Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการ ปี65 -กศน.ตำบลบางสะพาน

แผนปฏิบัติการ ปี65 -กศน.ตำบลบางสะพาน

Published by supit pungpitak, 2021-11-19 08:37:55

Description: แผนปฏิบัติการ ปี65 -กศน.ตำบลบางสะพาน

Search

Read the Text Version

แผนปฏบิ ัตกิ าร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลบางสะพาน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอบางสะพานนอ้ ย สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สำนกั งาน ปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ก แผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 กศน.ตำบลบางสะพาน **************************** เพื่อให้การส่งเสริมการจัดการศึกษาบรรลุเป้าประสงค์ตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. และของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพานน้อยจึงได้ จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน.ตำบลบางสะพาน ซึ่งประกอบด้วยข้อมูลพื้นฐาน ของ กศน.ตำบล ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน ทิศทางการดำเนินงาน และรายละเอียดแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ของ กศน.ตำบลบางสะพาน ซึ่งทางคณะกรรมการ กศน.ตำบลบางสะพาน ได้พิจารณาเห็นชอบแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน. ตำบลบางสะพาน และให้นำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังกล่าว ใช้เป็นกรอบในการ ดำเนนิ งานของ กศน.ตำบลบางสะพาน ตอ่ ไป ทั้งนี้ ต้งั แต่ เดือนตลุ าคม 2564 ลงชอ่ื ..........................................ผูเ้ สนอ (นางสาวสพุ ศิ พวงพิทักษ์) ครู กศน.ตำบล ลงชื่อ...........................................ผู้เห็นชอบ ( นายกฤษณา กล่ินน้อย ) ประธานคณะกรรมการ กศน.ตำบล ลงชื่อ...........................................ผู้อนมุ ตั ิ (นางวฒั นยี ์ พัฒนยี ก์ านต์) ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางสะพาน รักษาการในตำแหนง่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอบางสะพานนอ้ ย

ข คำนำ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 กศน.ตำบลบางสะพาน จัดทำขึ้นเพื่อเป็น แนวทางในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดยยึด แนวทางตามยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั ประจวบคีรีขันธ์ และยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอบางสะพานน้อย ตลอดจนบริบท ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายในพื้นท่ี เพอ่ื กำหนดเป็นแนวปฏิบตั แิ ละแนวทางในการดำเนินงาน กศน.ตำบลบางสะพาน ให้เป็นไปตามเป้าหมายท่ีตั้ง ไวอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน.ตำบลบางสะพาน ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 เล่มนี้ สำเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือของภาคีเครือข่าย และผู้เกี่ยวข้องร่วมกัน ระดมความคิดเห็น โดยนำสภาพปัญหาและผลการดำเนินงานมาปรับปรุงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของกศน.ตำบลบางสะพาน เพื่อสนองตอบความต้องการของ ประชาชนในพ้นื ที่อยา่ งแทจ้ รงิ คณะผูจ้ ดั ทำหวงั เป็นอย่างยง่ิ วา่ แผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กศน.ตำบลบาง สะพานเล่มน้ี จะเปน็ แนวทางในการดำเนนิ งานของบคุ ลากรและผเู้ ก่ียวข้อง เพื่อให้การจดั การศกึ ษานอกระบบ และการศกึ ษาตามอธั ยาศัยใหบ้ รรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ และมีคุณภาพตามเปา้ หมาย ตลอดจนเปน็ ประโยชน์ต่อผู้ มีส่วนเก่ยี วขอ้ ง ประชาชน ชุมชน สงั คม และประเทศชาติตอ่ ไป กศน.ตำบลบางสะพาน ตลุ าคม 2564 ผจู้ ัดทำ

ค สารบญั หนา้ แผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565.……………………………………………………………….. ก คำนำ …………………………………………………………………………………………………………………………… ข สารบัญ ………………………………………………………………………………………………………………………… ค สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู พน้ื ฐานของ กศน.ตำบล ………………………………………………………………………. 1 ความเป็นมา ................................................................................................................ 2 ทต่ี ้งั ……………………………………………………………………………………………………………… 3 บทบาทหนา้ ที่ภารกิจ กศน.ตำบล ……………………………………………………………………. 4 คณะกรรมการ กศน.ตำบล ……………………………………………………………………………… 5 อาสาสมคั ร กศน.ตำบล ………………………………………………………………………………….. 6 บุคลากรใน กศน.ตำบล ………………………………………………………………………………….. 7 องค์กรนักศึกษา กศน.ตำบล ...................................................................................... 8 รางวัล เกยี รติบตั ร ผลงานของ กศน.ตำบล................................................................ 9 แหลง่ เรยี นร้.ู .............................................................................................................. 10 ภาคเี ครอื ขา่ ย............................................................................................................. 10 สว่ นที่ 2 ขอ้ มลู พนื้ ฐานเพอื่ การวางแผน …………………………………………………………………….. 12 สภาพทว่ั ไปของตำบล ……………………………………………………………………………………. 12 ข้อมลู ดา้ นประชากร ………………………………………………………………………………………. 12 ขอ้ มลู ด้านสงั คม ……………………………………………………………………………………………. 12 ข้อมลู ด้านเศรษฐกจิ ………………………………………………………………………………………. 14 ข้อมูลด้านการศึกษา ………………………………………………………………………………………. 17 สว่ นที่ 3 ทศิ ทางการดำเนินงาน …………………………………………………………………………………. 20 นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนินงานสำนกั งาน กศน.ประจำปงี บประมาณ ................ 22 ทศิ ทางการดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน.จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์………………………. 23 ทิศทางการดำเนินงานของ กศน.อำเภอ….………………………………………….……………… 24 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อม(SWOT Analysis)…………………………….…………….……. 28 แนวทางการพัฒนา กศน.ตำบล ……………………………………………………….…….….……. 30

สารบญั (ตอ่ ) หนา้ สว่ นที่ 4 รายละเอยี ดแผนปฏบิ ตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 33 บัญชแี ผนงาน/โครงการ/กิจกรรมประจำปีงบประมาณ 2565 34 ตารางวเิ คราะหค์ วามสอดคล้องของแผนปฏบิ ัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 37 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณตามแผนปฏบิ ตั ิการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 43 โครงการตามแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 2565 44 ภาคผนวก …………………………………………………………………………………………………………………… คณะผจู้ ดั ทำ …………………………………………………………………………………………………………………

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู พื้นฐานของ กศน.ตาบลบางสะพาน ความเปน็ มา จากหนังสือคำให้การของชาวกรุงเก่าเมื่อ พ.ศ.1893 สมัยสมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงสถาปนากรุงศรี อยุธยาเปน็ ราชธานี ได้กลา่ วถึงนาม เมอื งกุย เมืองปราณ เมืองนาเรอื ง เมืองนารัง เมอื งบางตะพาน เมืองสิงขร เมอื งคลองวาฬ เมอื งบางตะพานน้อย วา่ อยใู่ นลำดบั หัวเมืองทางปกั ใต้ในบรเิ วณเมืองประจวบคีรีขนั ธ์ ต่อมาทางราชการได้ประกาศให้เมืองบางตะพานเป็นอำเภอบางสะพาน เมืองบางตะพานน้อยจึงเป็น ตำบลหนึ่งของอำเภอบางสะพาน และเรียกชื่อใหม่ว่า ตำบลบางสะพาน อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัด ประจวบคีรขี นั ธ์ มอี ยูจ่ ำนวน 6 หมู่บ้าน หมูท่ ี่ 1 บา้ นหนองฆ้อง หมู่ที่ 2 บ้านคลองนำ้ เค็ม หมทู่ ่ี 3 บา้ นปากคลอง หม่ทู ่ี 4 บ้านละหาน (หรอื บ้านดอนละหาน) หมทู่ ี่ 5 บา้ นท่ามว่ ง หมทู่ ี่ 6 บา้ นดอนตะเคยี น ครั้นมาถงึ สมัยของกำนันทงิ้ รกั ษาชฎั เป็นกำนันตำบลบางสะพาน ไดม้ ีการจัดตงั้ หมู่บา้ นเพิ่มขึ้นอีก 2 หมู่บ้าน คือ หมู่ที่ 7 บ้านทุ่งไทร และหมู่ที่ 8 บ้านทุ่งไผ่ กำนันทิ้ง รักษาชัฎ เป็นกำนันตำบลบางสะพานคน สุดท้ายก่อนที่ตำบลบางสะพานจะขึ้นกับอำเภอบางสะพาน (บางสะพานใหญ่) ต่อมาตำบลบางสะพานได้ยก ฐานะเป็นกิ่งอำเภอบางสะพานน้อย มีกำนันบวน เก่งตรง เป็นกำนันตำบลบางสะพาน มีหมู่บ้านจำนวน 8 หมบู่ ้านเทา่ เดิม และกง่ิ อำเภอบางสะพานน้อยได้ยกฐานะเป็นอำเภอบางสะพานนอ้ ย เมือ่ ปี พ.ศ.2517 มกี ำนัน อดุ ม ตง้ั ซุยยงั เป็นกำนันตำบลบางสะพาน มีหมบู่ า้ นจำนวน 10 หมูบ่ ้าน คือ 1. หมู่ท่ี 1 บา้ นหนองฆอ้ ง 2. หมู่ท่ี 2 บา้ นคลองนำ้ เค็ม (มพี ื้นที่บางส่วนอยใู่ นเขตเทศบาล) 3. หมทู่ ี่ 3 บ้านปากคลอง (มพี ืน้ ทบ่ี างส่วนอย่ใู นเขตเทศบาล) 4. หมทู่ ่ี 4 บา้ นละหาน (หรอื บ้านดอนละหาน) 5. หม่ทู ี่ 5 บ้านท่ามว่ ง -1-

หมายเหตุ 6. หมูท่ ่ี 6 บา้ นดอนตะเคียน 7. หม่ทู ่ี 7 บ้านทงุ่ ไทร (มพี น้ื ทีบ่ างสว่ นอยใู่ นเขตเทศบาล) 8. หมทู่ ่ี 8 บ้านทุ่งจนั ทร์(มีพน้ื ที่บางสว่ นอยใู่ นเขตเทศบาล) 9. หมู่ท่ี 9 บ้านหนองคล้า 10. หมทู่ ี่ 10 บา้ นหนองเสมด็ หมทู่ ี่ 9 บ้านหนองคลา้ แยกมาจากหมู่ท่ี 6 บา้ นดอนตะเคียน เมอื่ พ.ศ.2533 หมู่ท่ี 10 บ้านหนองเสมด็ แยกมาจาก หม่ทู ี่ 1 บา้ นหนองฆอ้ ง เม่อื พ.ศ.2533 กำนันชติ ชยั จิวะตุวินนั ท์ ได้ลาออกจากกำนันไปสมัครเปน็ นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลบาง สะพานน้อยและนายวิชัย เดชอุดมวัฒนา ได้รับการเลือกตั้งเป็นกำนันตำบลบางสะพานเมื่อวันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ.2542 จนถึงปจั จุบัน ที่ตัง้ กศน.ตำบลบางสะพาน หมู่9 บ้านหนองคล้า ตำบลบางสะพาน อำเภอบางสะพานน้อย จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ รหัสไปรษณีย์ 77170 โทรศัพท์ : 089-6769616, 093-1086841 โทรสาร : - Facebook : กศน.ตำบลบางสะพาน อำเภอบางสะพานน้อย Line : กศน.ตำบลบางสะพาน Email : [email protected] บทบาทหนา้ ทภี่ ารกจิ กศน.ตำบล กศน.ตำบล มีบทบาทสำคัญในการจัดและส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของประชาชนและสร้างสังคม แห่งการเรยี นรู้ในชุมชน โดยมีหัวหนา้ กศน.ตำบล เปน็ กลไกหลกั ในการขบั เคลื่อนและ มีหน่วยงาน ทเ่ี ก่ียวข้อง ทำหน้าทีส่ ่งเสรมิ และสนับสนนุ การดำเนนิ งาน กศน.ตำบล ดงั นี้ 1) การวางแผนจัดทำฐานข้อมูลชุมชน จัดทำแผนพัฒนาการศึกษา กศน.ตำบล และจัดทำ แผนปฏิบัตกิ ารประจำปี 2) การจดั และส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจัดและส่งเสริมการศึกษานอก ระบบ ไดแ้ ก่ - การสง่ เสรมิ การรู้หนังสือ - จดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน พ.ศ. 2551 - การศึกษาต่อเนือ่ ง - โครงการศนู ยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน - โครงการจดั การศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต - โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน - โครงการเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ -2-

- จัดการศึกษาตามอัธยาศัย - โครงการสง่ เสริมการอ่าน - โครงการบ้านหนงั สอื ชมุ ชน - โครงการจัดสรา้ งแหล่งเรียนรูใ้ นระดับตำบล - จดั และพัฒนาแหล่ง เรยี นรู้ บรกิ ารข่าวสารขอ้ มลู และส่ือทห่ี ลากหลาย - จัดและส่งเสรมิ กิจกรรมหอ้ งสมุดประชาชนตำบล หอ้ งสมุด ชมุ ชน 3) บริการการเรียนรใู้ นชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย – ศนู ยเ์ รยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเกษตรทฤษฎีใหม่ – ศนู ย์ส่งเสรมิ พัฒนาระบอบประชาธปิ ไตยตำบล (ศศ.ปชต.) – ศูนยด์ จิ ิทัลชมุ ชน – ศูนย์การเรียนร้ตู ลอดชีวติ – ศนู ย์ซอ่ มสร้างเพอื่ ชุมชน (Fix it Center) รว่ มกบั (สอศ.) – ชมรมคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค รว่ มกับ (สคบ.) – ศูนยก์ ารเรียนรู้ ICT ชุมชน รว่ มกับ (กระทรวงไอซที ี) – มมุ วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ ชวี ิตร่วมกับ (สสวท.) – หนว่ ยแพทย์เคลื่อนที่ รว่ มกบั โรงพยาบาล สถานีอนามยั – อำเภอเคลื่อนท่ีร่วมกบั อำเภอ 4) สร้างและพัฒนาภาคีเครือข่ายการเรียนรู้ในชุมชน โดยการประสานขอความ ร่วมมือจากภาคี เครอื ขา่ ย องคก์ รชมุ ชนผ้รู ู้ ผทู้ รงคุณวุฒ ตลอดจนภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ เพือ่ รว่ มเป็นอาสาสมัคร กศน.อาสาสมัคร ส่งเสรมิ การอ่าน เปน็ ต้น 5) ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่แผนงาน โครงการ กิจกรรมและผลการดาเนินงาน ของ กศน. ตำบล ในรูปแบบต่างๆ 6) รายงานผลการปฏิบตั ิงาน รายงานข้อมูลที่เกย่ี วข้องตามแบบรายงานและ ระยะเวลาท่กี ำหนด และรายงานผลการปฏิบัติงานประจำปขี องกศน. ตำบล -3-

