่ีจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน โดยใช้ Arduino หลังได้รับการ จัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ซ่ึงสอดคล้องกับสมมติฐาน ที่ตั้งไว้ 2.ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์รายกุล่มโดยเฉล่ียมากกว่าร้อยละ 80 จานวน 9 กลุ่ม และไม่ผ่าน เกณฑร์ ้อยละ 80 จานวน 3 กลุ่ม 3.ความพึงพอใจของนักเรียนท่ีมีต่อการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน โดยใช้ Arduino ด้าน กระบวนการจัดการเรียนรู้ ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สดุ ( =4.64) และ ด้านกระบวนการกลุ่ม ในภาพรวม อย่ใู นระดบั มากทสี่ ดุ ( =4.70) - 94 - OBEC AWARDS