แนวทาง การเผยแพร ผลงานทางว�ชาการ สำนกั งานพัฒนาวท� ยาศาสตรแ ละเทคโนโลยแี หงชาติ (สวทช.)
แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ จดั พิมพ์และเผยแพร่โดย ส�ำ นกั งานพฒั นาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี ห่งชาติ พิมพ์คร้ังท่ี 1 มถิ นุ ายน 2562 จำ�นวน 1,000 เล่ม ISBN: 978-616-8261-04-0 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ/โดย ส�ำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี แหง่ ชาติ. พิมพค์ รั้งที่ 1. -- ปทุมธานี : ส�ำนกั งานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ, 2562. 88 หน้า : ภาพประกอบสี ISBN: 978-616-8261-04-0 1. การเขียนบทความ 2. การเขียนทางวิชาการ 3. การลอกเลียนวรรณกรรม 4. ความเป็น เจา้ ของผลงาน 5. ตน้ ฉบบั ตวั เขยี น 6. วจิ ัย 7. วิจัย – แง่ศีลธรรมจรรยา 8. Plagiarism 9. Technical writing 10. Authorship 11. Manuscripts 12. Research I. ส�ำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ II. ช่ือเรอ่ื ง LB1047.3 808.066 ที่ปรกึ ษา คณะแพทยศาสตร์ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ยง ภ่วู รวรรณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถาบันชวี วิทยาศาสตร์โมเลกุล ศาสตราจารย์ นายแพทย์สทุ ัศน์ ฟ่เู จรญิ มหาวิทยาลยั มหิดล สำ�นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร ์ ศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ระสิทธ์ิ ผลิตผลการพิมพ์ และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ คณะผจู้ ดั ทำ� อณั ณ์สชุ า พฤกษส์ ุนันท์ นัฐวุฒิ บุญยนื สมุ ลวรรณ สงั ข์ชว่ ย สุดารตั น์ ลือพงศพ์ ัฒนะ จติ ติ มงั คละศริ ิ รัชดา เรืองสิน สุธี ผเู้ จริญชนะชยั ธนาวดี ล้จี ากภยั ฐิตวิ รรณ เกิดสมบุญ ศรณั ย์ สัมฤทธ์เิ ดชขจร บญุ เลิศ อรุณพิบลู ย์ โสภิดา เนตรวิจิตร ศวติ กาสุริยะ ฐิติมา ธรรมบำ�รงุ คณะทำ�งานวิชาการศูนยพ์ ันธวุ ศิ วกรรม ภูเบศร์ อดุ มทรัพย์ ชลทิชา หวังรวยนาม แ*ตลาะมเคท�ำ คสโัง่ นทโ่ีล4ย/2ีช5วี 6ภ2าพแห่งชาต*ิ รูปเล่ม งานออกแบบ ฝา่ ยส่อื วิทยาศาสตร์ สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ เอกสารเลม่ นี้ได้ใชส้ ัญญาอนญุ าต (Creative Commons) ให้เผยแพร่ ดัดแปลง โดยต้องระบทุ มี่ า ห้ามใชเ้ พอื่ การคา้ และตอ้ งเผยแพร่งานดดั แปลงโดยใชส้ ัญญาอนุญาตเดียวกนั สอบถามเพม่ิ เติม ฝ่ายพฒั นาคุณภาพการวจิ ัย สำ�นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ โทรศพั ท์ 0 2117 8401 อีเมล [email protected] เว็บไซต์ www.nstda.or.th/rqm
ค�ำนำ� ส�ำนกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) จดั ท�ำแนวทาง การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการอนั ไดแ้ ก่ บทความวชิ าการ บทความสน้ั เอกสารประชมุ วิชาการ เพื่อให้บุคลากรในสายวิจัย พัฒนา และวิศวกรรม ของ สวทช. และผู้ท่ีมี สว่ นเก่ยี วขอ้ งไดร้ ับทราบหลักการมชี ่อื ผนู้ พิ นธ์ (Authorship) ท่เี ปน็ ไปตามหลกั สากล และสอดคล้องกับจริยธรรมการวิจัย สามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการพิจารณา ความเหมาะสมของผู้มีช่ือในผลงานทางวิชาการ เป็นแนวปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ และการมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย อีกท้ังยังเป็นแนวทางการป้องกันข้อร้องเรียนด้าน การประพฤติมิชอบทางการวิจัยในอนาคต ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัย ในการสร้าง ความน่าเชื่อถือและการยอมรับในผลงานทางวชิ าการ แนวทางน้ีอ้างอิงแนวทางมาตรฐานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ซ่ึงผู้วิจัย สามารถยึดเป็นแนวปฏิบัติในการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรือน�ำไปปรับใช้ให้เกิด ความเหมาะสมตามบริบทของการเผยแพร่งานวิจัยของตน ตลอดจนอาจปรับใช้ หลักการมชี ่ือในผลงานประเภทอนื่ ๆ ได้ตามความเหมาะสม คณะผจู้ ัดท�ำ พฤษภาคม 2562
สารบญั 1 2 หลักการและเหตุผล 2 บทที่ 1 หลักจรยิ ธรรมท่ีเก่ยี วข้องกบั การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 6 1.1 การคัดลอกขอ้ มูล (Plagiarism) 9 1.2 การดดั แปลงข้อมูล (Falsification) 10 1.3 การสรา้ งข้อมูลเท็จ (Fabrication) 11 1.4 จริยธรรมและแนวทางปฏิบัตสิ �ำหรบั การวจิ ยั ในมนษุ ย์ 13 (Ethic and Practice in Human Research) 15 1.4.1 แนวทางปฏิบตั ิตามหลกั จริยธรรมการวิจยั ในมนษุ ย ์ 15 1.4.2 การพิจารณาโครงการวจิ ัยด้านจรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนุษย์ 20 บทที่ 2 หลกั การมีช่ือในผลงานทางวชิ าการ (Authorship) 22 2.1 นิยามและคณุ สมบตั ิการมชี ่อื ในผลงาน 23 (Definition and Properties of Authorship) 24 2.2 ประเภทชื่อในผลงาน (Category of Authorship) 35 2.3 หน้าท่แี ละความรบั ผดิ ชอบของผมู้ ชี อื่ ในผลงาน 36 (Role and Responsibility) 37 2.4 การจัดล�ำดบั ช่ือในบทความวจิ ยั (Authorship Order) 39 2.5 แนวทางในการช้ีแจงบทบาทหน้าที่ความรบั ผิดชอบ 40 (Contributorship) 40 บทที่ 3 ขัน้ ตอนการผลิตผลงานทางวชิ าการ 40 3.1 แนวทางปฏิบตั กิ ่อนผลติ ผลงานทางวชิ าการ 42 3.2 แนวทางปฏบิ ัตใิ นการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ 46 3.3 แนวทางปฏบิ ัติหลังส่งผลงานทางวิชาการ บทที่ 4 แนวทางปฏบิ ตั ิกอ่ นผลิตและเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 4.1 วางแผนการผลติ ผลงาน 4.1.1 บทความทางวชิ าการ 4.1.2 ตน้ แบบผลิตภณั ฑแ์ ละกระบวนการทางวศิ วกรรม 4.1.3 ผลงานทรัพย์สินทางปัญญา
4.2 ก�ำหนดขอบเขตการเผยแพรแ่ ละน�ำผลงานไปใช้ประโยชน ์ 48 4.2.1 การพจิ ารณาระดบั ความพรอ้ มของเทคโนโลยี 48 4.2.2 การพจิ ารณาล�ำดบั การเผยแพร ่ 50 และการน�ำผลงานวจิ ัยไปใชป้ ระโยชน์ บทที่ 5 แนวทางปฏบิ ัตใิ นการผลิตและเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ 58 5.1 ความถูกตอ้ งของขอ้ มูล (Data Integrity) 58 5.2 การจัดการรปู ภาพ (Image Manipulation) 59 5.3 การเปิดเผยผลประโยชน์ทับซอ้ น (Conflict of Interest) 61 5.4 การอา้ งอิงแหลง่ ขอ้ มลู (Reference) 62 5.5 ขอ้ แนะน�ำส�ำหรับการเขยี นผลงานทางวชิ าการ 66 บทท่ี 6 แนวทางปฏิบัติหลังการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 67 6.1 การประสานงานโตต้ อบค�ำถามและขอ้ วจิ ารณ์ 67 (Correspondences) 6.2 การถอนบทความ (Retraction) 68 บรรณานุกรม 70 ภาคผนวก 77 ภาคผนวก ก นโยบายและแนวทางด้านการบริหารคณุ ภาพ 77 และจรยิ ธรรมการวจิ ยั ของ สวทช. ก.1 นโยบายดา้ นการบรหิ ารคุณภาพและจริยธรรมการวิจัย 77 ก.2 แนวทางการบริหารคณุ ภาพและจรยิ ธรรมการวิจยั 78 ภาคผนวก ข ใบความรู้ (Factsheet) เร่อื งการมีชื่อในเอกสารเผยแพร ่ 79 ทางวชิ าการ ภาคผนวก ค ตัวอย่างการชแี้ จงบทบาทการมีสว่ นร่วมในเอกสารเผยแพร่ 81 ทางวชิ าการของ สวทช. (Contribution Codes for Publication) ภาคผนวก ง แนวปฏบิ ตั ิ ของ สวทช. ในเรอ่ื งการระบชุ อื่ และทอ่ี ย ู่ 83 ของหนว่ ยงานในการตีพมิ พ์ผลงานวจิ ยั ในวารสารวิชาการ คณะผู้จดั ท�ำ 87
สารบัญตาราง ตารางท่ี 1 รปู แบบการคัดลอกข้อมูล 3 ตารางท่ี 2 ตวั อยา่ งผู้มสี ว่ นร่วมเชงิ ปญั ญาอย่างส�ำคัญและผทู้ ่ีไมไ่ ดม้ สี ว่ นร่วม 16 เชิงปญั ญาอย่างส�ำคัญ ตารางท่ี 3 แนวทางการใหค้ ะแนนการมีส่วนรว่ มในการวิจัย 30 ตารางท่ี 4 ตัวอย่างการจดั ล�ำดบั ชอ่ื ในบทความวิจยั ในแตล่ ะสาขา 31 ตารางที่ 5 แนวทางการปฏบิ ตั ิกรณีเกิดข้อพิพาทและขอ้ ร้องเรยี น 33 (Authorship Dispute) ตารางท่ี 6 ระดับต้นแบบและระดบั นวัตกรรมของตน้ แบบของ สวทช. 43 ตารางที่ 7 ค�ำจ�ำกัดความ TRL ของ สวทช. 49 ตารางที่ 8 ตารางเปรยี บเทยี บรูปแบบการตพี มิ พบ์ ทความในวารสาร 51 ประเภทต่างๆ ตารางที่ 9 รปู แบบขอ้ มูลทใ่ี ช้อา้ งอิงและขอ้ มลู เบ้ืองตน้ ทใ่ี ช้ในการเขียนการอา้ งองิ 63 สารบญั รูปภาพ รปู ท่ี 1 แผนผังแสดงล�ำดบั การเผยแพรแ่ ละน�ำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ 56 รูปที่ 2 แผนผงั แสดงขั้นตอนการน�ำผลงานทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาไปใช้ประโยชน์ 57 เชิงพาณชิ ยโ์ ดยการท�ำสัญญาถ่ายทอดเทคโนโลยี (Licensing) รูปท่ี 3 ตัวอยา่ งการปรับแตง่ รปู ภาพงานวิจยั 60
หลักการและเหตุผล ผทู้ มี่ สี ทิ ธมิ์ ชี อื่ ในผลงานทางวชิ าการตอ้ งเปน็ ผทู้ มี่ สี ว่ นรว่ มในการสรา้ งสรรคผ์ ลงาน หรือมีส่วนร่วมเชิงปัญญาอย่างส�ำคัญ (Substantive Intellectual Contribution) ในกระบวนการวจิ ยั เชน่ คดิ รเิ รมิ่ วางแผนกระบวนการวจิ ยั ด�ำเนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู วเิ คราะห์ สรปุ ผล ตลอดจนการเผยแพรผ่ ลงานวจิ ยั ซง่ึ เปน็ การน�ำความรทู้ ไี่ ดร้ บั จากกระบวนการ วจิ ยั ไปเผยแพร่ เพอื่ ใชใ้ นการตอ่ ยอดหรอื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู พน้ื ฐานในการอา้ งองิ ซง่ึ น�ำมาสกู่ าร สรา้ งชอื่ เสยี ง ความนา่ เชอื่ ถอื การเลอื่ นต�ำแหนง่ ทางวชิ าการ การจา้ งงาน การตอ่ สญั ญา จา้ งงาน การขอรบั ทนุ วจิ ยั และความกา้ วหนา้ ในสายอาชพี เปน็ ตน้ อยา่ งไรกต็ าม จากความ กดดันที่ต้องผลิตและเผยแพร่งานวิจัยให้ได้ตามเป้าหมาย อาจท�ำให้พบประเด็น ข้อพิพาทเร่ืองการมีช่ือในผลงานทางวิชาการ เช่น การละเมิดสิทธ์ิการมีช่ือในผลงาน การน�ำผลงานผอู้ น่ื มาใชโ้ ดยไมอ่ า้ งองิ แหลง่ ทมี่ า การรบั จา้ งเขยี นบทความ การประพฤติ ผิดทางจริยธรรม เป็นต้น ดังนั้น คณะผู้วิจัยจึงต้องวางแผนท�ำข้อตกลงเรื่องการมีช่ือ ในผลงาน รวมถึงชี้แจงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบร่วมกัน (Contributorship) อยา่ งโปรง่ ใส และตอ้ งไดร้ บั การเหน็ ชอบจากผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มในผลงานวจิ ยั ทกุ คน ตง้ั แตข่ นั้ ตน้ ของการวจิ ยั เพอื่ ชว่ ยลดขอ้ พพิ าทและการประพฤตผิ ดิ ทางจรยิ ธรรมได้ ทง้ั น้ี ส�ำนกั งาน พฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (สวทช.) ก�ำหนดใหม้ กี ารลงทะเบยี นผลงาน วิจัยประเภทผลงานเขียน ซ่ึงต้องระบุรายชื่อผู้มีส่วนร่วมในงานวิจัยและบทบาท การมีส่วนร่วมทั้งหมดลงใน “แบบฟอร์มข้อตกลงการมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย สวทช. ในระบบ myPerformance (ระบบคลังความรู้และผลงานวิจยั สวทช.)” ดว้ ย สวทช. ตระหนักถงึ ความส�ำคัญของการมชี ือ่ ในผลงานทางวิชาการและบทบาท หน้าท่ีความรับผิดชอบ จึงได้จัดท�ำแนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ เพ่ือเป็น แนวทางในการพิจารณาความเหมาะสมของผทู้ มี่ ชี ่ือในผลงานทางวชิ าการ และชว่ ยให้ ทราบถึงความรับผิดชอบในการสร้างผลงาน (Responsibility) และความรับผิดชอบ ตอ่ ผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้นจากผลงาน (Accountability) ตามหลกั จริยธรรมของการมชี ่อื ในผลงาน (Integrity) เพ่ือป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์จากผู้ที่ไม่ได้มีส่วนร่วม เชงิ ปญั ญาอยา่ งแทจ้ รงิ และปอ้ งกนั ขอ้ พพิ าททอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ในอนาคต ซง่ึ แนวทางการ เผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการฉบบั นค้ี รอบคลมุ ถงึ แนวทางปฏบิ ตั ใิ นระหวา่ งขนั้ ตอนกอ่ น ระหว่าง และหลังผลิตและเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 1
