Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OBEC Awards ดาริกา มณีฉาย โรงเรียนสตรีทุงสง (ครูผู้สอนยอดเยี่ยม Active Teacher003293)

OBEC Awards ดาริกา มณีฉาย โรงเรียนสตรีทุงสง (ครูผู้สอนยอดเยี่ยม Active Teacher003293)

Published by DARIKA MARNEECHAI, 2021-09-07 09:01:00

Description: OBEC Awards ดาริกา มณีฉาย โรงเรียนสตรีทุงสง (ครูผู้สอนยอดเยี่ยม Active Teacher003293)

Search

Read the Text Version

-1- - 1 - OBEC AWARDS

003293 รายงานผลการปฏบิ ัติงาน เพอื่ รับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครง้ั ท่ี 10 ประจาปีการศกึ ษา 2563 ประเภท ครูผส้ อนยอดเย่ียม Active Teacher ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มวิชาเทคโนโลยี ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรยี นการสอน ของ นางสาวดาริกา มณฉี าย ตาแหน่ง ครู โรงเรียนสตรีทุ่งสง สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษามธั ยมศกึ ษานครศรีธรรมราช สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน - 2 - OBEC AWARDS

แบบรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self Report) เพือ่ รบั รางวัลทรงคุณคา่ สพฐ. (OBEC AWARDS) ครัง้ ที่ 10 ประจาปกี ารศกึ ษา 2563 ประเภท ครผู ส้ อนยอดเยีย่ ม Active Teacher ระดบั มัธยมศึกษา กลุม่ วิชาเทคโนโลยี ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรยี นการสอน ของ นางสาวดารกิ า มณีฉาย ตาแหนง่ ครู โรงเรียนสตรที ่งุ สง สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษานครศรีธรรมราช สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน - 3 - OBEC AWARDS

คารับรองเอกสาร ขา้ พเจ้า นางสาวดารกิ า มณฉี าย ตาแหนง่ ครู ขอรับรองว่า สาเนาเอกสารทุกฉบับตามเอกสาร ประกอบการประเมิน ตามแบบรายงานสรปุ ผลการปฏิบัติงานของตนเอง (Self Report) ตามองค์ประกอบและ ตัวชี้วัด ด้านด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน ระดับภาค/ประเทศ ประเภทครูผ้สอน ยอดเยย่ี ม Active Teacher ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รหัส 003293 ประจาปีการศึกษา ๒๕๖๓ เสนอเพื่อ ขอรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครั้งท่ี ๑๐ เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณ าของ คณะกรรมการ ผู้รายงานได้สาเนาเอกสารจากต้นฉบบั จรงิ ทกุ ประการ จึงลงลายมือชื่อไวเ้ ป็นหลักฐาน ลงชอื่ (นางสาวดาริกา มณีฉาย) ตาแหนง่ ครโู รงเรยี นสตรีทงุ่ สง 24 มนี าคม 2564 การตรวจสอบและรับรองของส่วนราชการต้นสงั กดั  ได้ตรวจสอบแลว้ รบั รองว่าขอ้ มูลถกู ต้อง และเปน็ ความจริง ลงชื่อ ผู้รบั รอง ( นางสุภาภรณ์ คงคานนท์ ) ผ้อู านวยการโรงเรียนสตรที ุ่งสง 24 มีนาคม 2564 - 4 - OBEC AWARDS

ก คานา แบบรายงานสรุปผลการปฏิบัติงานของตนเอง ( Self Report ) การประกวดรางวัลหนว่ ยงาน และผู้มีผลงานโดดเดน่ ประสบผลสาเรจ็ เป็นท่ีประจักษ์เพ่ือรบั รางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) เล่มน้ี เป็นการประเมินครูผ้สอนยอดเย่ียมที่ปฏิบัติงานในสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาและสานักงาน เขตพ้ืนทม่ี ัธยมศึกษาตามหลกั เกณฑ์และวิธีการให้ข้าราชการครู บคุ ลากรทางการศึกษาและหน่วยงานรับรางวัล ทรงคุณค่า สพฐ. โดยมีเนื้อหาจานวน 4 ตอน ซ่ึงประกอบด้วย ตอนที่ 1 ชื่อรางวัลที่เสนอขอ ครูผู้สอนยอด เย่ียม ตอนที่ 2 คุณสมบัติเบ้ืองต้น ตอนท่ี 3 การประเมินตัวช้ีวัดเฉพาะ มีองค์ประกอบการพิจารณา 1 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบท่ี 1 ผลท่ีเกิดกับผู้เรียน ด้านนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรียนการสอน มี องค์ประกอบ ในการพิจารณา 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 คุณภาพ องค์ประกอบที่ 2 คุณประโยชน์ และองค์ประกอบท่ี 3 ความคิดสร้างสรรค์ และตอนที่ 4 การประเมินตัวชี้วัดร่วม มีองค์ประกอบในการ พิจารณา 3 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบท่ี 1 ผลท่ีเกิดกับผู้เรียน องค์ประกอบที่ 2 ผลการพัฒนาตนเอง องค์ประกอบท่ี 3 การดาเนินงาน/ผลงานท่ีเป็นเลิศ เพื่อประเมินผลงานเข้าร่วมการประกวดรางวัลหน่วยงาน และผู้มีผลงานดีเด่นประสบผลสาเร็จเป็นที่ประจักษ์เพื่อรับรางวัลทรงคุณค่า สพฐ. (OBEC AWARDS) ครัง้ ท่ี 10 ประจาปีการศึกษา 2563 ก OBEC AWARDS

สารบญั ข เรือ่ ง หน้า คานา ก สารบญั ข 1 ตอนท่ี 1 ชือ่ รางวลั ทเี่ สนอขอ 2 ตอนท่ี 2 คณุ สมบัตเิ บ้ืองต้น 27 ตอนที่ 3 คุณสมบตั เิ ฉพาะดา้ น 30 องค์ประกอบที่ 1 ผลทเี่ กิดกบั ผูเ้ รยี น 30 ด้านนวตั กรรมและเทคโนโลยเี พ่อื การเรียนการสอน 60 องค์ประกอบท่ี 1 คุณภาพ 64 องคป์ ระกอบท่ี 2 คุณประโยชน์ 66 องค์ประกอบท่ี 3 ความคิดริเร่มิ สรา้ งสรรค์ 66 ตอนที่ 4 การประเมินตัวชี้วดั รว่ ม 82 องคป์ ระกอบท่ี 1 ผลทเ่ี กิดกับผ้เู รยี น 85 องค์ประกอบที่ 2 ผลการพัฒนาตนเอง องคป์ ระกอบท่ี 3 การดาเนินงาน/ผลงานทเ่ี ป็นเลศิ 89 ภาคผนวก 95 ก วจิ ยั ในช้ันเรยี น 97 ข สาเนาเกียรตบิ ัตรเพ่มิ เติม ค สาเนาก.พ.7 ข OBEC AWARDS

-1- เอกสารประกอบการสมัครรบั การประเมิน รบั รางวัลทรงคุณค่า สพฐ.(OBEC AWARDS) ประจาปี 2563 ตอนท่ี 1 ช่อื รางวัลทเ่ี สนอขอ Active Teacher ขปอรขะอเภท บคุ คลยอดเยยี่ ม Active Teacher สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษา สงั กดั นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพอื่ การศึกษายอดเย่ียม ดา้ น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ระดับ กลุ่มวิชาเทคโนโลยี กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ประวัติครูผสู้ อนยอดเยย่ี มที่เสนอเพ่ือรับการคดั เลอื ก 1. ช่อื – สกลุ นางสาวดารกิ า มณีฉาย 2. วัน เดอื น ปีเกิด 20 พฤษภาคม 2527 อายุ 37 ปี 3. สถานศกึ ษา โรงเรียนสตรที ุ่งสง สงั กดั สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษามธั ยมศกึ ษานครศรีธรรมราช ตาบลปากแพรก อาเภอทุ่งสง จังหวดั นครศรธี รรมราช 80110 โทรศัพท์ 0-7541-1348 โทรสาร 0-7547-1968 เว็บไซต์ www.stss.ac.th 4. ท่อี ยู่ปจั จบุ นั 303 หมู่ 3 ตาบลนาหลวงเสน อาเภอทุง่ สง จังหวัดนครศรีธรรมราช 80110 5. ตาแหนง่ ปัจจบุ ัน ครู กลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6. การติดตอ่ โทร. 098-2468994 e-mail : [email protected] 7. ประวตั กิ ารศึกษา ตาราง 1 แสดงประวตั ิการศึกษา ปีทีส่ าเรจ็ สถาบันการศึกษา วฒุ ิ วชิ าเอก/โท/สาขา การศกึ ษา การศกึ ษา 2564 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช จ.นครศรีฯ คม. ครศุ าสตรมหาบัณฑิต สาขาการจัดการนวัตกรรม 2550 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จ.สงขลา เพ่ือการพฒั นา 2546 โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย จ.สงขลา วศ.บ. วศิ วกรรมศาสตร์ 2543 โรงเรียนวทิ ยาศาสตรจ์ ุฬาภรณราชวิทยาลัย จ.ตรงั สาขาวศิ วกรรมคอมพวิ เตอร์ 2540 โรงเรียนรตั นศกึ ษา จ.นครศรีธรรมราช ม.6 การศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน ม.3 การศึกษาภาคบังคับ ป.6 การศกึ ษาภาคบงั คบั - 1 - OBEC AWARDS

-2- 8. ประวตั ิการทางาน เริ่มบรรจุเข้ารับเป็นข้าราชการตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2555 ในตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียน ท่าศาลาประสิทธ์ิศึกษา ย้ายมาช่วยราชการ ณ โรงเรียนสตรีทุ่งสง เมื่อวันท่ี 20 กรกฎาคม 2558 ภายหลัง มีคาสั่งให้ยา้ ยมาดารงตาแหน่ง ครู ณ โรงเรยี นสตรีทุ่งสง เม่ือวันท่ี 30 มิถุยายน 2559 จนถงึ ปัจจุบนั นับเป็น เวลารับราชการรวม 8 ปี 8 เดือน ตารางที่ 2 ประวตั กิ ารปฏบิ ัติงาน สอนชน้ั / ระดับ สถานทที่ างาน มธั ยมศึกษาปีที่ 1,2,3,4 โรงเรยี นสตรีทุ่งสง วนั – เดือน – ปี ตาแหนง่ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1,2,3,4 โรงเรยี นสตรีทงุ่ สง 2564 – ปจั จุบนั ครู คศ.2 มธั ยมศึกษาปที ี่ 4,5,6 โรงเรยี นทา่ ศาลาประสทิ ธิ์ศกึ ษา 2557 – ปัจจุบนั ครู คศ.1 2555 - 2557 ครผู ูช้ ่วย ตอนท่ี 2 คุณสมบัติเบ้ืองต้น เบือ้ งตน้ ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 คุณสมบัตเิ บื้องต้นเชิงประจกั ษ์ 1) ปัจจุบัน ดารงตาแหน่งครู กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสตรีทุ่งสง สงั กดั สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครศรธี รรมราช สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 2) ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ในการจัดการเรียนการสอนมาเป็นเวลา 8 ปี 8 เดอื น 3) เป็นผู้ไมเ่ คยถูกลงโทษทางวนิ ัย ตัวชว้ี ัดท่ี 2 การครองตน (มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรมทีพ่ งึ ประสงค์) พจิ ารณาคุณสมบตั ดิ งั น้ี สถานศึกษามีผลการประเมนิ กลุ่มตัวบง่ ช้ีพนื้ ฐาน ตัวบ่งชี้ท่ี 6 ประสิทธิผลของการจดั การเรยี นการสอน ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554–2558) ตามระดับที่ขอรับการ ประเมนิ อยใู่ นระดบั ดีมาก ดังแสดงในตารางที่ 3 ขา้ พเจ้าปฏิบัตติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพและมาตรฐานวิชาชีพครูมาโดยตลอด ปฏิบัติหน้าทร่ี าชการ ด้วยการดารงตนอยู่แบบพอเพียง โดยน้อมนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง อันเป็นพระราชดาริแห่ง พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิตทุกด้าน มคี วามอดทน มุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มกาลังความสามารถทั้งงานส่วนตนและงานส่วนรวม ปฏิบัติตนเป็น แบบอย่างที่ดีของความเป็นครูแก่ศิษย์ เช่น การแต่งกายสุภาพเรียบร้อย มคี วามอ่อนน้อมถ่อมตน พูดจาด้วย ถ้อยคาท่ีสุภาพนุ่มนวล ให้ความเอาใจใส่ดูแลในฐานะของความเป็นครูดูแลลูกศิษย์อย่างสม่าเสมอมิได้เลือก ปฏิบัติ ให้การแนะนาช่วยเหลือแก่ศิษย์ในทุกๆเรื่องเสมือนบุตรหลานตนเอง มีการวางแผนท่ีดีในด้านการ ปฏิบัติงาน ท้ังในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และหน้าที่ท่ีรับผิดชอบ มุ่งม่ันในการสอนศิษย์เพ่ือให้เป็น คนดี ประสบความสาเร็จ เน้นให้ศิษย์ ยึดม่ันในระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม เป็นแนวทางในการปฏิบัติ และจากการมุ่งม่นั ดงั กลา่ ว นาไปสู่ความสาเรจ็ ทั้งหลาย ข้าพเจ้ามุ่งจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คิดเป็น ทาเป็น บริหารจัดการและ พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ โดยยึดหลกั การมสี ่วนร่วมและของเกี่ยวข้องทุกฝ่าย ร่วมถึง พัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ ตลอดจนส่งเสริมการนาหลักสูตรสู่การปฏิบัติ เน้นกิจกรรมการเรียน การสอนท่หี ลากหลาย และจัดบรรยากาศการเรยี นการสอนเออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ - 2 - OBEC AWARDS