คณะกรรมการ กศน.ตำบล รูปถา่ ย ชื่อ – สกลุ บทบาท นายกฤษณา กล่ินนอ้ ย ประธาน นายเกรยี งศักดิ์ ปลอดภยั รองประธาน นายอารวธุ ว่องไวรตุ กรรมการ นายมานพ ศรจี นั ทร์ กรรมการ นางจินดา ช่วยชชู ่ืน กรรมการ นายทวปี สขุ สำราญ กรรมการ นายสนุ ทร สุนทรโอวาท กรรมการ นายมารตุ ดลุ ยวฒํ นา กรรมการ นางสาวศิวกาญน์ บญุ ชู กรรมการ นางสาวสุพศิ พวงพิทักษ์ กรรมการและเลขานุการ -4-

อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอา่ น รปู ถ่าย ช่อื – สกลุ บทบาท นายเดน่ หัวนาค ประธาน มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นางสาวธิดารตั น์ ไพรจติ เลขาธิการ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น นางสาวธิกาพร พ่ึงพงษ์ กรรมการ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น นางสาวรุ่งรตั นา เดชหนู กรรมการ นางสาวกานตร์ ะวี เจิมไธสง กรรมการ มัธยมศึกษาตอนปลาย กรรมการ กรรมการ นางสาวสมฤดี บุญชู กรรมการ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย กรรมการ กรรมการ นางสาวโศภษิ ฐ์ บญุ ชู มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นายกติ ตภิ ทั ร ประมงค์ มัธยมศึกษาตอนตน้ นายณัฐวุฒิ ดสิ ถาน มธั ยมศึกษาตอนปลาย นายอมั รนิ ทร์ ประมงค์ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย -5-

อาสาสมคั ร กศน.ตำบล รปู ถ่าย ชื่อ – สกลุ บทบาท นายเด่น หวั นาค ประธาน มธั ยมศึกษาตอนปลาย นางสาวธิดารัตน์ ไพรจติ เลขาธิการ มัธยมศกึ ษาตอนต้น นางสาวธกิ าพร พึ่งพงษ์ กรรมการ มัธยมศึกษาตอนต้น นางสาวรงุ่ รตั นา เดชหนู กรรมการ นางสาวกานตร์ ะวี เจมิ ไธสง กรรมการ มัธยมศึกษาตอนปลาย -6-

บคุ ลากรใน กศน.ตำบล รูปถา่ ย ชือ่ – สกลุ บทบาท นางวัฒนยี ์ พฒั นยี ์กานต์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอบางสะพาน รักษาการในตำแหนง่ ผอ.กศน.อำเภอบางสะพานน้อย นางสาวสภุ าพร กลนิ่ น้อย ครูอาสาสมัครฯ นางสาวสุพิศ พวงพิทักษ์ หัวหน้า กศน.ตำบล -7-

องคก์ รนกั ศกึ ษา รปู ถา่ ย ช่อื – สกุล บทบาท นายกิตตภิ ทั ร ประธาน มัธยมศึกษาตอนตน้ นายเด่น หวั นาค รองประธาน มัธยมศึกษาตอนปลาย นางสาวกานตร์ ะวี เจิมไธสง เลขาธกิ าร มัธยมศกึ ษาตอนปลาย นายจิรพพิ รรธ นิลวดี กรรมการ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น นายเอกพล แกว้ ปสั สะ กรรมการ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ นางสาวสมฤดี บญุ ชู กรรมการ มัธยมศึกษาตอนปลาย ทำเนยี บครู กศน.ตำบล ลำดับที่ ชอ่ื – สกลุ ตำแหนง่ ระยะเวลาทด่ี ำรง ครู ตำแหนง่ 1 นางสาวสพุ ศิ พวงพิทักษ์ 1 ธค 59 – ปจั จุบนั -8-

รางวลั เกยี รตบิ ตั ร และผลงานดเี ดน่ ของ กศน.ตำบล - วฒุ บิ ตั ร ผา่ นการทดสอบความรู้ ด้วยระบบออนไลน์(Google Forms) หลักสูตร “กญั ชาและกัญชง ศึกษา” ออกใหว้ นั ที่ 9 เมษายน 2563 กศน.อำเภอปากพนัง - วฒุ บิ ัตร ผ่านการทดสอบความรู้ ด้วยระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ หลักสตู ร “ภาษาองั กฤษหรรษา” ออกให้ วันที่ 15 เมษายน 2563 กศน.อำเภอลบั แล - เกียรติบัตร ผ่านการอบรมโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการสถานศึกษาคุณธรรมและระบบประกันคุณภาพ ระหว่างวันที่ 19-22 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรมหินน้ำทรายสวย อ.หวั หิน จ.ประจวบฯ - เกยี รติบัตร ผา่ นการอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ ารการสรา้ งห้องเรียนออนไลนด์ ้วย Google Classroom ของ สำนักงานกศน.จังหวัดประจวบคีรขี ันธ์ ประจำปีการศึกษา 2563 ระหว่างวนั ท่ี 17-19 ธันวาคม 2563 ณ โรงแรมประจวบแกรนด์ อำเภอเมือง จงั หวัดประจวบครี ีขันธ์ - วฒุ บิ ัตร โครงการเขยี นขา่ วประชาสมั พันธง์ าน กศน.จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ ด้วยระบบออนไลน์ ปีงบประมาณ 2563 ณ กศน.จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ - เกียรตบิ ตั รไดผ้ ่านการทดสอบความรู้ ระดบั คะแนน 80% อบรมวิทยากรแกนนำครู ข และครู ค หลักสตู รการคา้ ออนไลน์ เรอ่ื งการพฒั นาผลิตภัณฑ์และการออกแบบบรรจภุ ณั ฑ์ ดว้ ยระบบออนไลน์ ณ วันท่ี 7 พฤษภาคม 2563 ณ กศน.จงั หวัดประจวบคีรีขนั ธ์ - เกยี รตบิ ตั ร ไดผ้ า่ นการทดสอบความรู้ ระดบั คะแนน 95% โครงการพฒั นาบุคลากรการใชง้ านระบบ การประชุมทางไกล (Conference) เพ่อื สนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ด้วยระบบออนไลน์ ประจำปงี บประมาณ 2563 ณ วันที่ 7 พฤษภาคม 2563 ณ กศน.จังหวดั ประจวบครี ีขันธ์ - วฒุ บิ ตั รอบรมโครงการเชงิ ปฏิบัตกิ ารการใชง้ าน google app for Education ประจำงบประมาณ 2561 ณ โรงแรมประจวบสามอ่าว อำเภอเมือง จังหวดั ประจวบฯ ระหว่างวนั ท่ี 19-21 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 - วฒุ ิบตั ร อบรมหลักสตู รการเขา้ ใจดิจทิ ัล และการเปดิ รา้ นคา้ ออนไลน์ ประจำปีงบ 2561 ระหวา่ ง วนั ท่ี 26-27 มีนาคม 2563 ณ โรงแรมประจวบสามอา่ ว อำเภอเมือง จังหวัดประจวบฯ - วุฒบิ ตั รอบรมผู้บังคบั บัญชาลกู เสือ วิชาการบนั เทงิ ในกองลกู เสอื รนุ่ ที่ 1/2561 ระหว่างวันที่ 21- 25 เมษายน 2563 ณ ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษาสมุทรสาคร อำเภอเมือง จังหวดั สมทุ รสาคร - เกยี รตบิ ตั รโครงการเชิงปฏิบัติการการจัดทำหลักสูตรท้องถน่ิ “เร่ืองการปลูกแตงโมพันธ์ุบางเบดิ ” ระหวา่ งวนั ท่ี 23-25 พฤษภาคม 2563 ณ พูลสวัสด์ิ ปาล์ม รสี อร์ท อำเภอปราณบุรี จงั หวดั ประจวบฯ -9-

- เกียรติบัตรอบรมโครงการแหล่งเรียนรูป้ ระจำตำบลออนไลน์ วันที่ 7 มถิ ุนายน 2563 ณ โรงแรมหาด ทอง อำเภอเมือง จงั หวดั ประจวบฯ แหลง่ เรยี นรใู้ นชมุ ชน และทนุ ดา้ นงบประมาณทส่ี ามารถนำมาใชป้ ระโยชน์เพอ่ื การจดั การศกึ ษา ประเภทบคุ คล ประเภทสถานทแี่ ละองค์กร ประเภททรัพยากรธรรมชาติ ประเภทกจิ กรรมทาง สังคม-วัฒนธรรมและต้นทุนงบประมาณ 1. แหล่งเรยี นร้ปู ระเภทบคุ คล ไดแ้ ก่ ภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น ความรคู้ วามสามารถ ที่อยู่ 1 สวนเกษตรอนิ ทรยี ์ - ปลกู ผกั สวนครัว นางระเบียบ ดสิ ถาน หมู่7 บา้ นทุ่งไทร ต.บางสะพาน โทร.091-6087896 2 เศรษฐกจิ พอเพยี ง - ปลูกผกั สวนครวั นางปิยรัตน์ ทวุ ิลา 101/4 หมู่8 บา้ นท่งุ จนั ทร์ โทร.089-5200859 3 ธนาคารปูม้า - แหลง่ เพาะพนั ธ์ุปูม้า นายกฤษณา กล่นิ นอ้ ย 109 หมู่10 หนองเสม็ด ต.บาง 3 ป่าเหนอื อา่ งเก็บนำ้ หบุ ตาหวัด - แหลง่ เพาะพนั ธตุ์ ้นไม สะพาน - ฟ้นื ฟูอา่ งเกบ็ เกบ็ โทร. 081-0104963 ดร.คงศักด์ิ มีแกว้ หมู่9 บ้านหนองคล้า ต.บาง สะพาน โทร. 081-4212955 - 10 -

2. แหล่งเรียนรู้ประเภทสถานที/่ ชุมชน/กล่มุ ทางเศรษฐกิจ/สังคม ได้แก่ ช่ือแหลง่ เรยี นรู้ ประเภทแหล่งเรยี นรู้ ที่ตัง้ - ศูนย์ฝึกอาชพี ชุมชนตำบล การ - จกั สานตะกร้าพลาสติก หมู่7 บ้านทุ่งไทร ต.บาง สรา้ งสรรคง์ านสานดว้ ยเสน้ พลาสติก สะพาน - ธนาคารปมู ้า - แหล่งเพาะพันธ์ุปแู ละสัตวน์ ้ำทะเล หมู่10 บ้านหนองเสม็ด ต.บางสะพาน - ศูนย์เรียนรู้เศษฐกจิ พอเพยี ง - แหล่งเพาะพนั ธพ์ุ ชื และไม้ยนื ต้น หมู่4 บ้านดอนละหาน - ทำการเกษตรตามโครงการพระราชดำริ ตำบลบางสะพาน - ศูนย์เรียนรเู้ ศษฐกิจพอเพยี ง - แหลง่ เพาะพนั ธพ์ุ ชื และไมย้ นื ต้น นางอุบล ช่วยชูหนู - ทำการเกษตรตามโครงการพระราชดำริ 72/3 หมู่9 บ้านหนอง คลา้ ตำบลบางสะพาน - ฟื้นฟสู ภาพปา่ อา่ งเกบ็ นำ้ หุบตาหวัด - แหล่งเพาะพันธุ์ไม้ หมู่9 ตำบลบางสะพาน - อ่างเก็บน้ำตำบล โทร.0945623939 - แหลง่ กักนำ้ เพาะพันธ์ุสตั ว์น้ำจืด ศูนยO์ TOP กลว้ ยกวนนำ้ อ้อย - แปรรูปวสิ าหกิจชมุ ชน กล้วยกวนนำ้ อ้อย 94/2 หมู่9 หนองคล้า ต.บางสะพาน โทร.089-8088028 3. แหล่งสนบั สนนุ ทุน/งบประมาณ ประเภทองคก์ ร ไดแ้ ก่ ภาคีเครอื ขา่ ย การสนับสนนุ ทีอ่ ย/ู่ ท่ีตัง้ ม. 9 ตำบลบางสะพาน องค์การบริหารสว่ นตำบลบาง อาคารสถานท่ี/เก้าอ้ี/ค่าน้ำ/ ค่า ม. 4 ตำบลบางสะพาน สะพาน ไฟ/ขอ้ มูล/วทิ ยากร ม. 9 ตำบลบางสะพาน โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตำบล วทิ ยากร/กลมุ่ เป้าหมาย ม. 9 ตำบลบางสะพาน บางสะพาน ม 9 ตำบลบางสะพาน ม. 2 ตำบลทรายทอง ศาลาหมบู่ า้ น สถานท่ีตัง้ กศน. ม 9 ตำบลบางสะพาน วดั ดอนตะเคียน สถานที่ เกา้ อี้ ที่วา่ การอำเภอบางสะพานน้อย สถานท/่ี วิทยากร/ข้อมลู โรงเรยี นวัดดอนตะเคียน สถานท่/ี วทิ ยากร รา้ นแมพ่ นิ ของฝาก สถานที่/วิทยากร กลมุ่ แม่บา้ นหนองคลา้ สถานท/ี่ วทิ ยากร - 11 -