บทท่ี 1 หลกั จริยธรรมทีเ่ ก่ียวข้องกบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ ผวู้ จิ ยั มหี นา้ ทศี่ กึ ษาคน้ ควา้ ตามระเบยี บวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์ เพอื่ น�ำไปสผู่ ลลพั ธ์ คอื องคค์ วามรู้ ทฤษฎี ขอ้ คน้ พบ หรอื ผลการวจิ ยั รวมถงึ มหี นา้ ทใ่ี นการเผยแพรผ่ ลงาน วิจัยสู่สาธารณะ เพื่อให้ได้มาซ่ึงผลงานวิจัยที่มีคุณภาพและน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยจึงควร ยดึ หลกั ประพฤตปิ ฏบิ ตั ทิ ดี่ แี ละสอดคลอ้ งตามหลกั จรยิ ธรรมการวจิ ยั ทง้ั น้ี การประพฤติ มิชอบด้านจริยธรรมการวิจัย เช่น การคัดลอกข้อมูล (Plagiarism) การปลอมแปลง ข้อมูล (Falsification) การสร้างข้อมูลเท็จ (Fabrication) จะส่งผลกระทบหรือ เกิดปญั หา ท้ังตอ่ ตัวผวู้ ิจยั ผู้ทีน่ �ำขอ้ มลู ไปใช้ และสถาบันต้นสังกัด โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ หากงานวิจัยน้ันเกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้วิจัยจึงควรยึดแนวทางปฏิบัติตามหลักจริยธรรม ท้ังในการวางแผนการวิจัย การด�ำเนินงานวิจัย และการเผยแพร่ข้อมูล จึงถือได้ว่า จริยธรรมการวิจัยเป็นหนา้ ที่รับผดิ ชอบของผวู้ ิจัยทต่ี ้องให้ความส�ำคัญ 1.1 การคดั ลอกข้อมลู (Plagiarism) ราชบณั ฑติ สถานบัญญัตใิ ห้นิยามของค�ำว่า “การคัดลอกขอ้ มลู ” ไว้ 2 ค�ำ คือ “โจรกรรมทางวรรณกรรม” และ “การลอกเลยี นงานเขียน” ในงานวิทยาศาสตร์ การคัดลอกข้อมูล หมายถึง การน�ำเอาเน้ือหาของผู้อื่น บางส่วน (Paraphrasing) หรือท้ังหมด (Word-by-Word Plagiarism) มาแอบอ้าง เสมือนวา่ เปน็ งานของตน โดยไม่มกี ารระบุถงึ แหล่งที่มาของขอ้ มลู อย่างเหมาะสม เช่น แนวคิด วิธีการทดลอง ผลการทดลอง รูปภาพ ตาราง ไม่เพยี งแต่หมายถึงข้อมูลที่อยู่ ในรูปแบบของเอกสารทางวิชาการเท่านั้น แต่ยังรวมถึง การน�ำเอาค�ำพูด ข้อมูล จากการน�ำเสนอผลงานของผู้อื่น หรือสิ่งใดก็ตามที่มีผู้สร้างสรรค์ทางปัญญา มาเรียบเรียงใหม่เป็นงานของตน โดยมีเจตนาบิดเบือนความเข้าใจของผู้อ่านว่าเป็น แนวคิดของตน ถือได้ว่าเป็นการขโมยทรัพย์สินทางปัญญาของผู้อ่ืน เป็นรูปแบบของ การประพฤติผิดร้ายแรงทางด้านวิทยาศาสตร์ และพบอย่างแพร่หลายในแวดวงของ การศึกษาและสถาบนั วจิ ยั ท้ังในประเทศและต่างประเทศ 2 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
ตารางท่ี 1 รูปแบบการคัดลอกขอ้ มูล อ้างอิงจาก “ประเด็นสําคัญที่ควรรู้” ใน สิ่งพิมพ์วิทยานิพนธ์การคัดลอกผลงานวิจัย ของบณั ฑิตวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั รูปแบบการคัดลอก ลักษณะการคัดลอก การคัดลอกโดยตรง • การคัดลอกโดยการเปล่ียนหัวข้อและโครงสร้าง ประโยค เพิ่มเติมค�ำ หรือตัดค�ำที่ไม่ปกติ โดยไม่ได้ อ้างอิงที่มา รวมทั้งไม่ได้มีการใช้เครื่องหมาย อัญประกาศหรอื เครื่องหมายค�ำพูด • การเปล่ียนแปลงเล็กน้อยที่ค�ำ หัวข้อ โครงสร้าง ประโยค หรอื สว่ นส�ำคญั อนื่ • การเปลยี่ นแปลงลกั ษณะขอ้ ความเพอื่ ใหด้ เู หมอื นวา่ เปน็ งานของตนเอง ก า ร คั ด ล อ ก ท่ี อ ้ า ง อิ ง • การคัดลอกเน้ือหาเดิมที่ถูกเผยแพร่แล้ว น�ำมา ผู ้ แ ต ่ ง เ ดิ ม แ ต ่ ไ ม ่ ใ ช ้ เปล่ียนแปลงเล็กน้อย มีการอ้างอิงที่มา แต่ไม่ใช้ เคร่อื งหมายอัญประกาศ เครื่องหมายอัญประกาศ การคัดลอกแบบธรรมดา • การคัดลอกโดยอ้างอิงท่ีมา แต่ไม่ได้ใช้เครื่องหมาย ด้วยการหมายเหตุบอก อัญประกาศหรือเคร่ืองหมายค�ำพูด และค�ำบางค�ำ ท่มี า ถูกเปล่ียนแปลงเล็กน้อยเพ่ือให้ข้อความแตกต่าง จากเดิม การคดั ลอกแบบถอดความ • การถอดความ หรอื การเขียนใหม่ท่ีแตกตา่ งจากเดมิ ห รื อ ก า ร เ ขี ย น ใ ห ม ่ ที่ แตย่ งั มคี วามหมายเดิม แต่ไม่มกี ารอา้ งอิงที่มา แตกต่างจากเดิมแต่ยังมี • การถอดความหรือการเขียนใหม่ท่ีแตกต่างจากเดิม ความหมายเดมิ แต่ยังมีความหมายเดิมต่อเน่ืองกัน ไม่มีการเพิ่มเติม ข้อความที่สัมพันธ์กับข้อความท่ีถูกคัดลอก แม้ว่า จะอ้างถึงท่ีมา แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 3
รปู แบบการคัดลอก ลักษณะการคดั ลอก การคัดลอกผลงานตัวเอง • การถอดเอาบางส่วนของผลงานของตัวเองมาเขียน (Self-plagiarism) ซำ้� เปน็ งานใหม่ โดยไมม่ ีการอา้ งอิงที่มาหรอื เปดิ เผย ข้อมูลของแหล่งตีพิมพ์ที่เผยแพร่มาก่อนแล้ว ซึ่ง จัดวา่ เป็นการตพี มิ พ์ซ�ำ้ ซอ้ นกัน แนวทางปฏิบตั ใิ นการป้องกันการคัดลอกผลงาน อา้ งองิ ตวั อยา่ งการคดั ลอก จาก“ประเดน็ สําคญั ทค่ี วรร”ู้ ในสง่ิ พมิ พว์ ทิ ยานพิ นธ์ การคดั ลอกผลงานวิจยั ของบณั ฑิตวิทยาลยั จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั 1. ระบแุ หลง่ ทม่ี าของแนวคดิ ขอ้ มลู ทนี่ �ำมาใชใ้ นการอา้ งองิ ใหค้ รบถว้ นและชดั เจน ตวั อยา่ ง Such views articulated in the student magazines, also received clear, though less detailed treatment in The Westerner which reminded Afrikaners that they were a Calvinist Volk with a duty to retain their nationalism.1 In the view of this newspaper, ministers of the Dutch Reformed Church like Herman Bosman, General Botha=s friend, were “mistaken in arguing, like Dr. Andrew Murray for the separation of religion andpolitics” even though he was their mentor.2 1 Irving Hexham, The Irony of Apartheid (Lewiston: Edwin Mellen, 1981), 182. 2 The Westerner, 4/12/1912. 2. หากข้อมูลที่น�ำมาอ้างอิงเป็นการคัดลอกแบบค�ำต่อค�ำ ควรใส่เครื่องหมาย อัญประกาศ (หรือเครื่องหมายค�ำพูด, “-”) หรือ ใช้เครื่องหมายทวิภาค (:) ตรงข้อความทคี่ ดั ลอก เพ่อื การเน้นตรงขอ้ ความ และระบแุ หล่งท่มี า 4 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
ตัวอยา่ ง ก. การใส่เครอ่ื งหมายอญั ประกาศ As Hannah Arendt explains, her book was “written against a backdrop of both reckless optimism and reckless despair.”1 The book “holds that Progress and Doom are two sides of the same medal . . ..”2 ตวั อย่าง ข. การใช้เครอื่ งหมายทวภิ าค As Dr. Arendt has explained: This book has been written against a background of both reckless optimism and reckless despair. It holds that Progress and Doom are two sides of the same medal; that both are articles of superstition, not of faith.1 Interestingly enough, Arendt avoids much of the debate found in some of the less philosophical literature about totalitarianism. 1…………………….. 2…………………….. 3. การรวบรวมแนวความคดิ จากหลายแหล่งแลว้ น�ำมาเขยี นใหม่โดยใช้ภาษาของ ตัวเองแตย่ งั คงความหมายเดมิ (Paraphrase) ควรระบแุ หลง่ ทมี่ า ตวั อยา่ ง Hannah Arendt’s book, The Origins of Totalitarianism, was written in the light of both excessive hope and excessive pessimism. Her thesis is that both Advancement and Ruin are merely different sides of the same coin.1 Her book was produced out of a belief that one can understand the method in which the more conventional aspects of politics and philosophy were mixed together so that they lose their distinctiveness and become worthless for human uses. 1…………………. แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 5
1.2 การดดั แปลงขอ้ มูล (Falsification) การปลอมแปลงบิดเบือนวัสดุ กระบวนการ เครื่องมือ ท่ีใช้ในการวิจัย หรือเปล่ียนแปลงข้อมูลที่ได้จากการทดลอง ด้วยวิธีการท่ีไม่เหมาะสม เช่น ลบข้อมูล ทไ่ี มด่ อี อก เพมิ่ เตมิ ขอ้ มลู แกไ้ ขขอ้ มลู ฯลฯ เพอ่ื ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธใ์ นรปู แบบทผ่ี วู้ จิ ยั ตอ้ งการ ตลอดจนบิดเบือนข้อมูลที่บันทึกในเอกสารบันทึกงานวิจัย หรือในการเผยแพร่ หรือรายงานข้อมูลวิจยั ตัวอย่างการแก้ไขข้อมลู ดิบเพอ่ื ให้ได้ผลตามท่ีต้องการ (Falsification Data) การหาค่ามาตรฐานของสารละลายกลูโคสท่ีความเข้มข้น 0.0, 0.2, 0.4, 0.6, 0.8 และ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยวัดค่าการดูดกลืนแสง (Optical Density, OD) ดว้ ยแสงที่มคี วามยาวคลืน่ 450 นาโนเมตร ข้อมูลจริงจากการทดลอง: ส�ำหรับความเข้มข้นกลูโคสเท่ากับ 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร วดั คา่ OD ไดเ้ ทา่ กบั 0.19 ขอ้ มูลใหม่ทดี่ ัดแปลงแก้ไข: ส�ำหรับความเขม้ ข้นกลูโคสเทา่ กับ 1.0 มิลลิกรมั ตอ่ ลิตร ปรับแก้ไขให้ค่า OD เท่ากับ 0.0765 ซึ่งเป็นการแก้ไขข้อมูลเพ่ือให้ได้ผลของกราฟ มาตรฐานตามท่ีผวู้ ิจยั ต้องการ ขอ้ มลู จริง ความเข้มขน้ คา่ เฉล่ยี OD ของกลูโคส (mg/l) 450nm 0.2 0.0185 0.4 0.0355 0.6 0.053 0.8 0.063 1.0 0.19 6 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ
ขอ้ มูลทด่ี ดั แปลง ความเข้มขน้ คา่ เฉลย่ี OD ของกลโู คส (mg/l) 450nm 0.2 0.0185 0.4 0.0355 0.6 0.053 0.8 0.063 1.0 0.0765 แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. ท�ำการทดลองซำ้� เพือ่ ตรวจสอบความถกู ต้องของผลการทดลอง 2. อาจเพ่ิมการทดลองแบ่งย่อยในช่วงท่ีคิดว่าข้อมูลคลาดเคลื่อน เช่น จากตัวอย่าง ข้างบน อาจเพิ่มการทดลองย่อยๆ ที่ค่าความความเข้มข้นของกลูโคสระหว่าง 0.8 - 1.0 มิลลกิ รัมตอ่ ลิตร เพือ่ หาแนวเส้นกราฟใหม่ 3. ในกรณีที่พบว่า มีข้อมูลดิบที่มีค่าผิดปกติ คือ ค่าที่สูงหรือต่�ำผิดปกติ (Outlier) ผู้วจิ ยั สามารถพจิ ารณาตดั คา่ ท่ผี ิดปกตอิ อก เพือ่ ให้ไม่กระทบต่อการแปลผลขอ้ มลู ได้ และควรระบุถงึ สาเหตขุ องการตัดข้อมลู ออก ตามขัน้ ตอนดังนี้ แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 7
(1) หาคา่ ผิดปกติ (Outlier) จากวิธกี ารสรา้ ง Box Plot * Outlier ขอ้ มลู ทส่ี งู กว่าปกติ ค่าสงู สุด (Max.) Q1 คา่ เฉลี่ย (Mean) Q2 Q3 ค่าต�ำ่ สดุ (Min.) * Outlier ขอ้ มูลที่ตำ่� กว่าปกติ โดยน�ำขอ้ มลู ดบิ ทงั้ หมดมาเรยี งกนั ในโปรแกรม Excel เลอื กการสรา้ งกราฟแบบ Box Plot เพอ่ื การวเิ คราะหข์ ้อมูล • Min. คอื ค่า Minimum หรือค่าต่�ำสุดของข้อมูลดิบทงั้ หมด • Max. คอื คา่ Maximum คือค่าสงู สดุ ของขอ้ มลู ดบิ ทงั้ หมด • Q1 ค่า 1st Quartile หรอื ค่าที่ Percentile ที่ 25 • Q2 คา่ กลางของข้อมลู หรือ คา่ ที่ Percentile ที่ 50 • Mean คา่ เฉลีย่ ของขอ้ มลู ท้ังหมด • Q3 คา่ 3rd Quartile หรือ คา่ ที่ เรียกว่า Percentile ท่ี 75 • ช่วงระหว่าง Q1-Q3 เรยี กว่า Inter Quartile หมายเหต ุ สตู รค�ำนวณต�ำแหนง่ Quartile ที่ K : QK = (K(N+1))/4 สูตรค�ำนวณต�ำแหนง่ Percentile ท่ี K : PK = (K(N+1))/100 เมอื่ K = ต�ำแหน่งท่ีต้องการหาค่าของข้อมลู N = จ�ำนวนของข้อมูลทง้ั หมด 8 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ
(2) ขอ้ มูลท่ตี ่ำ� กวา่ ปกติ คอื ข้อมลู ทีม่ ีค่าน้อยกว่า Q1-(1.5x(Q3-Q1)) และคา่ ที่ สงู กวา่ ปกติ คอื ค่าทม่ี ากกวา่ Q3+(1.5x(Q3-Q1)) ซ่งึ เป็นค่าทีส่ ามารถตัด ออกจากผลการทดลองได้ และควรระบุถึงสาเหตขุ องการตดั ข้อมลู ออก จากตวั อยา่ งกราฟมาตรฐานสารละลายกลโู คส ณ คา่ ความเขม้ ขน้ กลโู คสเทา่ กบั 1.0 มิลลิกรมั ต่อลติ ร วัดคา่ OD ได้ เท่ากับ 0.19 เน่อื งจากเป็นคา่ ทสี่ ูงเกนิ กว่าค่าปกติ จริง แต่การหากราฟมาตรฐานของสารละลายต้องใช้ความเข้มข้นสารละลายต้ังแต่ 0.0 – 1.0 มิลลิกรัมต่อลิตร จึงไม่สามารถตัดค่าความเข้มข้นสุดท้ายออกได้ จึงควร เตรยี มสารละลายมาตรฐานกลูโคสข้ึนใหม่ นอกจากนกี้ ารตกแตง่ รปู ใหมใ่ หแ้ ตกตา่ งไปจากรปู ภาพตน้ ฉบบั โดยใชโ้ ปรแกรม คอมพวิ เตอร์ เชน่ Photoshop ถอื เปน็ การดดั แปลงขอ้ มลู เชน่ กนั (ดแู นวทางการจดั การ รปู ภาพ ในหัวข้อ 5.2) 1.3 การสรา้ งข้อมลู เท็จ (Fabrication) การสร้างข้อมูลผลการทดลองและรายงานผลไปตามทฤษฎีหรือสมมุติฐาน ท่ีตั้งไว้ โดยไม่ได้ลงมือท�ำการทดลองทั้งหมดหรือบางส่วน หรือหลีกเล่ียงการน�ำเสนอ ข้อมูลตามความจริง อาจเรียกการกระท�ำในลักษณะเช่นน้ีว่า การท�ำแล็บแห้ง “Dry-labbing” เช่น การทดลองท่ีต้องวัดค่าซ้�ำ 3 ครั้ง เพื่อให้ได้ผลท่ีเที่ยงตรงและ แม่นย�ำ ผู้วจิ ยั ท�ำการทดลองเพยี งครั้งเดียว และสร้างข้อมูลเพ่มิ เติมเพอ่ื ใหเ้ ปน็ ไปตาม ทฤษฎี ผู้ท่ีมีส่วนในการสร้างสรรค์ผลงานวิจัยควรตระหนักถึงปัญหาและหลีกเลี่ยง การประพฤติที่ไม่เหมาะสมในการวิจัย ซึ่งอาจน�ำไปสู่การพิจารณาถอนบทความ ออกจากวารสาร (Retraction) อกี ทง้ั ยงั สง่ ผลตอ่ ความนา่ เชอ่ื ถอื น�ำมาซงึ่ ความเสอื่ มเสยี ชอื่ เสยี งตอ่ ตนเองและสถาบนั และอาจไดร้ บั บทลงโทษทางวนิ ยั จากตน้ สงั กดั ถกู ยกเลกิ สัญญารับทุน ถูกเรียกทุนวิจัยคืน หรือถูกขึ้นบัญชีด�ำ (Blacklist) จากผู้สนับสนุนทุน วิจัยและ/หรือวงการวชิ าการท่เี ก่ยี วข้อง แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 9
แนวทางปฏบิ ตั ใิ นการปอ้ งกนั ขอ้ กลา่ วหาเรอ่ื งการดดั แปลงขอ้ มลู (Falsification)/ การสร้างข้อมลู เท็จ (Fabrication) 1. จดบันทึกการวิจัยลงสมุดบันทึกงานวิจัยท่ีมีมาตรฐานอย่างต่อเน่ืองโดยไม่เว้นว่าง ติดข้อมูล/รูปภาพที่พิมพ์จากเคร่ืองมือวิจัยและคอมพิวเตอร์ลงในสมุดบันทึก งานวิจัย พร้อมระบุวนั ทีท่ ท่ี �ำการทดลอง* 2. การแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาดในสมุดบันทึกงานวิจัย ไม่ลบหรือใช้น�้ำลบค�ำผิด ให้ใช้ ปากกาขดี ฆา่ ทบั ขอ้ ความ และระบถุ งึ สาเหตทุ แี่ กไ้ ข พรอ้ มทง้ั ลงชอื่ และวนั ทกี่ �ำกบั * * ศึกษาวิธีบันทึกข้อมูลวิจัยที่ดีได้จากคู่มือการบันทึกข้อมูลงานวิจัย จัดท�ำโดย ฝา่ ยพฒั นาคณุ ภาพการวจิ ยั สามารถดาวนโ์ หลดเอกสารไดท้ :่ี https://www.nstda.or.th/rqm/ resources-publications.html 3. เก็บไฟล์ภาพถ่ายดิจิทัลฉบับด้ังเดิมไว้ส�ำหรับตีพิมพ์ หากมีความจ�ำเป็นจะต้อง ตกแตง่ หรอื ดดั แปลงรปู ภาพ ผวู้ จิ ยั ควรมกี ารจดบนั ทกึ ล�ำดบั ขน้ั ตอนในการปรบั แตง่ พร้อมทงั้ ระบุถึงโปรแกรมท่ีใช้ (ดแู นวทางการจัดการรปู ภาพ ในหวั ขอ้ 5.2) 4. สรา้ งความตระหนกั และ/หรอื ปลกู ฝงั เรอื่ งคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมการวจิ ยั เพอ่ื เปน็ แนวทางในการปฏบิ ัติตนอยา่ งถกู ตอ้ ง 1.4 จริยธรรมและแนวทางปฏิบัติส�ำหรับการวิจัยในมนุษย์ (Ethic and Practice in Human Research) ความกา้ วหนา้ ทางดา้ นการแพทยใ์ นปจั จบุ นั เกดิ จากการศกึ ษาวจิ ยั และทดลอง ในมนุษย์ ซึ่งนอกจากจะท�ำให้รู้เท่าทันโรคภัยไข้เจ็บเพ่ือป้องกันและรักษาโรคแล้ว ยงั ยกระดบั ความเปน็ อยขู่ องมนุษย์ให้ดีขึ้น (Human Well Being) อกี ดว้ ย การศึกษาวิจัยในมนุษย์ หมายถึง กระบวนการศึกษาวิจัยอย่างเป็นระบบที่มี การทดลองและ/หรอื กระท�ำกบั รา่ งกายหรอื จติ ใจของอาสาสมคั ร เพอ่ื ท�ำใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจทางด้านสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยโรค แนวทางการป้องกันและรักษาโรค โครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์จะต้องผ่านการพิจารณาอนุมัติหรือเห็นชอบ จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ก่อนเริ่มด�ำเนินการใดๆ กับอาสาสมัคร และขอ้ มลู ของอาสาสมคั รทไ่ี ด้จากการวจิ ัย ได้แก่ ข้อมูลในเวชระเบียนของผู้ป่วย วสั ดุ 10 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ
สิ่งส่งตรวจ น้�ำคัดหล่ัง เน้ือเยื่อ ฯลฯ รวมถึงผลการศึกษาทางด้านสรีรวิทยา ชีวเคมี พยาธิวทิ ยา การตอบสนองตอ่ การรกั ษาของร่างกายทางด้านชวี เคมี และจติ วทิ ยาของ อาสาสมคั ร จะต้องได้รับการดูแลและเปน็ ไปตามหลกั จรยิ ธรรม ปัจจุบัน การวิจัยในมนุษย์ไม่ได้หมายถึงเพียงงานวิจัยในเชิงวิทยาศาสตร์ ทสี่ ง่ ผลตอ่ รา่ งกายโดยตรง แตย่ งั รวมถงึ งานวจิ ยั เชงิ สงั คม งานวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ ทส่ี ง่ ผล ต่อจติ ใจอีกด้วย 1.4.1 แนวทางปฏิบตั ติ ามหลักจริยธรรมการวิจยั ในมนุษย์ 1. หลักการเคารพในบคุ คล (Respect for Person) หลักการเคารพในบคุ คลของงานวิจยั ในมนษุ ย์ มี 2 รปู แบบ คือ การเคารพใน ศกั ดศิ์ รคี วามเปน็ มนษุ ยแ์ ละความเปน็ สว่ นตวั ของอาสาสมคั ร (โดยการขอความยมิ ยอม และการรกั ษาความลบั ของขอ้ มลู ) และการเคารพในความจรงิ และสทิ ธทิ างปญั ญาของ ผอู้ นื่ (โดยหลกี เลยี่ งการคดั ลอกขอ้ มลู และสรปุ ผลการวจิ ยั ทไี่ มเ่ ปน็ ไปตามความเปน็ จรงิ ) • การขอความยิมยอม (Informed Consent) ก่อนเริ่มต้นด�ำเนินการใดๆ กับอาสาสมัคร จะต้องมีขั้นตอนการขอความ ยินยอมกับอาสาสมัครก่อน โดยผู้วิจัยจะต้องอธิบายรายละเอียดของโครงการวิจัย ให้แก่อาสาสมัครอย่างครบถ้วน ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย เปิดโอกาสให้ซักถามข้อสงสัย และใหเ้ วลาอาสาสมัครในการตัดสนิ ใจเขา้ ร่วมโครงการวิจยั อยา่ งอสิ ระ ส�ำหรับกฎหมายของไทยอาศัยพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 หมวด 1 สทิ ธแิ ละหนา้ ทดี่ า้ นสขุ ภาพ วา่ ดว้ ยขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การใชอ้ าสาสมคั รวจิ ยั ในมาตรา 9 ก�ำหนดไว้ ดงั นี้ “ในกรณีท่ีผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุขประสงค์จะใช้ผู้รับบริการ เป็นส่วนหนงึ่ ของการทดลองในงานวิจยั ผูป้ ระกอบวิชาชพี ด้านสาธารณสขุ ต้องแจง้ ให้ ผู้รับบริการทราบล่วงหน้าและต้องได้รับความยินยอมเป็นหนังสือจากผู้รับบริการก่อน จงึ จะด�ำเนนิ การได้ ความยินยอมดงั กลา่ วผู้รบั บริการจะเพิกถอนเสียเมือ่ ใดกไ็ ด”้ แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 11
• การรักษาความลบั ของข้อมูล (Confidentiality) การรกั ษาความลบั ของขอ้ มลู คอื การไมเ่ ปดิ เผยขอ้ มลู ของอาสาสมคั รใหบ้ คุ คล ท่สี ามรับทราบ ยกเวน้ ผทู้ ่ีมสี ิทธ์ใิ นการเขา้ ถึงขอ้ มลู ได้ เชน่ แพทย์ผู้วจิ ัย พยาบาลวจิ ยั นกั เทคนคิ การแพทย์ หรอื บคุ คลอน่ื ๆ ทอ่ี าสาสมคั รหรอื ผแู้ ทนตามกฎหมายอนญุ าตให้ สามารถเข้าถงึ ข้อมูลได้ ซึง่ เปน็ การเคารพสิทธเิ สรีภาพของอาสาสมคั ร ในการรักษาความลับของข้อมูลอาสาสมัคร ผู้วิจัยจะต้องเก็บรักษาความลับ ของข้อมูลอาสาสมัคร โดยบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึกข้อมูลท่ีระบุเฉพาะหมายเลข ของอาสาสมัครเท่าน้ัน และไม่สามารถระบุถึงตัวอาสาสมัครได้ และเก็บข้อมูล ในคอมพวิ เตอรท์ ม่ี รี หัสผ่านส�ำหรบั การเข้าถึงข้อมูล • การเคารพในความเป็นสว่ นตวั (Privacy) ความเป็นส่วนตัว คือ สิทธิส่วนบุคคลของอาสาสมัครในการตัดสินใจว่า จะปกปิดหรือเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวบุคคล พฤติกรรมทางสังคม สุขภาพและ/หรือ ความรูส้ ึก ใหผ้ ู้วิจยั ทราบ ตามพระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. 2550 หมวด 2 มาตรา 7 วา่ ดว้ ย กฎหมายคุม้ ครองความลับขอ้ มลู มขี อ้ ก�ำหนด ดังน้ี “ขอ้ มลู ดา้ นสขุ ภาพของบคุ คล เปน็ ความลบั สว่ นบคุ คล ผใู้ ดจะน�ำไปเปดิ เผย ในประการทน่ี า่ จะท�ำใหบ้ คุ คลนนั้ เสยี หายไมไ่ ด้ เวน้ แตก่ ารเปดิ เผยนน้ั เปน็ ไปตามประสงค์ ของบคุ คลนนั้ โดยตรง หรอื มกี ฎหมายเฉพาะบญั ญตั ใิ หต้ อ้ งเปดิ เผย แตไ่ มว่ า่ ในกรณใี ดๆ ผู้ใดจะอาศัยอ�ำนาจหรือสิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือ กฎหมายอ่นื เพ่อื ขอเอกสารเกี่ยวกบั ข้อมลู ด้านสุขภาพของบคุ คลทไ่ี มใ่ ชข่ องตนไมไ่ ด้” 2. หลักการให้ประโยชน์ ไม่ก่อให้เกิดอันตราย (Beneficence/ Non-maleficence) กอ่ นเรม่ิ ตน้ การวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ควรค�ำนงึ ถงึ ประโยชนแ์ ละความเสย่ี งในการเขา้ รว่ ม การวจิ ยั ของอาสาสมคั ร โดยประเมนิ วา่ อาสาสมคั รจะไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการวจิ ยั หรอื ไม่ 12 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