-3- ภาพที่ 1 การจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สาคญั ตารางที่ 3 สรปุ ผลการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบสาม จาแนกตามกลมุ่ ตวั บ่งชี้ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน : มธั ยมศึกษา การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานมธั ยมศึกษา นา้ หนกั คะแนน ระดับ คะแนน ท่ไี ด้ คณุ ภาพ กลมุ่ ตวั บง่ ชพี้ น้ื ฐาน ตัวบ่งชที้ ี่ 1 ผเู้ รยี นมีสขุ ภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี 10.00 9.82 ดีมาก ตัวบ่งชี้ท่ี 2 ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคา่ นิยมที่พึงประสงค์ 10.00 9.37 ดมี าก ตัวบง่ ช้ีที่ 3 ผู้เรยี นมคี วามใฝร่ ู้ และเรียนรู้อย่างตอ่ เนอื่ ง 10.00 9.07 ดมี าก ตวั บ่งชี้ที่ 4 ผ้เู รยี นคดิ เปน็ ทาเปน็ 10.00 9.34 ดีมาก ตัวบง่ ชี้ท่ี 5 ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผู้เรยี น 20.00 12.77 ดี ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธผิ ลของการจดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญ 10.00 10.00 ดีมาก ตัวบง่ ชท้ี ี่ 7 ประสทิ ธภิ าพของการบรหิ ารจดั การและพฒั นาสถานศกึ ษา 5.00 5.00 ดมี าก ตวั บง่ ชี้ท่ี 8 พัฒนาการของการประกนั คณุ ภาพภายในโดยสถานศกึ ษาและตน้ สงั กัด 5.00 4.99 ดีมาก กลมุ่ ตวั บง่ ช้ีอัตลกั ษณ์ 5.00 5.00 ดีมาก ตวั บ่งชีท้ ่ี 9 ผลการพฒั นาใหบ้ รรลุตามปรัชญา ปณิธาน พนั ธกจิ และวัตถุประสงค์ ของการจัดต้ังสถานศกึ ษา ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เนน้ และจดุ เด่นที่สงผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ 5.00 5.00 ดีมาก ของสถานศึกษา กลมุ่ ตัวบ่งชม้ี าตรฐานการสง่ เสรมิ 5.00 5.00 ดมี าก ตัวบ่งชท้ี ่ี 11 ผลการดาเนินงานโครงการพเิ ศษเพอ่ื ส่งเสริมบทบาทของสถานศกึ ษา ตวั บ่งชท้ี ่ี 12 ผลการสง่ เสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดบั มาตรฐานรกั ษามาตรฐาน 5.00 5.00 ดมี าก และพฒั นาสคู่ วามเปน็ เลศิ ท่ีสอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศกึ ษา คะแนนรวม 100.00 90.36 ดมี าก สถานศึกษามผี ลคะแนนรวมทุกตวั บง่ ช้ี ต้งั แต่ 80 คะแนนข้ึนไป  ใช่  ไม่ใช่ สถานศกึ ษามบี ง่ ช้ที ไ่ี ดร้ ะดบั ดขี นึ้ ไป 10 ตวั บ่งชี้ จากทงั้ หมด 12 ตัวบง่ ช้ี  ใช่  ไม่ใช่ สถานศึกษามีมตี ัวบ่งชี้ใดทมี่ รี ะดับคณุ ภาพต้องปรบั ปรุง หรือตอ้ งปรบั ปรุงเร่งด่วน  ใช่  ไม่ใช่ สรปุ ผลการจดั การศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐานของสถานศึกษาในภาพรวม  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา  ไมส่ มควรรบั รองมาตรฐานการศกึ ษา ท่ีมา : รายงานสรปุ ผลการประเมนิ คณุ ภาพภายนอกรอบสาม จาก สมศ. - 3 - OBEC AWARDS

-4- ตวั ชี้วดั ที่ 3 การครองคน 1) รว่ มกจิ กรรมกับผรู้ ว่ มงานในโรงเรยี น การปฏิบัติตนอยู่ในคุณธรรม จริยธรรม ครองตนอย่างมีแบบแผน ส่งผลให้เป็นท่ียอมรับของ บุคคลอ่ืน สามารถจงู ใจให้เกิดการยอมรับและใหค้ วามร่วมมือ สงั เกตได้จากการมีความสามารถในการประสาน สัมพันธ์และสร้างความเข้าใจอันดีกับผู้บังคับบัญชา ตลอดจนสามารถในการติดต่อสัมพันธ์กับผู้อ่ืน ช่วยเหลือ เพ่ือนร่วมงานให้เกียรติและยกย่องเพ่ือนร่วมงาน เป็นผู้มีมนุษย์สัมพันธ์ดี ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน มี อารมณ์ร่าเริงแจ่มใส มีทศั นคติที่ดีกบั เพื่อนร่วมงานและบุคคลทั่วไปให้ความร่วมมือในการปฏิบตั ิงาน รู้จักเอา ใจเขามาใส่ใจเรามีอารมณ์และจิตใจดี มีความเสียสละ มีความเอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ มีน้าใจ ช่วยเหลือเพื่อร่วมงาน ตามโอกาสและเทศกาลต่าง ๆ เช่น งานมงคลสมรส งานบวช หรืองานบุญ ข้าพเจ้าจะให้การช่วยเหลือ สนับสนุนท้ังกาลังกาย กาลังทรัพย์ตามความเหมาะสม นอกจากในหมู่เพื่อนร่วมงานแล้ว ในสังคมชุมชนก็ให้ การสนับสนุนช่วยเหลือจนเป็นที่ยอมรับของบุคคลอื่น ๆ ในสังคมนั้น ๆ สิ่งสาคัญในการครองคน คือ เพ่ือให้ ได้ครองงานเพราะผลจากการช่วยเหลือ เอ้ือเฟ้ือเผื่อแผ่ต่อผู้อื่น จะทาให้ตนเองได้รับการสนับสนุนช่วยเหลือ จากเพื่อนร่วมงานและจากคนในชุมชนเป็นอย่างดีเช่นเดียวกัน ประการสาคัญท่ีเป็นตัวอย่างพอกล่าวได้คือ ความรว่ มมือจากเพอ่ื นครูในการจดั ทาสอ่ื การเรียนการสอน การประเมินผลวัดผลและการรว่ มกันปรับปรุงแก้ไข ให้นักเรียนบรรลุวัตถุประสงค์ผ่านเกณฑ์การเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ เป็นเจ้าหน้าท่ีกลุ่มบริหารงานบุคคล ตลอดจนการเปน็ วทิ ยากรดา้ นคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีแก่เพื่อนครูและ บคุ ลากร ภาพท่ี 2 ภาพกิจกรรมการร่วมกิจกรรมกับเพ่ือนร่วมงาน ตัวอย่างกิจกรรมท่ีร่วมปฎิบัติตามคาส่ังมอบหมายงานในการทางานร่วมกับผู้อ่ืนในโรงเรียน ไดแ้ ก่ คณะกรรมการการบาเพ็ญตนเพื่อประโยชนต์ อ่ สังคมของลูกเสือ-เนตรนารี ระดบั ชั้น ม.1 , แสดงโครงงาน และผลงานนักเรียน กิจกรรม Open House , คณะกรรมการดาเนินการสอบ , ปฏิบัติหน้าท่ีอยู่เวรกลางวัน, ปฏบิ ัติหน้าท่ีครูที่ปรึกษา ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 , ครูควบคุมนักเรียนเข้าแข่งขันทักษะคอมพิวเตอร์ , จดั แสดง โครงงานและผลงานนักเรียนในงานศิลปะหัตถกรรมนักเรียน , ครูควบคุมนักเรียนเข้าศึกษาแหล่งเรียนรู้ หอดูดาว จ.สงขลา , คณะกรรมการและวิทยากรค่ายคอมพิวเตอร์ , คณะกรรมการดาเนินการสอบ , คณะกรรมการโครงการความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ตามแนวทางสสวท.และสอวน. ระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น (MASTER PROGRAM) , คณะกรรมการโครงการห้องเรียนพิเศษวิทยาศาสตร์ ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย หลกั สตรู สสวท. (SMTE : Science Math Technology and Environment) , ครทู ่ีปรกึ ษาโครงการห้องเรยี นพิเศษภาษาจีน , เจา้ หน้าท่ีกลมุ่ บรหิ ารงานบุคลากร - 4 - OBEC AWARDS

-5- 2) จดั /รว่ มกิจกรรมตามระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี น การดูแลช่วยเหลื อนักเรียนเป็นภ าระงานท่ีครูทุกคนต้องปฏิบัติอย่างเต็มความสามา รถ ข้าพเจ้าได้เป็นคุณครูท่ีปรึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4 ในปีการศึกษา 2563 ซ่ึงได้ติดตามดูแลต้ังแต่ เยี่ยมบ้าน ประชุมผู้ปกครอง และจัดกิจกรรมทัศนศึกษา ท้ังน้ีโดยปกติแล้ว แต่ในปีการศึกษา 2558 ได้รับ มอบหมายให้มาดาเนินงานในการบริหารจัดการห้องเรียนพิเศษภาษาจีน (Chinese Program) ช่วงช้ัน มัธยมศึกษาตอนต้น เพื่อให้เกิดประโยชน์สุงสุดในการปฏิบัติหน้าที่จึงได้รับมอบหมายให้เป็นท่ีปรึกษานักเรียน โครงการ รวมเป็นระยะเวลา 5 ปี โดยได้จัดกิจกรรมตา่ งๆ เพ่อื เป็นการดูแลช่วยเหลอื เช่น กจิ กรรมปฐมนิเทศ นักเรียนใหม่ กิจกรรมค่ายคุณธรรม กิจกรรมทัศนศึกษาแหล่งเรียนรู้ กิจกรรมศึกษาวัฒนธรรมชาวจีน ณ จังหวัดสุพรรณบรุ ี โครงการศกึ ษาดูงาน ณ ประเทศสงิ คโปร์ ส่ือสารสมั พันธ์กับผ้ปู กครองทั้งในรูปแบบการเยย่ี ม บา้ น การประชุมผู้ปกครอง การใชก้ ารส่ือสารผ่าน Social Network ของผู้ปกครองนักเรยี นทกุ คนที่รับผิดชอบ ดแู ล นอกจากนย้ี ังดาเนินกิจกรรมโฮมรูม ประชุมระดบั ช้ัน และพบปะผูป้ กครองเฉพาะราย หากมีกรณีที่ต้อง ติดต่อเพ่ือแก้ปัญหานักเรียนในชั้นเรียน ให้ปรึกษาทั้งในและนอกเวลาเรียนทุกช่องทางการส่ือสาร และนา นักเรียนไปทัศนศึกษานอกสถานท่ีปีละ 1 ครั้งได้ดูแล อบรม ตักเตือน นักเรียนในชั้นเรียนท่ีปรึกษาอย่างอย่าง ใกล้ชิด ติดตามและให้ความช่วยเหลือในเรื่องพฤติกรรมการเรียนอย่างใกล้ชิดโดยเฉพาะนักเรียนกลุ่มเส่ียง มี ความเป็นกันเองไม่เลือกปฏิบัติ สนับสนุนกิจกรรมที่นักเรียนดาเนินการอย่างด้วยความเต็มใจ ตลอดจนให้ ความรว่ มมือกบั ทุกฝ่ายเพ่ือให้เกิดประโยชน์ตอ่ นกั เรยี นและโรงเรียน เขา้ ร่วมประชุมครู ประชุมภายในระดบั ช้ัน เพ่ือปรึกษาหารือ วางแผน แก้ไขปัญหาที่เกิดข้ึนในการจัดการเรียนการสอน และจัดทาโครงการต่างๆเพ่ือ พัฒนาการเรียนการสอน จัดทาเอกสารต่างๆ เช่น ทะเบียนนักเรียน สมุดประจาชั้น ทาสมุดรายงานนักเรียน เป็นปัจจุบัน สรุปรายงานการปฏิบัติงาน ปัญหาและข้อเสนอแนะ บทบาทของครูที่ปรึกษาน่ันมีความสาคัญ และเป็นส่วนสาคัญท่ีส่งผลให้โรงเรียนสตรีทุ่งสงได้รับการคัดเลือกให้ได้รับรางวัลระบบการดูแลช่วยเหลือ นกั เรียนดเี ด่นระดบั ประเทศ ภาพท่ี 3 ระบบดูแลช่วยเหลือนกั เรยี น Online ภาพท่ี 4 ภาพกจิ กรรมศึกษาแหลง่ เรียนร้วู ดั พระธาต/ุ หมบู่ ้านคีรวี งค/์ สพุ รรณบุร/ี มาเลเซีย-สงิ ค์โปร์ - 5 - OBEC AWARDS

-6- ภาพที่ 5 ภาพกจิ กรรมระบบดูแลช่วยเหลอื นักเรยี น 3) รว่ มกิจกรรมกับชุมชน ข้าพเจ้าพร้อมให้ความร่วมมือและช่วยเหลือต่อชุมชนและบุคคลอื่นในทุกกิจกรรมที่มีโอกาส ท้ังยังให้การสนับสนุนและเข้าร่วมกิจกรรมเหล่านั้นด้วยความเต็มใจ เช่น งานทา บุญวันข้ึนปีใหม่ ทาบุญข้ึน บ้านใหม่ วันไหว้ครูงาน ทาบุญตักบาตรเน่ืองในวันข้ึนปีใหม่ กิจกรรมเทศกาลบุญสารทเดือนสิบ กิจกรรมงาน บุญงานกุศลอื่นๆ เช่น ทาบุญให้ทานไฟ งานบาเพ็ญกุศลศพ กิจกรรมจุดเทียนชัยถวายพระพร เน่ืองในวันพ่อ แห่งชาติ รว่ มกับองค์กรภาครฐั เอกชน และพสกนิกรทุกหม่เู หล่า กิจกรรมจดุ เทียนชัยถวายพระพร เน่ืองในวัน เฉลมิ พระชนมพรรษา นอกจากการร่วมกิจกรรมต่างๆ ข้างต้น ข้าพเจ้ายังมีโอกาสได้ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือ ตอ่ ชมุ ชนด้านการพัฒนาวชิ าชีพ เช่น การเป็นวิทยากรใหค้ วามร้ดู ้านคอมพวิ เตอร์, คณะกรรมการการตดั สินการ แข่งขันทักษะวิชาการระดับเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช ในระดับเขตพ้ืนที่และระดับชาติ, คณะกรรมการจัดงานวันครูอาเภอทุ่งสง, คณะกรรมการจัดนิทรรศการผลงานนักเรียนสหวิทยาเขตสตรีทุ่งสง ในงานมหกรรมวชิ าการมธั ยมศึกษา สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษานครศรธี รรมราช - 6 - OBEC AWARDS