สว่ นที่ 2 ขอ้ มูลพื้นฐานเพื่อการวางแผน สภาพทว่ั ไปตำบลบางสะพาน ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตร์ กศน.ตำบลบางสะพาน ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของอำเภอบางสะพานน้อย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ระยะห่างอำเภอบางสะพานน้อย ประมาณ 3 กิโลเมตร จัดตั้งเป็น กศน.ตำบลบางสะพาน เมื่อวันที่ 27 ธนั วาคม 2553 ทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ เขตองคก์ ารบริหารส่วนตำบลพงศ์ประศาสตร์ อำเภอบางสะพาน ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ เขตเทศบาลบางสะพานนอ้ ย ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ ชายฝง่ั ทะเลอา่ วไทย ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ เขตองคก์ ารบริหารสว่ นตำบลชา้ งแรก อำเภอบางสะพานนอ้ ย แผนท่ี ตำบลบางสะพาน อำเภอบางสะพานนอ้ ย จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ - 12 -

เนอ้ื ที่ ตำบลบางสะพาน มเี น้อื ทปี่ ระมาณ 87 ตารางกโิ ลเมตร หรอื ประมาณ 48,956 ไร่ ภมู ปิ ระเทศ สภาพพ้นื ท่เี ปน็ ที่ราบลุม่ ดนิ อดุ มสมบรู ณเ์ หมาะสำหรบั ประกอบอาชพี เกษตรกรรม เช่น มะพร้าว ปาลม์ ยางพารา สบั ปะรด ภมู อิ ากาศ องคก์ ารบริหารสว่ นตำบลบางสะพาน มสี ภาพอากาศโดยท่วั ไปไมร่ ้อน ไม่หนาวจนเกินไป ความช้ืน ของอากาศปานกลาง เนื่องจากอยู่ใกล้ทะเลมลี มพดั ผ่านทุกฤดูกาล ลกั ษณะของลมเปน็ ลมหมนุ รอบตัว ในฤดู หนาวจะพัดมาจากทิศเหนอื และทิศตะวันออกเฉียงเหนอื และค่อยๆเปล่ียนเป็นลมตะวันตกเฉียงใตฤ้ ดรู ้อน ฤดูร้อน เริ่มต้นระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ – เดือน พฤษภาคม อาการร้อนจัดและแล้งจัดติดต่อเป็น ระยะเวลานาน ความช่นื ในอากาศมีนอ้ ย อุณหภมู สิ งู สุดประมาณ ๓๕ – ๔๐ องศาเซลเซียส ฤดูฝน เร่ิมต้นระหวา่ งเดอื นมิถนุ ายน – มกราคม อากาศรอ้ นและมีพายุลมฝนฟ้าคะนองลมแรง และมี พายุฤดรู อ้ นพัดผ่าน ทำใหเ้ กิดอทุ กภัยขนึ้ ประจำทุกปี ลกั ษณะดนิ ดินในเขตพื้นที่องค์การบริหารสว่ นตำบลบางสะพาน เป็นดินที่อยู่ในพื้นที่ลูกรงั (พื้นที่บนภูเขา) และ ดนิ ทราย (พืน้ ทต่ี ิดทะเล) ลกั ษณะของแหล่งนำ้ มีแหล่งน้ำ(คลอง) ที่ใช้สำหรับอุปโภค-บริโภค จำนวน ๗ แหล่ง ซึ่งเป็นแหล่งน้ำตามธรรมชาติและ องค์การบริหารส่วนตำบลบางสะพานได้ดำเนินการขุดลอกแหล่งน้ำ, ก่อสร้างฝาย, ขุดเจาะบ่อน้ำบาดาล เพือ่ ให้เพียงพอกบั การอุปโภคและบริโภคของประชาชน ดังน้ี - ฝาย จำนวน ๑๙ แหง่ - บ่อนำ้ ตน้ื จำนวน ๒๗๙ แหง่ - บอ่ โยก (บ่อบาดาล) จำนวน ๒๘ แหง่ - สระนำ้ จำนวน ๔ แห่ง - อา่ งเกบ็ น้ำ จำนวน ๔ แหง่ - ประปาหมูบ่ ้าน+ระบบจ่ายน้ำหมบู่ ้าน จำนวน ๑๐ แห่ง ขอ้ มลู เก่ียวกบั จำนวนประชากร (ข้อมลู ณ วนั ที่ ๔ มีนาคม ๒๕๖๒) หมทู่ ี่ ชอื่ หมบู่ ้าน จำนวน จำนวนประชากร ครวั เรอื น ชาย หญิง รวม ๑ บ้านหนองฆ้อง ๒๘๖ ๓๔๑ ๓๒๔ ๖๖๕ ๒ บา้ นคลองนำ้ เค็ม ๘๗ ๑๐๘ ๑๑๘ ๒๒๖ ๓ บา้ นปากคลอง ๖ บา้ นดอนตะเคียน ๗๑ ๖๓ ๗๕ ๑๓๘ ๗ บา้ นทุ่งไทร ๘ บา้ นทุ่งจันทร์ ๑๐๗ ๑๒๓ ๑๒๒ ๒๔๕ ๓๖๖ ๔๕๐ ๔๗๖ ๙๒๖ ๔๑๓ ๕๓๔ ๕๓๒ ๑,๐๖๖ - 13 -

๙ บา้ นหนองคลา้ ๓๓๔ ๓๘๘ ๓๖๘ ๗๕๖ ๑๐ บา้ นหนองเสม็ด ๓๑๓ ๓๓๐ ๓๐๘ ๖๓๗ ๑,๙๗๗ ๒,๓๓๗ ๒,๓๒๓ ๔,๖๖๐ รวม ขอ้ มูลดา้ นประชากร จำนวน 1,985 ครวั เรือน จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพน้ื ทต่ี ำบลบางสะพาน ประชากรท้ังส้ิน 6,538 คน แยกเป็นชาย 2,719 คน หญิง 3,819 คน มคี วามหนาแนน่ เฉล่ีย 56 คน/ตารางกิโลเมตร ในปี 2548 มกี ารจดั ระดบั การพฒั นาหมู่บ้านในตำบล 2 ระดบั หมบู่ า้ นเรง่ รดั พัฒนาอนั ดับ 2 มี หมู่ที่ 7,9 หมู่บ้านเร่งพฒั นาอันดับ 3 มี หมู่ที่ 1,2,3,6,8,10 จำนวนเด็กแรกเกดิ ถึง 6 ปี : 444 คน จำนวนสตรตี ัง้ ครรภ์ : 53 คน จำนวนสตรอี ายุ 35 ปี ขนึ้ ไป : 1,811 คน จำนวนผูส้ งู อายุ : 895 คน ชาย 497 คน หญงิ 398 268 คน จำนวนผสู้ งู อายุ ทปี่ ่วยเปน็ โรคเรือ้ รัง : จำนวนผสู้ ูงอายุ ทีช่ ่วยตนเองไม่ได้ : 20 คน ประชากร ขององคก์ ารบริหารสว่ นตำบลบางสะพาน (ปี พ.ศ. ๒๕๖๒) ประชากร หญิง ชาย ชว่ งอายุ จำนวนประชากรเยาวชน ๔๔๕ ๔๗๘ อายตุ ่ำกว่า ๑๘ ปี จำนวนประชากร ๑,๖๐๗ ๑,๖๗๘ อายุ ๑๘ – ๖๐ ปี จำนวนประชากรผสู้ ูงอายุ ๔๘๖ ๕๔๒ อายมุ ากกวา่ ๖๐ ปี รวม ๒,๕๓๘ ๒,๖๙๘ หมายเหตุ : ขอ้ มลู จากสำนักทะเบยี นอำเภอบางสะพานน้อย ณ เดอื น มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๖๒ - 14 -

จำนวนผพู้ ิการจำแนกตามประเภทความพกิ าร ประเภทผู้พิการ จำนวนผู้พกิ าร (คน) คิดเปน็ ร้อยละ - ทางสติปญั ญา ชาย หญงิ รวม - ทางการมองเห็น - ทางการได้ยนิ หรือสือ่ ความหมาย 32 5 - ทางการเคลื่อนไหวหรอื ทางรา่ งกาย 8 7 15 8 11 19 49 25 74 - ทางจิตใจหรือพฤติกรรม 5 5 10 - พกิ ารซำ้ ซ้อน 11 2 - ทางการเรยี นรู้ 2- 2 - ทางออทสิ ตกิ 1- 1 กลมุ่ ผู้พิการ เปน็ กลุ่มผดู้ ้อยโอกาสในการทจี่ ะเข้ารบั บริการทางการศกึ ษาหรอื เขา้ รว่ มกิจกรรมการ เรยี นรูด้ ้อยกวา่ คนปกติทวั่ ไป อันเน่ืองมาจากข้อจำกัดทางดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ สตปิ ัญญาหรอื ความสามารถใน การเรียนรู้ หมายเหตุ : ขอ้ มูลจากองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลบางสะพาน ณ เดอื นกันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔ จำนวนประชากรจำแนกตามเพศและเขตพนื้ ทต่ี ำบลบางสะพาน มปี ระชากรวยั แรงงาน อายุ 15 – 19 ปี หมทู่ ่ี ชอ่ื หมบู่ ้าน จำนวน จำนวนประชากร ครวั เรอื น ชาย หญิง รวม ๑ บา้ นหนองฆ้อง ๒๘๖ ๓๔๑ ๓๒๔ ๖๖๕ ๒ บา้ นคลองน้ำเค็ม ๘๗ ๑๐๘ ๑๑๘ ๒๒๖ ๓ บ้านปากคลอง ๗๑ ๖๓ ๗๕ ๑๓๘ ๖ บ้านดอนตะเคยี น ๑๐๗ ๑๒๓ ๑๒๒ ๒๔๕ ๗ บ้านทุ่งไทร ๓๖๖ ๔๕๐ ๔๗๖ ๙๒๖ ๘ บา้ นท่งุ จนั ทร์ ๔๑๓ ๕๓๔ ๕๓๒ ๑,๐๖๖ ๙ บ้านหนองคลา้ ๓๓๔ ๓๘๘ ๓๖๘ ๗๕๖ ๑๐ บ้านหนองเสมด็ ๓๑๓ ๓๓๐ ๓๐๘ ๖๓๗ รวม ๑,๙๗๗ ๒,๓๓๗ ๒,๓๒๓ ๔,๖๖๐ - 15 -

ตำบลบางสะพาน มคี รัวเรือนอาศยั อยู่ จำนวน 1,784 ครัวเรอื น อยใู่ นเขตพ้ืนที่การปกครองเทศบาล ตำบลทั้งหมดมีประชากรทั้งสิ้น 5,967 คนแยกเป็นประชากรชาย จำนวน 2,932 คนคิดเป็นร้อยละ และ ประชากรหญงิ จำนวน 3,035 คน คิดเป็นรอ้ ยละ ความหนาแน่นเฉลย่ี คน/ตารางกิโลเมตร ขอ้ มลู ดา้ นสงั คม • แบบแผนวถิ ีชวี ติ การดำรงชีวิตของคนในตำบล เป็นการดำรงชวี ิตแบบสังคมชนบท มีการพงึ่ พาอาศัยซ่งึ กันและกนั ครอบครวั จะเป็นครอบครัวขยาย อยู่รวมกนั กับพอ่ แม่ • วัฒนธรรมประเพณีที่สำคัญ ไดแ้ ก่ 1. รดน้ำดำหวั ผสู้ ูงอายใุ นวันสงกรานต์ 2. ประกวดนางนพมาศในวันลอยกระทง 3. ฟุตบอลประเพณีชายหาดในวนั สงกรานต์ 4. แหเ่ ทยี นเทศกาลเขา้ พรรษา • ปฏิทินงานสำคัญและการทำงานของชมุ ชนแตล่ ะเดือนจากเดือนอา้ ยถึงเดือนสิบสอง เดือนอ้ายเป็นเดือนที่มีมรสุมชาวประมงไม่สามารถออกทะเลหาปลาได้แต่ชาวสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน มะพร้าว สามารถเก็บพืชผลทางการเกษตรได้เป็นปกติ พอถึงเดือน 3 ทะเลเงียบ ชาวประมงออกทำการประมงทางทะเลได้ การสาธารณสขุ โรงพยาบาล - แห่ง สถานพยาบาลเอกชน - แห่ง รา้ นขายยาแผนปจั จุบัน - แหง่ ศนู ย์สาธารณสขุ มูลฐานระดับชมุ ชน ๘ แหง่ อัตราการมีและใช้สว้ มราดนำ้ ร้อยละ ๑๐๐ % จำนวนบคุ ลากรดา้ นสาธารณสุข ตำแหน่ง จำนวน(คน) เจ้าหนา้ ทีบ่ รหิ ารงานด้านสาธารณสขุ 1 นักวชิ าการสาธารณสุข 1 เจ้าพนักงานสาธารณสุข 1 ผูช้ ่วยเหลือคนไข้ - พยาบาลวิชาชพี 1 อาสาสมัครสาธารณสุข 132 - 16 -