ประโยชน์มีอะไรบ้าง ก่อให้เกิดความเสี่ยงหรือไม่ รวมถึงได้รับความเป็นอยู่ท่ีดีข้ึน หรอื ไม่ ซง่ึ การไดร้ บั ประโยชนข์ องอาสาสมคั รจะตอ้ งมากกวา่ ความเสย่ี งทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ อันตรายกับอาสาสมัคร โดยทั่วไปความเส่ียงที่อาจจะเกิดข้ึนกับอาสาสมัคร ได้แก่ ความเจบ็ ปวด ความเสยี หาย ผลกระทบทางดา้ นจติ ใจ หรอื ผลกระทบทางดา้ นกฎหมาย สังคมศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์ ในการประเมินหลักการให้ประโยชน์และความเสี่ยง ที่อาจจะเกิดขึ้น ผู้วิจัยจะต้องยึดถือหลักความถูกต้อง ความปลอดภัย และ ความเปน็ อยทู่ ่ดี ขี นึ้ ของอาสาสมัคร 3. หลักความยตุ ธิ รรม (Justice) หลักความยุติธรรมและความเสมอภาคในการด�ำเนินงานวิจัย เกณฑ์การรับ อาสาสมคั รเข้าร่วมโครงการวิจัยควรปราศจากอคตหิ รือความล�ำเอียง โดยใชว้ ิธีการสมุ่ อาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย และการกระจายความเส่ียงและประโยชน์ของ อาสาสมคั รอยา่ งเปน็ ธรรม ในขน้ั ตอนการวจิ ยั จะตอ้ งมกี ารปฏบิ ตั ติ อ่ อาสาสมคั รทกุ ราย อย่างเทา่ เทียมกนั 1.4.2 การพจิ ารณาโครงการวจิ ยั ดา้ นจรยิ ธรรมการวิจัยในมนุษย์ ส�ำหรับโครงการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ ผู้วิจัยจะต้องย่ืนข้อเสนอโครงการ เพ่ือขอรับการพิจารณาจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของหน่วยงาน ที่จะด�ำเนินการวิจัยในมนุษย์ และอาจรวมถึงหน่วยงานต้นสังกัดของผู้วิจัย ตามแต่ ขอ้ ก�ำหนดของแตล่ ะหน่วยงาน อา้ งองิ แนวปฏบิ ตั คิ ณะกรรมการพฒั นาสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ จรยิ ธรรมการวจิ ยั ในมนุษย์ สวทช. เกณฑ์ทัว่ ไป (หมวดท่ี 3) โครงการวิจยั ในมนุษย์ทตี่ อ้ งขอการรับรอง จากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของ สวทช. ได้แก่ (1) โครงการวิจัยใน มนุษย์ที่ด�ำเนินการโดยนักวิจัยของ สวทช. และนักวิจัยภายนอกท่ีได้รับการสนับสนุน งบประมาณจาก สวทช. (2) โครงการวิจัยใดๆ ที่เป็นการวิจัยในมนุษย์ซ่ึงด�ำเนินการ อยู่ภายใน สวทช. หรือหน่วยงานภายในการก�ำกับดูแลของ สวทช. โดยโครงการ ท่ีเขา้ ขอบขา่ ยตอ้ งขอรับรองการวจิ ยั ในมนุษย์ ไดแ้ ก่ แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ 13
(1) การวจิ ยั เกีย่ วกับเภสชั ผลติ ภัณฑห์ รืออาหาร (2) การวิจัยเกี่ยวกบั เครอื่ งมือและอปุ กรณ์ทางการแพทย์ (3) การวจิ ยั เกี่ยวกับการตรวจและรักษาทางรังสวี ทิ ยา (4) การวิจัยเก่ยี วกับการผา่ ตดั (5) การวิจัยสง่ิ สง่ ตรวจตา่ งๆ จากรา่ งกายคน (6) การวิจยั จากเวชระเบียนและ/หรือระบบข้อมลู ท่บี นั ทึกเชิงเวชระเบียน (7) การวิจัยดา้ นระบาดวทิ ยาในมนษุ ย์ (8) การวิจยั ทางสงั คมศาสตร์และพฤตกิ รรมศาสตรท์ เ่ี กีย่ วขอ้ งกับมนุษย์ (9) การวิจัยและการทดลองในมนุษย์ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาธรรมชาติ ของโรค การสง่ เสรมิ สขุ ภาพการปอ้ งกนั โรค และการฟน้ื ฟสู ภาพ ทกี่ ระท�ำ ในร่างกายคน เปน็ ตน้ (10) การวจิ ัยอ่ืนในมนุษย์ทม่ี ปี ระเด็นดา้ นจริยธรรม (11) โครงการวจิ ัยในมนษุ ยเ์ กยี่ วกบั เคร่ืองมอื แพทย์ ได้แก่ เครือ่ งมอื แพทยท์ ่มี ี ความเสี่ยงสงู ซึง่ ตรงกบั นยิ ามอยา่ งนอ้ ยข้อใดขอ้ หนงึ่ ตอ่ ไปน้ี (11.1) เป็นเครื่องมือท่ีต้องสอดใส่เข้าภายในร่างกายของมนุษย์ โดย เครอื่ งมอื นน้ั มผี ลตอ่ สขุ ภาพและสขุ ภาวะของผทู้ ตี่ อ้ งใชเ้ ครอ่ื งมอื (11.2) เปน็ เครื่องมอื ทีต่ ้องใชเ้ พ่ือช่วยชวี ิตผู้ป่วย (11.3) เป็นเครื่องมือส�ำคัญท่ีต้องใช้เพ่ือช่วยในการวินิจฉัย รักษาโรค หรอื ใชป้ อ้ งกนั การเกดิ ความบกพรอ่ งของสขุ ภาพมนษุ ย์ และการ บรรเทาโรค ซงึ่ หากขาดเครอื่ งมอื ดงั กลา่ วแลว้ จะไมส่ ามารถหาย จากโรค และกลับมามีสุขภาพและสขุ ภาวะดังเดมิ (11.4) ความเสย่ี งจากการใชเ้ คร่อื งมืออาจท�ำให้ถึงแกช่ ีวติ หรือมีความ ผดิ ปกต/ิ พกิ ารอยา่ งถาวรทงั้ ในแงก่ ารท�ำงานของอวยั วะนน้ั และ ท�ำใหม้ คี วามวกิ ลรปู (deformity) อย่างถาวรรว่ มด้วย สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเตมิ ไดท้ ่ี ฝ่ายส่งเสรมิ จริยธรรมการวจิ ัย สวทช. 14 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
บทที่ 2 หลกั การมีชือ่ ในผลงานทางวิชาการ (Authorship) 2.1 นยิ ามและคณุ สมบตั กิ ารมชี อื่ ในผลงาน (Definition and Properties of Authorship) ผู้มชี อ่ื ในผลงาน หรอื ผู้นพิ นธ์ (Author) หมายถงึ ผ้ทู ม่ี ีส่วนร่วมในเชงิ ปญั ญา อยา่ งส�ำคญั ในผลงาน (Substantive Intellectual Contributions) โดยอาศยั ขอ้ ตกลง ของ International Committee of Medical Journal Editors (ICMJE) (คณะกรรมการบรรณาธกิ ารวารสารวชิ าการทางการแพทยน์ านาชาต)ิ ซง่ึ เปน็ ทยี่ อมรบั อย่างกว้างขวาง ก�ำหนดเกณฑ์ให้ผู้มีชื่อในผลงานต้องมีองค์ประกอบพ้ืนฐาน ครบท้ัง 3 ข้อ ดงั น้ี 1. มสี ว่ นรว่ มอยา่ งส�ำคญั ในกระบวนการวจิ ยั เชน่ การสรา้ งโจทยว์ จิ ยั ออกแบบ วางแผนการวจิ ัย ด�ำเนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู วเิ คราะห์ หรือ แปลความหมายขอ้ มลู 2. มสี ว่ นรว่ มเชงิ ปญั ญาอยา่ งส�ำคญั ในการเขยี นหรอื ตรวจสอบเนอ้ื หา ผลงาน (ไมใ่ ช่เฉพาะภาษาหรือรูปแบบ) 3. รบั ทราบและรับรองเน้อื หาผลงานท่ีสง่ เผยแพร่ นอกจากนี้ ICMJE ยังระบุให้ผู้ที่มีชื่อในผลงานทุกคนมีหน้าท่ีรับผิดชอบใน ความถูกต้องของเนอ้ื หาและจรยิ ธรรมในผลงานดว้ ย ส�ำหรบั ผทู้ มี่ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ งกบั ผลงาน แตไ่ มไ่ ดม้ สี ว่ นรว่ มในเชงิ ปญั ญาตามเกณฑ์ ข้างต้น อาจใส่ช่ือในกิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) และระบุถึงบทบาท ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างไรก็ตาม หลักเกณฑ์การมีช่ือในผลงานอาจมีข้อยกเว้นให้มี องค์ประกอบไม่ครบท้ัง 3 ข้อได้ หากขัดต่อหลักจริยธรรม เช่น อาจารย์ท่ีปรึกษาน�ำ ผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาท่ีจบการศึกษาแล้วมาเขียนบทความตีพิมพ์โดยไม่ได้ แจ้งนักศึกษา ท�ำให้นักศึกษามีคุณสมบัติไม่ครบตามหลักเกณฑ์ทั้ง 3 ข้อข้างต้น นักศึกษาไม่มีสิทธ์ิมีช่ือในผลงาน เพราะขาดคุณสมบัติข้อ 2 และ 3 แต่หากค�ำนึงถึง แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 15
หลกั จริยธรรมการวิจยั ถือวา่ เป็นการน�ำเอาผลงานของนักศกึ ษามาเป็นผลงานของตน จึงควรให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการเขียนบทความและใส่ช่ือนักศึกษาด้วย ดังน้ัน แนวทางในการป้องกนั ข้อขดั แย้งและการประพฤตผิ ดิ ทางจรยิ ธรรม คณะผูว้ จิ ยั ทุกคน ต้องทราบหลักเกณฑ์ในการมีช่ือในผลงานและควรร่วมกันวางแผนเร่ืองการมีช่ือ ในผลงานต้งั แต่ขัน้ ตอนการวางแผนการด�ำเนินงานวิจัย ตารางท่ี 2 ตัวอย่างผู้มีส่วนร่วมเชิงปัญญาอย่างส�ำคัญและผู้ที่ไม่ได้มีส่วนร่วม เชิงปัญญาอย่างส�ำคัญ (ส�ำหรับพิจารณาประกอบหลักเกณฑ์ ข้อ 1 และ 2) ผมู้ ีส่วนร่วมเชิงปัญญา ความหมาย อยา่ งส�ำคัญ ผมู้ สี ่วนร่วมเชงิ ปัญญาอยา่ งส�ำคญั ผู้ที่มีส่วนร่วมโดยการใช้ความคิด/องค์ความรู้/ ความเชยี่ วชาญอยา่ งส�ำคญั ในกระบวนการวจิ ยั เช่น การสร้างโจทย์วิจัย ออกแบบ วางแผน การวิจัย ด�ำเนินการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ หรือ แปลความหมายข้อมลู ฯลฯ ผู้ออกแบบวางแผนงานวจิ ัย ผู้ที่มีส่วนในการออกแบบโครงสร้างของ กระบวนการวจิ ยั วางแผนขนั้ ตอนการด�ำเนนิ งาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล แผนงบประมาณท่ีใช้ในการด�ำเนินงาน ก่อน เริ่มต้นด�ำเนนิ งานวิจัย ผู้มีส่วนร่วมพัฒนารูปแบบแนวคิด ผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการพัฒนาองค์ประกอบของ ของงานวจิ ยั แนวคดิ ท่ีส�ำคัญเก่ยี วข้องกบั งานวจิ ัย 16 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ
ผ้มู ีสว่ นร่วมเชงิ ปญั ญา ความหมาย อยา่ งส�ำคญั ผู้มีส่วนร่วมในการดัดแปลงแก้ไข ผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแก้ไขรูปแบบการ รปู แบบงานวจิ ัย ด�ำเนินงานวิจัย ให้มีความสอดคล้องกับ เปา้ หมายหรือการพิสูจนส์ มมุตฐิ านทีต่ ั้งไว้ ผมู้ สี ่วนรว่ มในการวเิ คราะห์ข้อมลู ผทู้ มี่ สี ว่ นรว่ มในการออกแบบและการด�ำเนนิ การ วิเคราะห์ข้อมูล การวินิจฉัยผลการวิเคราะห์ ขอ้ มลู ตลอดจนการพฒั นาหลกั การ เหตผุ ลและ ทฤษฎีประกอบการวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือให้มี ความถกู ต้องและแม่นย�ำ ผู้มีส่วนในการแปลความหมาย ผู้ที่มีส่วนร่วมในการตีความหมายจากข้อมูล ข้อมลู หรือขอ้ สังเกตที่พบจากการด�ำเนนิ งานวจิ ยั ผูม้ ีสว่ นในการแปลผลการทดลอง ผู้ท่ีมีส่วนร่วมในการสร้างสมมุติฐานและ ตีความหมาย วิเคราะห์ข้อมูลหรือข้อสังเกต ทพี่ บจากการทดลองตามขอ้ เทจ็ จรงิ โดยอา้ งองิ ห ลั ก ก า ร แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี ข อ ง ง า น วิ จั ย น้ั น ๆ ซึง่ จะน�ำมาสขู่ ้อสรุปของผลการทดลอง ผู้มีส่วนร่วมในเชิงปัญญาอย่าง ผทู้ ม่ี สี ว่ นรว่ มในการรา่ ง/เขยี นบทความวชิ าการ ส�ำคัญในการเขียน/ตรวจสอบร่าง หรอื ตรวจสอบรา่ งบทความวชิ าการฉบบั สดุ ทา้ ย บทความ ก่อนส่งตีพิมพ์ในวารสาร หรือพัฒนาวิธีการ น�ำเสนอขอ้ มลู ทส่ี ง่ ตพี มิ พใ์ นวารสาร หรอื เผยแพร่ สสู่ าธารณะด้วยวธิ กี ารทางวชิ าการอืน่ ๆ แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ 17