-7- ภาพที่ 6 ภาพกจิ กรรมการรว่ มกิจกรรมกับชมุ ชน หรือหน่วยงานภายนอก ตารางท่ี 4 ตัวอย่างงานทีไ่ ดร้ บั มอบหมายให้รว่ มกจิ กรรมกบั ชุมชน หรอื หนว่ ยงานภายนอก ท่ี งานที่ไดร้ บั หมอบหมาย หน่วยงานทีม่ อบหมาย เอกสารอ้างอิง/เกยี รตบิ ัตร 1 กรรมการตัดสนิ การแข่งขันการประกวดงาน สมพ.12 ประกาศศนู ยพ์ ัฒนาวชิ าการ มหกรรมวชิ าการมธั ยมศกึ ษา ระดบั เขต/ชาติ ทักษะคอมพิวเตอร์ สพม. 12 3 แสดงผลงานด้านโครงงานคอมพิวเตอรใ์ นงาน โรงเรียนจุฬาภรณร์ าชวทิ ยาลัย หนังสือขอความอนุเคราะห์จาก Thailand-Japan ICT Fair 2017 ปี 2560 ณ นครศรีธรรมราช โรงเรยี นจุฬาภรณร์ าชวิทยาลัย จงั หวดั ชลบุรี นครศรธี รรมราช 4 คณะดาเนินงานแข่งขันฟสิ ิกสส์ ัประยุทธ์ โครงการห้องเรยี นพิเศษ เกยี รตบิ ตั ร SMTE เครอื ข่ายภาคใต้ ตอนบน 5 วิทยากรให้ความรเู้ กี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษา โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห9์ เกียรติบตั ร 6 ศกึ ษาดูงาน ณ โรงเรียนเฉลิมขวญั สตรี จงั หวดั โรงเรยี นสตรที งุ่ สง คาสัง่ โรงเรยี นสตรที ุ่งสง พิษณโุ ลก 7 อบรมโครงการส่งเสรมิ การเรยี นรเู้ พื่อพัฒนาทกั ษะ กระทรวงดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจ เกียรติบตั ร ด้านโคด้ ดิง้ สสู่ งั คมดจิ ิทลั ในอนาคต และสงั คม 8 นาเสนอผลงานในการประชมุ วิชาการวิทยาศาสตร์- สสวท. คาสง่ั /ประกาศผล สสวท. คณิตศาสตร์ ในโรงเรียน ระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 24 (วทร. 24) ณ จังหวดั ชลบุรี 9 กรรมการตรวจรบั พัสดุ องค์การบรหิ ารส่วนตาบลนา คาสั่ง บอนนาบอน จ.นครศรฯี 10 เข้าร่วมประชุมวิชาการ สสวท. คาส่งั /เกยี รตบิ ตั ร นานาชาติ ISMTEC2018 หัวขอ้ “การนาการคดิ เชิงคานวณเข้าสู่การศกึ ษา - 7 - OBEC AWARDS

-8- ภาพที่ 7 ภาพกิจกรรมการเป็นวิทยาการและรว่ มงานกบั ชุมชน หรอื หนว่ ยงานภายนอก - 8 - OBEC AWARDS

-9- ตวั ชวี้ ัดที่ 4 การครองงาน (รับผิดชอบ มุ่งมน่ั ตงั้ ใจทางานตามภารกิจทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนเกิดความสาเร็จ) ขา้ พเจ้าได้นาแนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดชมหาราช ผู้เป็น “ครูแห่งแผ่นดิน”มาเป็นแบบอย่างในการดาเนินชีวิต และการทางาน โดยยึดม่ันในพระราชดารัสของ พระองคท์ ่ีว่า “ผู้ท่ีเป็นครูจะต้องถือเป็นหน้าที่อันดับแรกที่จะต้องใหก้ ารศึกษา คือ ส่ังสอนอบรมอนุชนให้ได้ผล แท้จริง ทั้งในด้านวิชาความรู้ ท้ังในด้านจิตใจ และความประพฤติ ท้ังต้องคิดว่างานท่ีแต่ละคนกาลังทาอยู่นี้คือ ความเป็นความตายของประเทศ เพราะอนชุ นทม่ี ีความรคู้ วามดเี ท่านั้นท่ีจะรักษาชาติบ้านเมืองไว้ได้”และ พระ ราชดารัสท่ีพระราชทานแก่ครูอาวุโส ประจาปี ๒๕๒๐ ที่ว่า “ถ้าครูไม่ห่วงประโยชน์ท่ีควรจะห่วง หันไปห่วง อานาจ ห่วงตาแหน่ง ห่วงสิทธิ์ และห่วงรายได้กันมากๆเข้า แล้วจะเอาจิตเอาใจท่ีไหนมาห่วงความรู้ ความดี ความเจรญิ ของเด็ก ความห่วงในสิ่งเหล่านั้น ก็จะคอ่ ยๆ บ่นั ทอนทาลายความเป็นครไู ปจนหมดส้ิน จะไมม่ ีอะไร ดีเหลือไว้พอที่ตัวเองจะภาคภูมิใจ หรือผูกใจใครไว้ได้ความเป็นครูก็จะไม่มีค่าเหลืออยู่ให้เป็นที่เคารพบูชาอีก ต่อไป” จากพระราชดารสั ดงั กล่าว ข้าพเจ้าได้ต้ังในปฏิบตั ิหน้าท่ีราชการตามบทบาทและหน้าที่ของครูอย่างเต็ม กาลังความสามารถ มีศรัทธาและยึดม่ันในอุดมการณ์แห่งวิชาชีพครู อุทิศตนเพื่อการปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็ม ความสามารถ ม่งุ มัน่ ตั้งใจทางานตามภารกิจจนเกิดความสาเรจ็ โดยดูจากการปฏบิ ัตงิ าน ภาพที่ 8 ภาพรคั วามมงุ่ ม่นั ตั้งใจทางานตามภารกิจท่ีไดร้ ับมอบหมายจนเกดิ ความสาเรจ็ 1) ไมเ่ คยขาดงาน ข้าพเจ้าปฏิบัติงานด้วยความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ไม่เคยขาดงาน เวลาราชการและคาสั่ง ให้มาปฏิบัติราชการในวันหยุด สามารถเป็นแบบอย่างที่ดีต่อเพ่ือนร่วมงาน ปฏิบัติงานตามหน้าที่ท่ีได้รับ มอบหมายอยา่ งเคร่งครดั และเต็มศักยภาพจนทาให้เกิดผลดีต่อหน่วยงาน มีความขยันอดทน ต้งั ใจและเสียสละ โดยคานงึ ถงึ ผลดีที่จะเกดิ ต่อหนว่ ยงาน 2) ลากิจไม่เกนิ 2 คร้งั /ภาคเรยี น และไม่เกิน 4 คร้ัง / ปกี ารศึกษา ข้าพเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความรับผิดชอบเม่ือได้รับมอบหมายงาน ตั้งใจ ปฏิบัติงานให้สาเร็จลุล่วงดว้ ยดีและคานึงถึงคุณภาพของงาน ด้วยความวิริยะอุตสาหะ มีจานวนวันลากจิ ไมเ่ กิน 2 คร้ัง/ภาคเรยี น และไม่เกิน 4 คร้ัง/ปีการศึกษา ไมเ่ กนิ เกณฑก์ ารประเมนิ 3) มีชั่วโมงสอนตามเกณฑท์ ี่ ก.ค.ศ. กาหนด ข้าพเจ้ามีช่ัวโมงสอน ปีการศึกษา 2563 จานวนไม่น้อยกว่า 18 คาบต่อสัปดาห์ ซึ่งอยู่ใน เกณฑต์ ามท่ี ก.ค.ศ.กาหนด ดงั แสดงในตารางที่ 5 - 9 - OBEC AWARDS

- 10 - ตารางที่ 5 รายวิชาและช่วั โมงสอนในปีการศึกษา 2563 ภาค รายวชิ า รหัส/(นก.) ระดับชนั้ ช่ัวโมง/ เรียนที่ สปั ดาห์ 1/2563 เทคโนโลย(ี วทิ ยการคานวณ) ว31111 (1) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4/1-4/5 10 การพฒั นาเว็ปเพจ ว20216 (1) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี 1 2 กราฟิกและการนาเสนอ 1 ว20213 (1) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี 2 2 กราฟิกและการนาเสนอ 2 ว20214 (1) ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี 3 2 หนา้ ที่พลเมือง ส20233 (0.5) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที 2 1 ชุมนุมคอมพวิ เตอร์ กิจกรรมชุมนุม ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี 1-6 1 ลกู เสือ-เนตรนารี กจิ กรรมบงั คับ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที 1 1 โฮมรูม ระบบดแู ลฯ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที 4 1 รวม 20 2/2563 เทคโนโลย(ี วทิ ยการคานวณ) ว31111 (1) ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4/6-4/9 8 การโปรแกรมและการประยุกต์ ว30213 (1) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4/1 2 หุน่ ยนต์ LEGO ว20215 (1) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที 1 2 หนุ่ ยนต์ LEGO ว20215 (1) ชน้ั มัธยมศึกษาปีที 2 4 หนา้ ทพ่ี ลเมือง ส20234 (0.5) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที 2 1 IS2 การสอ่ื สารและการนาเสนอ I20202 ชั้นมธั ยมศึกษาปที ี 2 1 ลูกเสือ-เนตรนารี กิจกรรมบังคับ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที 1 1 โฮมรูม ระบบดแู ลฯ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที 4 1 รวม 20 ทีม่ า : คาส่ังมอบหมายงานปฏบิ ตั ิหนา้ ท่สี อน ปกี ารศึกษา 2563 กล่มุ บรหิ ารงานวชิ าการ โรงเรียนสตรที ุ่งสง 4) มผี ลงาน ดังนี้ ข้าพเจ้าได้จัดทาโครงสร้างการสอนโดยวิเคราะห์จากหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตร สถานศึกษา พร้อมทั้งได้มีการวิเคราะห์ผู้เรียนเพ่ือเป็นแนวทางในการปฏิบัติการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ และนาไปสู่การพัฒนานวัตกรรมโดยจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ, มีวิธีปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ (best practice), แผนพัฒนาตนเอง (ID Plan), รายงานผลการปฏิบัติงาน (PSAR), รายงานการใช้แผนการ จัดการเรยี นรู้, มีวจิ ยั ในช้ันเรยี น รายละเอยี ด ดังน้ี 4.1) แผนการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนสาคัญเป็นปัจจุบันและครบช่ัวโมงสอน ตลอดปี การศกึ ษา การวางแผนส่งเสรมิ การเรียนรู้และพัฒนานักเรยี น ได้จดั ทาแผนการจัดการเรยี นรู้ ได้ พัฒนา แก้ไขในจุดที่ยังบกพร่อง โดยใช้เทคนิควิธีการสอนที่หลากหลาย เพ่ือให้นักเรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ ได้มากทสี่ ุด มีการพัฒนาในดา้ นวิธกี ารสอนหรือการจัดกิจกรรมการจัดการเรยี นร้ใู ห้หลากหลายย่งิ ขึ้น เนน้ การมี ส่วนร่วม และการปฏิบัติจริงตามเทคนิควิธีการสอนท่ีเขียนไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้และสอดแทรกความรู้ท่ี ทันสมัยเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ นอกจากน้ียังได้ให้ความรู้ในด้านคุณธรรม จริยธรรมทุกครั้งท่ีทาการสอน โดยมี ข้ันตอนการเขยี นแผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ดังนี้ - 10 - OBEC AWARDS

- 11 - 1. ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขน้ั พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และมาตรฐาน การเรยี นรู้และตวั ช้วี ัดฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2. ศึกษา วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ เนื้อหาสาระ จุดประสงค์ หน่วยการเรียนรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 3. กาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ สาระการ เรยี นร้แู ละตัวชว้ี ดั 4. ดาเนินการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีส่งเสรมิ ทักษะกระบวนการจัดการเรยี นรู้ ร่วมกับการทากิจกรรมการสารวจในห้องเรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ อย่างมีความหมายและสร้างองค์ความรู้ ไดด้ ว้ ยตนเอง ภาพท่ี 9 แผนการจัดการเรยี นรู้ 4.2) มคี วามสาเรจ็ ในการพฒั นาตามแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ได้รับการนิเทศจากกลุ่มสาระการเรียนรู้ กรรมการวิชาการ และศึกษานิเทศจึงได้มี การวางแผนการพัฒนาตนเอง ท้ังด้านการปฏิบัติการสอนและงานรับมอบหมาย เพ่ือนาไปสู่พัฒนาอย่าง ต่อเนอ่ื งตาม ID Plan และสามารถบรรลสุ ัมฤทธิผลท่วี างไว้ ดงั น้ี ด้านสมรรถนะหลัก มกี ารพัฒนาตนเองใน 4 ดา้ น คอื 1. การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ ได้แก่ ความสามารถในการวางแผนการ ปฏิบัติงาน ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ าน และผลการปฏิบตั ิงาน 2. การบริการท่ีดี ได้แก่ การปรับปรุงระบบบริการ ความพึงพอใจของ ผูร้ ับบริการหรือผเู้ กีย่ วขอ้ ง 3. การพัฒนาตนเอง ไดแ้ ก่ ความสามารถในการวิเคราะห์ตนเอง ความสามารถ 4. ในการใช้ภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเพ่ือ การแสวงหาความรู้ ความสามารถในการตดิ ตามความเคลื่อนไหวทางวชิ าการและวชิ าชพี ความสามารถในการ ประมวล ความรแู้ ละการนาความรู้ไปใช้ 5. การทางานเป็นทีม ได้แก่ ความสามารถในการวางแผนเพ่ือการปฏิบัติงานเป็น ทมี ความสามารถในการปฏบิ ัตงิ านรว่ มกัน - 11 - OBEC AWARDS