ระบบเศรษฐกจิ การเกษตร - ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางสะพานประชาชน มีอาชีพการเกษตร เช่น ทำสวน ปาลม์ สวนยางพารา สวนมะพร้าว สวนสบั ปะรด การประมง - ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางสะพานมีการทำอาชีพประมงชาวฝั่ง , เลี้ยงปลาน้ำจืด เล้ียงหอยขม , เลยี้ งกุง้ การปศสุ ตั ว์ - ในเขตองค์การบรหิ ารส่วนตำบลบางสะพาน เปน็ การประกอบการลักษณะเลี้ยงในครัวเรือน เป็นอาชีพหลกั และอาชีพเสริม เช่น การเล้ยี งโค กระบอื สุกร ไก่ เพ่ือจำหน่ายและบรโิ ภคเองในครัวเรือน การบรกิ าร โรงแรม/รสี อร์ท จำนวน ๖ แหง่ ร้านอาหาร จำนวน ๗ แหง่ โรงภาพยนตร์ จานวน - แห่ง สถานีขนสง่ จานวน - แห่ง การทอ่ งเทยี่ ว - ในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลบางสะพาน ยังมีแหล่งท่องเที่ยวน้อย แต่ได้ส่งเสริมการ ท่องเที่ยวให้เกดิ ขนึ้ ในพน้ื ท่ี เช่น การจดั งานประเพณีตา่ งๆ และสง่ เสริมกิจกรรมของวดั ในพน้ื ท่ี อตุ สาหกรรม - โรงงานอตุ สาหกรรม จำนวน - แห่ง - โรงสี จำนวน - แหง่ - ลานรับซ้ือผลปาลม์ สด จำนวน ๑ แห่ง การพาณชิ ย์และกลมุ่ อาชพี ในเขตองค์การบริหารสว่ นตำบลบางสะพานไม่มอี ุตสาหกรรม แตม่ กี ารประกอบโรงสี จำนวน ๑ แหง่ มลี านรับซอ้ื ผลปาล์มสด จำนวน ๑ แหง่ การพาณชิ ย์ ธนาคาร - แหง่ สถานีบรกิ ารนำ้ มนั - แหง่ บรษิ ัท - แห่ง ศนู ยก์ ารค้า/ห้างสรรพสนิ คา้ - แห่ง หา้ งหนุ้ ส่วนจำกดั - แหง่ ตลาดสด - แหง่ รา้ นค้าตา่ งๆ ๓๙ แห่ง โรงฆ่าสตั ว์ - แหง่ ซปุ เปอร์มาเก็ต - แห่ง - 17 -

ขอ้ มลู ดา้ นเศรษฐกจิ จำนวน ๕ กลุม่ จำนวน ๑ กองทนุ กลมุ่ อาชีพ จำนวน ๔ กลุ่ม - กลมุ่ แมบ่ ้าน จำนวน ๑ กลุ่ม - กองทนุ ปยุ๋ หมนุ เวยี นเพื่อการเกษตร จำนวน ๒ กลุ่ม - กลุ่มผ้เู ลี้ยงโคเน้ือ จำนวน ๒ กลมุ่ - กลมุ่ เลย้ี งกุ้งกุลาดำ จำนวน ๑ กลมุ่ - กลุ่มประมง - กลุม่ เกษตรพชื ไร่ - กลมุ่ ปลูกผกั ปลอดสารพิษ ศาสนา ประเพณี วฒั นธรรม การนบั ถอื ศาสนา ประชาชนในตำบลบางสะพาน จะนบั ถอื ศาสนาพุทธ โดยมศี าสนสถาน แห่ง ดังนี้ ท่ี ชื่อศาสนสถาน สถานที่ต้งั บ้าน หมทู่ ี่ ๑ วดั ดอนตะเคียน บ้านหนองคล้า ๙ ๒ สำนกั สงฆ์ดอนตน้ ตาล บา้ นหนองเสม็ด ๑๐ ๓ สำนักสงฆเ์ ทพเจรญิ ธรรม บ้านดอนตะเคยี น ๖ ประเพณีและงานประจำปี - ประเพณสี งกรานต์ ประมาณเดอื น เมษายน - ประเพณีแห่เทยี นจำพรรษา ประมาณเดอื นกรกฎาคม - ประเพณีออกพรรษา ประมาณเดือนตลุ าคม - ประเพณงี านสลากภัต ประมาณเดือนกันยายน - ประเพณลี อยกระทง ประมาณเดือนพฤศจกิ ายน ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ภาษาถน่ิ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ประชาชนในเขตพนื้ ท่ีได้อนุรกั ษภ์ มู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ไดแ้ ก่ การทำกะปิ ภาษาถ่ิน ประชาชนส่วนใหญพ่ ดู ภาษาใต้ สนิ คา้ พนื้ เมอื งและของทรี่ ะลกึ ประชาชนตำบลบางสะพาน ได้มีสินค้าพื้นเมืองและของฝาก เช่น ของทะเลตากแดด กะปิ สะตอ ใบเหรยี ง ผกั กรดู สับปะรกกวน - 18 -

ขอ้ มลู ดา้ นการศกึ ษา การศกึ ษา (๑) โรงเรียนประถมศกึ ษา จำนวน ๔ แหง่ ดังนี้ - โรงเรยี นบา้ นหนองฆ้อง ตงั้ อยู่หมู่ท่ี ๑ ตำบลบางสะพาน - โรงเรียนบา้ นปากคลอง ตงั้ อยู่หมู่ที่ ๓ ตำบลบางสะพาน - โรงเรียนบา้ นทงุ่ ไทร ต้ังอยู่หมู่ที่ ๗ ตำบลบางสะพาน - โรงเรยี นวดั ดอนตะเคียน ตง้ั อยหู่ มู่ที่ ๙ ตำบลบางสะพาน (๒) ทอ่ี า่ นหนังสอื ประจำหม่บู ้าน จำนวน ๔ แหง่ จำนวนเดก็ นกั เรยี น ข้อมูลโรงเรยี นสงั กัดสำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน (สพฐ) ชอื่ อนบุ าล จำนวนนกั เรยี น ประถมศกึ ษา มธั ยมศึกษา สถานศึกษา กอ่ น อนบุ าล อนบุ าล อนบุ าล ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ม.1 ม.2 ม.3 รวม อนบุ าล ๑ ๒ ๓ โรงเรยี นบา้ น 4 6 7 4 5 1 3 1 2 3 4 9 12 61 หนองฆอ้ ง โรงเรียนบ้านทุ่ง 5 6 6 11 10 10 7 6 11 10 - - - 82 ไทร โรงเรียนบา้ น 16 13 10 10 15 13 10 8 16 20 - - - 131 ปากคลอง โรงเรียนวดั ดอน 3 11 9 13 14 7 10 5 15 1 - - - 88 ตะเคยี น รวม 28 36 32 38 44 31 30 20 44 34 4 9 12 362 หมายเหตุ : ขอ้ มูล ณ เดือนมถิ ุนายน ๒๕๖๒ - 19 -

ศนู ยก์ ารศึกษานอกโรงเรียน จำนวนนกั เรยี น(คน) ศนู ยก์ ารเรยี น จำนวนคร/ู ประถมศกึ ษา มัธยมศึกษา มัธยมศกึ ษา เทียบระดบั เทยี บระดบั การศึกษา อาจารย์ ตอนตน้ ตอนปลาย การศึกษา (ม.6 8 เดอื น) (ไต่ระดับ) 0 กศน.ตำบลบางสะพาน 1 0 21 33 0 0 รวม 1 0 21 33 0 กศน.ตำบลบางสะพาน ในภาคเรียนที่ 2/2561 มีจำนวนนักศกึ ษาทั้งหมด ...56.. คน แยกตามระดบั ดงั นี้ -ระดบั ประถมศึกษา จำนวน..........................คน -ระดับมัธยมศึกษาตอนตน้ จำนวน...........26..........คน -ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน...........30..........คน 7.2 การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น 1. มี ศรช. - แหง่ กศน.ตำบลบางสะพาน ในรอบปีทผี่ ่านมามีจำนวนนกั ศึกษาทัง้ หมด 30 คน แยกตามระดบั ดังนี้ - ระดับประถมศึกษา จำนวน - คน - ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 26 คน - ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 30 คน ในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีนักศึกษา จำนวนทีล่ งทะเบียนเรียนท้ังหมด 56 มีนักศึกษาคงอยู่ จำนวน 56 คน และมีผูจ้ บหลักสูตรท้ังหมด คน คิด เป็นรอ้ ยละ แยกตามระดับ ดังนี้ - ระดบั ประถมศึกษา จำนวน..................คน จบหลักสตู รจำนวน..........คน - ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน.......19…....คน จบหลกั สตู รจำนวน..........คน -ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย จำนวน......28........คน จบหลกั สูตรจำนวน...........คน จาก ตารางข้อมลู ระดับการศึกษาของประชาชนในตำบล พบวา่ มีจำนวนผู้จบหลกั สตู รค่อนขา้ งน้อย - 20 -

ขอ้ มลู ระบบกำกบั และตดิ ตามประชากรวยั เรยี นนอกระบบการศึกษา ที่ ชอ่ื บา้ น หมู่ท่ี เป้าหมายท้ังหมด 1 บา้ นหนองฆ้อง 1 13 8 2 บ้านคลองนำ้ เค็ม 2 16 21 3 บา้ นปากคลอง 3 8 6 4 บ้านละหาน 4 26 29 5 บ้านทา่ ม่วง 5 15 11 6 บา้ นดอนตะเคยี น 6 153 7 บา้ นทงุ่ ไทร 7 8 บา้ นทุง่ จนั ทร์ 8 9 บ้านหนองคล้า 9 10 บ้านหนองเสมด็ 10 รวมทง้ั สน้ิ (คน)

ข้อมลู ระบบกำกับและติดตามประชากรวัยเรียนนอกระบบการศกึ ษา เขา้ เรียนหรอื จำหนา่ ยออกจากฐาน ดำเนินการติดตาม เ ีรยนภายในประเทศ/ รวมทงั้ สนิ้ ภายนอกประเทศ จบ ม.6 ห ืรอเทียบเท่า ไม่ ีมตัวตน/ตาย จบ ม.3 รวม เ ็ดก ิพการ เ ็ดกปก ิตที่ไม่ได้เ ีรยน เด็กออกกลาง ัคน รวม 0 113505 3 8 13 5 003800 0 0 8 0 530814 3 8 16 1 10 0 0 11 0 6 4 10 21 0 411602 0 2 8 0 113501 0 1 6 0 6 4 6 16 0 7 5 12 28 0 8 4 6 18 0 7 4 11 29 0 4 1 6 11 0 2 2 4 15 1 214801 2 3 11 7 40 16 32 95 1 35 23 58 153 - 21 -

สว่ นที่ 3 ทศิ ทางการดำเนนิ งาน ตามที่กระทรวงศึกษาธิการตระหนักถึงความสำคัญยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โดยเฉพาะแผนแม่บทภายใตย้ ทุ ธศาสตร์ชาติ ประเด็นการพฒั นาศักยภาพคนตลอด ช่วงชีวิต การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วง การตั้งครรภ์จนถึงปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึง การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหปุ ญั ญาของมนุษยท์ ี่หลากหลาย และประเด็นอ่ืนท่ีเกยี่ วขอ้ ง อาศัยอำนาจตามความในมาตรา 8 และมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ.2546 รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธิการ จึงประกาศนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 ดงั นี้ หลกั การตามนโยบาย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กระทรวงศึกษาธิการมุ่งมั่นดำเนินการภารกิจหลักตามแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 – 2580) ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพขับเคลื่อนทุกแผนย่อยในประเด็น 12 การพัฒนาการ เรียนรู้ และแผนย่อยที่ 3 ในประเด็น 11 ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต รวมทั้งแผนการปฏิรูปประเทศ ด้าน การศึกษา และนโยบายรัฐบาลทั้งในส่วนนโยบายหลักด้านการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ และการพัฒนา ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต และนโยบายเร่งด่วน เรื่องการเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21 นอกจากนี้ ยังสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติประเด็นอื่น ๆ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบายและแผนระดับชาติว่าดว้ ยความมน่ั คงแหง่ ชาติ (พ.ศ. 2562 – 2565) รวมทั้งนโยบายและแผนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต จะ ไดร้ ับการพัฒนาการเรยี นรใู้ ห้เป็นคนดี คนเกง่ มีคุณภาพ และมคี วามพร้อมรว่ มขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศสู่ ความมัน่ คง มั่งคัง่ และยัง่ ยนื ดงั นน้ั ในการเร่งรัดการทำงานภาพรวมกระทรวงให้เกิดผลสมั ฤทธิ์เพ่ือสร้างความ เชื่อมั่นให้กับสังคม และผลักดันให้การจัดการศึกษามีคุณภาพและประสิทธิภาพ จึงกำหนดนโยบายประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2565 ดงั น้ี 1. ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการบริหารจัดการและการพัฒนากำลังคน โดยมุ่งปฏิรูปองค์การเพื่อหลอมรวมภารกิจและบุคลากร เช่น ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการต่างประเทศ ด้านเทคโนโลยี ด้านกฎหมาย ฯลฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและความเป็นเอกภาพ รวมทั้งการนำเทคโนโลยี ดจิ ทิ ัลเขา้ มาชว่ ยในการบรหิ ารงานและการจัดการศึกษา 2. ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน และเปิดกว้าง ระบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยมุ่งให้ ครอบคลุมถึงการจัดการศึกษาเพื่อคุณวุฒิ และการเรียนรู้ตลอดชีวิตที่สามารถตอบสนองการเปลี่ยนแปลงใน ศตวรรษท่ี 21 - 22 -