ผทู้ ไ่ี มไ่ ด้มสี ่วนรว่ มเชิงปัญญา ความหมาย อยา่ งส�ำคญั ผู้ให้ทุนวิจยั ผใู้ หก้ ารสนบั สนนุ ทนุ ในการด�ำเนนิ งานวจิ ยั แต่ ไม่มีส่วนร่วมในการด�ำเนนิ งานวิจยั ผู้บริหาร/ผู้บังคับบัญชา/หัวหน้า ผู้บงั คบั บญั ชาท่ีมีบทบาทหน้าท่กี �ำหนดทศิ ทาง ห้องปฏบิ ตั ิการ (โดยต�ำแหน่ง) การด�ำเนนิ งานวจิ ยั ในภาพรวมของหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร รวมถึงให้ค�ำปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา ในการด�ำเนินงานวิจัยในภาพรวม แต่ไม่ได้มี ส่วนร่วมในการด�ำเนินงานวิจัยน้ันๆ อย่างมี นัยส�ำคัญ ผูใ้ หค้ �ำปรึกษาทางด้านงานวิจัย ผทู้ ม่ี สี ว่ นใหค้ �ำปรกึ ษาเกยี่ วกบั หลกั การ/วธิ กี าร ตรวจวิเคราะห์ข้อมูล/เทคนิค/เคร่ืองมือ วเิ คราะห์ที่ใชใ้ นงานวจิ ัยในภาพรวม แต่ไมไ่ ด้มี ส่วนรว่ มในการด�ำเนินงานวจิ ยั ผชู้ ่วยเหลอื ทางดา้ นเทคนคิ ผู้ท่ีด�ำเนินการช่วยเหลือทางด้านเทคนิค/ เคร่ืองมือวิเคราะห์ทดสอบ โดยปฏิบัติตาม หน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย เช่น ผู้ใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ทดสอบ HPLC แต่ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญ เฉพาะดา้ นท่มี บี ทบาทส�ำคญั ในงานวจิ ัย ผู้เก็บข้อมูลงานวิจัยตามหน้าที่ ผู้ท่ีด�ำเนินการ/ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับ ประจ�ำหรือตามค�ำส่ังหรือตาม มอบหมายเปน็ ประจ�ำจากหวั หนา้ /ผบู้ งั คบั บญั ชา/ สัญญาจา้ ง สญั ญาจ้าง 18 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ
ผทู้ ไี่ มไ่ ดม้ สี ่วนรว่ มเชงิ ปญั ญา ความหมาย อย่างส�ำคัญ ผ้หู าขอ้ มลู สนบั สนุนงานวจิ ยั ผู้ท่ีมีส่วนช่วยในการสืบค้นข้อมูล/แหล่งอ้างอิง เพ่ือใช้ในการสนับสนุนข้อมูลในงานวิจัย แต่ ไม่ได้มีส่วนวิเคราะห์ วางแผน ด�ำเนินการวิจัย อยา่ งส�ำคญั ผรู้ ับจา้ งเขียนบทความวิจัย ผู้รับจ้างเขียนบทความวิจัย แต่ไม่ได้มีส่วนร่วม ในการด�ำเนินงานวจิ ยั ผู้ตรวจสอบและให้ค�ำแนะน�ำ ผู้ท่ีมีส่วนช่วยตรวจสอบและให้ค�ำแนะน�ำ ทางภาษา ทางภาษาในการเขียนบทความวิจัย แต่ไม่ได้มี ส่วนรว่ มในการด�ำเนินงานวิจยั ผใู้ หข้ อ้ มลู /วตั ถดุ บิ /ตวั อยา่ งในการ ผู้ให้ข้อมูล/วัตถุดิบ/ตัวอย่างในการด�ำเนินการ ทดลอง ทดลอง แต่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการด�ำเนินงาน วจิ ัย ผมู้ สี ว่ นชว่ ยวิเคราะห์ทางดา้ นสถติ ิ ผทู้ มี่ สี ว่ นชว่ ยน�ำขอ้ มลู มาวเิ คราะหท์ างดา้ นสถติ ิ แต่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ผลจาก งานวจิ ยั ในเชิงปัญญาอยา่ งมีนยั ส�ำคัญ แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ 19
2.2 ประเภทชอ่ื ในผลงาน (Category of Authorship) ประเภทชือ่ ความหมาย ชอื่ หลกั (Corresponding Author) ผทู้ ที่ �ำหนา้ ทปี่ ระสานงานกบั ผอู้ น่ื ทมี่ ชี อื่ ในผลงาน ในการเตรียมต้นฉบับบทความ หรือส่งบทความ เพ่ือตีพิมพ์ และประสานงานในการตอบ ขอ้ ค�ำถามและข้อวิจารณ์ ช่อื แรก (First Author) ชอื่ ทอ่ี ยลู่ �ำดบั แรก ในหลายสาขาถอื วา่ ชอ่ื แรกเปน็ ผทู้ มี่ สี ว่ นมากทสี่ ดุ ในผลงาน แตก่ ไ็ มไ่ ดเ้ ปน็ เชน่ นน้ั เสมอไป ชอ่ื รว่ ม (Co-Author) ผทู้ มี่ ีช่ือในผลงาน ท่ไี มใ่ ชช่ ื่อหลัก ชอ่ื สุดท้าย (Last Author) ชื่อที่อยู่ล�ำดับสุดท้าย มักจะเป็นผู้วิจัยอาวุโส ในทมี วจิ ยั (Senior Author หรอื Lead Author) แต่ในบางสาขาหรือบางกลุ่มงานวิจัย ชื่อล�ำดับ สุดท้ายอาจจะไม่ใช่ผู้วิจัยอาวุโสในทีมวิจัย เสมอไป ผู้วิจัยอาวุโสอาจจะปรากฎอยู่ในล�ำดับ อื่นๆ เชน่ ล�ำดับที่ 2 ชื่อที่ละเลย (Ghost Author) ผู้ท่ีมีคุณสมบัติมีชื่อในผลงาน แต่ไม่ได้มีช่ือใน ผลงาน ซ่ึงอาจเป็นการถูกขโมยผลงานโดย ผู้ร่วมงานหรือผู้อ่ืน หรือเป็นการสมยอม เช่น เปน็ ผรู้ บั จา้ งท�ำงานวจิ ยั หรอื รบั จา้ งเขยี นบทความ เป็นต้น 20 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ประเภทชอ่ื ความหมาย ชือ่ รับเชิญ (Gift Author, Guest ผู้ท่ีไม่ได้มีคุณสมบัติในการมีช่ือในผลงาน แต่ได้ Author หรอื Honorary Author) มีช่ือในผลงาน เช่น หัวหน้าภาควิชา อาจารย์ อาวุโส นักวิจัยที่มีช่ือเสียง เจ้าของทุนวิจัย ผู้บริหารหน่วยงาน เป็นตน้ ซึ่งไม่ควรกระท�ำและ ไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์การมชี อื่ ในผลงาน ชื่อกลมุ่ (Group Author) ส�ำหรบั งานวจิ ยั ทมี่ ผี วู้ จิ ยั จ�ำนวนมากสามารถระบุ ชอ่ื ในผลงานเปน็ ชอื่ กลมุ่ ได้ โดยผทู้ มี่ ชี อื่ อยใู่ นกลมุ่ ทุกคนต้องมีคุณสมบัติครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ ของการมีชื่อในผลงาน และมีการระบุช่ือหลัก (Corresponding Author) ในช่อื กล่มุ กรณีตัวอยา่ งการใสช่ ื่อในผลงานในรปู แบบที่ไม่เหมาะสม เกรงวา่ จะไมไ่ ดร้ บั การพจิ ารณาตพี มิ พบ์ ทความ จงึ แอบอา้ งโดยใสช่ อ่ื นกั วจิ ยั อาวโุ ส หรือนักวิจัยท่ีมีช่ือเสียง โดยที่เจ้าของชื่อไม่ได้มีส่วนร่วมในผลงานและไม่ทราบถึง การใส่ช่ือในผลงาน เรียกลักษณะเช่นนี้ ว่า Planted Authorship และชื่อผู้ที่ ถูกแอบอา้ งนนั้ เรยี กว่า Guest Author เชญิ มามสี ว่ นรว่ มในงานวจิ ยั แตไ่ มใ่ สช่ อื่ ในบทความ หรอื ลดชอื่ ออกจากบทความใน ภายหลงั อาจเน่ืองจากบรรณาธกิ ารตัดสินให้ลดจ�ำนวนชื่อผู้มีสว่ นร่วมในบทความ เรยี กลกั ษณะเชน่ นวี้ า่ Denial of Authorship ซงึ่ อาจเขา้ ขา่ ยการขโมยผลงานผอู้ นื่ และผูท้ ี่ถูกลดชอ่ื ออกจากบทความ เรียกว่า Ghost Author ผู้เช่ียวชาญรับ (จ้าง) เขียนบทความให้นักวิจัย และไม่ใส่ช่ือตนในบทความ เรียกลักษณะเชน่ นี้ว่า Ghost Author หรือ Ghostwriting นักวิจัยที่เกษียณอายุหรือลาออกไป มอบสิทธิ์การมีชื่อในผลงานให้ผู้อ่ืนที่ไม่ได้มี สว่ นรว่ มใดๆ ในการท�ำงานวจิ ยั เรยี กลกั ษณะเชน่ นว้ี า่ Relinquished Authorship บางงานวิจัยมีการใส่ช่ือผู้ร่วมวิจัยจ�ำนวนมากเกินความเป็นจริงโดยไม่สอดคล้อง และไม่เหมาะสมกบั ปริมาณของงานวิจัย แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 21
2.3 หน้าท่ีและความรับผิดชอบของผู้มีช่ือในผลงาน (Role and Responsibility) 1. เผยแพร่ข้อมูลงานวิจัยตามความจริง ด้วยความซื่อสัตย์ โดยมั่นใจว่าตน และผู้ร่วมวิจัยมีกระบวนการได้มาซ่ึงข้อมูลวิจัยที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง ท�ำซ้�ำได้ เปน็ ไปตามมาตรฐานและหลกั จริยธรรมการวิจยั มหี ลกั ฐานยนื ยันที่มาของข้อมูล เชน่ สมดุ บันทกึ งานวิจยั ไมค่ ัดลอกผลงาน (Plagiarism) ไม่ดัดแปลงขอ้ มลู (Falsification) ไม่สร้างขอ้ มูลเทจ็ (Fabrication) รักษาความลับและข้อมลู สว่ นบุคคล (Privacy and Confidentiality) ขออนุญาตใชง้ านลขิ สิทธ์ิ (Copyright) อ้างองิ แหล่งท่มี าข้อมลู (Reference) ไม่ย่นื เผยแพรพ่ รอ้ มกันหลายวารสาร (Simultaneous Submission) ไม่แบ่งยอ่ ยผลงานเพอื่ เพ่ิมจ�ำนวนเอกสาร (Salami Publication) ไมเ่ ผยแพร่ซ�ำ้ โดยไมอ่ ้างอิง 2. ทราบหลักเกณฑ์การมีช่ือ มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ และสามารถช้ีแจงได้ว่า ผู้ท่ีมีช่ือในผลงานแต่ละคนมีคุณสมบัติตามเกณฑ์อย่างไร โดยมีการช้ีแจง บทบาทของแต่ละชื่อ (Contributorship) เพ่ือแสดงความโปร่งใส 3. ผมู้ ชี อ่ื ทกุ คนรบั ทราบและรบั รอง เนอ้ื หาในผลงาน การเปลยี่ นแปลงรายชอ่ื ในผลงาน พร้อมรับผิดชอบต่อเนื้อหาผลงานในทุกด้าน ทั้งท่ีเกี่ยวข้องกับ ความถกู ตอ้ งและจริยธรรมในทุกสว่ นของผลงาน และรว่ มรบั ผดิ ชอบกรณี มขี อ้ ร้องเรยี นตา่ งๆ ในผลงาน 4. เปดิ เผยแหลง่ ทุน และข้อมลู ผลประโยชนท์ ับซอ้ น (Conflict of Interest) ทง้ั ทางตรงและทางออ้ ม ทงั้ เชงิ บวกและเชงิ ลบ ทอี่ าจมผี ลตอ่ กระบวนการ วิจัย การเผยแพรผ่ ลงาน และการน�ำผลงานไปใช้ 22 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
2.4 การจดั ล�ำดับชือ่ ในบทความวิจัย (Authorship Order) นอกจากผวู้ จิ ยั จะตอ้ งตกลงรว่ มกนั วา่ ผใู้ ดควรมชี อื่ ในผลงานแลว้ ควรรว่ มตกลง การจัดล�ำดับชื่อด้วย โดยทั่วไปช่ือแรกเป็นช่ือที่ได้รับการยอมรับและขับเคลื่อน งานวิจัยมากท่ีสุด เน่ืองจากมักเป็นผู้ริเร่ิมงานวิจัย ท�ำการวิจัย และร่างบทความ การจัดล�ำดับชื่ออื่นๆ จะขึ้นอยู่กับบทบาทการมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย ซึ่งอาจ เรยี งตามล�ำดับการมีส่วนรว่ ม แตอ่ าจจะไมไ่ ด้เป็นเชน่ นัน้ เสมอไป บางสาขาวิจัยมกี าร จัดล�ำดับช่ือเรียงตามตัวอักษร (Alphabetical Order) เนื่องจากอาจมีส่วนร่วม ในบทบาทหน้าที่เท่าๆ กัน หรือไม่ได้ค�ำนึงถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ ในสาขา การแพทย์และวิทยาศาสตร์บางสาขา ต�ำแหน่งสุดท้ายของรายช่ือ มักจะเป็นผู้วิจัย อาวุโสในทมี วจิ ัย (Senior Author หรือ Lead Author) แตใ่ นบางสาขาหรอื บางกลุ่ม งานวิจัย ชื่อต�ำแหน่งสุดท้ายอาจจะไม่ใช่ผู้วิจัยอาวุโสในทีมวิจัยเสมอไป ผู้วิจัยอาวุโส อาจจะปรากฎอยใู่ นล�ำดบั อน่ื ๆ เชน่ ล�ำดบั ทส่ี อง สว่ นชอื่ ผรู้ ว่ มวจิ ยั ล�ำดบั อนื่ ๆ เรยี งตาม ล�ำดับการมีส่วนรว่ มในผลงาน คณะผู้วิจัยควรจะมีการเจรจาตกลงร่วมกัน ยอมรับถึงเกณฑ์การมีช่ือและ แนวทางการจดั ล�ำดบั ชอ่ื ในบทความตง้ั แตข่ นั้ ตอนการวางแผนวจิ ยั โดยอาจจะมกี ารบนั ทกึ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อหลีกเล่ียงการเกิดข้อขัดแย้งที่อาจจะเกิดข้ึนภายหลัง ซ่ึงนอกจากจะท�ำให้เสียเวลาและล่าช้าแล้ว อาจส่งผลท�ำให้บทความไม่ได้รับ การพิจารณาตีพมิ พ์อีกด้วย การเปล่ียนแปลงล�ำดับช่ือในบทความ เพื่อให้มีความเหมาะสมและสอดคล้อง กบั บทบาทการมสี ว่ นรว่ มในงานวจิ ยั ของผวู้ จิ ยั แตล่ ะคนอยา่ งแทจ้ รงิ อาจอยใู่ นระหวา่ ง ขนั้ ตอนการวจิ ยั หรือการยื่นบทความขอตพี ิมพใ์ นวารสาร โดยอาจมสี าเหตุ ดงั น้ี การเพมิ่ เตมิ ชอื่ ในบทความ เนอ่ื งจากเปลยี่ นแปลงขอบเขตงานเพมิ่ ขน้ึ ท�ำให้ มีผ้วู ิจยั เพิม่ ขึน้ การน�ำช่ือออกจากบทความ เน่อื งจากลดบทบาทการมสี ่วนร่วมในงานวจิ ัย หรือถอนตัวออกจากการวิจัย การเปล่ียนล�ำดับการมีช่ือในบทความ เนื่องจากการเปล่ียนแปลงบทบาท การมสี ว่ นรว่ มในงานวจิ ยั หรอื การมอบหมายหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบเดมิ ใหผ้ อู้ น่ื แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ 23