- 12 - มกี ารพัฒนาตนเองใน 5 ด้าน คือ 1. ความสามารถในการจัดกระบวนการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคญั 2. ความสามารถในการใชแ้ ละพฒั นานวตั กรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือการ จัดการเรียนรู้ 3. ความสามารถในการวัดในการพัฒนาทักษะชวี ิต สขุ ภาพกายและสุขภาพจิต ความสามารถในการปลกู ฝังความเป็นประชาธิปไตย 4. ความสามารถในการจดั ระบบดูแลและชว่ ยเหลือผู้เรียน และความสามารถ ในการกากับดูแลชัน้ เรียน 5. ความสามารถในการเขยี นเอกสารทางวชิ าการ ความสามารถในการวิจยั ภาพท่ี 10 แผนพฒั นาตนเอง (ID Plan) ภาพที่ 11 ภาพกิจกรรมตามแนวทางการพฒั นาตามแผนพัฒนาตนเอง - 12 - OBEC AWARDS

- 13 - ความสาเรจ็ ในการพัฒนาตามแผนพฒั นาตนเอง ทาให้เกิดแนวทางการปฏบิ ตั ิทเี่ ลศิ ด้วยวธิ ีการ ส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนให้เหมาะสมกับความสามารถ เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และและก้าวทันเทคโนโลยี โดยจัดเป็นโครงการค่ายคอมพิวเตอร์ต่อเนื่อง ทั้งน้ีได้ทาข้อตกลงร่วมมือทางวิชาการกับมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง และคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตนครศรีธรรมราช เพือ่ ให้ผูเ้ รียนมโี อกาสได้เรียนรูก้ ับผู้ชานาญเฉพาะด้าน จนประสบผลสาเรจ็ นาสู่การรายงานผลการปฏบิ ัติงานที่ เป็นเลิศ การส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนโดยการจัดกิจกรรมค่ายคอมพิวเตอร์ และปฏิบัติมาอย่างต่อเน่ืองทุกปี การศึกษา เช่น อบรมโปรแกรม IPST Robot, Scratch ipst, LEGO Robot, ภาษาซี, Website, บอร์ดสมอง กลฝังตัว Arduino , บอรด์ สมองกลฝังตัว Kid-Bright และเข้าร่วมโครงการโรงเรียนพัฒนาคู่ขนานกบั โรงเรียน จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย ซึ่งเป็นวิทยาศาสตร์ส่วนภูมิภาค เพื่อร่วมส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้เรียนด้าน วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ได้ร่วมแสดงผลงานด้านโครงงานคอมพิวเตอร์ในงาน Thailand- Japan ICT Fair 2017 ปี 2560 ณ จังหวัดชลบุรี นาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์- คณติ ศาสตร์ ในโรงเรียน ระดบั ชาติ คร้ังที่ 24 (วทร. 24) ณ จังหวัดชลบุรี นอกจากน้ี ได้จัดกระบวนการเรียนรู้มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนด้วยการปฏิบัติจริงโดยผ่าน กระบวนการโครงงาน ส่งผลให้ผู้เรียนมีองค์ความรู้จากการพัฒนาอย่างย่ังยืน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ และส่งเสริมให้นักเรียนนาชิ้นงานเข้าประกวดแข่งขันในกิจกรรมทักษะวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ จนได้รับ รางวัลเหรียญทอง ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนระดับภาคใต้ติดต่อกัน สร้างความภาคภูมิใจแก่ผู้เรียนและ เป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนอื่นๆ เกิดแนวความคิดใหม่ในการสร้างชิ้นงานใหม่นาเสนออย่างต่อเน่ือง ส่งผลให้ ได้รับรางวัลครูที่มีผลการปฏิบัติท่ีเป็นเลิศ ในงานมหกรรมวิชาการมัธยมศึกษา จากสานักงานเขตพ้ืนที่ การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช - รางวัลเหรียญทอง (Best Practice) การพัฒนาเว็บแอพพลิเคชันบนฐานคิดการออกแบบเกม เพ่ือ สร้างแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิทางการเรียน สาหรับผูเ้ รียน ในปกี ารศกึ ษา 2562 - รางวัลเหรียญทอง ชนะเลิศ (Best Practice) ระบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการเทคนิคเกมมิฟิ เคชนั ในปีการศกึ ษา 2563 (ก) การปฏบิ ตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ 2562 (ข) การปฏิบตั ทิ เ่ี ป็นเลศิ 2563 ภาพท่ี 12 ผลงานวธิ ปี ฏิบตั ิทีเ่ ป็นเลิศ (Best Practice) - 13 - OBEC AWARDS

- 14 - รายงานผลการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายบุคคล (Personal Self Assessment Report : PSAR) เพื่อรายงานผลการจัดการเรียนการสอนและการปฏิบัติหน้าท่ี ตามฝ่าย/ กลุ่มงาน ตลอดจนกิจกรรมต่าง ๆ ท่ีได้ส่งเสริมให้นักเรียนมีคุณลักษณะและคุณภาพตามระดับมาตรฐาน คุณภาพการศึกษาโรงเรียนสตรีทุ่งสง สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช รายงานนี้ โรงเรียนสามารถนาผลการดาเนินงานไปจัดทาการประเมินคุณภาพภายในและสรุปรายงานให้ผู้บังคับบัญชา ตามลาดับสายงานตลอดจนเผยแพร่ให้กับผู้ปกครองนักเรยี นชุมชนในสงั คมได้ทราบผล นาไปใชเ้ ปน็ แนวทางใน การปรับปรุงเพื่อพัฒนาการปฏิบตั ิงานทีไ่ ด้รับมอบหมาย เพ่ือส่งเสรมิ และพัฒนาศักยภาพของผเู้ รียนให้สงู ข้ึนใน ทุก ๆ ด้านตอ่ ไป ภาพที่ 13 รายงานผลการปฏิบตั งิ าน (Personal Self Assessment Report : PSAR) รายงานการใช้แผนการจดั การเรยี นรู้ เพ่ือศึกษาผลการใชแ้ ผนการจดั การเรียนรู้ เปรียบเทยี บ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, เปรียบเทียบร้อยละการพัฒนาคะแนนก่อนเรียน-หลังเรียน, เปรียบเทียบร้อยละของ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรียนปีการศึกษา 2561 และปีการศึกษา 2562 ที่มีระดับผลการเรียนตั้งแต่ ระดบั 3 ( เกรด 3-4 ) อย่างนอ้ ยร้อยละ 30 และประเมินความพงึ พอใจของนักเรยี นท่มี ีต่อการจัดการเรียนการ สอน โรงเรียนสามารถนาผลการดาเนินงานไปจัดทาการประเมินคุณภาพภายในและสรุปรายงานให้ ผ้บู งั คบั บัญชาตามลาดบั สายงาน ภาพที่ 14 รายงานการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ - 14 - OBEC AWARDS

- 15 - มีการผลติ นวัตกรรมเป็นส่อื การเรยี นการสอน ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ไดจ้ ดั ทาใบความรู้ และเอกสารประกอบการจัดการเรียนร้รู ายวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 4 ตลอดจน คู่มือการอบรมในกิจกรรมค่ายคอมพิวเตอร์อย่างเป็นลาดับขั้นตอน ดังเช่น คู่มือการใช้บอร์ดสมองกลฝังตัว , คู่มือบทเรียนออนไลน์ผ่านระบบ www.classofjoy.com/www.teacherandtraining.com , คู่มือการอบรม กจิ กรรมคา่ ยหุ่นยนต์ IPST , ค่มู ือการอบรมกิจกรรมค่ายหนุ่ ยนต์ LEGO ภาพท่ี 15 นวตั กรรม ตวั ชีว้ ดั ที่ 5 มผี ลงานทีเ่ กิดจากการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา 1) ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญอยใู่ นระดับดีมาก ข้าพเจ้าได้จัดกระบวนการเรียนการสอนยึดหลักสูตรแกนกลางโดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญและมีผลการประเมินกลุ่มตัวบ่งช้ีพื้นฐาน ตัวบ่งช้ีท่ี 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ จากการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. 2554–2558) ตามระดับที่ขอรับการ ประเมนิ อยใู่ นระดบั ดีมาก ดังแสดงในตารางท่ี 1 หนา้ ท่ี 2 เนื่องจากข้าพเจ้าดาเนินการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือ การศึกษาเป้าหมาย การจัดการศึกษาและหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมุ่ง พัฒนาผู้เรียนทุกคน อันเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มี จิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลกยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติท่ีจาเป็นต่อการศึกษา ต่อการ ประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพ้ืนฐานความเช่ือว่า ทุกคนสามารถ เรียนรแู้ ละพัฒนาตนเองได้เตม็ ตามศกั ยภาพโดยมีจดุ มุ่งหมายใหน้ กั เรยี นมลี ักษณะต่าง ๆ ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและ ปฏิบตั ิตนตามหลักธรรมของศาสนาทตี่ นนบั ถือ ยึดหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรอู้ นั เป็นสากลและมคี วามสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปญั หา การใช้ เทคโนโลยแี ละมีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจติ ท่ดี ี มีสุขนสิ ยั และรักการออกกาลังกาย - 15 - OBEC AWARDS

- 16 - 4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข 5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะท่ีมุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่งท่ีดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมี ความสุขจากเป้าหมายการจัดการศึกษาดังกล่าวข้าพเจ้าได้นามาเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ ได้มีการวาง แผนการสอนโดยการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ทาการวิเคราะห์ศักยภาพผู้เรียนเพ่ือให้เข้าใจผู้เรียนเป็น รายบคุ คล และข้าพเจ้าได้นาความร้ดู ้าน ICT มาบรู ณาการในการจัดการเรยี นรู้โดยให้นักเรียนมีทักษะในการใช้ สอื่ อย่างมจี ติ สานึกและรบั ผิดชอบ ภาพท่ี 16 การนาความรูด้ า้ น ICT มาบูรณาการในการจัดการเรยี น 2) มงี านวจิ ัยในชั้นเรียนทีท่ าสาเร็จที่เผยแพรแ่ ล้ว มีการวิจยั ในช้ันเรียน ได้มีการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคลเพ่ือหาแนวทางการในการปฏิบัติการ สอนและพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับผู้เรียนในทุกภาระหน้าท่ี ด้านการสอน เช่น การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน, การศกึ ษาและการแก้ปัญหานกั เรียนระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 1/4 โรงเรียนสตรีทุ่งสง, การสอนโครงงานด้วยบอร์ดสมองกลฝังตัว , การวิเคราะห์ผู้เรียน รายบุคคล, การใชบ้ ทเรียนออนไลนผ์ า่ น www.classofjoy.com ข้าพเจ้าได้จัดทาวิจัย พัฒนาเว็บแอพพลิเคชันบนฐานคิดการออกแบบเกม เพ่ือสร้าง แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธทิ์ างการเรียน สาหรับผ้เู รยี น ซึง่ ไดร้ ับการเผยแพร่ในเวทตี ่างๆ ดังน้ี 1. งานมหกรรมวิชาการมัธยมศกึ ษา สพม.12 2. งานประกวดผลการปฏบิ ตั งิ านท่ีเปน็ เลศิ (Best Practice) สพม.12 3. จดั แสดงในกิจกรรม Open house ของโรงเรยี น 4. เผยแพรผ่ ่านเวบ็ ไซดโ์ รงเรยี น www.stss.ac.th 5. เผยแพร่ผา่ นเว็บไซด์ www.krubannok.com 6. เปน็ วิทยากรในวาระโอกาศตา่ งๆ 7. เผยแพรผ่ า่ นระบบงานธรุ การโรงเรยี นไปยังสถานศกึ ษาที่มีบริบทเดียวกัน 8. ตีพิมพใ์ นวารสารของมหาวิทยาลยั - 16 - OBEC AWARDS

- 17 - ภาพท่ี 17 งานวจิ ยั ภาพท่ี 18 การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ ตัวชี้วดั ที่ 6 ไดร้ บั รางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกียรติจากหนว่ ยงานภาครัฐเอกชนเปน็ ท่ยี อมรบั ในวิชาชพี และสังคม 1) ได้รบั รางวลั ยกย่องเชดิ ชูเกียรติจากหน่วยงานรัฐ/ภาคเอกชน เป็นท่ียอมรบั ในวงวชิ าชีพ 1. ไดร้ ับใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครจู ากครุ ุสภา เลขท่ี 60202120475344 ภาพท่ี 19 ใบอนุญาตประกอบวิชาชพี ครจู ากคุรสุ ภา - 17 - OBEC AWARDS

- 18 - 2. ได้รับรางวลั OBEC AWARDS คร้งั ท่ี 9 ประจาปีการศึกษา 2562 ภาพท่ี 20 เกยี รตบิ ัตรรองชนะเลศิ ระดบั เหรยี ญทอง OBEC AWARDS ประจาปีการศึกษา 2562 3. ได้รับเกียรติบัตรในการเป็นผู้ควบคุมนักเรียนเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน รายการหุ่นยนต์และรายการคอมพิวเตอร์ ระดับเขต ประจาปีการศึกษา 2562 จาก สพฐ. ได้รับรางวัล เหรียญทองชนะเลิศ 6 รายการ เหรียญทอง 6 รายการ เหรียญเงิน 1 รายการ เหรียญทองแดง 2 รายการ เข้าร่วม 1 รายการ ภาพท่ี 21 เกยี รตบิ ัตรผู้ควบคมุ นักเรียนเข้าแข่งขันงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ระดบั เขต - 18 - OBEC AWARDS

- 19 - ภาพท่ี 21 เกียรตบิ ัตรผ้คู วบคมุ นกั เรยี นเขา้ แขง่ ขันงานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน ระดับเขต (ต่อ) - 19 - OBEC AWARDS