3. ปลดล็อก ปรับเปลี่ยน เปิดกว้าง ที่เป็นเงื่อนไขต่าง ๆ เพื่อให้บรรลุผลตามนโยบาย การศึกษายกกำลังสอง (Thailand Education Eco – System : TE2S) การศึกษาที่เข้าใจ Supply และ ตอบโจทย์ Demand โดยให้ทุกหน่วยงานพิจารณาวิเคราะห์ข้อมูลร่วมกันอย่างรอบด้าน ครบถ้วน ร่วมกัน พจิ ารณาหาแนวทาง ขั้นตอน และวิธีการดำเนินการรว่ มกันแบบบูรณาการการทำงานทกุ ภาคสว่ น จดุ เน้นประจำปงี บประมาณ พ.ศ.2565 การพฒั นาและเสริมสร้างศกั ยภาพทรัพยากรมนุษย์ 1. ICT (Information and Communication Technologies) เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ประกอบด้วย 7 เรื่องย่อย ได้แก่ (1) Data Center ศูนย์ข้อมูลกลาง (2) Big Data ข้อมูลขนาด ใหญ่ (คลังข้อมูล การนำข้อมูลมารวมกัน) (3) Platform (e-library e-learning และ Teaching Resource Platform) (4) e-book (5) e-office e-mail และ document (6) ระบบบริหารจัดการห้องเรียน School และ Classroom Management และ (7) โครงสรา้ งพ้นื ฐาน Infrastructure (Internet) 2. การจัดการองค์ความรู้และยกระดับทักษะที่จำเป็น เน้นพัฒนาความรู้และสมรรถนะ ด้าน Digital Literacy สำหรับผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันตามระดับและประเภทของการจัดการศึกษา เช่น STEM Coding เปน็ ต้น 3. การศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทำ พัฒนา 3 ทักษะหลัก ได้แก่ โลกทัศน์อาชีพ การเสรมิ ทกั ษะใหม่ (Up Skill) และการเพิม่ ทักษะใหมท่ ่ีจำเป็น (Re-Skills) ให้แกก่ ลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย (1) ผู้อยู่ในระบบการศึกษา (การศึกษาขั้นพื้นฐาน และอาชีวศึกษา) (2) ผู้อยู่นอกระบบการศึกษา (3) วัย แรงงาน และ (4) ผู้สูงอายุ เพื่อให้มีทักษะและสมรรถนะสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากเทคโนโลยี ดิจิทัลและอาชีพที่เกิดขึ้นใหม่ (Digital Disruption) โดยเน้นเพิ่มบทบาทของ กศน.ในการ Re-Skills ด้าน อาชวี ศึกษากับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา 4. การต่างประเทศ เน้นภารกิจที่ต้องใช้ความร่วมมือระดับนานาชาติในการจัดหาครู ชาวต่างชาติให้แก่สถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภทของกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือจัดการศึกษาในสถานศึกษา 2 ด้านหลัก ๆ ได้แก่ (1) ดา้ นภาษาตา่ งประเทศ และ (2) ดา้ นวชิ าการ โดยเฉพาะอาชีวศกึ ษา 5. กฎหมายและระเบียบ เน้นแผนงาน 2 เรื่อง ที่บรรจุอยู่ในแผนการปฏิรูปประเทศด้าน การศกึ ษา ประกอบด้วย เรื่องที่ 1 : การปฏิรูประบบการศึกษาและการเรียนรู้โดยรวมของประเทศ โดย พระราชบัญญัติการศกึ ษาแหง่ ชาตฉิ บับใหมแ่ ละกฎหมายลำดบั รอง มปี ระเด็นปฏิรูป 5 ประเดน็ ไดแ้ ก่ - การมีพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.…. และมีการทบทวน จัดทำ แก้ไขและ ปรบั ปรงุ กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง - การสร้างความร่วมมือระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและเอกชน เพื่อการ จัดการศกึ ษา - การขับเคลื่อนการจัดการศึกษาเพื่อการพัฒนาตนเองและการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ ตลอดชวี ิตเพอ่ื รองรบั การพฒั นาศกั ยภาพคนตลอดช่วงชีวิต - 23 -

- การทบทวนและปรับปรงุ แผนการศึกษาแห่งชาติ - การจดั ต้ังสำนักงานคณะกรรมการนโยบายการศกึ ษาแห่งชาติ เรื่องที่ 6 การปรับโครงสร้างของหน่วยงานในระบบการศึกษา ประกอบด้วยประเด็น ปฏิรูป 3 ประเด็น ได้แก่ สถานศึกษามีความเป็นอิสระในการบริหารและจัดการศึกษา พื้นท่ี นวัตกรรม การศึกษา การปรับปรงุ โครงสรา้ งของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 6) ระบบบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร โดยรวบรวมหลักสูตรวิชาการของแต่ละ หน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้ำซ้อนในการจัดฝึกอบรมให้แต่ละกลุ่มเป้าหมาย และใช้ประโยชน์จากสถาบันพัฒนาที่มีอยู่แล้ว เช่น สถาบันพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา เพื่อเป็นหน่วยงานกลางในการจัดฝึกอบรมพัฒนาทักษะสมรรถนะให้แก่บุคลากรของกระทรวงศึกษาธิการ (ผู้บริหารหน่วยงานทุกระดับ ผู้บริหารสถานศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท ครู อาจารย์ และบุคลากรอื่นๆ) รวมทั้งพฒั นายกระดบั ให้เปน็ สถาบันฝกึ อบรมระดับนานาชาติ 7) การประชาสัมพนั ธ์ โดยจดั ตงั้ ศูนยป์ ระชาสมั พันธ์ของกระทรวงศึกษาธิการ เป็นหน่วยงาน สงั กดั สำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ดำเนินการผลิตสื่อและจัดทำเนื้อหา (Content) เพ่ือเผยแพร่ผลงาน กิจกรรมและการเข้ารว่ มงานต่าง ๆ ของทุกหนว่ ยงานในภาพรวมของ กระทรวงศึกษาธกิ าร 8) การพัฒนาเด็กปฐมวัย ดำเนินการขับเคลื่อนนโยบายและแนวปฏิบัติในการจัดการศึกษา และการเรียนรสู้ ำหรับเด็กปฐมวยั 9) การพัฒนาโรงเรยี นขนาดเลก็ โดยการส่งเสริมโครงการ 1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ 10) การรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่เก่ียวข้องกับกระทรวงศึกษาธิการ โดยการนำเทคโนโลยีมาใช้ ในการบรหิ ารจัดการ เช่น การยกระดบั ตอบรับอัตโนมตั เิ พื่อแก้ไขปัญหาเบือ้ งต้น (Call Center ด้านกฎหมาย) การวางระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการการรับเรื่องราวร้องทุกข์ในภาพรวมของ กระทรวงศึกษาธิการ 11) การปฏริ ูปองค์การและโครงสร้างกระทรวงศกึ ษาธิการ 12) การพฒั นาครู ในสาขาวิชาต่าง ๆ เพือ่ ใหม้ ีมาตรฐานวชิ าชพี ทส่ี งู ข้ึน 13) การศกึ ษายกกำลงั สอง โดย - พัฒนาครูทุกระดับให้มีทักษะ ความรู้ที่จำเป็น เพื่อทำหน้าที่วิทยากรมืออาชีพ (Train The Trainer) และขยายผลการพัฒนาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเป็นเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC) - จัดการเรียนรู้ตลอดชีวติ ผ่านเว็บไซต์ http://www.deep.go.th โดยปลดลอ็ กและเปิด กว้างให้ภาคเอกชนสามารถเข้ามาพัฒนาเนื้อหา เพื่อให้ผู้เรียน ครู และผู้บริหารทางการศึกษามีทางเลือกใน การเรียนรทู้ ี่หลากหลาย และตลอดเวลาผา่ นแพลตฟอร์มดา้ นการศึกษาเพ่ือความเป็นเลิศ (Digital Education Excellence Platform : DEEP) - ใหผ้ ู้เรยี น ครู ผบู้ ริหารทางการศึกษามีแผนพฒั นารายบุคคลผ่านแผนพัฒนารายบุคคล สู่ความเปน็ เลิศ (Excellence Individual Development Plan : EIDP) - 24 -

- จัดทำ “คู่มอื มาตรฐานโรงเรยี น” เพื่อกำหนดให้ทกุ โรงเรียนต้องมีพ้ืนฐานที่จำเป็น การสร้างความสามารถในการแข่งขัน - มุ่งเน้นการศึกษาเพื่อทักษะอาชีพและการมีงานทำด้วยคุณภาพ โดยสร้างค่านิยม อาชีวศึกษา และเติมเต็มช่องว่างระหว่างทักษะ (Full fill Skill Gaps) โดยขยายและยกระดับอาชีวศึกษาทวิ ภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน เน้นร่วมมือกับสถานประกอบการช้ันนำ (Tailor-made Curriculum) ขับเคลื่อน ความรว่ มมือการจัดการอาชวี ศกึ ษาระหว่างภาครฐั และภาคเอกชนสูม่ าตรฐานนานาชาติ - มุ่งเน้น Re-Skills, Up Skill และ New Skill การฝึกอบรมวิชาชีพระยะสั้น รวมทั้ง ผลิตกำลังแรงงานที่มีคณุ ภาพตามความเป็นเลิศของแต่ละสถานศึกษาและตามบริบทของพื้นท่ี เพื่อตอบโจทย์ การพฒั นาประเทศและสถานประกอบการ - มุ่งเน้นพัฒนาศูนย์ประสานงานกลางการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (TVET Excellence Center) สู่มาตรฐานสากล ผลิตอาชีวะพันธุ์ใหม่ รวมถึงการนำนวัตกรรม Digital เพื่อมุ่งสู่การ อาชีวศกึ ษาดิจิทัล (Digital College) - มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพผู้เรียนอาชีวศึกษา ให้เป็นผู้ประกอบการ พัฒนาทักษะการ เรียนรู้ผู้เรียนเพื่อการดำรงชีวิตให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (Technical Vocational Education and Training : TVET, Student Skill Set) รวมทั้งให้ความร่วมมอื ในการพัฒนาขดี ความสามารถของผู้เรียนผา่ นการฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพในตา่ งประเทศและการแข่งขันในเวที ระดบั นานาชาติ - มุ่งเน้นการเพิ่มปริมาณผู้เรียนในหลักสูตรอาชีวศึกษา สร้างภาพลักษณ์สถานศึกษา อาชีวศึกษาเพ่อื ดึงดูดใหผ้ ู้ทส่ี นใจเข้ามาเรียน สนับสนุนให้สถานศึกษาอาชีวศึกษาบริหารจัดการอย่างมีคุณภาพ และจัดการเรียนการสอนด้วยเครื่องมือ ปฏบิ ตั ิทท่ี ันสมัย การสรา้ งโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา - ขับเคลื่อนพื้นที่นวัตกรรมการศึกษา ให้สอดคล้องกับพระราชบัญญัติพื้นที่นวัตกรรม การศกึ ษา พ.ศ. 2562 - ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่ยุติการศึกษา ทั้งก่อนและหลังสำเร็จการศึกษาภาคบังคับให้ได้รับ โอกาสทางการศึกษาจนสำเรจ็ การศึกษาภาคบงั คับ การจดั การศึกษาเพ่ือสรา้ งเสริมคณุ ภาพชีวติ ท่ีเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดลอ้ ม - เสรมิ สรา้ งการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และสง่ เสรมิ คุณลกั ษณะและพฤติกรรม ท่พี งึ ประสงค์ด้านส่งิ แวดลอ้ ม รวมทัง้ การปรบั ตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศท่จี ะเกิดขึน้ ในอนาคต - สง่ เสรมิ การพฒั นาส่ิงประดิษฐแ์ ละนวัตกรรมที่เปน็ มิตรกบั สิ่งแวดล้อม ให้สามารถเป็น อาชีพ และสรา้ งรายได้ การพัฒนาการศึกษาเพื่อความมัน่ คง - เฝ้าระวงั ภยั ทกุ รปู แบบทเ่ี กิดขน้ึ กับผู้เรยี น ครู และสถานศึกษา - 25 -

การปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ - ปฏิรปู องคก์ ารเพ่อื เพ่ิมประสทิ ธภิ าพ ประสิทธิผล และความเป็นเอกภาพของหน่วยงาน - ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคและข้อจำกัดใน การดำเนนิ งาน โดยคำนงึ ถงึ ประโยชน์ของผเู้ รียนและประชาชน ตลอดจนกระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดยรวม - ยกระดบั การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ของหนว่ ยงานในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร - พัฒนาระบบฐานข้อมูลดา้ นการศกึ ษา (Big Data) การขบั เคลอ่ื นนโยบายและจุดเนน้ สูก่ ารปฏบิ ัติ 1. ให้ส่วนราชการ หนว่ ยงานในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ นำนโยบายและจุดเนน้ เป็นกรอบ แนวทางในการวางแผนและจดั ทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ตามที่รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ใหแ้ นวทางในการบรหิ ารงบประมาณไว้ 2. ให้มีคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล และรายงานการขับเคลื่อนนโยบายและจุดเน้นสู่ การปฏิบัติระดับพื้นท่ี โดยใหผ้ ้ตู รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธาน สำนกั งานศึกษาธิการภาคและ สำนักตรวจราชการและติดตามประเมินผล สป. เป็นฝ่ายเลขานุการและผู้ช่วยเลขานุการตามลำดับ โดยมี บทบาทภารกิจในการตรวจราชการ ติดตาม ประเมินผลในระดับนโยบาย และจัดทำรายงานเสนอต่อ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ และคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการจัดการศึกษา ของกระทรวงศึกษาธกิ าร ทราบตามลำดับ 3. กรณีมีปัญหาในเชิงพื้นที่หรือข้อขัดข้องในการปฏิบัติงาน ให้ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและ ดำเนินการแก้ไขปัญหาในระดับพื้นที่ก่อน โดยใช้ภาคีเครือข่ายในการแก้ไขข้อขัดข้อง พร้อมทั้งรายงานต่อ คณะกรรมการติดตามฯ ขา้ งตน้ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ และรฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธกิ ารตามลำดบั อนึ่ง สำหรับภารกิจของส่วนราชการหลักและหน่วยงานที่ปฏิบัติในลักษณะงานใน เชิงหน้าท่ี (Function) งานในเชิงยุทธศาสตร์ (Agenda) และงานในเชิงพื้นที่ (Area) ซึ่งได้ดำเนินการอยู่ก่อน เมื่อรัฐบาลหรือกระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสำคัญเพิ่มเติมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 นอกเหนือจากที่ กำหนดหากมีความสอดคล้องกับหลักการนโยบายและจุดเน้นข้างต้น ให้ถือเป็นหน้าที่ของส่วนราชการหลัก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องเร่งรัด กำกับ ติดตาม ตรวจสอบให้การดำเนินการเกิดผลสำเร็จ และมี ประสิทธิภาพอย่างเป็นรปู ธรรมดว้ ยเช่นกนั - 26 -