ผวู้ จิ ยั ทกุ คนควรมกี ารตกลงล�ำดบั การมชี อื่ ในบทความ โดยพจิ ารณาจากบทบาท การมีส่วนร่วมและหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้วิจัยแต่ละคน และควรมีการตกลง ร่วมกนั ในกรณีมีการเปลีย่ นแปลงรายชือ่ หรือล�ำดบั ชอื่ ในผลงาน 2.5 แนวทางในการชแี้ จงบทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบ (Contributorship) ผู้นิพนธ์หรือผู้ที่มีชื่อในผลงานทางวิชาการประเภทบทความตีพิมพ์ต่างๆ เช่น บทความวิชาการ บทความสั้น เอกสารประชุมวิชาการ ฯลฯ ไม่เพียงแต่ต้องเป็นผู้ท่ี สร้างสรรค์งานในรูปแบบงานเขียนทางวิชาการเท่านั้น ยังต้องมีส่วนร่วมในความคิด รเิ รม่ิ และการสรา้ งสรรคง์ านวจิ ยั ตลอดจนการรบั รองรา่ งตน้ ฉบบั บทความตพี มิ พส์ ดุ ทา้ ย ก่อนส่งให้บรรณาธิการวารสาร ในปัจจุบัน ด้วยความก้าวหน้าทางด้านวิทยาการ การผสมผสานบูรณาการงานวิจัย และความร่วมมือของผู้วิจัยท่ีมีความเชี่ยวชาญ ด้านต่างๆ ท�ำให้เกิดการสร้างสรรค์ผลงานสหสาขา (Multidiscipline) ทั้งในสถาบัน เดียวกันหรือต่างสถาบัน ผู้วิจัยทุกคนควรร่วมกันก�ำหนดชื่อผู้ท่ีมีส่วนร่วมในบทความ ตีพิมพ์ ร่วมก�ำหนดบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบ (Contributorship) และได้รับ ความเห็นชอบจากผู้วิจัยทุกคน ตั้งแต่เริ่มต้นงานวิจัย เพื่อหลีกเลี่ยงข้อขัดแย้งและ การประพฤติผิดทางจรยิ ธรรมท่อี าจเกิดข้นึ ไดใ้ นภายหลงั บางวารสารจะมีการแจ้งผู้วิจัยทุกคนท่ีมีช่ือในผลงานให้รับทราบผ่านทางอีเมล เพื่อยืนยันว่าเป็นผู้ที่มีชื่อในผลงานดังกล่าวจริง และบางวารสารระบุให้มีการเปิดเผย บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้วิจัยทุกคนในวารสารและให้ผู้อ่านรับทราบ เพื่อ ความโปรง่ ใส และสามารถตรวจสอบและยืนยนั คุณสมบตั ิของการมีสว่ นร่วมในผลงาน ได้อย่างได้แท้จริง ป้องกันผู้ท่ีมีคุณสมบัติไม่ครบตามเกณฑ์การมีชื่อแอบอ้างใส่ชื่อ ในบทความ แนวทางในการระบุบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของผู้วิจัยแต่ละคนมีหลาย รปู แบบ ขน้ึ อยกู่ บั ขอ้ ก�ำหนดของส�ำนกั พมิ พว์ ารสาร นโยบายหรอื แนวทางสถาบนั นนั้ ๆ เชน่ การเขยี นแจกแจงบทบาทหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบ การระบบุ ทบาทหนา้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบตามรายการทก่ี �ำหนดไว้ (Check List) การระบุบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบตามหมวดหมู่อนุกรมวิธาน (Taxonomy Index/ Contribution Codes) 24 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ
การก�ำหนดคะแนนการมีส่วนร่วมในหนา้ ทค่ี วามรบั ผิดชอบในงานวิจยั การคิดเปอรเ์ ซ็นตก์ ารมีส่วนรว่ มในงานวิจยั อยา่ งไรกต็ าม การคดิ เปน็ เปอรเ์ ซน็ ตก์ ารมสี ว่ นรว่ มของผวู้ จิ ยั แตล่ ะคน มกั ไมพ่ บ ในต่างประเทศ ตัวอย่างการเขียนแจกแจงบทบาทหนา้ ทีค่ วามรบั ผิดชอบ อ้างอิงแบบฟอร์ม Authorship, Contributorship Agreement & Publishing License ของ SAUDI MEDICAL JOURNAL เป็นการเขียนแจกแจงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้วิจัยแต่ละคน โดย กรอกรายละเอยี ดบทบาทการมสี ว่ นรว่ ม (Contributionship) ในการด�ำเนนิ งานวจิ ยั เชน่ ออกแบบการวจิ ยั วเิ คราะหผ์ ล หรอื การเขยี นบทความ พรอ้ มทง้ั ลงนามและวนั ทกี่ �ำกบั ช่อื เต็ม บทบาทการมสี ว่ นรว่ ม ลายมอื ชือ่ วนั ที่ * * ชื่อหลกั (Corresponding Author) โดยการลงชื่อในแบบฟอร์มน้ี ยังเป็นการรับรองว่า ผู้มีช่ือในบทความทุกคน มีคณุ สมบตั ิครบเกณฑก์ ารมีชอ่ื ท้งั 3 ขอ้ ตามหลักเกณฑข์ อง ICMJE พร้อมรับผดิ ชอบ ต่อบทความ ไม่ส่งตีพิมพ์ในวารสารอื่น ไม่ละเมิดกฎหมายและสิทธิส่วนบุคคล/ หน่วยงานอ่นื และอาสาสมคั ร ที่มา: https://www.smj.org.sa/docs/pdf_information/SMJ%20AUTHORSHIP%20 FORM%20May%202016.pdf [2018 August 10]. แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ 25
ตัวอย่างการระบุบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบตามแบบรายการท่ีก�ำหนดไว้ (Check List) อา้ งองิ แบบฟอร์ม Journal of Hospital Medicine Author Contribution form เป็นการระบุบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบตามแบบรายการท่ีก�ำหนดไว้ โดยผู้วิจัยแต่ละคนเลือกบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบของตนตามรายการท่ีมี ก�ำหนดไว้ในเอกสาร โดยผูท้ ่มี ีชอ่ื ในบทความทกุ คนตอ้ งมสี ว่ นร่วมครบเกณฑท์ ้งั 3 ขอ้ ตามหลักเกณฑ์ของ ICMJE ท้ังในกระบวนการวิจัย การเขียนบทความและ การตรวจสอบรบั รองบทความ ช่อื หลัก (Corresponding Author): ___________________________________ ชือ่ ผนู้ ิพนธ์ คนท่ี ___ : ____________________________________________ 1. เลือกบทบาทหนา้ ท่ี 2. เลือกบทบาทหน้าท่ี 3. เลอื กบทบาทหนา้ ที่ ด้านลา่ งอยา่ งนอ้ ย ดา้ นลา่ งอย่างนอ้ ย ดา้ นล่างอย่างนอ้ ย 1 ข้อ 1 ข้อ 1 ข้อ ❏ คดิ รเิ รม่ิ และออกแบบ ❏ เขยี นร่างบทความ ❏ รับรองบทความ งานวจิ ยั ❏ มีสว่ นร่วมเชงิ ปัญญา สุดท้ายทส่ี ง่ ตีพมิ พ์ ❏ ท�ำให้ได้มาซึ่งข้อมูล อยา่ งส�ำคญั ในการ วจิ ัย แกไ้ ขเนอื้ หาทส่ี �ำคญั ❏ วเิ คราะหแ์ ละแปล ความหมายข้อมูล โดยแบบฟอร์มนี้ระบุถึงผู้ที่ไม่มีคุณสมบัติมีช่ือเป็นผู้นิพนธ์ในผลงาน ซ่ึงอาจ ใส่ชอ่ื ในกิตติกรรมประกาศได้ ไดแ้ ก่ ผูใ้ ห้ทนุ ผ้เู ก็บขอ้ มลู หวั หนา้ /ผ้บู ังคบั บญั ชา ทม่ี า: https://mdedge-files-live.s3.us-east-2.amazonaws.com/files/s3fs-public/journals/ supporting/jhm2371-sup-0002-suppinfo.pdf [2018 October 27]. 26 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ
ตัวอย่างการระบุบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบตามหมวดหมู่อนุกรมวิธาน (Taxonomy Index/ Contribution Codes) อา้ งอิง AUTHOR CONTRIBUTION FORM ของ European Endodontic Journal เป็นการระบุรายชื่อตามบทบาทหน้าท่ีความรับผิดชอบตามหมวดหมู่ อนุกรมวิธาน เช่น การให้แนวคิด การออกแบบ การวิเคราะห์ การเขียนบทความ การตรวจ แก้บทความ เป็นต้น โดยผู้ที่มีชื่อในบทความแต่ละคนต้องมีส่วนร่วม อยา่ งน้อย 3 หมวดหมู่ หมวดหมูบ่ ทบาท ค�ำอธิบาย ชอื่ ผ้มู ีส่วนร่วม การมีส่วนรว่ ม คดิ รเิ ริ่มงานวจิ ยั คิดริเริ่ม แนวคิด หรือ สมมุติฐาน ของงานวิจัย และ/หรอื บทความวจิ ัย ออกแบบวางแผนงานวจิ ัย วางแผนขั้นตอน/วิธีการ ด�ำเนนิ การทดลอง ซงึ่ น�ำมา ส่ขู ้อสรุปของงานวจิ ัย ควบคมุ ดแู ล จัดการและให้ค�ำปรึกษา ที่ส�ำคัญในการด�ำเนินงาน วจิ ยั หรอื การเขยี นบทความ และรับผิดชอบตอ่ งานวจิ ยั หรอื บทความนน้ั สนับสนนุ งานวจิ ยั สนับสนุนด้านบุคลากร สง่ิ แวดลอ้ ม การเงนิ เครอ่ื งมอื อุปกรณ์ ที่จ�ำเป็นต่อการ ด�ำเนินงานวิจัย แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 27
หมวดหมู่บทบาท ค�ำอธิบาย ชอ่ื ผ้มู สี ่วนรว่ ม การมสี ว่ นร่วม รวบรวมและ/หรอื ประมวล รับผิดชอบด�ำเนินการ ผลขอ้ มลู ท ด ล อ ง ติ ด ต า ม เ ก็ บ รวบรวมข้อมูลการด�ำเนิน งาน บริหารจัดการข้อมูล และรายงานผลการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลและ/หรือ รบั ผดิ ชอบแปลความหมาย ตีความหมายข้อมูล ขอ้ มลู ดว้ ยตรรกศาสตรแ์ ละ น�ำเสนอผลหรือข้อสังเกต ที่พบ ทบทวนวรรณกรรม มี ส ่ ว น ร ่ ว ม รั บ ผิ ด ช อ บ อย่างส�ำคัญในการทบทวน วรรณกรรมหรือเอกสาร งานวจิ ยั ทีเ่ กยี่ วขอ้ ง เขียนบทความ รั บ ผิ ด ช อ บ ก า ร เ ขี ย น โครงร่างบทความทง้ั ฉบับ ตรวจสอบบทความ มี บ ท บ า ท เ ชิ ง ป ั ญ ญ า อ ย ่ า ง ส�ำ คั ญ ใ น ก า ร ตรวจแก้ไขร่างบทความ ก่อนย่ืนวารสาร (ไม่ใช่ เ ฉ พ า ะ ตั ว ส ะ ก ด ห รื อ ไวยากรณ์) 28 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
หมวดหมบู่ ทบาท ค�ำอธิบาย ชือ่ ผมู้ สี ว่ นรว่ ม การมสี ่วนรว่ ม อ่นื ๆ * ช่ือหลัก (Corresponding Author) อย่างไรกต็ าม วารสารน้ไี ด้ก�ำหนดวา่ ผู้มีชื่อทกุ คนตอ้ งมสี ว่ นรว่ มในการเขยี น หรือตรวจแก้บทความอย่างมีนัยส�ำคัญ ซึ่งสอดคล้องตามหลักเกณฑ์ ICMJE ทั้งน้ี ผู้ท่ีมีส่วนร่วมในผลงานแต่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์การมีชื่อสามารถใส่ช่ือใน กติ ตกิ รรมประกาศ (Acknowledgement) ได้ ท่ีมา: eurendodj.com/author_contribution.pdf. [2018, August 10]. ตัวอย่างการก�ำหนดคะแนนการมสี ่วนรว่ มในหนา้ ทคี่ วามรบั ผิดชอบในงานวิจัย อาจารย์ผู้เช่ียวชาญทางด้านจิตวิทยา ของมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้คิดเกณฑ์ ในการก�ำหนดชื่อในผลงานและการจัดล�ำดับชื่อในผลงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการ พิจารณาผู้ที่มีส่วนร่วมเชิงปัญญาอย่างส�ำคัญและควรมีชื่อในผลงานวิจัย โดยน�ำ กระบวนการวจิ ยั ทงั้ หมดมาคดิ เปน็ คะแนนรวม 1,000 คะแนน และแบง่ สดั สว่ นการให้ คะแนนตามข้นั ตอนการวิจยั เปน็ 6 ส่วน ได้แก่ การมสี ่วนร่วมในแนวคิด การออกแบบ การวจิ ยั การน�ำการออกแบบไปสกู่ ารทดลอง การด�ำเนนิ การทดลอง การวเิ คราะหข์ อ้ มลู และ การเขียนบทความ โดยในแต่ละส่วนจะพิจารณาคะแนนตามการมีส่วมร่วมของ ผู้วิจยั แต่ละคน แลว้ น�ำคะแนนทกุ ส่วนของแต่ละคนมารวมกนั การพิจารณาใส่ชอื่ ในผลงานจากคะแนนการมสี ่วนรว่ มของแตล่ ะคนเปน็ ดังนี้ ผู้ที่มีคะแนนมากกว่า 0 แต่น้อยกว่า 100 คะแนน ควรใส่ช่ือ ในกติ ตกิ รรมประกาศ ผู้ทม่ี คี ะแนนอยา่ งน้อย 100 คะแนนข้ึนไป ควรมชี ่อื ในผลงาน แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ 29
ในสว่ นการพจิ ารณาล�ำดบั การมชี อ่ื ในผลงาน ในสาขาจติ วทิ ยามกั จดั เรยี งล�ำดบั ตามการมีส่วนร่วมในการวิจัย โดยเรียงตามล�ำดับจากผู้ท่ีมีการคะแนนมากที่สุด ไปน้อยที่สดุ ตารางที่ 3 แนวทางการใหค้ ะแนนการมีส่วนร่วมในการวิจยั แนวคิดการวจิ ัย (Idea) 250 คะแนน - คิดรเิ ริม่ เก่ยี วกับกระบวนการวจิ ยั - แกไ้ ขโจทยว์ จิ ยั ออกแบบการวิจัย (Design) 100 - ออกแบบกระบวนการวจิ ยั คะแนน - ควบคุมสภาวะตา่ งๆ ในการวิจยั - ออกแบบวธิ กี ารวจิ ยั น�ำการออกแบบไปสกู่ ารทดลอง - ออกแบบวตั ถุดิบในการวิจยั (Implementation) 100 คะแนน - พฒั นาขัน้ ตอนการวิจัย - ใหค้ �ำปรึกษาในการทดลอง ด�ำเนนิ การทดลอง (Conducting - แนะน�ำวิธีการพัฒนาการทดลอง the Experiment) 100 คะแนน - พบปญั หาการทดลอง/เสนอแนวทาง แกไ้ ข * การรับค่าจ้างในด�ำเนินงานวิจัย หรือ ปฏบิ ตั ติ ามแผนการวจิ ยั หรอื ผบู้ งั คบั บญั ชา ไม่มีคุณสมบัติพอเพียงในการมีชื่อใน ผลงาน วิเคราะห์ขอ้ มูล (Data Analysis) - คิดค้นวิธีการวิเคราะหข์ อ้ มลู 200 คะแนน - วิเคราะหข์ อ้ มูลหลัก * การช่วยวิเคราะห์ทางสถิติบางส่วน อย่างง่าย ไม่มีคุณสมบัติพอเพียงในการ มีช่อื ในผลงาน 30 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