- 20 - ภาพที่ 21 เกยี รตบิ ัตรผูค้ วบคุมนักเรียนเข้าแขง่ ขันงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขต (ต่อ) 4. ได้รับเกียรติบัตรในการเป็นผู้ควบคุมนักเรียนเข้าแข่งขันงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน รายการหุ่นยนต์และรายการคอมพิวเตอร์ ระดับชาติ ประจาปีการศึกษา 2562 จาก สพฐ. ได้รับรางวัล เหรียญทอง 1 รายการ เหรยี ญเงิน 1 รายการ เหรยี ญทองแดง 2 รายการ เขา้ รว่ ม 2 รายการ ภาพท่ี 22 เกยี รตบิ ัตรผู้ควบคมุ นกั เรียนเข้าแขง่ ขันงานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ - 20 - OBEC AWARDS

- 21 - ภาพท่ี 22 เกียรติบัตรผู้ควบคมุ นกั เรียนเขา้ แขง่ ขนั งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ระดับชาติ (ตอ่ ) 5. ครูผู้มีผลงานวิธปี ฏบิ ตั ิที่เป็นเลศิ (Best Practice) - รางวลั เหรียญทอง (Best Practice) ปีการศึกษา 2562 - รางวัลเหรยี ญทอง ชนะเลศิ (Best Practice) ปกี ารศึกษา 2563 (ก) การปฏบิ ัติที่เปน็ เลิศ 2562 (ข) การปฏิบตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ 2563 ภาพท่ี 23 เกียรติบัตรวิธีการปฏิบตั ิทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) 2) ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรบรรยายหัวข้อท่ีตรงกับภารกิจ/งานที่ได้รับมอบหมายอย่างน้อย 2 ครง้ั / ปีการศกึ ษา ระดับสถานศึกษา/เขต 1) ไดร้ ับเชิญเป็นวิทยากรในการเป็นวิทยากรพิเศษดา้ นโครงงานแกน่ ักเรียนโครงการ ห้องเรียนพเิ ศษวิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี ทุกปีการศกึ ษา 2) ได้รับมอบหมายให้เป็นวิทยากรในการอบรมการสรา้ งบทเรยี นออนไลนแ์ ก่คณะครู โรงเรยี นสตรที ่งุ สง - 21 - OBEC AWARDS

- 22 - 3) ได้รับมอบหมายให้เป็นวิทยากรในการอบรมการนักเรียนในกิจกรรมค่าย คอมพิวเตอร์โรงเรียนสตรีทุ่งสง ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 1 ครั้ง/ปีการศึกษา และระดับช้ันมัธยมศึกษา ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย 1 ครั้ง/ปีการศกึ ษา ทุกปีการศึกษา ภาพท่ี 24 การจดั กิจกรรมค่ายคอมพวิ เตอรป์ ระจาปี 2562 ภาพที่ 25 การจดั กจิ กรรมค่ายคอมพิวเตอรป์ ระจาปี 2563 - 22 - OBEC AWARDS

- 23 - 3) ไดร้ ับเชญิ /คัดเลือกใหแ้ สดงผลงานตนเองในระดับชาต/ิ นานาชาติ 1. ได้รับมอบหมายให้นาเสนอผลงานโครงงานนักเรียนห้องเรียนพิเศษระดับนานาชาติใน งาน Thailand-Japan ICT Fair 2016 ณ จังหวัดชลบรุ ี ภาพที่ 26 นาเสนอผลงานโครงงานนกั เรียนในนานาชาติ ภาพท่ี 27 เกียรตบิ ัตรนาเสนอผลงานโครงงานนักเรยี น Thailand-Japan ICT Fair 2016 2. เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติ The 4th International Science, Mathematics and Technology Education Conference 2018 หรือ ISMTEC2018 หัวข้อ “การนาการคิดเชิงคานวณ เข้าสู่การศึกษาระดับอนุบาล– มัธยมศึกษา” “Bringing Computational Thinking to K-12” โดยมีหัวข้อ ย่อย คือ วศิ วกรรม สะเตม็ วทิ ยาการคานวณ (Engineering, STEM, Computing Science) ระหว่างวันท่ี 18- 20 ตุลาคม พ.ศ.2561 ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ สขุ มุ วิท กรุงเทพฯ ภาพที่ 28 เขา้ รว่ มประชุมวชิ าการนานาชาติ ISMTEC2018 - 23 - OBEC AWARDS

- 24 - 3. นาเสนอผลงานในการประชุมวชิ าการวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ ในโรงเรยี น ระดับชาติ ครงั้ ที่ 24 (วทร. 24) ณ จงั หวัดชลบุรี ภาพที่ 29 ผลการคดั เลือกการนาเสนอผลงานดว้ ยวาจา วทร.24 - 24 - OBEC AWARDS

- 25 - ภาพท่ี 30 Poster การนาเสนอผลงานด้วยวาจา วทร.24 - 25 - OBEC AWARDS

- 26 - 4) มีงานเขียนแสดงผลงาน/ความคิดเชิงสร้างสรรค์ที่เก่ียวข้องกับการจัดการเรียนการสอน/ การพัฒนาผู้เรยี นตามหลักสูตร/ระบบประกันคุณภาพภายในเผยแพร่ผ่านส่ือสาธารณะ ไม่น้อยกว่า 1 ครั้ง ตอ่ ภาคเรียน นาเสนอกิจกรรมและผลจากการปฏิบัติงาน ตลอดจนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อ พฒั นาผู้เรียนในรูปแบบทห่ี ลากหลายผา่ นเอกสารประชาสมั พนั ธ์ของสถานศึกษา เช่น วารสาร เวบ็ ไซด์โรงเรยี น รายงานผลการดาเนินงานของโรงเรยี น (SAR) และเกียรตปิ ระวตั คิ รูและนักเรยี นโรงเรยี นสตรที งุ่ สง ภาพท่ี 31 ตีพิมพ์บทความวิจัยในวารสารของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั มหาสารคาม ภาพท่ี 32 E-Poster ตีพิมพ์การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ที่เนน้ ทักษะการคดิ และแก้ปัญหา สสวท. - 26 - OBEC AWARDS

- 27 - ตอนท่ี 3 คณุ สมบตั ิเฉพาะด้าน Active Teacher องค์ประกอบท่ี 1 ผลที่เกิดกับผ้เู รียน ตวั ชีว้ ัดท่ี 1 ผลท่ีเกดิ กบั ผ้เู รียน ป.1, ป.4, ม.1, ม.4 (ระดับสถานศกึ ษา) 1) ค่าเฉล่ียรอ้ ยละปลี า่ สดุ สูงกว่าคา่ เฉลี่ยร้อยละปีท่ีผ่านมา - พบว่าค่าเฉล่ียร้อยละของปีการศึกษา 2563 สูงกว่า 2562 โดยมีค่าเฉล่ียร้อยละของภาค เรยี นท่ี 1 เพ่ิมข้ึน + 2.31 และคา่ เฉลยี่ ร้อยละของภาคเรียนที่ 2 เพ่ิมขนึ้ +7.58 ดังนั้น ค่าเฉลยี่ รอ้ ยละปีล่าสุด สูงกว่าคา่ เฉลีย่ รอ้ ยละปีท่ีผา่ นมา +4.86 ดงั แสดงรายละเอียดในตารางท่ี 11-15 ตารางที่ 6 ตารางแสดงคา่ เฉล่ียรอ้ ยละของปกี ารศกึ ษา 2563 เทียบกบั 2562 ภาคเรยี นที่ 1/2562 ภาคเรยี นที่ 1/2563 85.42 87.55 คา่ เฉลีย่ ร้อยละเพิ่มข้นึ + 2.13 ภาคเรียนที่ 2/2562 ภาคเรยี นที่ 2/2563 80.09 87.67 ค่าเฉลี่ยรอ้ ยละเพ่ิมขน้ึ + 7.58 ตารางที่ 7 ตารางแสดงผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น วิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) รหสั 31111 ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 ( ม.4/1 -4/5 ) ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศกึ ษา 2562 ช้นั จานวนนักเรยี น/รอ้ ยละจานวนนกั เรียน รวม 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ม 4/1 - - - - - - - 15 15 89.47 - - - - - - - 100 ม.4/2 - - - - - - - 21 21 88.00 - - - - - - - 100 ม.4/3 - - - - - - 2 19 21 83.71 - - - - - - 9.52 90.48 ม.4/4 - - - - - - - 21 21 85.48 - - - - - - - 100 ม.4/5 - - - - - 42 14 20 80.45 - - - - - 20 10 70 รวม -- - - - 4 4 90 98 85.42 -- - - - 4.08 4.08 91.84 100 - 27 - OBEC AWARDS

- 28 - ตารางที่ 8 ตารางแสดงผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ า เทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) รหัส ว 31111 ตารางที่ 9 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ( ม.4/1 -4/5 ) ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563 ชน้ั จานวนนกั เรยี น/ร้อยละจานวนนกั เรยี น รวม 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ม 4/1 - - --- - 1 14 15 87.87 - - --- - 6.66 93.33 ม.4/2 - - --- - - 19 19 91.26 - - --- - - 100 ม.4/3 - - --- - 1 19 20 86.55 - - --- - 5 95 ม.4/4 - - --- 2 - 18 20 87.55 - - --- 10 - 90 ม.4/5 1 - - - - - 1 16 18 84.50 5.55 - - - - - 5.55 88.88 รวม 1 - - - - 2 3 86 92 87.55 1.09 2.17 3.26 93.48 100 แสดงผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น วิชาเทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) รหัสวิชา ว31111 ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 ( ม.4/6 -4/9 ) ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2562 ชั้น 0 จานวนนกั เรยี น/ร้อยละจานวนนกั เรยี น รวม 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ม 4/6 - 4 1 3 - - - 13 21 70.48 - 19.05 4.76 14.29 - - - 61.90 ม.4/7 - 2 - - - - - 19 21 82.57 - 9.52 - - - - - 90.48 ม.4/8 - 2 - - 1- - 18 21 81.81 - 9.52 - - 4.76 - - 85.71 ม.4/9 - - - - - -- 17 17 85.48 - - - - - -- 100 รวม - 8 1 3 1- - 67 80 80.09 - 10 1.25 3.75 1.25 - - 83.75 100 - 28 - OBEC AWARDS

- 29 - ตารางท่ี 10 แสดงผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ าเทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) รหัสวชิ า ว31111 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 ( ม.4/6 -4/9 ) ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2563 ชั้น จานวนนักเรยี น/รอ้ ยละจานวนนกั เรยี น รวม 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4 ม 4/6 - - - - - - - 19 19 88.37 - - - - - - - 100 ม.4/7 - - - -2 - - 16 18 83.78 - - - - 12.50 - - 87.50 ม.4/8 - - - - - 12 16 19 86.79 - - - - - 5.26 10.53 84.21 ม.4/9 - - - - - - - 18 18 91.83 - - - - - - - 100 รวม -- - - 2 1 2 69 74 87.69 2.70 1.35 2.70 93.24 100 2) ผลการทดสอบระดับสถานศึกษา (เกรดเฉลี่ย) ปลี า่ สดุ สงู กว่า 3 - จากตารางที่ 1-15 ข้างต้น แสดงให้เห็นว่าค่าเฉล่ียร้อยละผลสัมฤทธิ์รายวิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ของปกี ารศกึ ษา 2563 อยทู่ ี่ 87.61 ดงั น้ัน เกรดเฉลี่ยปลี า่ สุดสงู กวา่ 3 3) ค่าเฉล่ยี ระดบั สถานศกึ ษาปลี า่ สดุ สูงกว่าปกี อ่ นหน้า 1 ปี ในรายวิชาเดยี วกัน - จากตารางที่ 1-15 ข้างต้น พบว่าค่าเฉลี่ยร้อยละของปีการศึกษา 2563 สูงกว่า 2562 อยู่ท่ี +4.86 ดังน้ัน ค่าเฉล่ียระดับสถานศึกษาปีล่าสุด สูงกว่าปีก่อนหน้า 1 ปี ในรายวิชาเดียวกัน ดังแสดงใน ตารางที่ 16 ตารางที่ 11 ตารางแสดงคา่ เฉล่ยี ร้อยละของปีการศกึ ษา 2562 เทียบกับ 2563 ปีการศกึ ษา 2562 ปีการศกึ ษา 2563 82.76 87.61 คา่ เฉลี่ยรอ้ ยละเพิ่มขึ้น + 4.86 - 29 - OBEC AWARDS

- 30 - ดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพ่ือการเรยี นการสอนยอมเยยี่ ม องค์ประกอบท่ี 1 คุณภาพ ตัวช้วี ดั ท่ี 1 คุณลักษณะของแผนการจดั การเรียนรู้ 1) มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่มีองค์ประกอบครบถว้ นอย่างน้อยหน่งึ หนว่ ยการเรียนรู้ ภาพท่ี 31 แผนการจดั การเรียนรบู้ ูรณาการ CODING ตามที่สานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม อนุมัติให้ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบังและเครือข่ายมหาวิทยาลัยใน 4 ภูมิภาค ดาเนินการ จัดโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะด้านโค้ดดิ้งสู่สังคมดิจิทัลในอนาคต และได้จัดอบรมครูผู้สอน วิทยาการคานวณ ข้าพเจ้านางสาวดาริกา มณี ฉาย ได้ผ่านการอบรมจากเครือข่ายภ าคใต้โดย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เป็นรุ่นท่ี 4 ซ่ึงจัดข้ึนในวันท่ี 17-18 สิงหาคม 2562 ณ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัด สงขลา จากนั้นได้นาความรู้ท่ีได้รับมาขยายผลสู่ข้ันเรียน นามาบูรณาการจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ในหน่วย การเรียนรู้ท่ี 3 เรื่อง การพัฒนาโครงงาน (การพัฒนาโครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ด้านนวัตกรรมซอฟต์แวร์ และระบบสมองกลฝังตัว : Micro:bit KidBright Arduino ) ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้จานวน 3 แผน ของรายวชิ าเทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ไดแ้ ก่ - แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี 8 เรอ่ื ง นวัตกรผสู้ รา้ งสรรค์นวตั กรรม - แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 9 เรอ่ื ง วางแผนและออกแบบโครงงานนวัตกรรม - แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 10 เรอื่ ง พัฒนาโครงงานนวัตกรรม - 30 - OBEC AWARDS