(รา่ ง) นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งาน สำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) ได้กำหนดแผนแม่บทประเด็นการพัฒนาศกั ยภาพคน ตลอดช่วงชีวิต โดยมีแผนย่อยที่เกี่ยวข้องกับการใช้การศึกษาเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนได้แก่ แผนย่อย ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้และแผนย่อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นการสร้าง สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ การพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงการตั้งครรภ์จนถึง ปฐมวัย การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน รวมถึงการส่งเสริม ศักยภาพวัยผู้สูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 และพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้ง ในสว่ นนโยบายหลักดา้ นการปฏริ ปู กระบวนการเรียนรู้ และการพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ และนโยบาย เรง่ ด่วนเร่ืองการเตรียมคนไทยสศู่ ตวรรษท่ี 21 ตลอดจนแผนพฒั นาประเทศอืน่ ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง อาทิ แผนพฒั นา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2568) นโยบายและแผนระดับชาติว่าด้วยความมั่นคง แห่งชาติ (พ.ศ.2562-2568) โดยคาดหวังว่าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ประชาชนจะได้รับ การพัฒนาการเรียนรู้ให้เป็นคนดี คนเก่งมีคุณภาพ และมีความพร้อมร่วมขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศสู่ ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ได้กำหนดนโยบายและจุดเน้น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ขึ้น เพื่อเป็นเข็มมุ่งของหน่วยงานภายใต้กระทรวงศึกษาธิการ ขับเคลื่อนการดำเนินงานให้บรรลุ ตามวัตถปุ ระสงคข์ องแผนตา่ งๆ ดงั กล่าว สำนักงาน กศน. เป็นหน่วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ตระหนักถึงความสำคัญของการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ได้มุ่งมั่นขับเคลื่อนภารกิจหลักตาม แผนพัฒนาประเทศ และนโยบายและจุดเนน้ ของกระทรวงศึกษาธิการ ที่คำนึงถึงหลักการบรหิ ารจัดการท้ังใน เรื่องหลักธรรมาภิบาล หลักการกระจายอำนาจ การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร การมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และปฏิบัติการด้านข้อมูลข่าวสาร การสร้างบรรยากาศในการทำงานและการเรียนรู้ ตลอดจนใช้ทรัพยากรด้านการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัยใน 4 ประเด็นใหญ่ ประกอบด้วย การจัดการเรียนรู้คุณภาพ การสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องค์กร สถานศึกษา และแหล่งเรียนรู้ คุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนำไปสู่การสร้างโอกาสและลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา การยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการสำหรับทุกกลุ่มเป้าหมาย และสร้างความพึงพอใจ ให้กับผู้รับบริการ โดยได้กำหนดนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ดงั น้ี หลกั การ กศน.เพอ่ื ประชาชน “ก้าวใหม่ : ก้าวแหง่ คณุ ภาพ” - 27 -

นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. ดา้ นการจัดการเรียนร้คู ุณภาพ 1.1 น้อมนำพระบรมราโชบายสู่การปฏิบัติ รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการดำเนินงาน โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริทุกโครงการ และโครงการอนั เกย่ี วเนื่องจากราชวงศ์ 1.2 ขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ที่สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ และนโยบายของ รฐั มนตรีวา่ การและรฐั มนตรชี ่วยว่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ 1.3 สง่ เสริมการจัดการศึกษาเพ่อื เสรมิ สรา้ งความมน่ั คง การสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องในการ ปกครองระบบประชาธิปไตย การเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ์ ความยดึ มน่ั ในสถาบนั หลักของชาติ รวมถึงการมีจติ อาสา ผา่ นกจิ กรรมต่างๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภท ให้สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศสอดคลอ้ งกบั บริบทท่เี ปล่ยี นแปลง ความตอ้ งการและความหลากหลายของผเู้ รียน/ผู้รบั บริการ รวมถึง ปรบั ลดความหลากหลายและความซ้ำซ้อนของหลักสตู ร เช่น หลักสตู รการศึกษาสำหรบั กลุ่มเป้าหมายบนพ้ืนที่ สูง พนื้ ทีพ่ ิเศษ และพื้นท่ชี ายแดน รวมท้ังกลมุ่ ชาตพิ นั ธุ์ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน้นการใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือให้ ผู้เรียนสามารถเข้าถึงการประเมินผลการเรียนรู้ได้ตามความต้องการ เพื่อการสร้างโอกาสในการเรียนรู้ ให้ ความสำคญั กับการเทยี บระดบั การศึกษา และการเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ พฒั นาระบบการประเมิน สมรรถนะผู้เรียนให้ตอบโจทย์การประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช่น การประเมินสมรรถภาพ ผู้ใหญ่ ตลอดจนกระจายอำนาจไปยงั พน้ื ท่ีในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้ 1.6 ส่งเสริมการใชเ้ ทคโนโลยีในการจัดหลักสูตรการเรียนรู้ ในระบบออนไลนด์ ว้ ยตนเองครบ วงจร ตั้งแต่การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ทั้งการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน พื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเป็นการสร้างและขยายโอกาสในการเรียนรูใ้ ห้กับ กลุ่มเป้าหมายทส่ี ามารถเรียนรู้ไดส้ ะดวก และตอบโจทย์ความตอ้ งการของผ้เู รยี น 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ของสำนักงาน กศน. ตลอดจนพัฒนาสื่อการเรียนรู้ท้ังในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ และใหม้ ีคลังส่ือการเรียนรู้ท่ีเป็นสื่อท่ีถูกต้อง ตามกฎหมายง่ายต่อการสืบค้นและนำไปใช้ในการจดั การเรยี นรู้ 1.8 เร่งดำเนินการเรื่อง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอน หนว่ ยกิตเพ่ือการสรา้ งโอกาสในการศึกษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกำกับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมทั้งสง่ เสรมิ การวจิ ัยเพื่อเปน็ ฐานในการพัฒนาการดำเนนิ งานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย - 28 -

2. ด้านการสรา้ งสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส่งเสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ท่ีเน้นการพฒั นาทกั ษะที่จำเปน็ สำหรบั แตล่ ะช่วงวัย และการจัดการศึกษาและการเรยี นร้ทู เ่ี หมาะสม กบั แต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพ้ืนที่ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะสั้น ที่เน้น New skill Up skill และ Re skill ที่สอดคล้อง กับบริบทพื้นที่ ความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ความต้องการของตลาดแรงงาน และกลุ่มอาชีพใหม่ที่รองรบั Disruptive Technology 2.3 ประสานการทำงานร่วมกับศูนย์ให้คำปรึกษาการจัดตั้งธุรกิจ (ศูนย์ Start-up) ของ อาชีวศึกษา จัดอบรมหลักสตู รวชิ าชะระยะสัน้ ฐานสมรรถนะ ในทกั ษาะอนาคต (Future Skills) ให้กบั แรงงาน ที่กลบั 3มิลำเนาในชว่ งสถาณการณ์ COVID - 19 2.4 ยกระดับผลิตภัณฑ์ สินค้า บริการจากโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ที่เน้น “ส่งเสริม ความรู้สร้างอาชีพ เพิ่มรายได้ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับของตลาด ต่อยอด ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นเพอื่ สรา้ งมลู คา่ เพ่มิ พัฒนาสวู่ สิ าหกจิ ชุมชน ตลอดจนเพมิ่ ชอ่ งทางประชาสมั พนั ธแ์ ละช่องทาง การจำหน่าย 2.5 ส่งเสริมการจัดการศึกษาของผู้สูงอายุ เพื่อให้เป็น Active Ageing Workforce และมี Life skill ในการดำรงชีวิตที่เหมาะกับชว่ งวยั 2.6 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อม/การปฏิบัติตัวสำหรับสตรีตั้งครรภ์ และจดั กิจกรรมการเรียนร้สู ำหรับแม่และเด็กใหเ้ หมาะสมกบั บริบทของชุมชนและชว่ งวัย 2.7 ส่งเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เช่น ผพู้ กิ ารออทิสตกิ เดก็ เรร่ ่อน และผ้ดู อ้ ยโอกาสอืน่ ๆ 2.8 ส่งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด้านภาษา ให้กับบุคลากร กศน. และผู้เรียน เพอื่ รองรับการพัฒนาประเทศ 2.9 สง่ เสรมิ ใหค้ วามรดู้ ้านการเงนิ และการออม (Financial Literacy) การวางแผนและสรา้ ง วินัยทางการเงินใหก้ ับบุคลากรและผเู้ รียน กศน. 2.10 สง่ เสริมการสร้างนวัตกรรมของผ้เู รยี น กศน. 2.11 สร้าง อาสาสมัคร กศน. เพื่อเป็นเครือข่ายในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษา ตลอดชีวติ ในชุมชน 2.12 สง่ เสรมิ การสรา้ งและพฒั นานวตั กรรมของบคุ ลากร กศน. รวมท้งั รวบรวมและเผยแพร่ เพ่อื ให้หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา นำไปใชใ้ นการพฒั นากระบวนการเรียนรู้รว่ มกนั 3. ด้านองคก์ ร สถานศึกษา และแหล่งเรยี นร้คู ุณภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน สถานศึกษา เช่นสถาบัน กศน. ภาค สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร สถานศึกษาขึ้นตรงสังกัดส่วนกลาง กลุ่มสำนักงาน กศน.จังหวัด ศูนย์ฝึกและพัฒนาราษฎรไทยบริเวณชายแดน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนการจัดการศึกษาตลอด ชวี ติ ในพนื้ ที่ - 29 -

3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนชุมชนชาวไทยภูเขา “แม่ฟ้าหลวง” (ศศช.) ใหเ้ ป็นพืน้ ท่ีการเรียนรตู้ ลอดชวี ิตท่ีสำคัญของชมุ ชน 3.3 ปรับรูปแบบกิจกรรมในหอ้ งสมุดประชาชนท่ีเน้น Library Delivery เพื่อเพิ่มอัตราการ อา่ นและการรหู้ นงั สอื ของประชาชน 3.4 ให้บริการวิทยาศาสตร์เชิงรุก Science @home โดยใช้เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือนำ วทิ ยาศาสตร์สู่ชีวติ ประจำวันในทุกครอบครวั 3.5 ส่งเสริมและสนับสนุนการสร้างพื้นที่การเรียนรู้ ในรูปแบบ Public Learning Space/Co-Learning Space เพือ่ การสร้างนเิ วศการเรียนรใู้ ห้เกดิ ขน้ึ ในสังคม 3.6 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การดำเนินงานของกลุ่ม กศน.จงั หวดั ใหม้ ปี ระสิทธภิ าพ 4. ด้านการบริหารจดั การคณุ ภาพ 4.1 ขับเคลื่อนกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจ บทบาทโครงสรา้ งของหน่วยงานเพอ่ื รองรบั การเปล่ียนแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ คำสั่ง และข้อบังคับต่างๆ ให้มีความทันสมัย เอื้อต่อการ บริหารจดั การ และการจัดการเรยี นรู้ เช่น การปรบั หลักเกณฑ์ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดหลกั สตู รการศกึ ษาต่อเน่ือง 4.3 ปรับปรุงแผนอัตรากำลัง รวมทั้งกำหนดแนวทางที่ชัดเจนในการนำคนเข้าสู่ตำแหน่ง การยา้ ย โอน และการเลื่อนระดับ 4.4 ส่งเสรมิ การพัฒนาบคุ ลากรทุกระดบั ใหม้ ีความร้แู ละทักษะตามมาตรฐานตำแหน่งให้ตรง กับสายงาน และทกั ษะทจ่ี ำเป็นในการจัดการศกึ ษาและการเรียนรู้ 4.5 เสริมสร้างขวัญและกำลังใจ ให้กับข้าราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ประกาศเกยี รตคิ ุณ การมอบโล/่ วุฒิบัตร 4.6 ปรับปรุงระบบการจดั สรรทรพั ยากรเพอ่ื การศกึ ษา ให้มีความครอบคลมุ เหมาะสม เช่น การปรบั คา่ ใชจ้ า่ ยในการจดั การศกึ ษาของผ้พู ิการ เด็กปฐมวัย 4.7 ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา เพื่อการบริหารจัดการอย่างเป็น ระบบ เช่น ข้อมลู การรายงานผลการดำเนนิ งาน ขอ้ มูลเดก็ ตกหล่นจากการศึกษาในระบบ เดก็ เรร่ อ่ น ผู้พิการ 4.8 สง่ เสรมิ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เปน็ เครอื่ งมอื ในการบริหารจดั การอย่างเตม็ รูปแบบ 4.9 ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู่ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คณุ ภาพและความโปร่งใสการดำเนินงานของภาครฐั (ITA) 4.10 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัด การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการส่งเสรมิ การเรียนรูต้ ลอดชวี ติ สำหรบั ประชาชน - 30 -