เขยี นบทความ (Writing) 250 คะแนน - มีส่วนร่วมเชิงปัญญาในการร่าง ตน้ ฉบบั บทความและ/หรอื ตรวจสอบ ต้นฉบับสุดท้ายก่อนส่งตีพิมพ์ใน วารสาร * การทบทวนวรรณกรรม (literature review), ร่างแนวคิด, รวบรวมผลสรุป ไม่มีคุณสมบัติพอเพียงในการมีช่ือใน ผลงาน ตารางท่ี 4 ตัวอยา่ งการจัดล�ำดับช่ือในบทความวจิ ัยในแตล่ ะสาขา รูปแบบการจัดล�ำดบั ชื่อ สาขางานวิจัย เรยี งล�ำดบั โดยชอ่ื แรกและชอื่ สดุ ทา้ ยมสี ว่ นในงานวจิ ยั การแพทย์3,6,7, ชีววิทยา3, มากท่ีสดุ (First-Last-Author-Emphasis: FLAE) นิเวศวิทยา2 ช่ือแรก (First Author) และช่ือสุดท้าย (Last Author) มสี ่วนในงานวจิ ยั มากทส่ี ุด ชื่อสุดท้าย (Last Author) เป็นผู้ท่ีมีส่วนใน ผลงานวจิ ยั รองลงมา อาจจะเปน็ ผทู้ เ่ี ปน็ ชอื่ หลกั (Corresponding Author) หรือเป็นผู้วิจัย อาวโุ ส (Senior Author) ผวู้ จิ ยั ล�ำดบั อน่ื ๆ เรยี งตามบทบาทการมสี ว่ นรว่ ม ในผลงานวิจัย แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ 31
รปู แบบการจดั ล�ำดบั ชือ่ สาขางานวจิ ยั เรียงล�ำดับผู้วิจัยตามปริมาณงานที่มีส่วนในการ รับผดิ ชอบ (Sequence Determines Credit: SDC) ช่ือแรก (First-Author) เป็นผู้ที่มีส่วนร่วม ในเชิงปัญญามากที่สดุ ช่ือร่วม (Co-Author) เรียงตามล�ำดับการ มสี ่วนรว่ มในงานวิจยั เรียงล�ำดับความส�ำคัญของผู้วิจัยเท่ากัน (Equal คณิตศาสตร์ 1,8, ฟิสิกส์ 1,8, Contribution) เ ศ ร ษ ฐ ศ า ส ต ร ์ ,1,3,4,8 เรียงล�ำดับชื่อตามตัวอักษร (Alphabetical การบญั ช8ี ,4, สงั่ คมศาสตร์ 4, 8, Order) และมีเปอร์เซ็นต์การมีส่วนร่วมใน มนษุ ยศาสตร์ 8, วทิ ยาศาสตร์ งานวจิ ยั เทา่ ๆ กนั คอมพิวเตอร1์ , กฎหมาย4 เรียงล�ำดับตามเปอร์เซ็นต์การมีส่วนร่วมในงานวิจัย จติ วิทยา5 (Percent-Contribution-Indicated Approach: PCI) พิจารณาจากการมีส่วนร่วมในงานวิจัยของ ผู้วจิ ยั แตล่ ะคนโดยคิดเป็นระบบเปอรเ์ ซ็นต์ 1 Ackerman M. and Branzei S. The Authorship Dilemma: Alphabetical or Contribution?. Journal of Autonomous Agents and Multi-Agent Systems manuscript No. 2 Duffy MA. 2017. Last and corresponding authorship practices in ecology. Academic practice in ecology and evaluation. 8876-8887. DOI: 10.1002/ece3.3435. 3 Hundley V, Teijlingen EV and Simkhada P. 2013. Academic authorship: who, why and in what order?. Health Renaissance. 11: 98-101. 32 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
4 Joseph K, Laband DN, and Patili V. 2005. Author Order and Research Quality. Southern Economic Journal. 71: 545-555. 5 Kosslyn SM. Criteria for authorship. [Online] 2002. Available form: https:// kosslynlab.fas.harvard.edu/files/kosslynlab/files/authorship_criteria_nov02.pdf. [2018 August, 5] 6 Swiss Medical Weekly. Authorship in scientific publications: analysis and Recommendations.2015. doi:10.4414/smw.2015.14108. Swiss Med Wkly. 2015; 145:w14108 7 Strange k. 2008. Authorship: why not just toss a coin?. Am J Physiol Cell Physiol. 295: 567–575. 8 Waltman Lu. An empirical analysis of the use of alphabetical authorship in scientific publishing. Centre for Science and Technology Studies, Leiden University ตารางที่ 5 แนวทางการปฏิบัติกรณีเกิดข้อพิพาทและข้อร้องเรียน (Authorship Dispute) ตวั อยา่ งประเด็นขอ้ พิพาท ข้อแนะน�ำในการปฏบิ ตั ิ และขอ้ ร้องเรียน เจรจาตกลงกันในคณะผ้วู ิจยั ใช้หลักฐานท่ีเกี่ยวข้องสนับสนุน 1. เกี่ยวกับการมีชอ่ื ในผลงาน การใส่ชื่อผู้ท่ีไม่ได้มีคุณสมบัติตาม เช่น สมุดบันทึกงานวิจัย ร่าง หลกั เกณฑ์ในผลงาน บทความ หลกั สากลทีเ่ ก่ียวข้อง การที่ผู้มีคุณสมบัติตามหลักเกณฑ์ เ ส น อ เ ร่ื อ ง ใ ห ้ ผู ้ บั ง คั บ บั ญ ช า ไมไ่ ด้มชี ่อื ในผลงาน พิจารณา ตามล�ำดับชน้ั ก า ร จั ด ล�ำ ดั บ ช่ื อ ใ น ผ ล ง า น ให้หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลท่ีมี (เนอ่ื งจากอาจมผี ลตอ่ ความนา่ เชอ่ื ถอื อ�ำนาจวินิจฉัยเด็ดขาดตัดสนิ ในงานวิจัยและสิทธิประโยชน์ ในการขอต�ำแหนง่ ทางวชิ าการ) แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ 33
ตัวอยา่ งประเด็นขอ้ พพิ าท ข้อแนะน�ำในการปฏิบตั ิ และข้อรอ้ งเรยี น 2. เกี่ยวกบั คณุ ภาพและจริยธรรมการวิจยั การคัดลอกผลงาน แจ้งผู้บงั คับบัญชา ตามล�ำดับชนั้ การดดั แปลงขอ้ มลู ให้หน่วยงานหรือกลุ่มบุคคลที่มี การสรา้ งขอ้ มูลเทจ็ งานวจิ ยั ไมส่ ามารถท�ำซำ�้ และ/หรอื อ�ำนาจวนิ จิ ฉยั เดด็ ขาดตดั สนิ เชน่ คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัย ไมส่ ามารถท�ำได้จรงิ ของสถาบนั ใชห้ ลกั ฐานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เชน่ บนั ทกึ การวิจยั แสดงความโปรง่ ใส แจง้ ผเู้ กยี่ วขอ้ งทราบ เชน่ วารสาร วิชาการท่ีตีพิมพ์ และขอแก้ไขให้ ถกู ต้อง หรือขอถอนบทความ 34 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทท่ี 3 ขัน้ ตอนการผลติ ผลงานทางวชิ าการ กอ่ นผลิตผลงาน ผลติ และเผยแพร่ผลงาน หลังส่งผลงานเผยแพร่ ตกลง ่รวม ักนในคณะ ิว ัจย ก�ำหนดขอบเขตการผลิต/ ขอ้ มลู ถกู ตอ้ ง เนือ้ หาในบทความ เผยแพรผ่ ลงาน • ยืนยันความสามารถในการ • รับผิดชอบความถกู ต้องและ • ไมแ่ บ่งยอ่ ยผลงาน ท�ำซ้�ำและให้ผลเหมอื นเดิม ความนา่ เชือ่ ถอื จริยธรรม • ไมเ่ ผยแพรง่ านซ้�ำ (Reproducibility) และขอ้ รอ้ งเรียน ก�ำหนดผ้มู สี ว่ นร่วม • ไม่สร้างข้อมูลเทจ็ • การประสานงานโต้ตอบ ในผลงาน ขอ้ ค�ำถามและข้อวิจารณ์ • (ไFมa่ปbลrอicมaแtiปoลnง)ขอ้ มลู (Correspondences) • ชอื่ และบทบาทผมู้ สี ว่ นรว่ ม • ล�ำดับชือ่ ในบทความ (Falsification) ข้อผดิ พลาดในบทความ • รกั ษาความลบั และขอ้ มูล การวิจยั มีมาตรฐาน • การแก้ไขขอ้ มลู ส่วนบคุ คล • การถอนบทความ • ไม่เลอื กสอ่ื สารโดยจงใจปิดบัง ข้อมูล • ระเบยี บขอ้ บังคบั ท่เี กย่ี วข้อง การสรปุ เรยี บเรยี งเน้ือหา กับการวจิ ยั • ไมค่ ดั ลอกขอ้ มูล (Plagiarism) • วัตถุดบิ ถูกตอ้ งเหมาะสม • การจัดการรปู ภาพ • เครอื่ งมอื เทีย่ งตรง • การอ้างอิงแหลง่ ทม่ี าของขอ้ มลู • วิธีการเปน็ ทย่ี อมรบั • การเปดิ เผยผลประโยชนท์ บั ซอ้ น การมีช่ือในผลงาน • ถูกตอ้ งตามหลักการมชี ่ือใน ผลงาน • เขา้ ใจเน้ือหาในบทความ • ไม่เผยแพร่พรอ้ มกนั หลาย วารสาร หมายเหตุ ใชส้ มดุ บนั ทกึ งานวจิ ยั เปน็ เครอ่ื งมอื บนั ทกึ ขอ้ มลู การวจิ ยั บทบาทในกระบวนการ วจิ ยั และขอ้ ตกลงในคณะวจิ ัย ฯลฯ เพือ่ เป็นหลกั ฐานงานวิจยั ยืนยนั การมสี ่วนร่วม และใชใ้ นกรณี ข้อพพิ าทหรือขอ้ รอ้ งเรียนตา่ งๆ ในอนาคต แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 35
3.1 แนวทางปฏิบตั กิ อ่ นผลิตผลงานทางวิชาการ 1. ก�ำหนดขอบเขตเปา้ หมายของการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ และวางแผน การน�ำขอ้ มลู ทีไ่ ดจ้ ากการด�ำเนนิ งานวิจัยมาจดั ท�ำผลงาน หลีกเล่ียงการแบ่งย่อยงานออกเป็นบทความย่อยๆ หลายบทความโดยมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื เพมิ่ จ�ำนวนนบั ของผลงาน นกั วจิ ยั อาจใชด้ ลุ ยพนิ จิ ในการ แบง่ งานออกเปน็ หลายบทความไดใ้ นกรณที จี่ �ำเปน็ หากขอ้ มลู ผลการวจิ ยั มีจ�ำนวนมากเกินกว่าจะรายงานได้ในบทความเดียว หรืออาจมีงานวิจัย บางส่วนท่ีจ�ำเป็นต้องเร่งเผยแพร่ออกไปก่อน เช่น เป็นข้อมูลเร่งด่วนท่ี เผยแพร่สู่สาธารณะและน�ำไปต่อยอดท�ำให้เกิดประโยชน์มากกว่าการรอ งานวิจยั จนครบถ้วนซึ่งตอ้ งใช้เวลานาน หลีกเลี่ยงการเผยแพร่ข้อมูล ผลงานวิจัย บทความ บางส่วนหรือท้ังหมด ซ้�ำกับข้อมูลที่เคยเผยแพร่แล้ว ในรูปแบบแตกต่างหรือเหมือนเดิม เช่น สื่อที่ใช้ในการเผยแพร่ รูปแบบภาษาที่ใช้ในการเผยแพร่ ในกรณีท่ีมี ความจ�ำเป็นต้องเผยแพร่ซ�้ำ เนื่องจากข้อมูลมีความต่อเน่ืองและเป็น ประโยชน์ต่อผู้อ่านบทความ การตีพิมพ์คร้ังท่ีสองต้องมีการอ้างอิงถึงการ เผยแพรค่ รงั้ แรก และควรแจง้ ใหว้ ารสารทเ่ี ผยแพรค่ รงั้ แรกและครงั้ ทสี่ องทราบ 2. ผู้วิจัยทุกคนควรทราบ ยอมรับ และปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การมีช่ือ ในผลงานทางวิชาการ 3. ควรมีการเจรจาตกลงในคณะผู้วิจัยตั้งแต่ก่อนเร่ิมต้นการวิจัยว่าใคร ควรมชี อ่ื ในผลงานทางวชิ าการเรอื่ งใด ใครมบี ทบาทหนา้ ทอ่ี ะไร โดยอาจมกี ารท�ำบนั ทกึ ขอ้ ตกลงรว่ มกนั เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร 4. ควรก�ำหนดผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั ในการท�ำหนา้ ทเี่ ปน็ Corresponding Author และตกลงล�ำดบั การมชี อื่ ในผลงานทางวชิ าการรว่ มกนั โดยใชห้ ลกั เกณฑท์ ผี่ วู้ จิ ยั ทกุ คน ยอมรับกนั และสอดคล้องกับแวดวงวชิ าการนน้ั ๆ เชน่ การเรยี งล�ำดบั ตามปริมาณงาน ทม่ี สี ว่ นรว่ ม (Sequence Determines Credit) การเรยี งตามตวั อกั ษร (Alphabetical Order) เป็นตน้ 36 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
5. ตรวจสอบกฎหมาย กฎระเบียบ หรือข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องกับงานวิจัย ตลอดจนกฎระเบยี บของหน่วยงานตน้ สงั กัดและแหลง่ ทนุ เชน่ งานวจิ ัยทเ่ี กี่ยวข้องกบั การทดลองในมนุษย์และสัตว์ ผู้วิจัยต้องได้รับอนุมัติการด�ำเนินงานวิจัยจาก คณะกรรมการจรยิ ธรรมทีเ่ ก่ียวขอ้ ง ก่อนเร่ิมด�ำเนินการในส่วนท่ีเป็นการวจิ ยั ในมนษุ ย์ หรือสัตว์ และปฏบิ ัตติ ามข้อก�ำหนดอยา่ งเคร่งครัด 6. ผลงานเผยแพร่ท่ีมคี ณุ ภาพย่อมมาจากงานวิจยั ทมี่ มี าตรฐาน วตั ถดุ บิ ทใ่ี ช้ ในงานวิจัยต้องมีความถูกต้องเหมาะสมกับการวิจัยและมีคุณภาพสม�่ำเสมอ ใช้วิธีการ วิจยั ทเ่ี ปน็ ท่ยี อมรับ ใชเ้ ครือ่ งมือทม่ี คี วามแมน่ ย�ำเท่ียงตรง ใชว้ ธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมูล ท่ีเหมาะสม เพื่อให้มั่นใจว่าจะได้รับข้อมูลที่ครบถ้วนสามารถตอบค�ำถามวิจัยได้อย่าง ถกู ตอ้ ง นา่ เชอ่ื ถอื โดยเครอื่ งมอื และวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เปน็ ทยี่ อมรบั ของศาสตร์ การวิจยั หรือแวดวงการวจิ ยั นนั้ ๆ 3.2 แนวทางปฏิบตั ิในการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ เก็บรวบรวมข้อมูล ตรวจสอบ วิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผลวิจัยตาม ความเปน็ จรงิ น�ำมาเรยี บเรยี งสรปุ ประเดน็ ส�ำคญั หรอื สงิ่ ทค่ี น้ พบทไี่ ดจ้ ากการวจิ ยั ตาม วัตถุประสงค์ของการด�ำเนินงานวิจัยและขอบเขตเป้าหมายการเผยแพร่ผลงาน โดย ผู้วิจัยมีหน้าท่ีในการรับผิดชอบต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล ดังน้ัน ข้อมูลท่ีน�ำมาเผยแพร่ ต้องมีความถูกต้อง ท�ำซ�้ำได้จริง ไม่มีพฤติกรรมท่ีอาจจะส่งผล ต่อความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูล เช่น การคัดลอกข้อมูล (Plagiarism) การสร้างขอ้ มลู เท็จ (Fabrication) การปลอมแปลงขอ้ มลู (Falsification) (ดเู พ่ิมเติม ในหัวข้อ 5.1 ความถูกต้องของข้อมูล (Data Integrity)) แหล่งข้อมูลส�ำคัญส�ำหรับ การเรยี บเรยี งเขยี นผลงานทางวชิ าการ ไดแ้ ก่ บนั ทกึ ขอ้ มลู งานวจิ ยั ซง่ึ หากมกี ารบนั ทกึ รายละเอียดข้อมูลงานวิจัยอย่างเป็นระบบสม่�ำเสมอและมีมาตรฐาน จะท�ำให้ง่าย ตอ่ การสบื คน้ ขอ้ มลู ซง่ึ จะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ตนเองและผรู้ ว่ มวจิ ยั นอกจากนสี้ มดุ บนั ทกึ ขอ้ มลู งานวจิ ยั ยงั เปน็ หลกั ฐานการด�ำเนนิ งาน สนบั สนนุ การขอรบั รองสทิ ธทิ างทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาหรือใช้เป็นหลักฐานในกรณีเกิดข้อร้องเรียนต่างๆ อีกท้ังยังใช้ยืนยันข้อมูล ในกรณที ่บี างวารสารขอเรียกดูขอ้ มูลดิบอกี ด้วย แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ 37
แนวทางปฏบิ ตั ิในการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ 1. ข้อมูล แนวคิด ทฤษฎี ข้อสรปุ ท่นี �ำมาประกอบการเขยี นรายงานวิจยั และผลงาน ทางวิชาการ ควรมีการอ้างอิงถึงแหล่งท่ีมาอย่างชัดเจน หลีกเล่ียงการน�ำข้อมูล ของผู้อ่ืนมาแอบอ้างเป็นของตน (ดูเพ่ิมเติมในหัวข้อ 5.4 การอ้างอิงแหล่งข้อมูล (Reference)) 2. ภาพท่ีใช้ในการวิจัยควรใช้ไฟล์ภาพต้นฉบับที่มีคุณภาพสูง หากต้องการปรับแต่ง ภาพให้แตกต่างจากต้นฉบับเพื่อน�ำมาประกอบการเผยแพร่ผลงานวิจัย เช่น ปรับความเข้มแสง ปรับคอนทรานสต์ การรวมภาพ ควรจัดการภาพด้วยวิธีการท่ี เหมาะสมและบันทึกไฟล์ภาพไว้ทุกข้ันตอน (ดูเพ่ิมเติมในหัวข้อ 5.2 การจัดการ รปู ภาพ (Image Manipulation)) 3. เปดิ เผยขอ้ มลู ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น (Conflict of Interest) อยา่ งโปรง่ ใส ทง้ั ทางตรง และทางอ้อม ท้ังเชิงบวกและเชิงลบ ท่ีอาจมีผลต่อกระบวนการวิจัย การเผยแพร่ ผลงาน และการน�ำผลงานไปใช้ (ดเู พมิ่ เติมในหวั ข้อ 5.3 การเปิดเผยผลประโยชน์ ทบั ซอ้ น (Conflict of Interest)) 4. ผู้วิจัยที่มีส่วนร่วมในการวิจัยหรือการเขียนบทความ แต่มีคุณสมบัติไม่เป็นไปตาม เกณฑ์การมีช่ือในผลงาน เช่น นักเทคนิคในห้องปฏิบัติการ ผู้ช่วยเขียนบทความ หวั หนา้ ภาควชิ า หวั หนา้ หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ผสู้ นบั สนนุ แหลง่ ทนุ วจิ ยั ผบู้ รหิ ารหนว่ ยงาน ผู้ให้ค�ำแนะน�ำเทคนิคจ�ำเพาะ ผู้ช่วยเก็บข้อมูลวิจัย ผู้ช่วยตรวจสอบต้นฉบับ บทความ สามารถใส่ช่ือในกิตติกรรมประกาศโดยระบุถึงบทบาทที่มีส่วนร่วม (ดูเพิม่ เติมในบทท่ี 2 หลกั การมชี อ่ื ในผลงานทางวิชาการ (Authorship)) 5. งานวิจัยท่ีมีความเก่ียวข้องกับมนุษย์และสัตว์ ผู้วิจัยควรปฏิบัติตามหลักจริยธรรม การวิจัยในมนุษย์และ/หรือปฏิบัติตาม พรบ. สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ระมัดระวังการละเมิดสิทธิและศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ของอาสาสมัคร เก็บรักษา ความลบั ของขอ้ มลู และความเปน็ สว่ นตวั ของอาสาสมคั ร โดยหลกี เลยี่ งกระบวนการ เผยแพรง่ านวิจัยทอี่ าจจะระบตุ วั ตนของอาสาสมัครได้ 38 แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ
3.3 แนวทางปฏบิ ัตหิ ลงั ส่งผลงานทางวิชาการ ในกรณีที่พบว่าข้อมูลมีข้อผิดพลาดซ่ึงส่งผลกระทบต่อความน่าเชื่อถือของ ผลงาน ควรปรกึ ษาหารอื ในคณะผวู้ จิ ยั และ/หรอื ตดิ ตอ่ ส�ำนกั พมิ พว์ ารสาร เพอ่ื ขอแกไ้ ข ขอ้ มลู หรอื ขอถอนบทความออกจากวารสาร (ดเู พม่ิ เตมิ ในหวั ขอ้ 6.2 การถอนบทความ (Retraction)) แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ 39
บทที่ 4 แนวทางปฏบิ ัติก่อนผลติ และเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ การด�ำเนินงานวิจัยถือป็นภารกิจหลักท่ีส�ำคัญของนักวิจัยท่ีจะเพ่ิมพูน พัฒนา ความรู้ การแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาแนวทางข้อสรุปใหม่ทางด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี งานวิจัยจึงควรถูกเผยแพร่หรือน�ำไปใช้ประโยชน์ ในลักษณะรูปแบบ ต่างๆ เช่น การตีพิมพ์บทความทางวิชาการ การน�ำเสนอผลงาน การอนุญาตใหใ้ ช้สทิ ธิ การน�ำไปใช้ในเชิงสาธารณประโยชน์ แม้ว่างานวิจัยจะบรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ ผลท่ีได้เป็นไปตามสมมุติฐาน หรือความคาดหวังหรือไม่ นักวิจัยมีหน้าที่เผยแพร่ องคค์ วามรทู้ ไี่ ดต้ อ่ สาธารณะ เพอ่ื ใหเ้ กดิ การรบั รแู้ ละประโยชนใ์ นการตอ่ ยอดองคค์ วามรู้ และ/หรือกระบวนการอย่างเป็นระบบ สามารถน�ำข้อจ�ำกัดต่างๆ มาปรับปรุง กระบวนการวิจัย ท�ำให้มีโอกาสพัฒนางานวิจัยให้ดีย่ิงข้ึน หากงานวิจัยไม่ได้รับการ เผยแพร่ กจ็ ะถอื วา่ การด�ำเนนิ งานวจิ ยั นน้ั ๆ ไมเ่ กดิ ประโยชนโ์ ดยสมบรู ณ์ อกี ทงั้ ยงั ถอื วา่ เป็นการประพฤติผิดจรรยาวิชาชีพวิจัยอีกด้วย ดังน้ัน การเผยแพร่งานวิจัย จงึ ถอื เปน็ หน้าทร่ี บั ผิดชอบของนักวจิ ยั 4.1 วางแผนการผลิตผลงาน พจิ ารณาความเปน็ ไปไดใ้ นการผลติ ผลงานวจิ ยั เพอ่ื วางแผนและก�ำหนดขอบเขต ในการผลิตให้สอดคล้องกับลักษณะของผลงานแต่ละประเภท ซ่ึงโดยมากผลงานท่ี สร้างสรรคจ์ ากงานวจิ ัย พฒั นา และวศิ วกรรม แบ่งเป็น 3 กล่มุ ใหญ่ ไดแ้ ก่ บทความ ทางวิชาการ ต้นแบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการทางวิศวกรรม และผลงานทรัพย์สิน ทางปัญญา 4.1.1 บทความทางวชิ าการ บทความทางวชิ าการเปน็ การประมวลสรปุ ผลความรทู้ ไ่ี ดร้ บั จากกระบวนการ วิจัย หรือเป็นการน�ำส่วนหนึ่งของผลงานวิจัยมาเผยแพร่ในรูปแบบบทความท่ีมีความ กระชับรดั กุม โดยนิยมน�ำเสนอในรปู แบบสิ่งพิมพ์ หรือส่ิงพมิ พอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์ ไดแ้ ก่ 40 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทความทีต่ พี ิมพใ์ น บทความตพี ิมพใ์ นวารสารนานาชาติตามรายชื่อ ใน Citation วารสาร Index ของ SCIE และ SSCI หรือแฟ้ม Citation Index ทีห่ ้องสมุด หรอื บทความตพี มิ พใ์ นวารสารนานาชาตทิ ่ไี มอ่ ยู่ ใน Citation Index แต่มีกรรมการพิจารณาคุณภาพ (Peer Review) และคณะกรรมการวิชาการศูนยฯ์ ให้การยอมรับ บทความส้นั (Short บทความสนั้ หรอื Letter หรอื Technical Correspondence Communication) หรือเทียบเทา่ ในวารสารนานาชาติตามรายชื่อของ Citation Index ของ SCIE และ SSCI หรือแฟ้ม Citation Index ท่ี ห้องสมุด หรืออยู่ในวารสารนานาชาติท่ีมีกรรมการพิจารณา คณุ ภาพ (Peer Review) บทความตีพิมพ์ บทความตีพิมพ์ใน Proceeding การประชุมวิชาการระดับ ใน Proceeding นานาชาติ หรือระดับภูมิภาค หรือระดับชาติท่ีมีกรรมการ การประชุม พจิ ารณาคุณภาพ (Peer Review) หนงั สือ/ต�ำรา ผลงานวิชาการที่เรียบเรียงขึ้นโดยมีรากฐานทางวิชาการท่ี วชิ าการ ม่ันคง และให้ทัศนะของผู้เขียนที่สร้างเสริมปัญญาความคิด และสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการให้แก่สาขาวิชา มีความ เช่ือมโยงในเชิงเน้ือหา ทั้งนี้เนื้อหาสาระต้องมีความทันสมัย และมีการตีพมิ พ์เผยแพร่ หนงั สือ (คมู่ อื ) หนังสือคู่มือทางเทคนิคหรือมาตรฐานทางเทคนิคที่มีการ หรอื มาตรฐาน ประกาศใช้ภายในประเทศที่มีความชัดเจน สามารถน�ำไป ทางเทคนิค ปฏบิ ตั ิตามได้ และเขียนตรงตามงานวจิ ัยทดี่ �ำเนนิ การ แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ 41
โมโนกราฟ งานเขียนทางวิชาการขั้นสูงในเรื่องท่ีจ�ำเพาะเจาะจงของ ศาสตร์ใดศาสตร์หนึ่ง เพ่ือเผยแพร่ความรู้เฉพาะในกลุ่มของ ผู้เชี่ยวชาญในเรอื่ งดังกล่าว บทความวชิ าการ เอกสารทางวิชาการที่มีการแสดงทฤษฎีพ้ืนฐานของ ในสงิ่ พมิ พ์เผยแพร่ องค์ความรู้ใหม่ หัวข้อท่ีมีผลกระทบต่อสังคมและมี ความรหู้ รือสร้าง ความจ�ำเป็นต้องให้เกิดความตระหนักในหมู่ประชาชน โดย ความตระหนกั ใหแ้ ก่ จัดพมิ พเ์ ปน็ รปู เล่มเพื่อเผยแพรใ่ ห้ผอู้ ่านท่ัวไป ประชาชน ทม่ี า : สรุปการปรบั ปรุงหลกั เกณฑแ์ ละมาตรฐานผลงานวิชาการของ สวทช. กล่มุ ต�ำแหนง่ งานวจิ ัย พฒั นาและวิศวกรรม 4.1.2 ตน้ แบบผลิตภัณฑ์และกระบวนการทางวศิ วกรรม สวทช. ก�ำหนดให้มีการจัดประเภทต้นแบบผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ ทางวิศวกรรมเป็น 3 ระดับ ได้แก่ ระดับห้องปฏิบัติการ ระดับภาคสนาม ระดับ อุตสาหกรรม/เชิงพาณิชย์/สาธารณประโยชน์ และจัดระดับของนวัตกรรม 3 ระดับ ไดแ้ ก่ Novelty, Inventive Step และ Breakthrough โดยผวู้ จิ ยั จะตอ้ งสง่ มอบรายงาน เชิงเทคนิค ท่ีมีรายละเอียดสมบูรณ์ รัดกุมและชัดเจน ตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด ดังน้ัน ในระหว่างข้ันตอนการพัฒนาต้นแบบให้มีความสอดคล้องกับหลักเกณฑ์แต่ละระดับ นักวิจัยจึงต้องวางแผนและค�ำนึงถึงความใหม่ของผลงานและส่ิงที่จะต้องส่งมอบ ซ่ึงมี รายละเอียดดังตอ่ ไปนี้ 42 แนวทางการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
ตารางท่ี 6 ระดับต้นแบบและระดับนวัตกรรมของตน้ แบบของ สวทช. ระดบั ต้นแบบ นยิ าม ผลงานทีต่ ้องส่งมอบ ระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร ต้นแบบท่ีเป็นพ้ืนฐานของ รายงานเชิงเทคนิค ต้นแบบผลงานวิจัยพัฒนา (Technical Report) และวิศวกรรม ท่ีพัฒนาข้ึน อย่างมีเหตุปัจจัยและอ้างอิง ถึงผรู้ ับประโยชนเ์ ป็นส�ำคญั ระดบั ภาคสนาม ต้นแบบที่พัฒนาข้ึน และมี รายงานเชงิ เทคนคิ การน�ำไปทดสอบการใช้งาน (Technical Report) ในบริบทจริงตามรายการ ร า ย ง า น ก า ร ท ด ส อ บ Field Specifications และ การใชง้ านภาคสนาม ผ่านการทดสอบหรือมีการ แก้ไขข้อบกพร่องให้สามารถ ใชง้ านได้แล้ว แนวทางการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ 43
Search