- 31 - ตวั อยา่ ง กิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่อง ระบบเตอื นการชนในรถยนต์ (ชว่ั โมงที่ 9-12 ของหนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 ) กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง ระบบเตือนการชนในรถยนต์ ระดบั ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 เวลา 200 นาที สาระสาคญั เป็นท่ีทราบกันดีว่าในชีวิตประจาวันทุกวันน้ี เราจะต้องเก่ียวข้องกับการเดินทาง ความปลอดภัยบน ท้องถนน จึงเป็นนโยบายท่ีถูกรนรงค์กันอย่างต่อเน่ือง ดังจะเห็นได้จากโฆษณาประชาสัมพันธ์ของหน่วยงาน ตามส่ือต่าง ๆ โครงการขับข่ีปลอดภัยท่ีขยายผลลงสู่แทบทุกโรงเรียน อย่างไรก็ตามอุบัติเหตุบนท้องถนนยังคง เกิดขึ้นอย่างต่อเน่ือง จากสถิติของศูนย์ข้อมูลอุบัติเหตุทางท้องถนน พบว่า จากเร่ิมต้นปี 2563 ถึงเดือน สิงหาคม มีผู้เสียชีวิต 9,746 คน และบาดเจ็บกว่า 624,745 คน ชี้ให้เห็นว่าความปลอดภัยบนท้องถนนยังคง เปนปญหาสาคัญระดับประเทศ ท่ีควรชวยกันหาแนวทางหรือมาตรการแกไข โดยใชความรูความเขาใจเร่อื งการ นาเทคโนโลยกี ารโปรแกรมลงบอรส์ มองกลฝังตัวมาช่วยแกปญหา และบูรณาการทักษะดานวิทยาศาสตร คณิต ศาสตร และศาสตรอนื่ ๆ ในการแกปญหาตามความเหมาะสม มาตรฐาน/สาระ มาตรฐาน ว ๔.๑ เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง อย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือแก้ปัญหาหรือ พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง เหมาะสมโดยคานงึ ถึงผลกระทบตอ่ ชวี ติ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการเรียนรู้การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธภิ าพ รเู้ ทา่ ทนั และมจี ริยธรรม มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ พิ จน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสัมพันธห์ รือช่วยแกป้ ัญหาท่ีกาหนดให้ มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ ลักษณะการ เคล่อื นทแี่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมทัง้ นาความร้ไู ปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลยี่ นแปลงและการถา่ ยโอนพลังงานปฏิสัมพันธ์ ระหวา่ งสสารและพลังงาน พลงั งานในชีวิตประจาวนั ธรรมชาตขิ องคลื่น ปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับเสยี ง แสง และคลนื่ แมเ่ หล็กไฟฟ้า รวมท้ังนาความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชว้ี ัด/ผลการเรยี นรู้ 1. ตวั ช้ีวัดท่ีเรียนผ่านมาแลว้ ค 1.3 ม.1/1 เข้าใจและใช้สมบัตขิ องการเทา่ กันและสมบัติของจานวน เพ่อื วิเคราะห์และแก้ปญหาโดย ใช้สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดียว ว 2.2 ม.2/14 อธิบายและคานวณอัตราเร็วและความเร็วของ การเคลื่อนที่ของวัตถุโดยใช้สมการ และ จากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ - 31 - OBEC AWARDS

- 32 - 2. ตัวช้ีวัดทกี่ าลังเรียนอยู่ ว 4.1 ม.4/5 ใช้ความรู้และทักษะเก่ียวกับวัสดุ อุปกรณ์เคร่ืองมือ กลไก ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์และ เทคโนโลยีทซ่ี ับซ้อนในการแก้ปญั หาหรอื พัฒนางาน ได้อย่างถกู ตอ้ ง เหมาะสมและปลอดภยั ว 4.2 ม.4/1 ประยุกต์ใช้แนวคิดเชิงคานวณในการพัฒนาโครงงานที่มีการบูรณาการกับวิชาอื่นอย่าง สร้างสรรค์ และเชอื่ มโยงกับชีวิตจรงิ ว 2.3 ม.5/7 สังเกต และอธิบายการเกดิ เสยี งสะทอ้ นกลับ บตี ดอปเพลอร์และการสั่นพ้องของเสียง ว 2.3 ม.5/8 สบื คน้ ขอ้ มลู และยกตวั อยา่ งการนาความรู้ เกย่ี วกับเสยี งไปใช้ประโยชน์ในชีวติ ประจาวนั ความรเู้ ก่ียวกบั เสยี งนาไปใชป้ ระโยชน์ในดา้ นตา่ งๆ สาระการเรยี นร้แู กนกลาง - การแก้สมการเชิงเสน้ ตวั แปรเดยี ว - การนาความรูเ้ กี่ยวกบั การแก้สมการเชงิ เส้นตัวแปรเดยี วไปใช้ในชีวติ จริง - ระยะทางเป็นปรมิ าณสเกลาร์โดยระยะทาง เปน็ ความยาวของเสน้ ทางที่เคลอ่ื นท่ีได้ - อตั ราเรว็ เปน็ ปรมิ าณสเกลารโ์ ดยอตั ราเรว็ เป็น อตั ราส่วนของระยะทางตอ่ เวลา - การสร้างชิ้นงานอาจใช้ความรู้ เรื่องกลไก ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์ เช่น LDR sensor เฟือง รอก คาน วงจรสาเร็จรูป - การนาแนวคิดเชิงคานวณไปพฒั นาโครงงานท่ีเก่ยี วกบั ชีวิตประจาวนั - เมื่อเสียงจากแหล่งกาเนิดเดินทางไปกระทบวัตถุ แล้วสะท้อนกลับมายังผู้ฟัง ถ้าผู้ฟังได้ยินเสียง ที่ ออกจากแหล่งกาเนิดและเสียงท่ีสะท้อนกลับมา แยกจากกนั เสียงทไ่ี ด้ยินนเ้ี ป็นเสยี งสะทอ้ นกลบั - การนาความร้เู กย่ี วกบั เสียงนาไปใช้ประโยชน์ในดา้ นต่างๆ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธบิ ายหลกั การคานวณระยะทางสิง่ กดี ขวาง ตามทฤษฎกี ารสะทอ้ นของเสยี งใน Ultrasonic Sensor 2. เขยี นโปรแกรมวดั ระยะทางโดยใชบ้ อร์ด Arduino รว่ มกับ Ultrasonic Sensor โดยใช้เงอ่ื นไข If ใน การกาหนดเงื่อนไขการแจง้ เตือนเมื่อระยะห่างน้อยกว่าคา่ ท่ีกาหนด 3. ระบปุ ญหา รวบรวมขอมูลและแนวคิด ออกแบบวิธกี าร วางแผน ดาเนินการ และปรบั ปรงุ แกไข วธิ กี ารออกแบบระบบเสียงเตือนการชนในรถยนตอ์ ยางเปนขั้นตอน 4. นาเสนอหลักการ ขัน้ ตอนการทางานและผลการทดสอบคุณภาพของช้นิ งาน 5. ยกตัวอยางการนาประโยชนจากการแกปญหาไปประยุกตใชในชีวิตจรงิ ทกั ษะทีเ่ ป็นจุดเน้น 1. คดิ วเิ คราะห์ 2. คิดอยา่ งมวี จิ ารณญาณ 3. คดิ สร้างสรรค์ 4. คิดแกป้ ัญหา คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝเรียนรู 2. มงุ มนั่ ในการทางาน 3. มวี นิ ัย - 32 - OBEC AWARDS

- 33 - แนวการจดั กจิ กรรม กิจกรรม บทบาทครู บทบาทนกั เรยี น สอ่ื /แหลง่ เรยี นรู้ ขั้นนาเขา้ สกู่ ิจกรรม - ใหน้ กั เรยี นศกึ ษาวีดิทัศน์อุบัตเิ หตุ - ชมวดี ิทศั นอ์ ุบัติเหตุ Youtube - ศกึ ษาอุบตั ิเหตุรถชนที่เกดิ จาก รถชนที่เกดิ จากความผดิ พลาดใน รถชนท่เี กิดจากความ ความผดิ พลาดในการถอยรถ การถอยรถ ผดิ พลาดในการถอยรถ จากวีดิทัศน์ และระบปุ ญั หา - ตง้ั คาถามถึงสาเหตุ เชือ่ มโยงถงึ - ตอบคาถาม และผลกระทบท่เี กิดข้ึน การนาเทคโนโลยี Sensor เตอื น - ระบุปญหาและ การชน มาใช้ในระบบรถยนต์ ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ ข้ันกจิ กรรมการเรยี นรู้ - ศกึ ษาการคานวณระยะทางสิ่ง - อธบิ ายขยายความทฤษฎีการ - ชมวีดิทัศน์ทฤษฎีการ - ชดุ วัสดอุ ุป กีดขวาง ตามทฤษฎีการ สะท้อนของเสียงใน Ultrasonic สะท้อนของเสยี งใน กรณบอร์สมอง สะทอ้ นของเสยี งใน Sensor และวธิ เี ขียนโปรแกรม Ultrasonic Sensor กลฝงั ตวั Ultrasonic Sensor และวิธี ส่งั งาน และวิธีเขียนโปรแกรม - ใบกิจกรรม เขียนโปรแกรมสั่งงานจากวดี ิ - นาอภิปรายกอนทา ส่ังงาน และตอบ ทศั น์ กิจกรรม ระบุเงื่อนไข คาถาม - ทากจิ กรรมเขยี นโปรแกรมวดั และขอตกลงในการทา - ออกแบบและสราง ระยะทางโดยใช้บอรด์ Arduino กิจกรรม ชน้ิ งาน หรือวธิ กี าร ร่วมกับUltrasonic Sensor - ใชคาถามเพื่อกระตุน แกปญหา ทดสอบ - กาหนดสถานการณจาลอง ใหนกั เรยี นอธิบายรวม ปรบั ปรงุ และนาเสนอ ใหนักเรียนออกแบบระบบ อภิปราย และแสดง - อธบิ ายประโยชนท่ี เตือนการชนในรถยนตท์ ี่ เหตุผลในการทา ไดจากระบบเตือนการ เหมาะสม โดยระบุปญหา กจิ กรรม ชนในรถยนตท์ ่ี รวบรวมขอมูล ออกแบบวธิ กี าร - สังเกตพฤติกรรม ออกแบบ วางแผน ดาเนินการ ทดสอบ ประเมนิ ความรู และนาเสนอวิธีการแกปญหา ตรวจสอบผลการทา - รวมกันอภปิ รายประโยชนของ กิจกรรม และทักษะ ระบบเตอื นการชนในรถยนต์ท่ี ของนักเรียนตามจดุ ประสงค์ ออกแบบ ขนั้ สรุปการเรียนรู้ - นกั เรยี นรวมกันสรุปหลกั การ - ใชคาถามเพื่อกระตุนใหนักเรยี น - อภิปรายเพื่อลง - ใบกจิ กรรม วิธกี ารแนวทางออกแบบระบบ รวมกันอภิปรายเพ่ือสรปุ หลักการ ขอสรุปหลกั การ เตือนการชนในรถยนต์ วธิ กี ารแนวทางออกแบบระบบ วิธีการแนวทางใน เตือนการชนในรถยนตแ์ ละการ การออกแบบระบบ นาไปใช้ประโยชน์ เตอื นการชนในรถยนต์ - สังเกตพฤติกรรมและประเมิน - ยกตัวอยางการนา ความรูของนกั เรยี นตามจุดประสงค์ ประโยชนจากระบบ เตือนการชนในรถยนต์ ทอี่ อกแบบไปประยกุ ต ใชในชวี ิตจรงิ - 33 - OBEC AWARDS

- 34 - กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้ • ขั้นนาเขา้ ส่กู ิจกรรม (15 นาที) 1. ให้นักเรียนศึกษาวีดิทัศน์อุบัติเหตุรถชนที่เกิดจากความผิดพลาดในการถอยรถ (ครูรวมรวม-ตัดต่อ อัพโหลดข้ึน Youtube) โดยเป็นอุบัติเหตุท่ีเกิดจากสาเหตุความประมาท ความผิดพลาดของอุปกรณ์ รวมถึง ความตัง้ ใจ 2. ต้ังคาถามกับนักเรียนถึงสาเหตุของอุบัติเหตุดังกล่าว เช่ือมโยงถึงมารยาทและจรรยาบรรณในการ ใช้รถใชถ้ นน (คิดวเิ คราะห์ , คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ) 3. เชื่อมโยงถึงการนาเทคโนโลยี Sensor เตือนการชนมาใช้ในระบบรถยนต์เพ่ือลดอุบัติเหตุ โดยให้ นักเรียนอธิบายว่าระบบดงั กล่าวท่ีนักเรียนคุ้นเคยในชีวติ ประจาวันทางานอย่างไร ตามความเข้าใจของนักเรียน แตเ่ ดิม • ข้ันกจิ กรรมการเรียนรู้ 4. ให้นักเรียนศึกษาวิธีเขียนโปรแกรมสั่งงาน Ultrasonic Sensor (เซ็นเซอร์วัดระยะทาง ซึ่งใช้ หลักการปล่อยสัญญาณเสียง แล้วคานวณระยะเวลาในการสะท้อนกลับ เพ่ือให้ได้ระยะทางหรือระยะห่างของ สงิ่ กีดขวางทีอ่ ยขู่ า้ งหน้า) จากวีดทิ ศั น์ 5. ครูอธิบายขยายความทฤษฎีการสะท้อนของเสียงใน Ultrasonic Sensor และวิธีเขียนโปรแกรม สั่งงาน 6. นักเรียนทากิจกรรมเขียนโปรแกรมวัดระยะทางโดยใช้บอร์ด Arduino ร่วมกับ Ultrasonic Sensor (แบง่ กล่มุ ละ 3 คน) 7. ครูเสริมความรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมโดยใช้เง่ือนไข if เช่น เม่ือวัดระยะทางได้น้อยกว่า 5 เซนติเมตรใหล้ าโพงส่งเสียงดัง (Buzzer) หรือให้หลอดไปสีแดงติด (LED) 8. เมอ่ื ใช้ Ultrasonic Sensor วัดระยะทางส่งิ กีดขวางไดแ้ ลว้ ครูจะกาหนดสถานการณจาลอง ใหนักเรียนออกแบบระบบเตือนการชนในรถยนต์ท่ีเหมาะสม โดยการนา Ultrasonic Sensor มาประยุกต์ใช้ ออกแบบ (คิดสรา้ งสรรค์ , คิดแก้ปัญหา) 9. นักเรียนระบุปญหาจากระบบเตือนการชนแบบเกา่ จากนัน้ รวบรวมขอมูล ออกแบบวิธีการวางแผน ดาเนนิ การ ทดสอบและนาเสนอวิธกี ารแกปญหาของระบบเตอื นการชนท่ีรว่ มกนั ออกแบบในกล่มุ 10. รวมกนั อภปิ รายประโยชนของระบบเตอื นการชนในรถยนตท์ อ่ี อกแบบ • ขน้ั สรุปการเรยี นรู้ 11. ครูนาอภปิ รายเพื่อใหนักเรยี นรวมกนั สรุป ในประเดน็ ดังน้ี 11.1 หลกั การทางานของระบบเตือนการชนในรถยนต์ โดยใช้ 1. Ultrasonic Sensor 11.2 ประโยชนท่ไี ดจากการนาสง่ิ ประดษิ ฐไปใชในการแกปญหาในชวี ิตจริง 12. นกั เรยี นแตละคนตอบคาถามทายกจิ กรรมสง่ิ ท่ไี ดเรยี นรู้ - 34 - OBEC AWARDS

- 35 - การวัดและประเมินผล ประเดน็ การประเมนิ เครือ่ งมือวัดและประเมนิ เกณฑก์ ารประเมนิ ตอบทกุ ประเดน็ และได 1. อธบิ ายหลักการคานวณระยะทางสงิ่ - คาถามทายกจิ กรรม 3 คะแนนขน้ึ ไป กดี ขวาง ตามทฤษฎกี ารสะทอ้ นของเสียง - บันทึกกิจกรรมทกุ ข้อ ทาไดท้ กุ กิจกรรม ใน Ultrasonic Sensor - บนั ทกึ กิจกรรมทุกขอ้ 2. เขยี นโปรแกรมวัดระยะทางโดยใช้ - แบบบนั ทกึ กิจกรรม องคประกอบ 9 คะแนนขึ้นไป - ผลการประเมินทกุ องคประกอบได บอรด์ Arduino รว่ มกบั Ultrasonic คะแนนรวม 12 ขึน้ ไป - ผลการประเมนิ ไดคะแนนรวม 5 ขนึ้ ไป Sensor โดยใช้เงอื่ นไข If ในการกาหนด ผลการประเมนิ ไดคะแนน ตงั้ แต 2 คะแนนข้นึ ไป เง่ือนไขการแจง้ เตือนเมอ่ื ระยะห่างนอ้ ย ตอบทุกประเดน็ และได กว่าคา่ ทกี่ าหนด 2 คะแนนขึน้ ไป นักเรยี นแตละคน ไดคะแนนจากแบบ 3. ระบปุ ญหา รวบรวมขอมลู และ - แบบบันทกึ กิจกรรม ประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค แตละรายการไมนอยกวา2 คะแนน แนวคิด ออกแบบวธิ กี าร วางแผน - แบบประเมินทกั ษะ ดาเนินการ และปรบั ปรุงแกไข การแกปญหา วธิ กี ารออกแบบระบบเตือนการชนใน - แบบประเมนิ ทกั ษะ รถยนตอ์ ยางเปนข้นั ตอน การคดิ สรางสรรค 4. นาเสนอหลกั การ ขนั้ ตอนการทางาน แบบประเมินการนาเสนอหลักการ และผลการทดสอบคณุ ภาพของช้ินงาน ข้ันตอนการทางานและผลการ ทดสอบคณุ ภาพของช้ินงาน 5. ยกตัวอยางการนาประโยชนจากการ คาถามท้ายกิจกรรม แกปญหาไปประยกุ ตใชในชวี ติ จรงิ 6. คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ แบบประเมนิ คุณลักษณะอันพงึ 5.1 ใฝเรยี นรู ประสงค์ 5.2 มงุ มน่ั ในการทางาน 5.3 มวี นิ ัย เกณฑก์ ารประเมิน ประเดน็ ระดับคะแนน 432 1 คดิ วเิ คราะห(์ วิเคราะห์ความสมั พันธ์และวเิ คราะห์ความสาคญั ) อธบิ ายความสมั พันธ์ ความเก่ยี วขอ้ ง ความ วิเคราะห์ อธบิ ายความสมั พนั ธ์ อธบิ ายความสมั พันธ์ อธบิ ายความสมั พนั ธ์ เชื่อมโยงของสาเหตุของ การเกิดอบุ ตั เิ หตไุ ม่ ความสมั พันธ์ ความเกย่ี วข้อง ความ ความเกี่ยวข้อง ความ ความเกีย่ วข้อง ความ ถูกตอ้ ง (อภิปรายถงึ สาเหตุ เช่ือมโยงของสาเหตุ เชอ่ื มโยงของสาเหตุ เชื่อมโยงของสาเหตุ จัดลาดบั ความ ความสาคญั ของสาเหตุ ของการเกดิ อุบัติเหต)ุ ของการเกดิ อุบตั เิ หตุ ของการเกดิ อุบตั เิ หตุ ของการเกิดอุบตั ิเหตุ ของการเกดิ อุบตั ิเหตุ ไม่ ถูกตอ้ ง ไดอ้ ย่างถูกต้อง ได้อย่างถูกตอ้ งเปน็ ไดอ้ ย่างถูกต้อง ครบถว้ น สว่ นใหญ่ บางสว่ น วเิ คราะหค์ วามสาคัญ จดั ลาดบั ความ จัดลาดับความ จัดลาดบั ความ (จัดสาดบั ความสาคญั ความสาคญั ของ ความสาคญั ของ ความสาคญั ของ ของสาเหตุ เสนอ สาเหตขุ องการเกดิ สาเหตุของการเกดิ สาเหตุของการเกดิ แนวทางชว่ ยลด) อุบัติเหตุ และระบุ อุบตั ิเหตุ และระบุ อุบัตเิ หตุ และระบุ เหตุผลสนบั สนนุ ได้ เหตผุ ลสนบั สนนุ ได้ เหตผุ ลสนบั สนุนได้ ถกู ต้องครบถ้วน ถูกต้อง แต่ระบุ ถกู ตอ้ งบางส่วน แต่ เหตุผลทไี่ ม่ ระบเุ หตผุ ลทไ่ี ม่ สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล - 35 - OBEC AWARDS

- 36 - ประเดน็ ระดบั คะแนน 432 1 คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ วเิ คราะห์ขอ้ มูล ระบขุ อ้ มลู ได้ ระบุขอ้ มูลได้ ระบุขอ้ มูลได้ ระบขุ อ้ มูลไดไ้ ม่ (วเิ คราะหร์ ะบบเตอื น สอดคล้องกบั สอดคล้องกบั สอดคล้องกับ สอดคลอ้ งกับ ภัยการชนของรถยนต์ สถานการณ์ วิเคราะห์ สถานการณ์ วเิ คราะห์ สถานการณ์ วเิ คราะห์ สถานการณ์ วเิ คราะห์ ท่ีมีอยู่ในปจั จบุ ัน) ความนา่ เช่ือถือของ ความน่าเชือ่ ถอื ของ ความน่าเช่ือถือของ ความนา่ เชอื่ ถอื ของ ขอ้ มูลด้วยหลักการที่ ขอ้ มูลด้วยหลกั การท่ี ข้อมลู ดว้ ยหลกั การท่ี ขอ้ มลู ด้วยหลกั การทไ่ี ม่ ถกู ตอ้ ง มีหลักฐานท่ี ถกู ต้อง มหี ลกั ฐานท่ี ไมถ่ กู ตอ้ ง มหี ลักฐาน ถกู ต้อง มหี ลักฐานท่ี เกยี่ วข้องกบั ประเด็น เกยี่ วขอ้ งกับประเดน็ ท่ีเกยี่ วข้องกับ เก่ียวขอ้ งกับประเดน็ ไม่ ครบถ้วน ไมค่ รบถว้ น ประเดน็ ไมค่ รบถว้ น ครบถว้ น ตดั สนิ ใจเลือกใช้ พจิ ารณาผลดีและ พจิ ารณาผลดแี ละ พจิ ารณาผลดีและ/ พิจารณาผลดีและ/หรือ ขอ้ มลู ผลเสยี ท่ีเกดิ ขึ้น เพือ่ ผลเสียทีเ่ กดิ ข้นึ เพอ่ื หรือผลเสยี ทเ่ี กิดข้ึน ผลเสยี ด้านใดดา้ นหนึ่ง ใชใ้ นการตัดสนิ ใจ ใช้ในการตดั สนิ ใจ เพอื่ ใชใ้ นการตดั สินใจ การตัดสินใจใชข้ อ้ มลู ไม่ ขอ้ มูลอยา่ ง ข้อมูลสว่ นใหญ่ ขอ้ มูลสว่ นใหญไ่ ม่ สมเหตสุ มผล สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล สมเหตุสมผล ลงข้อสรุปอย่าง ลงข้อสรปุ หรือ ลงข้อสรุปหรือ ลงข้อสรปุ หรอื ลงข้อสรปุ หรอื ตดั สินใจ สมเหตสุ มผล ตดั สนิ ใจไดแ้ ละมี ตดั สนิ ใจได้และมี ตดั สินใจได้แต่มี ได้แตไ่ มม่ ีหลกั ฐานหรือ (วางแผนออกแบบ หลักฐานหรอื ขอ้ มลู หลักฐานหรอื ข้อมลู หลักฐานหรือข้อมลู ขอ้ มลู สนับสนุน เงือ่ นไขระบบเตือน สนับสนนุ อยา่ ง สนบั สนุนแต่ไม่ สนบั สนนุ ไม่ การชน) สมเหตสุ มผล สมเหตุสมผล สมเหตสุ มผล ทักษะการคดิ สรางสรรค (คิดรเิ ริ่มและคิดยืดหยุน) ความคดิ รเิ รม่ิ มแี นวคิดออกแบบท่ี มแี นวคิดออกแบบท่ตี มแี นวคดิ ออกแบบท่ี มีแนวคดิ ออกแบบ (ออกแบบวางแผน ไมซ้ากบั ใครหรอื างจากคนสวนใหญ ซ้ากับคนสวนใหญ แตยงั ไมแตกตาง สร้างระบบเตอื นการ แปลกใหมไมเคยมี จากคนอน่ื ชนในรถยนต)์ ใครทามากอน ความคดิ ยดื หยุน่ มีการดดั แปลงชน้ิ งาน มีการดดั แปลงชนิ้ งาน มีการดดั แปลงช้ินงาน มีการดดั แปลง (เสนอแนวคดิ หรอื หรอื การแกป้ ัญหา หรือการแก้ปญั หา หรอื การแกป้ ญั หา ชน้ิ งานหรือการ ออกแบบได้รูปแบบ โดยดดั แปลงส่ิงทีม่ ี โดยดดั แปลงสิ่งท่มี ี โดยดดั แปลงสง่ิ ท่ีมี แกป้ ญั หาโดย หลากหลายในการ อย่หู รือนาสิ่งอนื่ มา อยูห่ รือนาสิง่ อื่นมา อยหู่ รอื นาสิ่งอ่นื มา ดดั แปลงสง่ิ ทมี่ อี ยู่ ออกแบบเง่อื นไขการ ทดแทนได้อย่าง ทดแทนไดอ้ ย่าง ทดแทนไม่เหมาะสม หรือนาส่ิงอน่ื มา เตอื น) เหมาะสมและ เหมาะสมแตไ่ ม่ แตห่ ลากหลาย ทดแทนไดไ้ ม่ หลากหลาย หลากหลาย เหมาะสมและไม่ ทกั ษะการแก้ปญั หา ผูเ้ รยี นสามารถระบุ หลากหลายกบั งาน การระบุปญั หา ผู้เรยี นสามารถระบุ ผูเ้ รยี นสามารถระบุ ปญั หาและเงือ่ นไข ของปญั หาไม่ ผู้เรยี นระบุปญั หา แตไ่ ม่ ปัญหาและเงอ่ื นไข ปัญหาและเง่ือนไข สอดคลอ้ งกับ ระบุเง่อื นไขของปัญหา สถานการณ์ ของปัญหาไดค้ รบถ้วน ของปัญหาได้ สอดคลอ้ งกับ สอดคล้องกับ สถานการณ์ สถานการณ์ แตไ่ ม่ ครบถว้ น - 36 - OBEC AWARDS

- 37 - ประเด็น ระดบั คะแนน 432 1 การเสนอแนวทางการ เสนอแนวทางในการ เสนอแนวทางในการ เสนอแนวทางในการ เสนอแนวทางในการแก้ แก้ปญั หา แก้เปน็ หาทีเ่ ป็นไปได้ แกเ้ ปน็ หาทีเ่ ป็นไปได้ แกเ้ ป็นหาท่เี ป็นไปได้ เปน็ หาท่ีเป็นไปได้ แต่ไม่ ได้มากกว่า 2 วธิ ี 2 วธิ ี 1 วธิ ี สอดคล้องกับปญั หา การเลอื กวิธกี าร ระบุวธิ ีการแกป้ ญั หา ระบุวธิ กี ารแกป้ ญั หา ระบุวธิ กี ารแกป้ ญั หา ระบุวธิ กี ารแก้ปญั หาได้ แกป้ ัญหา ได้ ให้เหตผุ ล ได้ ใหเ้ หตุผล ได้ ให้เหตผุ ล ไมใ่ ห้เหตุผลสนับสนนุ สอดคล้องกบั ปญั หา สอดคล้องกับปญั หา สอดคล้องกับปญั หา วธิ ีการแก้ปญั หาไม่ วธิ ีการแกป้ ญั หา วิธีการแกป้ ัญหา วธิ กี ารแกป้ ญั หาไม่ สามารถนาไปปฏิบัตไิ ด้ สามารถนาไปปฏิบตั ิ สามารถนาไปปฏบิ ัติ สามารถนาไปปฏบิ ัติ ได้ ได้ยาก ได้ กระประเมนิ ผลและ ดาเนนิ การตามวิธีการ ดาเนนิ การตามวิธกี าร ดาเนินการตามวธิ ีการ ดาเนนิ การแก้ปญั หาไม่ ปรบั ปรงุ แก้ไข แกป้ ญั หา ประเมิน แกป้ ัญหา และ แก้ปัญหา แตไ่ ม่ สอดคล้องกบั วิธีการ ประสทิ ธผิ ลของการ ประเมนิ ประสิทธผิ ล สามารถประเมิน นาเสนอ ไมส่ ามารถ แกป้ ัญหา และ ของการแก้ปัญหา แต่ ประสทิ ธผิ ลและ ประเมินวิธกี ารและ ปรับปรงุ /เสนอ ไม่สามารถบอก วธิ กี ารแก้ปัญหา และ เสนอแนะเพอื่ ปรับปรุง แนวทางแกไ้ ขปัญหา แนวทางกาปรบั ปรงุ / ไม่ไมส่ ามารถบอก แนวทางแกป้ ญั หาได้ เสนอแนวทางแก้ไข แนวทางกาปรับปรุง/ ปญั หา เสนอแนวทางแกไ้ ข ปัญหาได้ การนาเสนอผลงาน/ชน้ิ งาน การอธิบายความรทู ี่ อธิบายความรทู ่ี อธบิ ายความรทู ี่ อธิบายความรทู ไ่ี ด อธบิ ายความรไู ด เกย่ี วของและนาเสนอ เกีย่ วของไดถกู ตอง เกย่ี วของสวนใหญ ถกู ตองบางสวน ไมถูกตอง เช่อื มโยงกับ วิธกี ารแกปญหาได เชอ่ื มโยงกบั การ ถูกตอง เช่อื มโยงกบั เชอื่ มโยงกบั การ การ เช่อื มโยงกับปญหา แกปญหาไดชดั เจน การ แกปญหาไดไมชัดเจน แกปญหาไดไม สมบรู ณ แกปญหาไดชัดเจน ชดั เจน ระดบั 4 = ดีมาก / ระดับ 3 = ดี / ระดับ 2 = พอใช้ / ระดบั 1 = ปรับปรุง ***ผา่ นเกณฑ์ คอื ระดบั 2 ข้ึนไป - 37 - OBEC AWARDS

- 38 - วสั ดุ/อปุ กรณ์ 1. Board Arduino (รุ่นใดก็ไดท้ ี่นกั เรยี นเตรียมมาเพื่อทาโครงงาน) 2. Ultrasonic Sensor 3. สายไฟผู้-ผ้,ู ผู้เมยี 4. บอรข์ ยาย 5. Led (หลอดไฟ) หรือ ลาโพง (Buzzer) Arduino board Ultrasonic Sensor Led (บอรส์ มองกล ฝังตัว) (วดั ระยะทางจากสิ่งกดี ขวาง) (หลอดไฟ) Bread Board jumper Buzzer (บอร์ทดลอง) (สายไฟผู้-ผู้,ผู้-เมยี ) (ลาโพง) สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ 1. Link : shorturl.at/vIJ68 ตวั อยา่ งการใช้ Ultrasonic Sensor เบื้องตน้ 2. Link : https://1th.me/8vAJX ตวั อย่างการใช้ Ultrasonic Sensor 3. Link : https://youtu.be/mBtPYcKhbdk ทฤษฎีการคานวนระยะทางของ Ultrasonic Sensor - 38 - OBEC AWARDS

- 39 - ใบกจิ กรรม หลักการทางานของ Ultrasonic Sensor คือ การปลอ่ ยเสยี ง เม่ือเสียงเจอสิ่งกดี ขวางจงึ เกิดการสะทอ้ นกลบั โดย ระยะเวลาจากการปล่อยคล่ืนเสียงออกไปกระทบส่ิงกีดขวางจนคล่ือนเสียงสะท้อนกลับมา จะถูกนพมาแทนค่าในสูตร ทาให้ได้ระยะทาง ระยะทาง = ความเร็วในการเคลอื่ นทขี่ องเสียง x เวลา * อตั ราเรว็ ในการเคลอื่ นที่ของเสยี ง คอื 0.034 cm/µs ดังนนั้ ระยะทาง = 0.034 cm/µs x เวลา - 39 - OBEC AWARDS

- 40 - การใช้งาน โมดูลวัดระยะทาง Ultrasonic Module Distance Measuring Transducer Sensor กับ Arduino สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ 1. Link : shorturl.at/vIJ68 ตัวอยา่ งการใช้ Ultrasonic Sensor เบ้ืองต้น 2. Link : https://1th.me/8vAJX ตัวอย่างการใช้ Ultrasonic Sensor 3. Link : https://youtu.be/mBtPYcKhbdk ทฤษฎีการคานวนระยะทางของ Ultrasonic Sensor - 40 - OBEC AWARDS

- 41 - สมาชกิ ในกล่มุ กลุ่มท.่ี ................ 1.......................................................................เลขที่..................ช้นั ................... 2.......................................................................เลขที่..................ชนั้ ................... 3.......................................................................เลขที่..................ชั้น................... ใบกิจกรรม ใหนักเรียนแต่ละกลุ่มออกแบบระบบเตือนการชนในรถยนต์ที่เหมาะสม โดยการนา Ultrasonic Sensor มาประยุกต์ใช้ออกแบบ (ให้นักเรียนออกแบบอย่างอิสระสามารถใช้ Ultrasonic Sensor ได้มากกว่า 1 ตัว วางแผน ออกแบบติดไวใ้ นส่วนของรถยนต์ท่คี ิดวา่ เหมาะสมและสามารถชว่ ยลดอุบตั ิเหตใุ นการชนได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพมากทส่ี ุด ) แบบรา่ งการตดิ ต้ังระบบเตือนการชนในรถยนต์ - 41 - OBEC AWARDS

- 42 - อธิบายระบบเตือนการชนในรถยนต์ที่ออกแบบมาอยา่ งละเอยี ด ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ระบุข้อดีของระบบเตอื นการชนในรถยนตท์ ี่ออกแบบ ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................................................... - 42 - OBEC AWARDS

- 43 - 2) มีกาหนดการสอนที่แสดงถงึ วิธีจัดการเรยี นรู้ Active Learning ท่หี ลากหลาย ช่ัวโมง ชอ่ื เรอ่ื ง วธิ ีการสอน/กิจกรรม เวลา ที่ (ชว่ั โมง) หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 8 : นวตั กรผสู้ รา้ งสรรค์นวตั กรรม 1-2 โครงงานสรา้ งแรงบนั ดาลใจ - กรณีศกึ ษา (Case Study) 2 - แบบตั้งคาถาม (Questioning-based Learning) กิจกรรม : ยกตัวอย่างโครงงานนวัตกรรมที่เป็นกรณีศึกษา ตั้งคาถามเพ่ือให้ นักเรยี นเกิดความคดิ สรา้ งสรรคใ์ นการพฒั นาโครงงาน 3-4 จินตนาการโครงงานผ่าน - การเรยี นรผู้ า่ นเกม (Games Based Learning) 2 อาณาจักร “Sensor” - แบบระดมสมอง (Brainstorming) กิจกรรม : ใชเ้ กมตา่ งๆ เพอ่ื ให้นักเรยี นรูจ้ ักกับ Sensor ทาให้เกดิ จินตนาการใน การออกแบบโครงงานของตนผ่านการระดมสมองร่วมกันบนระบบ Cloud Computer (Google Slide/Google Doc) หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 9 : วางแผนและออกแบบโครงงานนวตั กรรม 5-8 ตลาดนดั IDEA - แบบแลกเปลย่ี นความคดิ (Think – Pair – Share) 2 - การเรยี นรู้โดยใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning) กิจกรรม : นักเรียนนาเสนอแนวคิดโครงงานผ่าน Google Slide ครูและเพ่ือน นกั เรยี นกลมุ่ อ่ืนๆ ช่วยกนั แลกเปล่ยี นความคิดกนั 9-12 ระบบเตือนการชน การเรียนรโู้ ดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) 4 กิจกรรม : นักเรียนสร้างวงจรระบบเตือนการชนในรถยนต์ ท้ังนี้เพื่อเรียนรู้การ ต่อวงจร การสืบหาข้อมูล การเขยี นโปรแกรม การออกแบบ เป็นโครงงานขนาด ยอ่ มใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความเขา้ ใจในการพัฒนาโครงงานของตนต่อไป หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 10 : พฒั นาโครงงานนวตั กรรม 13-14 สืบเสาะจน “ร้ลู ึก รู้จรงิ ” - การเรียนรจู้ ากการสืบค้น (Inquiry-Based Learning) 2 กิจกรรม : นักเรียนเสาะหาความรู้จากการสืบค้นขอมูลสาหรับทาโครงงานของ ตนอยา่ งเปน็ ระบบ เพอ่ื ใหไ้ ดข้ ้อมูลท่มี ากพอในการทาโครงงาน 15-16 ฝึ ก ทั ก ษ ะ แ น ว คิ ด เชิ ง - เรียนรู้ด้วยการลงมอื ทา (Learning by Doing) 2 นามธรรมไปกบั การต่อวงจร กิจกรรม : ต่อวงจรโดยใช้ความรู้จากกิจกรรมก่อนหนา้ ครมู ีหน้าท่ีให้คาแนะนา และตรวจเชค็ ความถูกตอ้ ง 17-18 Coding อยา่ งไรให้ Sensor - การเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning) 2 อา่ นค่า กิจกรรม : เขียนโปรแกรมเพ่ือให้ Sensor อ่านค่าสภาพแวดล้อมต่างๆได้อย่าง ถกู ต้อง และแสดงขนึ้ มาในโปรแกรมได้ 19-20 Coding Output ออกมาให้ - การเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning) 2 โลกรู้ กจิ กรรม : เขียนโปรแกรมแสดงค่าสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ท่ีอ่านได้จาก Sensor มาแสดงผลทาง Output ที่กลุ่มของตนออกแบบ 21-22 Coding ตอ่ ยอด/ปรับปรงุ - การเรยี นรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning) 2 เปลี่ยนแปลง พัฒนา กจิ กรรม : ต่อยอด ปรับปรุง เปล่ียนแปลง พัฒนา เพอื่ ใหไ้ ดช้ น้ิ งานท่ีสมบูรณ์ 23-24 ออกแบบผลติ ภัณฑ์ให้ปังปุริ - เรยี นรู้ด้วยการลงมือทา (Learning by Doing) 2 เย่ กิจกรรม : ลงมือออกแบบผลิตภัณฑท์ เ่ี หมาะสมกบั วงจรนวตั กรรม 25-26 Show Time น วัต ก รโชว์ - แบบสะทอ้ นความคิด (Student’s Reflection) 2 นวัตกรรม กิจกรรม : นาเสนอช้ินงานผ่าน Google Slide ครูและเพ่ือนๆช่วยกันสะท้อน ความคิด / ครูให้ข้อสังเกตุและข้อควรพัฒนาของรูปเล่มโครงงานท่ีทาผ่าน Google Doc - 43 - OBEC AWARDS

- 44 - ชว่ั โมง ช่อื เรื่อง วิธกี ารสอน/กจิ กรรม เวลา ที่ (ชั่วโมง) 27-28 ตลาดนัด “นวัตกรรม” - แบบสะทอ้ นความคิด (Student’s Reflection) 2 - เป็นการเรยี นรแู้ บบจดั กิจกรรมเพือ่ สรา้ งแรงบลั ดาลใจ ช่ืนชมในความสาเรจ็ กิจกรรม : แสดงผลงาน ณ หอประชุม นักเรียนเตรียม VDO นาเสนอช้ินงาน ของตนอย่างสรา้ งสรรค/์ จัดโหวตชิ้นงานเพอ่ื รับรางวลั กระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาเทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) เปิดโอกาสให้ ผู้เรียนลงมือกระทามากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว “ ความรู้ ” ที่เกิดข้ึนเป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ เน้นจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้การเรียนรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การโต้ตอบ, และการวิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งให้ ผเู้ รียนไดใ้ ชก้ ระบวนการคดิ ขน้ั สงู ไดแ้ ก่ การวิเคราะห์, การสงั เคราะห์, และการประเมินค่า แผนการจัดการเรียนรูเ้ น้นไปทกี่ ารทาโครงงาน เพ่ือสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาใน ชีวิต เป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นบทบาทและการมีส่วนร่วมของผู้เรียน (Active Learning) ครอบคลุมวิธีการ จดั การเรียนรู้หลากหลายวิธี รูปแบบ วิธีการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้เหล่าน้ี มีพื้นฐานมาจากแนวคิดเดียวกัน คือ ให้ผู้เรียนเป็นผู้มีบทบาทหลักในการเรียนรู้ของตนเอง และสร้างองค์ความรู้ใหม่ (Constructivist) ด้วยตนเอง เชน่ 1. แบบระดมสมอง (Brainstorming) 2. กรณศี ึกษา (Case Study) 3. การเรยี นรผู้ า่ นเกม (Games Based Learning) 4. แบบแลกเปลย่ี นความคดิ (Think – Pair – Share) 5. แบบสะทอ้ นความคิด (Student’s Reflection) 6. แบบตง้ั คาถาม (Questioning-based Learning) 7. การเรียนรู้โดยใช้กจิ กรรมเป็นฐาน (Activity-Based Learning) 8. การเรียนรโู้ ดยใช้ปญั หาเปน็ ฐาน (Problem-Based Learning) 9. การเรยี นรูโ้ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน (Project-Based Learning) 10. การเรยี นรทู้ ่ีเนน้ ทกั ษะกระบวนการคดิ (Thinking Based Learning) 11. เรียนรู้ด้วยการลงมอื ทา (Learning by Doing) 12. การเรียนรจู้ ากการสบื คน้ (Inquiry-Based Learning) ภาพท่ี 32 การจัดการเรียนรู้ Active Learning ที่หลากหลาย - 44 - OBEC AWARDS