ทศิ ทางการดำเนินงานของสำนกั งาน กศน.จงั หวดั ประจวบครี ขี นั ธ์ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ได้ประชุม บุคลากรเพื่อร่วมกันประเมินสถานการณ์ของหน่วยงาน โดยใช้การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกำหนดจุดแข็งและจุดอ่อนจากสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน รวมทั้งโอกาสและ อุปสรรคจากสภาพแวดล้อมภายนอกหน่วยงานซึ่งเป็นจุดยืนหรือจุดเริ่มต้นของการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์อันเป็นปัจจัยต่อ การส่งเสริมสนบั สนุนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ของสถานศกึ ษาในสังกัด เพื่อนำผลไปใช้ ในการกำหนด ทศิ ทางการดำเนนิ งานของหน่วยงาน ซงึ่ ได้ผลการประเมนิ สถานการณ์ของหนว่ ยงาน ดังนี้ จดุ แขง็ (Strengths) 1. บุคลากรไดร้ บั การสง่ เสริมสนบั สนุนใหพ้ ฒั นาตนเองอยา่ งต่อเน่ือง 2. บคุ ลากรมคี วามรู้ ความสามารถ ตามโครงสรา้ งของสำนักงาน กศน.จังหวดั 3. บคุ ลากรมมี นุษยสัมพันธท์ ่ีดีกับสถานศึกษาในสังกดั 4. บคุ ลากรมคี วามมุ่งมน่ั ในการปฏิบัตหิ น้าท่ี 5. การบริหารงบประมาณเป็นไปตามเปา้ หมายและมาตรการแนวทางท่ีกำหนด 6. การจดั สรรงบประมาณให้สถานศึกษาในสงั กัดอย่างเพียงพอและทว่ั ถึง 7. ส่งเสริมและสนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาในสังกดั จัดทำและพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ือง 8. อาคาร สถานท่ี พร้อมใหบ้ รกิ ารแก่ผรู้ ับบริการและผู้มาติดตอ่ 9. มีสิง่ อำนวยความสะดวกอยา่ งเพยี งพอไวใ้ ห้บรกิ ารในการดำเนินงานของสถานศึกษา เชน่ ยานพาหนะ บุคลากร 10. มกี ารกำกับตดิ ตาม และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานอย่างตอ่ เน่ือง จดุ ออ่ น (Weaknesses) 1. สำนักงาน กศน.จังหวัด ขาดขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในการปฏิบตั ิหน้าท่ีทำให้การ บรหิ ารงานของหนว่ ยงานไม่ตอ่ เนื่อง 2. ระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศกึ ษาสงั กดั สำนักงาน กศน.จังหวดั ประจวบคีรขี ันธข์ าด ประสิทธิภาพ เนือ่ งจากสถานศึกษาส่วนหนึ่งยังไม่นำผลการประกันคณุ ภาพมาเป็นแนวทางการพฒั นา 3. โครงสรา้ งของสถานศกึ ษายงั ขาดขา้ ราชการในการปฏบิ ัตงิ านในพน้ื ที่ เช่น ข้าราชการครแู ละ บุคลากรทางการศึกษา 4. อาคารสถานทข่ี องสถานศึกษาในสังกัดมีสภาพชำรดุ ทรุดโทรม เชน่ หอ้ งสมดุ ประชาชน กศน. อำเภอ เปน็ ต้น 5. ได้รบั การจดั สรรงบประมาณไมเ่ พยี งพอในการปรบั ปรงุ ซ่อมแซมอาคารสถานทขี่ องสถานศกึ ษาใน สังกดั และหน่วยงาน - 31 -

โอกาส (Opportunities) 1. มยี ทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) และแผนการศึกษาแห่งชาติ 20 ปี เปน็ แผนแม่บทที่ เป็นตน้ แบบในการดำเนนิ งาน 2. นโยบายและจดุ เนน้ การดำเนนิ งานของสำนักงาน กศน. มคี วามชัดเจนสามารถนำไปสกู่ ารปฏบิ ัตไิ ด้ 3. พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และนโยบายของรฐั บาลให้ความสำคญั กบั การศึกษา ซงึ่ เออื้ ตอ่ การพัฒนาการบรหิ ารจดั การศึกษามากขน้ึ 4. จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์มพี ืน้ ทต่ี ิดชายแดนทงั้ 8 อำเภอ และเปน็ จังหวดั เดียวใน 27 จงั หวัดท่ีมีพ้ืนท่ี ตดิ ชายแดน 5. มีแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น/แหล่งประวัติศาสตร์จำนวนมาก ที่สามารถใช้ประโยชน์เพื่อการ จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 6. ภาคีเครือข่ายให้การสนับสนุนในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เช่น บนั ทกึ ข้อตกลงความร่วมมอื (MOU) 7. การกระจายอำนาจให้กบั สถานศึกษาบรหิ ารจัดการได้ เชน่ การจดั ซ้ือจดั จา้ ง 8. ความกา้ วหนา้ ของสอ่ื เทคโนโลยี ช่วยให้คร/ู อาจารย์ ผ้เู รยี นและประชาชนสามารถใชเ้ ปน็ เคร่อื งมอื ในการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเองได้อย่างกว้างขวาง 9. มกี ารบริหารจดั การด้านสิ่งแวดล้อมทเ่ี ป็นรูปธรรม เช่น กศน.ไรถ้ ัง อปุ สรรค (Threats) 1. สถานศกึ ษาบางแหง่ มรี ะยะทางไกล ทำใหก้ ารติดตอ่ ประสานงานในภารกิจเร่งดว่ นเกิดความล่าชา้ 2. คณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) มีหนังสือจำแนกประเภทวัสดุสำนักงาน และยกเลิกการ จัดซือ้ ครภุ ัณฑ์ตำ่ กวา่ เกณฑ์ ทำให้ไมเ่ อ้อื ตอ่ การดำเนินงาน 3. การกำหนดแนวทางในการดำเนินงานตามนโยบายมีความลา่ ชา้ ทำใหไ้ มส่ ามารถปฏบิ ัติงานไดต้ าม กำหนดเวลา 4. สถานศึกษาบางแหง่ เกดิ อุทกภยั ทำให้อาคารสถานที่ได้รบั ความเสียหายและส่งผลเสียตอ่ ทาง ราชการ จากผลการประเมนิ สถานการณ์ของสำนักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ของหน่วยงาน ดังกล่าวข้างต้น สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สามารถนำมากำหนดทิศทางการดำเนินงานของหน่วยงาน ได้แก่ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ ตวั ชี้วัดความสำเร็จ และกลยทุ ธ์ ดังน้ี - 32 -

ปรชั ญา “ปรชั ญาคิดเป็น และ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง” วสิ ยั ทัศน์ “มุ่งสร้างโอกาสการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างมีคุณภาพ เท่าเทียมทุกช่วงวัย ภายใตห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และมที ักษะทีจ่ ำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21” พันธกิจ 1. ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาครู บุคลากรทุกตำแหน่งให้มีความรู้ มีทักษะในการจัดกระบวนการ จดั การเรียนรู้ การจดั การเรยี นการสอน และการปฏิบตั หิ นา้ ทใี่ หม้ ีประสทิ ธิภาพ 2. ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพและการ เรียนร้ตู ลอดชีวิตภายใต้หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมที กั ษะทจ่ี ำเป็นในโลกศตวรรษท่ี 21 3. สง่ เสรมิ สนับสนุน ใหส้ ถานศึกษาจัดทำหลักสตู ร รปู แบบการจัดการเรียนรู้ ส่ือและนวัตกรรม การ วจิ ยั การวดั ผลและประเมินผล ให้สอดคล้องกบั บริบทในพื้นที่ 4. สง่ เสรมิ สนบั สนุน ให้สถานศึกษานำเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัด การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 5. ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจัดส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศัย 6. พฒั นาระบบการบรหิ ารจดั การ เพื่อส่งเสรมิ การจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ตามหลักธรรมาภิบาล เป้าประสงคแ์ ละตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ เปา้ ประสงค์ ตวั ชว้ี ดั ความสำเรจ็ 1. ครู และบคุ ลากรมีความรู้ มที ักษะในการจดั 1. รอ้ ยละของครู และบคุ ลากรมีความรู้ มีทักษะใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน การจัดกระบวนการจดั การเรียนรู้ การจดั การเรียน และการปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ไี ด้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ การสอน และการปฏบิ ัตหิ น้าท่ีได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ 2. จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม 2. รอ้ ยละของประชาชนจดั การศกึ ษานอกระบบและ อัธยาศัยท่มี ีคุณภาพและการเรยี นรตู้ ลอดชีวิตภายใต้ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยท่ีมีคุณภาพและการเรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และมีทักษะท่ี ตลอดชีวติ ภายใตห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง จำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21 และมีทักษะท่ีจำเปน็ ในโลกศตวรรษที่ 21 3. หนว่ ยงานและสถานศึกษาจดั ทำหลกั สูตร 3. รอ้ ยละของสถานศึกษามีหลักสูตร รปู แบบการ รูปแบบการจดั การเรยี นรู้ สอื่ และนวตั กรรม การ จัดการเรยี นรู้ สอ่ื และนวัตกรรม การวจิ ยั การวดั ผล วิจยั การวดั ผลและประเมนิ ผล ให้สอดคล้องกบั และประเมนิ ผล ให้สอดคล้องกับบรบิ ทในแตล่ ะพ้นื ที่ - 33 -

บริบทในแตล่ ะพื้นท่ี เพ่ือสรา้ งความม่ันคง ม่งั คั่งของ ประชาชน 4. สง่ เสรมิ สนบั สนุนสถานศึกษานำเทคโนโลยี 4. รอ้ ยละของสถานศึกษาและประชาชนนำ ทางการศกึ ษาและเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั มาใช้ในการจัด เทคโนโลยที างการศึกษา และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลมาใช้ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั ได้ ในการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และสง่ เสริมใหป้ ระชาชนใช้ อธั ยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธิภาพ เทคโนโลยดี ิจิทลั 5. ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายจดั ส่งเสรมิ 5. รอ้ ยละของภาคีเครือข่ายมีสว่ นร่วมในการจัด และสนับสนนุ การจดั การศกึ ษานอกระบบและ ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศยั และการศึกษาตามอัธยาศัย 6. มีระบบการบรหิ ารจดั การ เพอื่ ส่งเสริมการจดั 6. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษามรี ะบบการ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหม้ ี บรหิ ารจดั การ เพื่อสง่ เสริมการจดั การศกึ ษานอก ประสิทธภิ าพ ตามหลกั ธรรมาภบิ าล ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ ตามหลักธรรมาภบิ าล กลยทุ ธ์ 1. พฒั นากระบวนการเรียนการสอนท่มี ีคุณภาพและจดั กจิ กรรมเสริมทักษะพฒั นาผเู้ รยี นในรูปแบบ ท่หี ลากหลายเสรมิ สร้างความมั่นคงของสถาบันหลกั และมีความสามารถในการแข่งขนั 2. พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ มีทักษะในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ และการปฏิบัติหน้าที่ได้ อย่างมปี ระสิทธิภาพ 3. พฒั นาและนำระบบเครอื ข่ายเทคโนโลยดี จิ ทิ ลั เพือ่ การศึกษาและการบรหิ ารจดั การทที่ นั สมยั 4. สร้างโอกาสทางการศกึ ษาให้กบั ประชาชนเกิดการเรยี นรู้ตลอดชีวติ ภายใตห้ ลกั ปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง 5. ประสานความร่วมมือกบั ภาคเี ครือขา่ ยจัดสง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การจดั การศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 6. พัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การใหม้ ปี ระสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภิบาล 3. เป้าหมายหลกั ของการบรหิ ารและจดั การศึกษาของหนว่ ยงาน 1. กลุม่ เป้าหมายมีความรู้พนื้ ฐาน เพอื่ การศกึ ษาต่อ พัฒนาอาชพี พฒั นาคุณภาพชีวิต 2. กลมุ่ เป้าหมายมที กั ษะกระบวนการคิด ทักษะการแสวงหาความรู้ เรียนรอู้ ยา่ งต่อเน่ือง และสามารถ นำไปประยุกต์ใชใ้ นการดำรงชวี ิต - 34 -

3. กลุ่มเป้าหมายมีสมรรถนะและทักษะในการดำรงชีวิตที่เหมาะสมกับช่วงวัย สอดคล้องกับหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และพรอ้ มรับการเปล่ยี นแปลงของโลกในศตวรรษท่ี 21 4. กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถนำความรู้ไปใช้ในการลดรายจ่าย หรือเพิ่มรายได้ หรือประกอบอาชีพ หรือพัฒนาต่อยอดอาชีพ หรือ เพ่มิ มลู คา่ ของสนิ ค้าหรอื บรกิ าร 5. กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ในการใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม และสามารถ นำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาและพัฒนาการดำรงชีวิต หรือการประกอบอาชีพได้ 6. ภาคีเครือข่าย ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม สนับสนุนการจัดกิจกรรมการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อย่างต่อเน่ือง 7. ระบบบรหิ ารจดั การมปี ระสิทธิภาพเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล กลยทุ ธ์ กลยทุ ธ์ท่ี 1 การพฒั นาคุณภาพบุคลากร กลยทุ ธ์ท่ี 2 การพฒั นาระบบการบรหิ ารจัดการ กลยทุ ธท์ ่ี 3 ส่งเสริมและสนับสนนุ ระบบการประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา กลยุทธท์ ่ี 4 ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบนเิ ทศตดิ ตามและประเมนิ ผล - 35 -

การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ ม กศน.ตำบลบางสะพาน (SWOT Analysis) 1. การวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน 1.1 จดุ แขง็ ของ กศน.ตำบล (Strength - S) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานท่ี ส่อื วัสดุอุปกรณ์ และด้านโครงสรา้ งองคก์ ร/การบริหารจัดการ คา่ นิยมองคก์ ร 1. มีองคก์ รนกั ศกึ ษาให้ความร่วมมอื ในการจัดกิจกรรม 2. มีคณะกรรมการ กศน.ตำบล ให้ความร่วมมือในการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 3. มภี าคเี ครือขา่ ย กศน.ตำบล ให้ความรว่ มมอื ในการส่งเสริมสนบั สนนุ การจัดการศึกษานอก ระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั เชน่ อบต.ปากแพรก สาธารณสขุ อำเภอ เป็นตน้ 4. ประชาชนในพืน้ ทใี่ ห้ความร่วมมือในการจดั กิจกรรมตา่ งๆ เป็นอยา่ งดี 5. เป็น กศน.ตำบล ทไ่ี ด้รับความเชือ่ ถือจากองคก์ รตา่ งๆ ในชมุ ชน 6. มกี ารจัดกิจกรรมทหี่ ลากหลายตรงตอ่ ความตอ้ งการของกลุม่ เปา้ หมาย 7. มคี รู กศน.ตำบลอย่ปู ระจำและปฏบิ ัตงิ านอยา่ งต่อเนื่อง 8. มีคอมพวิ เตอรแ์ ละสญั ญาณอินเตอรเ์ น็ต พร้อมใหบ้ รกิ าร 9. มรี ะบบเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาทหี่ ลากหลาย เช่น เว็บไซต์ กศน.ตำบล ระบบ บริหารจัดการฐานขอ้ มลู กศน.ตำบล (DMIS) เปน็ ต้น 10. มีคู่มือและแนวทางการปฏิบัติงานของ กศน.ตำบล เช่นคู่มือการวางแผนจุลภาค คู่มือ จดั การศกึ ษาต่อเนื่อง คู่มอื การจดั อบรมประชาชน แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี และแผนพฒั นาการศกึ ษา เป็นตน้ 11. มีศูนย์ 4 ศูนย์ ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและทฤษฎีใหม่ ศูนย์ส่งเสริมพัฒนา ประชาธิปไตยตำบล (ศส.ปชต.) ศูนย์ดิจทิ ัลชมุ ชน และศูนย์การศึกษาตลอดชวี ิตชุมชน 12. ครู กศน.ตำบลมีใบประกอบวชิ าชพี ครู 13. ครู กศน.ไดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 14. มีแผนพัฒนาการศึกษา กศน.ตำบล ระยะ 3 ปี (พ.ศ.2560-พ.ศ.2562) 1.2 จุดอ่อนของ กศน.ตำบล (Weakness - W) ด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล คณะกรรมการ กศน.ตำบล) ด้านงบประมาณ ด้านอาคาร สถานท่ี สอื่ วสั ดุอุปกรณ์ และดา้ นโครงสร้างองคก์ ร/การบรหิ ารจัดการ ค่านิยมองคก์ ร 1. ครสู อนในรายวชิ าท่ไี ม่ตรงกับสาขา หรือวิชาท่ีถนดั - 36 -

2. วัสดุ อปุ กรณ์ใน กศน.ตำบล ยังไม่เพยี งพอในการให้บรกิ ารแก่นักศึกษาและประชาชน 3. ครูมภี าระงานหลายดา้ น ส่งผลต่อคณุ ภาพการจดั การเรยี นการสอนการศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน 4. นักศึกษามีความรู้พื้นฐานไม่เท่ากันทำให้การจัดการเรียนการสอนยากลำบากโดยเฉพาะ ในรายวิชาบงั คับ ไดแ้ ก่ วิชาภาษาอังกฤษ วชิ าคณิตศาสตร์ วชิ าวิทยาศาสตร์ 5. นักศึกษาบางคนไม่สามารถมาพบกลุ่มได้ เนื่องจากติดภารกิจในการทำงาน และงาน กิจกรรมในชมุ ชน 6. ขาดงบประมาณในการปรบั ปรงุ พัฒนา กศน.ตำบล ให้คงทนถาวร และทันสมัย 2. การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก 2.1 โอกาส (Opportunity - O) ดา้ นนโยบาย กฎหมายท่ีเกย่ี วข้อง ด้านความปลอดภยั ในพ้ืนที่ ดา้ นสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกจิ ดา้ นเทคโนโลยี/การคมนาคม ติดต่อสอ่ื สาร และด้านส่ิงแวดล้อม 1. มภี าคีเครือข่ายและหน่วยงานภาครัฐท่ีใหค้ วามร่วมมอื สนบั สนนุ การบริการประชาชนใน พน้ื ทจี่ ัดกิจกรรม เช่น สถานท่ี วทิ ยากร แหลง่ เรียนรู้ เปน็ ตน้ 2. ไดร้ ับงบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี จากหน่วยงาน ตน้ สังกัด 3. นโยบายขยายโอกาสทางการศึกษาของรฐั บาล เชน่ เรยี นฟรี 15 ปี เป็นต้น 4. ความก้าวหน้าของสอื่ เทคโนโลยี ชว่ ยใหค้ รู ผู้เรียน และประชาชนสามารถใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือ ในการแสวงหาความรูด้ ้วยตนเองได้อยา่ งกวา้ งขวาง 5. มีแหล่งเรยี นรู้ทางภูมิปัญญาทหี่ ลากหลายกระจายอยู่ในพื้นที่ เช่น กลมุ่ รอ้ ยพนั มะพร้าว ไทย กล่มุ การทำผ้าบาตกิ 6. มหี ม่บู า้ นทไี่ ด้รับรางวลั อนั ดบั 1 ในการประกวดหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั จงั หวัด 7. มกี ารประชมุ ประชาคมหมู่บา้ น 2.2 อปุ สรรค/ความเส่ียง (Threats - T) ด้านนโยบาย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ด้านความปลอดภัยในพื้นที่ ด้านสังคม-วัฒนธรรม ด้าน เศรษฐกจิ ด้านเทคโนโลย/ี การคมนาคม ตดิ ต่อสอ่ื สาร และด้านสงิ่ แวดลอ้ ม 1. นโยบายการจดั การศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ. 2551 ให้ใช้หลักสูตร แกนกลางในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ หลักสูตร กศน.51 ซึ่งมีเนื้อหา คอ่ นข้างหลากหลาย ยากต่อการเรยี นร้สู ำหรบั กลุ่มเปา้ หมายท่มี ีวยั และพ้นื ฐานความร้ทู แี่ ตกต่างกนั - 37 -

2. เทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยมากเกินไปส่งผลให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายบางกลุ่มขาด ความตระหนักรู้และให้ความสำคัญในการบริโภคข้อมูลความบันเทิงมากกว่าการศึกษาหาคว ามรู้ด้านวิชาการ เพ่ือการศึกษา การอาชีพ หรือการพัฒนาคุณภาพชีวติ 3. สภาวะทางเศรษฐกจิ ทำใหพ้ ชื ผลทางการเกษตรตกตำ่ สง่ ผลให้กลุ่มเปา้ หมายต้องทำงาน หนกั ขึ้นเพอ่ื เล้ยี งชีพ - 38 -

มาตรฐาน กศน. ตำบล ปี 2565 สงั กดั สำนักงาน กศน. ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้มีการจัดตั้ง กศน. ตำบล/แขวง ขึ้นในปี พ.ศ. 2553 และได้ ออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วย กศน. ตำบล/ แขวง :แหล่งเรียนรู้ราคาถูก พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2553 เพื่อเป็น ศูนย์กลางการเรียนรู้ตลอดชีวิดของประชาชนในชุมชน โดยเน้นการมีส่วนร่วม การ จัดการศึกษาของชุมชนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ประชาชนได้รับ การศึกษาตลอดชีวิตอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 สำนักงาน กศน. ได้จัดทำ “มาตรฐาน กศน. ตำบล ปี 2554” เพื่อใช้ เป็นแนวทางในการพัฒนา กศน. ตำบล/แขวง ตามสภาพบริบท ระดับพื้นท่ี ในปี พ.ศ. 2565 สำนักงาน กศน. ได้ปรับมาตรฐาน กศน. ตำบล/แขวง เพื่อให้สอดรับกับการ พฒั นาตามแผนยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์ ข้อที่ 2 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต ที่มุ่งเน้นและนำประเทศไทยเข้าสู่สังคม ที่มี ความมนั่ คง มั่งคัง่ และยั่งยนื เพอื่ ใหป้ ระชาชนทุกชว่ งวยั มโี อกาสไดร้ ับ การศกึ ษาตลอดชีวิต ให้มีความรู้ ทักษะ และประสบการณ์อย่างเพียงพอตอ่ การดำรงชีวิต เป็นพลเมืองดี รู้เท่าทันและปรบั ตัวเข้ากับสิง่ แวดล้อม สังคม ที่เปลี่ยนไปได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งการพัฒนาทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 เพื่อเข้าสู่ประเทศไทย 4.0 ทั้งนี้ สำนักงาน กศน. ได้ดำเนินการขับเคลื่อนการจัดการศึกษา โดยใช้กศน. ตำบล/แขวง เป็นกลไกการ ขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ในระดับตำบล ที่ทำหน้าที่ให้บริการการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ภายในชุมชน ซึ่งมีความจำเป็นต้องได้รับการ พัฒนาทั้งทางด้านบุคลากร (ครู กศน.ตำบล) ในการเป็นผู้จัดการศึกษาการเรียนรู้ การพัฒนาการจัดกิจกรรม ในรูปแบบที่หลากหลายตรงกับความต้องการของชุมชน เพื่อยกระดับคุณภาพ ให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิง สร้างสรรค์และมีชีวิต เอื้อต่อการศึกษาและการเรียนรู้ ตลอดชีวิตของประชาชน ดังนั้น สำนักงาน กศน. จึง ปรบั มาตรฐานดังกลา่ ว ประกอบดว้ ย 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการบริหารจดั การ ดา้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดา้ น การมีส่วนร่วม และด้านการติดตามผล ประเมินผลและรายงานผล เพื่อให้ครู กศน.ตำบล และ ผู้เกี่ยวข้อง มี แนวทางในการพัฒนา กศน. ตำบล/แขวง ต่อไป - 39 -

มาตรฐาน กศน. ตำบล ประกอบดว้ ย 4 ด้าน คือ มาตรฐานที่ 1 ดา้ นการบริหารจดั การ มาตรฐานท่ี 2 ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 ด้านการมีส่วนร่วม มาตรฐานที่ 4 ด้านการติดตามผล ประเมินผลและรายงานผลมีรายละเอียดตัวบ่งชี้แต่ละมาตรฐาน ดงั นี้ มาตรฐานท่ี1 ด้านการบริหารจดั การ มี 5 ตวั บ่งช้ี ได้แก่ 1.1 อาคาร สภาพเหมาะสม ม่นั คง แข็งแรง ปลอดภยั และมีสภาพแวดล้อมทเี่ ออื้ ต่อการจัดการเรยี นรู้ 1.2 สือ่ อปุ กรณ์ ครภุ ณั ฑ์ และส่งิ อำนวยความสะดวกในการจัดการ เรียนรู้ 1.3 การบรหิ ารงบประมาณ 1.4 บคุ ลากรปฏิบัตงิ านครอบคลุมตามภารกจิ ทีก่ ำหนด 1.5 การสร้างและนำนวตั กรรมและหรือเทคโนโลยีมาประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ - 40 -

สว่ นท่ี 4 รายละเอยี ดแผนงาน/โครงการ ประกอบดว้ ย 4.1 บัญชีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม 4.2 ตารางวิเคราะหค์ วามสอดคลอ้ งของแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 4.3 แผนการใช้จ่ายงบประมาณตามแผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 4.4 โครงการตามแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 41 -

4.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผน กศน.ตำบลบางสะพาน อำเภอบางส ลำดบั ชอ่ื งาน/โครงการ/กจิ กรรม เป้าห (คน/ 1 การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน โครงการจดั การศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 8 2 การศึกษาตอ่ เนอ่ื ง 15 โครงการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ 15 - หลักสตู รสขุ ภาพจิตดี ชวี ีมีสขุ - หลกั สูตรการใช้แอพพลเิ คช่ันของหน่วยงานรฐั 15 โครงการจดั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน 15 - หลกั สูตรพฒั นาแหล่งเรยี นรู้ - หลักสูตรการเรียนรูพ้ ่ึงตนเองในชุมชน 15 โครงการจดั การเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 15 - หลกั สตู รปลูกผกั เกษตรอนิ ทรีย์ - หลักสูตรปลกู ผักสวนครวั โครงการจดั การศึกษาเพอ่ื ชมุ ชนในเขตภเู ขา (ศศช.)

นปฏบิ ตั กิ ารประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 สะพานนอ้ ย จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ หมาย พื้นที่ดำเนินการ งบประมาณ ห้วงระยะเวลา หมายเหตุ (บาท) ดำเนนิ งาน /แห่ง) หมูท่ ี่ ช่ือบา้ น 80 ต.ค.64 - ก.ย.65 หมู่9 บ้านหนองคล้า 690 ก.พ.65 หมู่9 บ้านหนองคลา้ 690 ก.ค.65 หม่9ู บ้านหนองคล้า 1,600 ธ.ค.65 หม่9ู บ้านหนองคล้า 1,600 พ.ค.65 หมู่6 บ้านดอนตะเคียน 1,600 ม.ค.64 หมู่9 บา้ นหนองคลา้ 1,600 มิ.ย.64 - 42 -

4.1 บญั ชแี ผนงาน/โครงการ/กจิ กรรมตามแผ กศน.ตำบลบางสะพาน อำเภอบางส ลำดับ ชอ่ื งาน/โครงการ/กิจกรรม เปา้ ห (คน/ 3 การศึกษาตามอธั ยาศัย โครงการจัดสร้างแหลง่ เรยี นรู้ชุมชนในตำบล (จดั ซอ้ื หนังสือพิมพ์/ส่อื จดั กิจกรรม สาธารณูปโภค สำหรับ กศน.ตำบล) โครงการสง่ เสริมการอา่ น 3 - กิจกรรมสง่ เสริมบ้านหนังสอื ชุมชน 100 - กิจกรรมหน่วยบรกิ ารเคล่ือนที่(รถโมบาย) 50 - กจิ กรรมอาสาสมัครสง่ เสรมิ การอ่าน 100 - กจิ กรรมห้องสมุดเคล่ือนทสี่ ำหรบั ชาวตลาดฯ 50 4 โครงการ/กจิ กรรมสำคญั ตามแผนงาน (พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี) โครงการศนู ย์ฝึกอาชพี ชมุ ชน กลุ่มสนใจ (ไม่เกนิ 30 ชม.) 14 -หลักสตู รธรุ กิจอาหารไทยเพอ่ื สุขภาพ (16 ชม) 6 -หลักสตู รทำไม้กวาดทางมะพรา้ วเพ่ือการค้า (25 ชม) 8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook