Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

แผนการบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

Published by zeenate7, 2021-07-06 18:01:09

Description: แผนการบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา จัดทำขึ้นภายใต้มติ ก.ร. ที่ได้เห็นชอบให้มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๔

Search

Read the Text Version

แผนการบรหิ ารความเส่ียงด้านความโปรง่ ใส ของสำนกั งานประธานวฒุ สิ ภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานประธานวฒุ สิ ภา



แผนการบริหารความเส่ียงด้านความโปรง่ ใส ของสำนักงานประธานวุฒิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖4 สำนกั งานประธานวุฒสิ ภา



ก คำนำ ปัญหาการทุจริตเป็นปัญหาที่มีผลกระทบต่อประเทศอย่างมากในหลายๆด้าน ทั้งในด้าน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ด้านการพัฒนาสังคม ด้านเสถียรภาพทางการเมือง และตลอดจน ด้านความมั่นคงของประเทศ ซึ่งเหตุการณ์ความเสี่ยงด้านการทุจริตหากเกิดแล้วจะมีผลกระทบทางลบ โดยส่วนใหญ่จะเกิดจากสาเหตุต่างๆ ที่ค้นหาต้นตอที่แท้จริงได้ยาก โดยเฉพาะการแสวงหาประโยชน์ ส่วนบุคคลโดยการละเมิดต่อกฎหมายหรือจริยธรรมด้วยการใช้อำนาจในตำแหน่งหน้าที่ไปแทรกแซง การใช้ดุลยพินิจในกระบว นการตัดสินใจหรือการปฏิบัติหน้าที่ใน ตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ของรัฐ ที่รับผิดชอบ ให้เป็นไปเพื่อประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้อง ส่งผลกระทบต่อประโยชน์สว่ นรวมสาธารณะ ก่อให้เกดิ ความเสียหายต่อภารกิจ ภาครัฐ การให้บรกิ ารประชาชน และประเทศชาติ ภายใต้แผนปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 – 2565) ประเด็นปฏิรูปที่ 2 ด้านการป้องปราม ได้กำหนดให้ ศูนย์ปฏิบัติการต่อต้าน การทุจริต (ศปท.) ดำเนินการวางระบบการประเมินความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการ เป็นประจำทุกปี และรายงานผลการปฏิบัติต่อผู้บังคับบัญชาหรือตามระยะเวลาที่กำหนด รวมทั้งการ ประเมินคุณธรรมและ ความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ กำหนดดัชนีที่ 10 การป้องกันการทุจริต การประเมินความเสี่ยงของการดำเนินงานท่ีอาจก่อใหเ้ กิดการทุจริตและการดำเนินการเพื่อจัดการความ เสี่ยงการทุจริต โดยมีการกำหนดเป็น มาตรการป้องกันการรับสินบน มาตรการป้องกันการขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม ทั้งนี้ ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วย การป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทุจริต (Zero Tolerance and Clean Thailand)” ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) สำนักงานประธานวุฒสิ ภา ได้ตระหนักถงึ ความสำคญั ของการบรหิ ารความเสยี่ งดา้ นความโปร่งใส จึงได้ดำเนินการวางระบบการประเมินความเสี่ยงด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ภายใต้ โครงการการป้องกันการทุจริตเชิงรุก เพื่อให้บุคคลากรในสังกัดได้เรียนรู้แนวคิดสมัยใหม่ด้านการบริหาร ความเสี่ยงตามกรอบมาตรฐานสากล และกรอบแนวคิดของการค้นหา ระบุ วิเคราะห์ และประเมินความ เสี่ยงในภาระงาน แนวทางการควบคุมและจัดการความเสี่ยงที่ทันสมัย ให้เกิดประสิทธิภาพในการกำกับ ดูแลที่ดี สรา้ งมลู ค่าเพ่ิม และสอดรบั กับยุทธศาสตร์สำนกั งานเลขาธิการวุฒสิ ภา สำนักงานประธานวุฒิสภา



ข สารบัญ หนา้ คำนำ .................................................................................................................................... ก สารบญั ................................................................................................................................. ข บทที่ 1 บทนำ...................................................................................................................... ๓ 1.1วตั ถุประสงค์..................................................................................................... ๕ 1.2 ประโยชน์ในการจัดทำแผนบริหารความเส่ียง................................................... ๕ 1.3ขอบเขตของการประเมนิ ความเส่ยี ง................................................................. ๕ 1.4การดำเนินการเกี่ยวกบั เอกสารลบั ................................................................... ๖ บทที่ 2 กระบวนการบรหิ ารความเสีย่ ง .............................................................................. ๘ 2.1ความหมายของการบรหิ ารความเสี่ยง.............................................................. ๘ 2.๒กระบวนการบรหิ ารความเสย่ี งดา้ นความโปร่งใส ............................................. ๙ 2.๓การระบุความเสยี่ งและปจั จัยเสยี่ ง ................................................................... ๑๐ ๒.๔หลกั ธรรมาภิบาล.............................................................................................. ๑๑ บทที่ ๓ การวิเคราะหค์ วามเสย่ี ง......................................................................................... ๑๓ ๓.1องคป์ ระกอบท่ที ำให้เกิดการทุจริต................................................................... ๑๓ ๓.๒ประเภทความเสยี่ งการทจุ ริต ........................................................................... ๑๓ ๓.๓ การเฝ้าระวงั และตรวจสอบการทจุ ริตภายในกิจการ/องค์กร ตามหลกั การ /แนวคดิ COSO............................................................................................... ๑๔ ๓.๔สถานะความเส่ยี งสามารถระบุออกได้ตามสีไฟจราจร ...................................... ๑๔ ๓.๕การประเมินการควบคมุ ความเสี่ยง (Risk – Control Matrix Assessment).. ๒๑ บทที่ ๔ แผนบรหิ ารความเส่ียงดา้ นความโปร่งใส่ .............................................................. ๒๓ บทที่ ๕ การติดตามประเมินผลการบรหิ ารความเสยี่ งดา้ นความโปร่งใส .......................... ๒๗



บทท่ี ๑ บทนำ แผนการบริหารความเสีย่ งด้านความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวุฒิสภา จัดทำขึน้ ภายใต้มติ ก.ร. ที่ได้เห็นชอบให้มีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ทั้งนี้ อ.ก.ร. ประเมินประสิทธิภาพประสิทธิผลของงานราชการของรัฐสภา ได้เห็นชอบกรอบ ตัวชี้วัด ผู้รับผิดชอบโครงการประเมินผลการปฏิบัติราชการสังกัดรัฐสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ตามที่คณะกรรมการพิจารณากำหนดกรอบตัวชี้วัดฯ เสนอ โดยมีตัวชี้วัดที่ ๒ ร้อยละความสำเร็จของการ ส่งเสริม สนับสนุน การดำเนินการด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ซึ่งเป็น ตัวชี้วัดที่ดำเนินการต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๖ จนถึงปัจจุบัน ประกอบกับการวางระบบการประเมิน ความเสี่ยงต่อการทุจริตประพฤติมิชอบในส่วนราชการองค์กรภาครัฐ ถือเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการ ตรวจสอบความถูกต้อง และช่วยป้องกนั ไม่ให้เกิดการทจุ ริต รวมทั้งนำไปสู่การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและ กันทั้งระหว่างผู้ปฏิบัติร่วมกันในองค์กรเดียวกัน และ ระหว่างประชาชนต่อรัฐไปจนถึงระหว่างคนในชาติ ดว้ ยกนั ดังนั้น ทุกองค์กรไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนควรปรับปรุงกลไกการทำงานให้มี ความโปร่งใส มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย เพื่อประชาชนจะได้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก และช่วยตรวจสอบความถูกต้องในการทำงานได้ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 3/1 และ 71/10 (5) ได้นำไปสู่การ ออกพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑแ์ ละวิธีการบริหารกิจการบ้านเมอื งท่ดี ี พ.ศ. 2546 ซ่ึงระบุไว้อย่าง ชัดเจนในมาตรา 6 ที่มีใจความสำคัญว่าการบริหารราชการแผ่นดินนั้นจะต้องก่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า ลดขั้นตอนที่ไม่จำเป็น และบริการตลอดจนอำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน ซึ่งการอำนวย ความสะดวกนี้รวมถึงมาตรา 43 ที่ระบุว่า \"การปฏิบัติราชการในเรื่องใดๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่อง เปิดเผย เว้นแต่กรณีมีความจำเป็นอย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั่นคงของประเทศ ความ มน่ั คงทางเศรษฐกิจ การรักษาความสงบเรียบรอ้ ยของประชาชน หรอื การคุ้มครองสทิ ธิส่วนบุคคล จึงให้ กำหนดเปน็ ความลับไดเ้ ทา่ ทจ่ี ำเปน็ \" จะเห็นได้ว่ากฎหมายฉบับดังกล่าวของไทยนั้น ระบุถึงหลักการความโปร่งใสทางการเมืองอย่างชัดเจน เช่นเดียวกันกับที่เกิดขึ้นกับระบบการเมืองการปกครองของโลกตะวันตก แต่จะสังเกตได้ว่าประเทศไทยเอง ก็เป็นเช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ที่ยังคงมีการสงวนรักษาพื้นที่ที่เรียกว่า \"ความลับของทางการ\" อยู่ด้วย เช่นกัน แตกต่างก็ตรงที่ พื้นที่ตรงจุดนี้ของไทยนั้นยังไม่ได้รับการทำให้เป็นสมัยใหม่ (modernize) โดยการ จัดระบบ และทำให้เกิดความชัดเจนให้เกิดขึ้นในบริเวณที่เป็นพื้นที่สีเทานี้ด้วยการตรากฎหมายเฉพาะ ดังเชน่ ท่ีเกิดขึ้นในอนิ เดีย สหรฐั อเมรกิ า และอกี หลายๆ ประเทศ

๔ ประเทศไทยในปัจจุบันจึงยังคงมีช่องโหว่ของกระบวนการตรวจสอบ ทำให้เกิดความทุจริต ในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐ ทั้งกระบวนการออกนโยบายสาธารณะ และการแต่งตั้งโยกย้าย ข้าราชการประจำ และข้าราชการทางการเมือง ซึ่งในหลายกรณีมักเกิดขึ้นผ่านข้ออ้างของนักการเมือง และ ข้าราชการดังที่ระบุในตัวบทกฎหมายว่า เป็นเรื่องของความมั่นคง และความสงบเรียบร้อย ซึ่งไม่อาจมีใคร สามารถพิสูจน์ หรือ รับรู้ความเป็นจริงดังกล่าวนั้นได้เลยนอกเสียจากตัวรัฐบาล ดังนั้น ก้าวต่อไปของ กระบวนการสร้างความโปร่งใสของรัฐบาลไทย จึงอยู่ที่การยอมเปิดเผยพื้นที่สีเทานี้ให้ชัดเจนมากขึ้น ไม่ว่า จะด้วยการออกกฎหมาย หรือ การกำหนดกลไกการตรวจสอบจากองค์กรอิสระต่างๆ จึงจะทำให้ประเทศ ไทยสามารถบรรลุเจตนารมณ์ของแนวคิดเรือ่ งความโปรง่ ใสทางการเมืองได้อยา่ งแท้จริง ปัจจุบันประเทศไทยมีพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ที่ได้กำหนดให้ หน่วยงานของรัฐเปิดเผยข้อมูลข่าวสารของทางราชการให้แก่ประชาชนทั่วไป โดยกำหนดวิธีการเปิดเผย ข้อมูลไว้ 3 วิธี ได้แก่ การพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา 7) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) การจัดหาให้เอกชนเป็นการเฉพาะราย (มาตรา 11) และยังมีองค์กรเพื่อความโปร่งใสเป็นของเราเอง ซึ่งมี หลักการทำงาน และกุศโลบายที่ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาวางแผนและเริ่มดำเนินการเมื่อ ก.ร. ได้มีมติ เห็นชอบมาตรฐานความโปร่งใสและแนวทางการดำเนินงานตามมาตรฐานความโปร่งใสของส่วนราชการ สังกัดรัฐสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๘ แล้ว ส่วนราชการสังกัดรัฐสภาจะตั้ งคณะกรรมการ/ คณะทำงานดำเนินการตามมาตรฐานความโปร่งใสของส่วนราชการสังกัดรัฐสภาซึ่งคณะกรรมการ/ คณะทำงานๆ มาจากหน่วยงานต่างๆ ภายในส่วนราชการสังกัดรัฐสภา ซึ่งจะต้องมีการนัดประชุมชี้แจง บทบาทหน้าที่และภารกิจของคณะกรมการคณะทำงานดำเนินการตามมาตรฐานความโปร่งใสฯ รวมทั้งมี การศกึ ษารายละเอียดเกณฑม์ าตรฐานความโปร่งใส เพอื่ ใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิในเวลาทร่ี วดเร็ว ดังนั้น สำนักงานประธานวุฒิสภา จึงได้จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใส โดยมีการ วิเคราะห์ความเสี่ยงและแนวทางในการป้องกันความเสี่ยงที่อาจเป็นเหตุให้เกิดการทุจริต โดยให้เป็นส่วน หนงึ่ ของการปฏบิ ตั งิ านประจำ ซ่งึ ไมใ่ ชก่ ารเพิ่มภาระงานแตอ่ ย่างใด โดยมจี ำนวนท้งั ส้นิ ๕ มติ ิ ประกอบด้วย ประกอบด้วย ๑. มิติการบริหารบุคคล อาทิ ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามระเบียบ วินัย เช่น ขาด ลา มา สาย สแกนลายนิ้วมือ ๒. มิติการบริหารจัดการโครงการ อาทิ ความซื่อตรงในการบริหารโครงการ การเบิกจ่ายงบประมาณ ๓. มิติการเบิกจ่ายเบี้ยประชุม ๔. มิติการบริหารจัดการทรัพย์สินของรัฐ อาทิ การใช้ทรัพยากรของรัฐไปในทางส่วนตน และ ๕. มิติความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการใช้ข้อมูลเพื่อประโยชน์ ส่วนตน/ประโยชน์แก่พวกพ้อง เพื่อเป็นแนวทางในบริหารจัดการความเสี่ยง 5 ของการดำเนินงานที่อาจ ก่อให้เกิดการทุจริต ซึ่งเป็นมาตรการป้องกันการทุจริตเชิงรุก และการลดการใช้ ดุลพินิจของเจ้าหน้าท่ี ผู้ปฏบิ ตั งิ านที่มีประสิทธภิ าพตอ่ ไป แผนการบริหารความเสย่ี งด้านความโปร่งใสของสำนกั งานประธานวุฒสิ ภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๕ ๑. วตั ถุประสงค์ ๑.๑ เพือ่ วเิ คราะห์ความเสยี่ งทุจริตประพฤติมิชอบ โดยวิเคราะหค์ วามเสย่ี งและแนวทางในการ ปอ้ งกันความเส่ียงทอ่ี าจเป็นเหตุใหเ้ กดิ การทจุ ริต ๑.๒ เพื่อกำหนดแนวทางในการปอ้ งกัน ควบคมุ หรอื ลดความเส่ียงการทจุ รติ ประพฤติมชิ อบ ๑.๓ เพื่อสร้างความเชื่อมั่น และแสดงเจตจำนงสุจริต เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหาร ราชการของสำนกั งานประธานวุฒิสภา ๒. ประโยชนใ์ นการจดั ทำแผนบริหารความเส่ยี ง ๒.๑ ผ้บู งั คบั บญั ชาและบุคลากรของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา มคี วามร้คู วามเขา้ ใจเก่ียวกับ หลักการและกระบวนการบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ตามแผน บรหิ ารความเสี่ยงของด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวฒุ สิ ภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๒.๒ มีเคร่อื งมือในการสอ่ื สารและสรา้ งความเข้าใจถงึ กจิ กรรมควบคุมความเสย่ี งในด้านต่างๆ ของสำนกั งานประธานวุฒิสภา พรอ้ มนำแผนไปสู่การปฏิบตั ิ อันจะช่วยลดมูลเหตุหรือโอกาสในการ เกดิ ความเส่ียงทุจรติ ประพฤตมิ ิชอบทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ กบั องคก์ รได้ รวมท้งั ยังสามารถบริหารจดั การความเสี่ยง ที่เกิดขึน้ ไดอ้ ย่างทันเวลา ๒.๓ สามารถติดตามและประเมินผลการดำเนินงานตามมาตรการ/กิจกรรมควบคุมความเสี่ยง ทุจริตประพฤตมิ ชิ อบให้เป็นไปตามเกณฑต์ วั ชี้วัดท่กี ำหนด และนำผลท่ีไดจ้ ากการติดตามมาเปน็ ขอ้ มลู ประกอบการจัดทำแผนฯ ในปถี ดั ไป ๒.๔ บุคลากรของสำนักงานประธานวฒุ ิสภา มีการสรา้ งวัฒนธรรมการบรหิ ารความเสี่ยงทุจริต ประพฤติมิชอบ โดยนำแนวทางการบรหิ ารจดั การไปประยกุ ต์ใชก้ ับการปฏบิ ตั งิ าน อันสง่ ผลใหก้ าร ปฏิบตั ิงานมีประสิทธภิ าพและมีประสิทธผิ ล ๒.๕ สำนักงานประธานวุฒิสภา มขี ดี ความสามารถและมาตรฐานการดำเนนิ งานตามนโนบาย การดำเนนิ งานทส่ี ำนักงานเลขาธิการวฒุ สิ ภากำหนด ๓. ขอบเขตของการประเมินความเสีย่ ง สำนกั งานประธานวุฒิสภา ไดก้ ำหนดของเขตการวิเคราะห์ประเมนิ และแนวทางปอ้ งกนั ความเสีย่ งด้านความโปร่งใส เพือ่ ลดการใช้ดลุ พนิ จิ ของเจา้ หน้าทีผ่ ปู้ ฏิบัตงิ าน แบง่ ออกเป็น ๕ มติ ดิ ังนี้ ๑) มิติการบริหารบุคคล ๒) มติ กิ ารบรหิ ารจดั การโครงการ ๓) มิติการเบิกจ่ายเบี้ยประชุม ๔) มิตกิ ารบรหิ ารจดั การทรพั ย์สนิ ของรัฐ ๕) มติ ิความเสย่ี งทเ่ี ก่ียวข้องกับการใชข้ ้อมูลเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตน/ประโยชนแ์ ก่พวกพอ้ ง แผนการบรหิ ารความเสีย่ งด้านความโปร่งใสของสำนกั งานประธานวุฒสิ ภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๖ ๔. การดำเนินการเกีย่ วกับเอกสารลบั ด้วยภารกิจเกี่ยวกับการรับเรื่องราวร้องทุกข์ที่ต้องดำเนินการเป็นความลับ การดำเนินการ เกย่ี วกบั เอกสารลับเปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนงานสารบรรณของกลุ่มงานรับเร่อื งราวร้องทุกข์ สำนักประธาน วุฒิสภา โดยมีวัตถุประสงค์ให้การปฏิบัติงานเกี่ยวกับข้อมูลข่าวสารลับเป็นไปตามพระราชบัญญัติข้อมูล ข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. ๒๕๔๔ ระเบียบ สำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ระเบียบสำนักงานเลขาธิการ วุฒิสภาว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๘ รวมถึงประกาศสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา เรื่อง ข้อมูลข่าวสารที่ไม่ต้องเปิดเผยตามมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ ลงวันท่ี ๑๔ กันยายน ๒๕๖๑ ซึ่งจะทำให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องปฏิบัติราชการในด้านการรักษาความลับของ ทางราชการเป็นไปโดยถูกต้องและประสิทธิภาพเป็นไปตามเจตนารมณ์ของกฎหมายและระเบียบรวมถึง ประกาศทเ่ี ก่ียวขอ้ งดังกล่าว ๔.๑ การรบั - สง่ เอกสารลับ การรับข้อมูลข่าวสารลับของกลุ่มงานรับเรื่องราวร้องทุกข์ สำนกงานประธานวุฒิสภา จะมีเจ้าที่ธุรการที่ได้รับมอบหมายเป็นผู้รับหนังสือจากสำนักบริหารงานกลางโดยตรงและลงลายมือชื่อ (เซน็ ช่อื รบั เรอื่ ง) และลงทะเบียนการรับเรื่องไว้ในเล่มทะเบียนควบคุมข้อมูลข่าวสารลับของกลุ่มงาน จากน้ัน เจ้าของเรื่องจะดำเนินการจัดทำสรุปข้อเท็จจริง และจัดทำหนังสือเรียนผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น เพื่อรายงานให้ทราบเบื้องต้นโดยที่เจ้าของเรื่องเท่านั้นที่จะเป็นผู้เสนอแฟ้มเอกสารลับดังกล่าว เพื่อป้องกัน ข้อมูลข่าวสารลับรัว่ ไหล ๔.๒ การเก็บรกั ษา ๑) การเก็บรักษาข้อมูลเอกสารลับ โดยเก็บรักษาไว้ในสถานที่ปลอดภัย (ห้องสำหรับจัดเกบ็ เอกสารลบั ) เพื่อจดั เก็บรักษาเอกสารลับไม่ใหร้ ั่วไหล และจะต้องไม่ละทง้ิ เอกสารลับไว้บนโต๊ะทำงานหรือท้ิง ไว้โดยขาดความระมดั ระวงั เป็นเหตุใหเ้ อกสารสารลับรวั่ ไหล ๒) จะต้องกำหนดผู้รับผิดชอบในการเกบ็ รักษาเอกสารลับ โดยเจ้าหน้าที่ซึง่ ได้รับมอบหมาย ใหเ้ ปน็ นายทะเบียนและผชู้ ่วยนายทะเบียนขอ้ มูลขา่ วสารลับเท่านั้น ๓) ขอ้ มูลขา่ วสารลับที่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์ ตอ้ งกำหนดรหสั ผ่าน เพ่ือป้องกันการเข้าถึง จากบุคคลอ่นื ๔) จะต้องแยกแฟ้มเอกสารลับไว้เป็นเรื่องๆ และเก็บเอกสารลับไว้ในตู้ที่มิดชิดปิดด้วย กุญแจที่มั่นคง และจัดเก็บไว้ในห้องสำหรับเก็บเอกสารลับ โดยมีเจ้าหน้าที่เจ้าของเรื่องเป็นผู้เก็บรักษาและ ควบคมุ ดูแลหอ้ งดังกลา่ ว ๔.๓ การทำลาย การทำลายสำเนาเอกสารลับ เจ้าหน้าที่เป็นผู้พิจารณากรณีเห็นว่าสำเนาเอกสารลับซึ่งไม่มี ความจำเป็นที่จะต้องเก็บรักษาอีกต่อไป และเห็นว่าควรทำลายสำเนาเอกสาร ให้จัดทำหนังสือขออนุญาต ทำลายสำเนาเอกสารลับต่อหัวหน้าส่วนราชการ (เลขาธิการวุฒิสภา) และประธานคณะกรรมการจริยธรรม แผนการบรหิ ารความเสยี่ งดา้ นความโปร่งใสของสำนักงานประธานวฒุ ิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๗ ของสภาซึ่งเป็นเจ้าเอกสารลับในเรื่องนั้น ๆ ท้ังนี้ เอกสารต้นฉบับจะต้องเก็บรักษาไว้จนกว่าจะครบอายุการ เก็บรักษา (ตามพระราชบัญญตั ิข้อมลู ข่าวสารของราชการ พ.ศ. ๒๕๔๐ มาตรา ๑๔ อายุการเก็บ ๗๕ ปีและ ตามมาตรา ๑๕ อายุการเก็บ ๒๐ ปี) เมื่อประธานคณะกรรมการจริยธรรมของสภาพิจารณาอนุญาตให้ ทำลายสำเนาเอกสารแล้ว จะต้องมีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการทำลายเอกสารลับซึ่งประกอบด้วย นาย ทะเบยี นข้อมลู ขา่ วสารลับเปน็ ประธาน และมผี ู้ช่วยนายทะเบยี นขอ้ มลู ข่าวสารลับ เป็นกรรมการ ซ่ึงแนวทาง ทางปฏิบัติผู้อำนวยการสำนักประธานวุฒิสภา จะเป็นผู้ควบคุมกำกับ การทำลายเอกสารลับดังกล่าว ทั้งน้ี เมอ่ื ทำลายเอกสารลับท้งั หมดเสร็จเรยี บร้อยแลว้ จะตอ้ งจดั ทำบันทึกไวเ้ ป็นหลักฐานและเก็บรักษาไว้ไมน่ ้อย กว่า ๑ ปีพร้อมทั้งจัดทำหนังสือกราบเรียนประธานสภา และประธานคณะกรรมการจริยธรรมของสภา เพ่ือ ทราบตอ่ ไป นอกจากน้ี กรณจี ากการเสนอแฟ้มข้อมูลขา่ วสารลับตอ่ ประธานสภาและประธานคณะกรรมการ จริยธรรมของสภาหรือเลขาธิการวุฒิสภา จะมีเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องในการรับ – ส่ง เอกสารดังกล่าว หลายส่วน ดังนั้น เพื่อให้การรักษาข้อมูลข่าวสารลับเป็นไปด้วยความเรียบร้อย มิให้ข้อมูลข่าวสารลับร่ัวไหล จะตอ้ งมแี ผนปฏบิ ัตงิ านรว่ มกนั กับเจ้าหน้าท่ีของสำนักท่ีเก่ียวข้อง โดยมอบหมายเจ้าหน้าท่ีเพ่ือทำหน้าท่ีเป็น นายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับและผู้ช่วยนายทะเบียนข้อมูลข่าวสารลับของแต่ละสำนักเพื่อดำเนินการ เกีย่ วกบั เอกสารลบั เปน็ การเฉพาะบุคคล แผนการบรหิ ารความเสีย่ งด้านความโปร่งใสของสำนกั งานประธานวฒุ สิ ภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๘ บทท่ี ๒ กระบวนการบริหารความเส่ยี ง 1. ความหมายของการบริหารความเส่ียง ๑.๑ ความเสี่ยง (Risk) คือ เหตุการณ์หรือการกระทำใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่ แนน่ อน และจะสง่ ผลกระทบหรือสร้างความเสียหาย (ทงั้ ท่เี ป็นตัวเงินและไมเ่ ป็นตัวเงิน) หรอื กอ่ ให้เกดิ ความ ล้มเหลว หรือลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมายตามภารกิจหลักที่กำหนดในกฎหมายจัดตั้งส่วนราชการ และ เป้าหมายตามแผนปฏบิ ตั ริ าชการ ๑.2 ปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor) หมายถึง ต้นเหตุ หรือสาเหตุที่มาของความเสี่ยง ที่จะทำให้ไม่บรรลุ วัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ โดยต้องระบุได้ด้วยว่าเหตุการณ์นั้นจะเกิดที่ไหน เมื่อใด เกิดขึ้นได้อย่างไร และ ทำไม ทั้งน้ี สาเหตุของความเสี่ยงที่ระบุควรเป็นสาเหตุที่แท้จริง เพ่ือจะได้วิเคราะห์และกำหนดมาตรการลด ความเส่ียงในภายหลงั ได้อยา่ งถกู ต้อง ๑.3 กระบวนการบริหารความเสี่ยง (Risk Management Process) เป็นกระบวนการที่ใช้ในการ ระบุ วิเคราะห์ ประเมิน และจัดระดับความเสี่ยงที่มีผลกระทบต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของกระบวนการ ทำงาน ของหน่วยงานหรือขององค์กร รวมทั้งการบริหาร/จัดการความเสี่ยงโดยกำหนดแนวทางการควบคุม เพื่อป้องกัน หรือลดความเสี่ยงให้อยู่ในระดับที่ยอมรับได้ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวนี้จะสำเร็จได้ ต้องมีการ สื่อสารให้คนในองค์กรมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการบริหารความเสี่ยงในทิศทางเดียวกัน ตลอดจนควรมี การจดั ทำระบบสารสนเทศ เพ่อื ใช้ในการวเิ คราะหป์ ระเมินความเส่ยี ง ๑.4 การประเมินความเสี่ยง (Risk Assessment) หมายถึง กระบวนการที่ใช้ในการระบุ วิเคราะห์ ความเสี่ยง และจัดลำดับความเสี่ยง โดยประเมินจากโอกาสที่จะเกิด (Likelihood) และผลกระทบ (Impact) โอกาสที่จะเกิด (Likelihood) หมายถึง ความถี่หรือโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง ผลกระทบ (Impact) หมายถึง ขนาดของความรุนแรงของความเสียหายที่จะเกิดขึ้นหากเกิด เหตุการณ์ความเสี่ยง ๑.5 ระดับของความเสี่ยง (Degree of Risk) หมายถึง สถานะของความเสี่ยงที่ได้จากการประเมิน โอกาสและผลกระทบของแต่ละปัจจัยเส่ียง แบ่งเป็น 4 ระดับ คอื สูงมาก สูง ปานกลาง และต่ำ ๑.6 การบริหารความเสี่ยง/การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) หมายถึง กระบวนการที่ ใช้ในการบริหารจัดการให้โอกาสที่จะเกิดความเสี่ยงลดลง หรือผลกระทบของความเสียหายจากเหตุการณ์ ความเสย่ี งลดลงอยใู่ นระดับท่ีองคก์ รยอมรับได้ ซึง่ การจดั การความเสยี่ งมหี ลายวธิ ีดังน้ี (1) การยอมรับความเสี่ยง (Risk Acceptance) เป็นการยอมรับความเสี่ยงที่เกิดขึ้น เนื่องจาก ไม่คุ้มคา่ ในการจดั การควบคุมหรือปอ้ งกนั ความเส่ียง (2) การลด/การควบคุมความเสี่ยง (Risk Reduction) เป็นการปรับปรุงระบบการทำงานหรือ การออกแบบวธิ ีการทำงานใหม่ เพื่อลดโอกาสท่ีจะเกดิ หรือลดผลกระทบ ใหอ้ ยู่ในระดับทีอ่ งคก์ รยอมรบั ได้ (3) การกระจายความเสี่ยง หรือการโอนความเสี่ยง (Risk Sharing) เป็นการกระจายหรือถ่าย แผนการบริหารความเสีย่ งดา้ นความโปร่งใสของสำนักงานประธานวฒุ สิ ภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๙ โอนความเสี่ยงให้ผู้อื่นช่วยแบ่งเบาความรับผิดชอบไป เช่น การทำประกัน การใช้บริการจากภายนอก (Outsource) (4) การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง (Risk Avoidance) เป็นการจัดการความเสี่ยงที่อยู่ในระดับสูง มาก และหน่วยงานไม่อาจยอมรับได้ จงึ ต้องตดั สนิ ใจยกเลิกโครงการ/กิจกรรมน้ันไป ๑.7 การควบคุม (Control) หมายถึง นโยบาย แนวทาง หรือขั้นตอนปฏิบัติต่างๆ ซึ่งกระทำเพื่อลด ความเสีย่ ง และทำใหก้ ารดำเนินการบรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ แบ่งได้ 4 ประเภท คอื (1) การควบคุมเพื่อการป้องกัน (Preventive Control) เป็นวิธีการควบคุมที่กำหนดขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายและข้อผิดพลาดตั้งแต่แรก เช่น การอนุมัติ การจัดโครงสร้างองค์กร การแบง่ แยกหน้าที่ การควบคุมการเข้าถึงเอกสาร ข้อมลู ทรพั ย์สิน ฯลฯ (2) การควบคุมเพื่อให้ตรวจพบ (Detective Control) เป็นวิธีการควบคุมที่กำหนดข้ึน เพื่อค้นพบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นแล้ว เช่น การสอบทาน การวิเคราะห์ การตรวจนับ การรายงานข้อบกพรอ่ ง ฯลฯ (3) การควบคุมโดยการชี้แนะ (Directive Control) เป็นวิธีการควบคุมที่ส่งเสริมหรือกระตุ้น ใหเ้ กดิ ความสำเร็จตามวตั ถุประสงคท์ ต่ี อ้ งการ เชน่ การให้รางวลั แกผ่ ู้มีผลงานดี ฯลฯ (4) การควบคมุ เพอื่ การแกไ้ ข (Corrective Control) เป็นวธิ ีการควบคุมทก่ี ำหนดข้ึนเพ่ือแก้ไข ข้อผิดพลาดที่เกิดข้ึนให้ถูกต้อง หรือเพื่อหาวิธีการแก้ไขไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดซ้ำอีกในอนาคต เช่น การจัดเตรยี มเคร่ืองมอื ดบั เพลิงเพอื่ ชว่ ยลดความรนุ แรงของความเสยี หายใหน้ อ้ ยลงหากเกิดไฟไหม้ 2. กระบวนการบรหิ ารความเส่ียงด้านความโปรง่ ใส่ สำนักงานประธานวุฒิสภา มีกระบวนการและขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดงั น้ี ๑) กำหนดวัตถุประสงค์ ๒) การระบคุ วามเสย่ี ง ๓) การประเมินความเส่ยี ง ๔) การประเมนิ มาตรการควบคุม ๕) การบริหาร/จัดการความเสี่ยง ๖) การรายงาน ๗) การตดิ ตามและประเมินผล ๓. แผนบริหารความเสย่ี งดา้ นความโปร่งใส่ เป็นการดำเนินงานในภาพรวมของสำนักงานประธานวุฒิสภา โดยให้มีความสอดคล้องกับ ยทุ ธศาสตร์ของสำนกั งานเลขาธิการวฒุ ิสภา ตามแผนปฏิบตั ิราชการประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 256๓ แผนการบริหารความเสี่ยงด้านความโปรง่ ใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๐ ๔. การระบุความเสี่ยงและปจั จยั เส่ยี ง ค้นหาและระบุความเสี่ยงที่อาจส่งผลให้การดำเนินงานไม่บรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ จากนนั้ ระบปุ จั จยั เส่ยี ง คือ สาเหตทุ ีท่ ำใหเ้ กดิ ความเสี่ยง แนวทางในการระบุความเส่ียง ๔.1 พจิ ารณาถึงผลทเ่ี กดิ ข้ึนจากความเสยี่ ง ๔.2 พิจารณาประเภทความเส่ียง แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี ๑) ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) หมายถึง ความเสี่ยงที่เกิดจากการกำหนดแผน กลยุทธ์และแผนดำเนินงานที่นำไปปฏิบัติไม่เหมาะสมหรือไม่สอดคล้องกับปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อม ภายนอก อันส่งผลกระทบต่อการบรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ หรือสถานะขององค์กร แหล่งที่มาของความเสี่ยง ด้านกลยุทธ์ สามารถจำแนกได้ 2 ประเภท คือ (๑) ปัจจัยความเสี่ยงภายนอก ได้แก่ ภาวการณ์การแข่งขัน การเปลี่ยนแปลง นโยบาย กระแสสังคม การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทาง การเมือง และ (๒) ปัจจยั ความเสย่ี งภายใน ไดแ้ ก่ ปัจจัยภายในทีอ่ งคก์ รสามารถควบคุมได้ แต่สามารถส่งผล กระทบหรือเป็นอุปสรรคต่อการดำเนินการตามแผนกลยุทธ์เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย ได้แก่ โครงสร้างองค์กร กระบวนการ และวิธปี ฏบิ ัติงาน ความเพยี งพอของขอ้ มลู และเทคโนโลยีสำหรับการใหบ้ ริการ เป็นตน้ ๒) ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risk : O) หมายถึง ความเสยี่ งทจี่ ะเกดิ ความ เสียหายอันเนื่องมาจากการกำกับดูแลกิจการที่ดีหรือขาดธรรมาภิบาลในองค์กรและขาดการควบคุมที่ดี โดยอาจเกย่ี วข้องกับกระบวนการปฏบิ ัตงิ านภายใน คน ระบบ หรือเหตกุ ารณ์ภายนอก ๓) ความเส่ยี งดา้ นการเงิน (Financial Risk : F) ความเสีย่ งดา้ นการเงิน หมายถึง ความเสี่ยงที่ เกิดจากการที่การเบกิ จา่ ยงบประมาณไม่เปน็ ไปตามแผนงบประมาณ ถูกตัดงบประมาณทีไ่ ด้รบั ไมส่ อดคลอ้ ง กับสถานการณ์ของภารกจิ ที่เปลีย่ นแปลงไปทำให้การจดั สรรไม่พอเพียง ๔) ความเสี่ยงด้านปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย/กฎระเบยี บ (Compliance Risk : C) ความเสี่ยงท่ีเกิด จากการไม่สามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องได้ หรือกฎระเบียบ หรือกฎหมายที่มีอยู่ ไม่เหมาะสม หรอื เปน็ อุปสรรคต่อการปฏิบตั ิ ๔.๓ พจิ ารณาเหตุการณท์ ่ีอาจเกดิ ข้นึ ได้ในทางทตี่ รงกันข้ามกับวตั ถปุ ระสงค์ เช่น ๑) ความเส่ยี งดา้ นกลยุทธ์ (Strategic Risk : S) โดยพิจารณาโครงการ/กจิ กรรม ไม่บรรลุ เปา้ หมายตัวช้ีวัดตามแผนยุทธศาสตร์ ๒) ความเสี่ยงด้านการดำเนินงาน (Operational Risk : O) “โดยพิจารณากระบวนการ ดำเนนิ งานทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ/ ประสิทธิผล ๓) ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk : F) โดยพิจารณาความเสี่ยงที่เกิดจากการที่การ เบิกจ่ายงบประมาณไม่เป็นไปตามแผน ๔) ความเสี่ยงด้านปฏิบัติตามกฎหมาย/กฎระเบียบ (Compliance Risk : C) โดยพิจารณา ความเสย่ี งด้านการไม่ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย กฎระเบยี บ ขอ้ บงั คับ แผนการบริหารความเสยี่ งดา้ นความโปร่งใสของสำนักงานประธานวฒุ สิ ภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๑ ๕. หลกั ธรรมาภิบาล (Good Governance) 10 ประการ การนำหลักธรรมาภิบาลของการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ดี ี 10 ประการ มาประกอบการพจิ ารณา ดังน้ี 1) หลักประสิทธิผล (Effectiveness) หมายถึง ผลการปฏิบัติราชการที่บรรลุวัตถุประสงค์ และ เป้าหมายของแผนการปฏิบัติราชการตามที่ได้รับงบประมาณมาดำเนินการ รวมถึงสามารถเทียบเคียงกับ ส่วนราชการ หรือหน่วยงานที่มีภารกิจคล้ายคลึงกันและมีผลการปฏิบัติงานในระดับชั้นนาของประเทศ เพื่อให้เกิดประโยชน์สุขต่อประชาชน โดยการปฏิบัติราชการจะต้องมีทิศทางยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ที่ ชัดเจน มีกระบวนการปฏิบัติงานและระบบงานที่เป็นมาตรฐาน รวมถึงมีการติดตามประเมินผลและพัฒนา ปรบั ปรงุ อย่าง ต่อเนือ่ งและเปน็ ระบบ 2) หลักประสิทธิภาพ (Efficiency) หมายถึง การบริหารราชการตามแนวทางการกำกับดูแลที่ดีที่มี การออกแบบกระบวนการปฏิบัติงาน โดยการใช้เทคนิคและเครื่องมือการบริหารจัดการที่เหมาะสม ให้องค์กรสามารถใช้ทรัพยากรทั้งด้านต้นทุน แรงงาน และระยะเวลาให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อการพัฒนา ขีดความสามารถในการปฏิบัติราชการตามภารกิจ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชน และผู้มีส่วน ได้ส่วนเสยี ทุกกลุม่ 3) หลักการตอบสนอง (Responsiveness) หมายถึง การให้บริการที่สามารถดำเนินการได้ภายใน ระยะเวลาที่กำหนด และสร้างความเชื่อมั่นความไว้วางใจ รวมถึงตอบสนองตามความคาดหวัง/ ความ ต้องการของประชาชนผู้รับบริการและผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียท่มี คี วามหลากหลายและมคี วามแตกต่าง 4) หลักภาระรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง การแสดงความรับผิดชอบในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ และผลงานต่อเป้าหมายที่กำหนดไว้โดยความรับผิดชอบนั้นควรอยู่ในระดับที่สนองต่อความคาดหวังของ สาธารณะ รวมทัง้ การแสดงถึงความสำนกึ ในการรับผิดชอบต่อปัญหาสาธารณะ 5) หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง กระบวนการเปิดเผยอย่างตรงไปตรงมา ชี้แจงได้ เมื่อมีข้อสงสัย และสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารอันไม่ต้องห้ามตามกฎหมายได้อย่างเสรี โดยประชาชน สามารถรทู้ ุกขั้นตอนในการดำเนินกิจกรรม หรอื กระบวนการตา่ งๆ และสามารถตรวจสอบได้ 6) หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึง การกระบวนการที่ข้าราชการ ประชาชน และผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่มมีโอกาสได้เข้าร่วมในการรับรู้ เรียนรู้ทำความเข้าใจ ร่วมแสดงทัศนะ ร่วมเสนอ ปัญหา/ประเด็นที่สำคัญที่เกี่ยวข้องร่วมคิดแนวทางร่วมการแก้ไขปัญหา ร่วมในกระบวนการตัดสินใจ และ ร่วมกระบวนการพัฒนาในฐานะห้นุ ส่วนการพัฒนา 7) หลักการกระจายอำนาจ (Decentralization) หมายถึง การถ่ายโอนอำนาจ การตัดสินใจ ทรัพยากร และภารกิจจากส่วนราชการส่วนกลางให้แก่หน่วยการปกครองอื่น (ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น) และ ภาคประชาชนดำเนินการแทนโดยมีอิสระตามสมควร รวมถึงการมอบอำนาจ และความรับผิดชอบใน การตัดสินใจ และการดำเนินการให้แก่บุคลากร โดยมุ่งเน้นการสร้างความพึงพอใจในการให้บริการต่อ ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การปรับปรุง กระบวนการ และเพิ่มผลิตภาพ เพื่อผลการดำเนินงานที่ดี ของส่วนราชการ แผนการบริหารความเสยี่ งดา้ นความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวฒุ สิ ภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๒ 8) หลักนติ ิธรรม (Rule of Law) หมายถึง การใชอ้ ำนาจของกฎหมาย กฎระเบยี บ ขอ้ บังคับ ในการ บริหารราชการดว้ ยความเปน็ ธรรมไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ และคำนึงถึงสทิ ธิเสรีภาพของผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี 9) หลักความเสมอภาค (Equity) หมายถึง การได้รับการปฏิบัติและได้รับบริการอย่างเท่าเทียม กัน โดยไม่มีการแบ่งแยกด้านชาย/หญิงถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการสภาพทางกาย หรือ สุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจ และสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษา การฝึกอบรม และอ่นื ๆ 10) หลักมุ่งเน้นฉันทามติ (Consensus Oriented) หมายถึง การหาข้อตกลงทั่วไปภายในกลุ่มผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อตกลงที่เกิดจากการใช้กระบวนการเพื่อหาข้อคิดเห็นจากกลุ่มบุคคลที่ ได้รับประโยชน์และเสียประโยชน์ โดยเฉพาะกลุ่มที่ได้รับผลกระทบโดยตรงซึ่งต้องไม่มีข้อคัดค้านที่ยุติไม่ได้ ในประเด็นทส่ี ำคญั โดยฉนั ทามตไิ มจ่ ำเป็นต้องหมายความว่าเป็นความเห็นพ้องโดยเอกฉันท์ แผนการบริหารความเสยี่ งด้านความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๓ บทที่ ๓ การวเิ คราะหค์ วามเส่ียง กรอบตามหลักของการควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) ตามมาตรฐาน COSO 2013 (Committee of sponsoring Organization 2013) ซึ่งมาตรฐาน COSO เป็นแนวคิดของการ ควบคุมภายในองค์กรที่เป็นมาตรฐานและได้รับการยอมรับสากล โดยเริ่มเผยแพร่เมื่อปี ๑๙๙๒ และ ปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมล่าสุดในปี ๒๐๑๓ ที่กำหนดให้มีการควบคุมภายในองค์กรแต่เพิ่มเติมในส่วนอื่นๆ ให้ชัดเจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มเติมเร่ืองการสอดส่อง ในภาพรวมของการกำกับดูแลกิจการ/ องค์กร ดังนั้น การควบคุมภายในจึงถือว่ามีความสำคัญอย่างยิ่งในการที่จะตอบสนองต่อความคาดหวัง ของกิจการ/ องคก์ ร ความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การกระทำการใด ๆ ของภาครัฐทั้งในระดับบุคคลและ องค์กรที่ผู้อื่นสามารถมองเห็นได้ คาดเดาได้ และเข้าใจได้ ครอบคลุมถึงทุกการกระทำที่เป็นผลจากการ ตัดสินใจของผู้บริหารการดำเนินงานทางธุรกิจ และงานสาธารณประโยชน์ต่าง ๆ เช่น การมีระบบงานและ ขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน (ซึ่งจะดูได้จาก กฎระเบียบ หรือประกาศ) การมีหลักเกณฑ์ประเมินหรือการให้ คุณให้โทษที่ชัดเจน การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องอย่างตรงไปตรงมา ความโปร่งใสจึงเป็นเครื่องมือท่ี สำคัญในการตรวจสอบความถูกต้อง และช่วยป้องกันไม่ให้เกิดการทุจริต รวมทั้งนำไปสู่การสร้างความ ไว้วางใจซึ่งกันและกนั ท้ังระหว่างผูป้ ฏิบัตริ ่วมกันในองคก์ รเดียวกัน ระหว่างประชาชนต่อรัฐไปจนถึงระหว่าง คนในชาติด้วยกัน ดังนั้น ทุกองค์กรไม่ว่าจะเป็นหน่วยงานภาครัฐหรือภาคเอกชนควรปรับปรุงกลไกการ ทำงานให้มีความโปร่งใส มีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่เข้าใจ งา่ ย เพื่อประชาชนจะไดเ้ ข้าถงึ ขอ้ มลู ขา่ วสารได้โดยสะดวก และช่วยตรวจสอบความถูกต้องในการทำงานได้ ความเสี่ยงการทุจริต หมายถึง ความเสี่ยงของการดำเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต การขัดกัน ระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์สว่ นรวมหรือการรบั สินบน ๑. องค์ประกอบทท่ี ำให้เกดิ การทุจริต (ทฤษฎีสามเหลยี่ มการทุจรติ Fraud Triangle) ประกอบด้วย ๑.๑ แรงกดดนั หรือแรงจูงใจ(Pressure/Incentive) ๑.๒ โอกาส (Opportunity) ซ่ึงเกิดจากชอ่ งโหวข่ องระบบตา่ งๆ ภายในองค์กร ๑.๓ การหาเหตุผลสนบั สนุนการกระทำ (Rationalization) ๒. ประเภทความเสีย่ งการทจุ รติ แบง่ ออกเป็น ๓ ดา้ น ดงั นี้ ๑) ดา้ นความเสีย่ งการทุจรติ ในความโปร่งใสของการใชอ้ ำนาจและตำแหนง่ หน้าท่ี ๒) ด้านความเสี่ยงการทุจริตที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาอนุมัติ อนุญาต (เฉพาะหน่วยงาน ที่มีภารกิจ ให้บริการประชาชนอนุมัติ หรืออนุญาต ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของ ทางราชการ พ.ศ. ๒๕๕๘) ๓) ดา้ นความเสย่ี งการทจุ รติ ในความโปรง่ ใสของการใชจ้ า่ ยงบประมาณและการบริหารจดั การทรพั ยากรภาครัฐ แผนการบริหารความเสย่ี งด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒสิ ภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๔ ๓. การเฝ้าระวังและตรวจสอบการทุจริตภายในกิจการ/องค์กร ตามหลักการ/แนวคิด COSO ประกอบด้วย ๕ องคป์ ระกอบ ดงั น้ี ๑) สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) ๒) การประเมินความเสย่ี ง (Risk Assessment) ๓) กจิ กรรมการควบคุม (Control Activities) ๔) สารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication) ๕) กจิ กรรมการกำกับตดิ ตามและประเมินผล (Monitoring Activities) โดยกรอบหรือภาระงานในการประเมนิ ความเสี่ยงการทจุ รติ มี ๔ กระบวนการ ดังน้ี (๑) Corrective: แก้ไขปัญหาทเี่ คยรับร้วู า่ เกดิ ส่งิ ทีม่ ีประวัตอิ ยู่แล้ว ทำอย่างไรจะไมใ่ ห้เกิดข้ึนซ้ำอีก (๒) Detective : เฝ้าระวงั สอดสอ่ ง ติดตามพฤตกิ รรมเสีย่ ง ทำอยา่ งไรจะตรวจพบและจะต้องสอดส่อง ตั้งแต่แรก ตง้ั ขอ้ บง่ ช้ีบางเร่ืองที่น่าสงสยั ทำการลดระดับความเสี่ยงนน้ั หรอื ให้ขอ้ มูลเบาะแสน้นั แกผ่ ้บู รหิ าร (๓) Preventive : ป้องกัน หลีกเล่ยี ง พฤตกิ รรมท่นี ำไปสูก่ ารสมุ่ เส่ยี งตอ่ การกระทำผิดในสว่ น ท่ีพฤตกิ รรมทีเ่ คยรับรวู้ ่าเคยเกดิ มาก่อน คาดหมายไดว้ า่ มโี อกาสสงู ทเ่ี กิดซ้ำขนึ้ อีก (Know Factor) ทงั้ ท่ีรู้ว่าทำไปมี ความเสย่ี งต่อการทุจรติ จะต้องหลกี เลีย่ งด้วยการปรบั Workflow ใหม่ ไม่เปดิ ช่องวา่ งให้การเกดิ ทุจรติ เขา้ มาได้อกี (๔) Forecasting : การพยากรณ์ประมาณการสิ่งที่อาจจะเกิดขึ้นและป้องกันการปราบปราม ล่วงหน้า ในเรื่องประเด็นที่ไม่คุ้นเคย ในส่วนที่เป็นปัจจัยความเสี่ยงที่มาจากการพยากรณ์ ประมาณการล่วงหน้าในอนาคต (Unknow Factor) Know Factor ความเสี่ยงทั้ง ปัญหา/พฤตกิ รรมทีเ่ คยรับรูว้ า่ เคยเกดิ มากอ่ น คาดหมาย Unknow Factor ได้ว่ามโี อกาสสูงทีจ่ ะเกดิ ชำ้ หรอื มีประวตั ิมตี ำนานอยแู่ ลว้ ปัจจัยความเส่ยี งท่ีมาจากการพยากรณป์ ระมาณการลว่ งหน้าในอนาคต ปัญหา/พฤตกิ รรม ความเสีย่ งทอ่ี าจจะเกดิ ขน้ึ (คิดกอ่ นลว่ งหน้า) ๔. สถานะความเส่ียงสามารถระบอุ อกได้ตามสีไฟจราจร ดงั นี้ • สถานะสเี ขียว : ความเสย่ี งระดับต่ำ • สถานะสีเหลอื ง : ความเสย่ี งระดบั ปานกลาง และสามารถใช้ความรอบคอบระมดั ระวังใน ระหว่างปฏิบัตงิ านตามปกติควบคุมดแู ลได้ • สถานะสสี ้ม : ความเสยี่ งระดับสูง เปน็ กระบวนงานท่มี ีผู้เก่ียวขอ้ งหลายคน และ หลาย หน่วยงานภายในองค์กร มหี ลายขนั้ ตอน จนยากต่อการควบคุม หรือไม่มี อำนาจ ควบคมุ ข้ามหน่วยงานตามหน้าท่ปี กติ • สถานะสแี ดง : ความเส่ยี งระดับสงู มาก เปน็ กระบวนงานท่ีเก่ียวข้องกบั บุคคลภายนอก คนท่ไี มร่ ู้จักไม่สามารถตรวจสอบไดช้ ดั เจน ไมส่ ามารถกำกบั ติดตามได้ อย่างใกล้ชดิ หรอื อย่างสมำ่ เสมอ แผนการบริหารความเสยี่ งด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวฒุ ิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๕ สำนักงานประธานวุฒิสภา ได้วิเคราะห์ความเสี่ยงจากกระบวนงาน และขั้นตอนการปฏิบัติงานต่าง ๆ ตามอำนาจหน้าที่ความรับผิดชอบของสำนักงานประธานวุฒิสภา และประเมินโอกาสที่จะเกิดความเสี่ยง และผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยอ้างอิงเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการทุจริต “คู่มือแนวทางประเมินความ เสี่ยงการทุจริต FRAs RISK-ASSESSMENTS, กันยายน ๒๕๖๑” จากสำนักงานป้องกันและปราบปรามการ ทุจริต (ป.ป.ท.) เพื่อระบุประเด็นความเสี่ยง ประเภทความเสี่ยง และสถานะ 10 ความเสี่ยงเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานที่อาจเกิดการทุจริตหรือความไม่โปร่งใสที่สำคัญในแต่ละด้าน ซึ่งนำไปสู่มาตรการจัดการความ เสีย่ งโดยสามารถระบุประเด็นความเสี่ยงไดด้ งั นี้ มติ ิ ความเสยี่ ง เหตกุ ารณ์ ประเภท สถานะ ความเสยี่ ง ความเส่ียงการทจุ ริต ความเสี่ยง ๑. มติ ิการ บริหารบคุ คล ๑.๑ ความเส่ียง ๑. การขาด ลา Know Unknow สีเหลือง ด้านการปฏิบตั ิ มาสาย สแกน Factor Factor ตามระเบยี บวินัย ลายนวิ้ มือแต่ไม่ ✓ มาทำงาน ๒. การปฏบิ ตั งิ านที่ บา้ น (WFH) ๓. การละเลยการ ปฏิบตั หิ นา้ ที แผนการบริหารความเสี่ยงด้านความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๖ มิติ ความเสย่ี ง เหตุการณ์ ประเภท สถานะ ความเสย่ี ง ความเส่ยี งการทจุ ริต ความเส่ียง ๒. มิติการ Know Unknow สเี หลือง บรหิ ารจดั การ ๑.๒ ความเสย่ี ง การปฏิบัติราชการ Factor Factor โครงการ สเี หลอื ง ท่อี าจเป็นเหตใุ ห้ ของบุคลากรของ ✓ สีเหลอื ง ละเวน้ การปฏิบตั ิ สำนกั งานประธาน ✓ หนา้ ท่โี ดยมชิ อบ วุฒสิ ภา มีความเข้าใจ ✓ ในแนว ทางการ ปฏบิ ตั งิ านที่ แตกต่าง กันและไม่ เป็นไปใน ทศิ ทางเดียวกนั ๒.๑ ความเสี่ยง ๑. การดำเนนิ การดำเนิน โครงการไมเ่ ป็นไปตาม โครงการ วตั ถุประสงค์และ ฝกึ อบรมและ แผนงานที่กำหนด สัมมนาภายใน หรือไมด่ ำเนิน สำนกั งานฯ โครงการฝึกอบรมและ สัมมนาตามที่ได้รับ การจัดสรร งบประมาณ (กรณที ี่ ทำ ให้ประโยชน์ ส่วนรวมตกแกก่ ลุ่ม ใดกลมุ่ หน่งึ หรอื บุคคลใดบุคคลหน่งึ ) ๒. การเบิกจ่าย ค่าอาหาร คา่ อาหาร ว่างและเครอ่ื งดื่มเกนิ จำนวนผเู้ ขา้ รับการ ฝกึ อบรมตามที่ได้รับ อนุมัติ/เบิกค่าใชจ้ า่ ย ไม่ตรงตามราคาท่ี จา่ ยจรงิ แผนการบรหิ ารความเส่ียงด้านความโปร่งใสของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๗ มติ ิ ความเสยี่ ง เหตกุ ารณ์ ประเภท สถานะ ความเสีย่ ง ความเสี่ยงการทุจรติ ความเสย่ี ง ๓. มติ ิการ Know Unknow เบกิ จา่ ยเบ้ีย ๓. การออกใบเสรจ็ Factor Factor สสี ้ม ประชุม ในการจัดซื้อจัดจ้าง ✓ สสี ม้ ทไี่ มต่ รงตาม ✓ สีสม้ ระเบยี บการเงนิ / ✓ สีส้ม ขนั้ ตอนการ ✓ เบิกจ่าย ๒.๒ ความเส่ียง ๑. การใช้เงนิ ผิด การจัดโครงการ ประเภทไมต่ รงตาม สมาชิกวุฒสิ ภา อนุมัติ พบประชาชน ณ ๒. การเบิกคา่ ใชจ้ ่าย ตา่ งจังหวัด เกินความจำเป็น (คา่ ทพ่ี ัก ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและ เครือ่ งด่ืม) ๒.๓ ความเส่ียง ๑. การใช้เงินผิด การจดั โครงการ ประเภทไม่ตรงตาม กองทนุ การศึกษา อนุมตั ิ ณ ตา่ งจังหวัด ๒. การเบกิ คา่ ใช้จ่าย เกินความจำเป็น (ค่าทพี่ ัก คา่ อาหาร ค่าอาหารว่างและ เครอ่ื งด่ืม) ความเสี่ยงทจี่ ะ การตรวจสอบ เป็น เกิดความ การตรวจสอบใน ผิดพลาด เบ้อื งต้น ยังขาดการ จากการอำพราง ตรวจสอบขอ้ มูลเชิง หรือปกปดิ ข้อมูล ลึก ส่งผลให้ขาด ของผู้เบกิ จา่ ย/ ข้อมลู การคัดกรอง ผนู้ ำจา่ ย ผลประโยชน์ทับซ้อน แผนการบรหิ ารความเสี่ยงดา้ นความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๘ มติ ิ ความเสยี่ ง เหตกุ ารณ์ ประเภท สถานะ ความเส่ียง ความเส่ยี งการทจุ ริต ความเส่ยี ง ๔. มิตกิ าร Know Unknow บริหารจดั การ ความเสยี่ งจาก การบันทึกและ Factor Factor สสี ม้ ทรพั ย์สนิ สสี ้ม ของรฐั การใช้ทรพั ยากร ตรวจสอบขอ้ มลู การ ✓ สีส้ม ๕ มิตคิ วาม ของรฐั ไปในทาง นำทรัพยากรของรฐั ✓ เสี่ยงที่ สสี ้ม เกี่ยวข้องกบั สว่ นตน ไปใช้ยงั ไมเ่ ป็นระบบ ✓ การใชข้ ้อมูล เพ่อื ประโยชน์ ทชี่ ดั เจน ✓ สว่ นตน/ ประโยชน์ ๕.๑ ความเสี่ยง ๑. บคุ คลอน่ื หรอื ผ้ทู ่ี แกพ่ วกพอ้ ง ดา้ นการรบั –สง่ ไม่มสี ว่ นเกี่ยวขอ้ ง เอกสารลับหรือ ลว่ งรู้ข้อมูลอนั เปน็ พยานหลกั ฐาน ความลับ อนั เป็นความลบั ๒. ข้อมูลเอกสารลับ ของทางราชการอาจ ร่ัวไหลไปส่สู าธารณะ และถูกนำไปใชใ้ น การไม่สุจริต ๕.๒ ความเส่ียง ๑. บุคคลอื่นหรือผู้ที่ ด้านการจดั ทำ ไม่มสี ่วนเกย่ี วขอ้ ง เอกสารหรอื การ ล่วงรขู้ อ้ มูลอันเปน็ รวบรวมพยาน ความลับ หลักฐานอนั เป็น ๒. ขอ้ มลู เอกสารลับ ความลับ ของทางราชการอาจ รั่วไหลไปสสู่ าธารณะ และถูกนำไปใชใ้ น การไม่สจุ ริต ๕.๓ ความเส่ียง ข้อมลู อันเปน็ ความลบั ดา้ นการจดั ทำ ๒. ขอ้ มลู เอกสารลับ สำเนาเอกสารลับ ของทางราชการอาจ รว่ั ไหลไปสสู่ าธารณะ และถูกนำไปใชใ้ น การไมส่ ุจริต แผนการบริหารความเสย่ี งดา้ นความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวุฒิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๑๙ มติ ิ ความเส่ียง ประเภท เหตุการณ์ ความเสีย่ งการทจุ รติ สถานะ ความเสี่ยง Know Unknow ความเสี่ยง Factor Factor ๕.๔ ความเสยี่ ง ๑. บคุ คลอืน่ หรือผทู้ ่ี ✓ สีส้ม ด้านการประชมุ ไมม่ ีส่วนเกยี่ วข้อง คณะอนุกรรมการ ล่วงรู้ขอ้ มลู อันเปน็ ดา้ นรวบรวม ความลบั แยกเรอื่ ง ติดตาม ๒. ขอ้ มูลเอกสารลบั เรือ่ งรอ้ งเรียน ของทางราชการอาจ ตามโครงการ รั่วไหลไปสู่สาธารณะ สมาชกิ วฒุ ิสภา และถกู นำไปใช้ในทาง พบประชาชน ไมส่ จุ ริต/มี ๒. ข้อมลู พึง ผลประโยชน์ ระวัง (การปฏิบัติ ทบั ซ้อน/เพ่อื ประโยชน์ หนา้ ที่ฝ่าย พวกพอ้ ง เลขานกุ ารคณะ อนุกรรมการฯ) จากตาราง ๑ แสดงให้เห็นว่าจากขอบเขตความเสี่ยงด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ทั้ง ๕ มิติ น้ัน ประกอบด้วยประเด็นความเสี่ยงจำนวนทั้งสิ้น ๑๐ ประเด็น ซึ่งมีเหตุการณ์ความเสี่ยงจำนวน ๑๗ เหตุการณ์ และแยกเป็นประเภท Know Factor จำนวน ๙ ประเภท และ Unknow Factor จำนวน ๕ ประเภท โดยมีสถานะความเสี่ยง สเี ขียว จำนวน ๑ สถานะ สเี หลอื ง จำนวน ๕ สถานะ และสสี ้ม จำนวน ๙ สถานะ ประเดน็ ความเสี่ยงการทุจริตที่สถานะความเสี่ยงระดับสูงหรือสูงมาก “สีส้ม/แดง” จะเป็น ประเด็นความเสี่ยงที่มีความ จำเปน็ ต้องเฝา้ ระวังอยา่ งมาก โดยจะคำนวณหา “คา่ ความเสยี่ งรวม” ได้จาก ค่าความเสยี่ งรวม = ความจำเป็นของ การเฝ้าระวัง (ที่มีค่า ๑–๓) × ระดับความรุนแรงของผลกระทบที่มีค่า (๑ –๓) โดยมีเกณฑ์ในการให้ค่า ดังนี้ ๑) ระดบั ความจำเป็นของการเฝ้าระวัง มแี นวทางในการพจิ ารณา ดังน้ี - MUST หมายถึงมีความจำเป็นสูงของการเฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริตที่ต้องทำการป้องกันไม่ ดำเนินการไม่ได้คา่ ของ MUST คอื ค่าทีอ่ ยใู่ นระดบั ๓ หรอื ๒ - SHOULD หมายถึงมีความจำเป็นต่ำในการเฝ้าระวังความเสี่ยงการทุจริต ค่าของ SHOULD คือ ค่าท่ี อยูใ่ นระดบั ๑ เท่าน้ัน ๒) ระดับความรุนแรงของผลกระทบ มแี นวทางในการพจิ ารณา ดังน้ี - ค่า ๒ หรือ ๓ คือ กิจกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นเกี่ยวข้องกับ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย Stakeholders รวมถงึ หน่วยงานกำกบั ดแู ล พนั ธมติ ร ภาคีเครือขา่ ย แผนการบรหิ ารความเสี่ยงด้านความโปร่งใสของสำนักงานประธานวุฒสิ ภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๐ - ค่า ๒ หรือ ๓ คือ กิจกรรมหรือขั้นตอนการปฏิบัติงานนั้นเกี่ยวข้องกับผลกระทบทางการเงินรายได้ ลดรายจา่ ยเพิ่ม Financial - ค่า ๒ หรือ ๓ คือ กจิ กรรมหรอื ข้ันตอนการปฏบิ ัตงิ านนน้ั ผลกระทบตอ่ ผู้ใชบ้ ริการ กลุ่มเป้าหมาย Customer/User - ค่า ๑ หรือ ๒ คือ กิจกรรมหรือข้ันตอนการปฏิบัติงานนั้นผลกระทบต่อกระบวนงานภายใน Internal Process หรอื กระทบด้านการเรียนร้อู งค์ความรLู้ earning & Growth จากนั้น นำค่าความเสี่ยงรวม (จำเป็น X รุนแรง) มาทำการประเมินการควบคุมการทุจริตว่ามีระดับการ ควบคุมความเสี่ยงการทุจริตอยู่ในระดับใด เมื่อเทียบกับคุณภาพการจัดการ (คุณภาพการจัดการ สอดส่อง เฝ้า ระวังในงานปกต)ิ โดยเกณฑค์ ณุ ภาพการจัดการ จะแบ่งเป็น ๓ ระดับ ดงั น้ี ดี : จดั การได้ทนั ที ทุกครง้ั ที่เกิดความเสยี่ ง ไมก่ ระทบถงึ ผใู้ ช้บริการ/ผ้รู บั มอบผลงานองคก์ รไมม่ ี ผลเสยี ทางการเงนิ ไมม่ รี ายจา่ ยเพม่ิ พอใช้ : จดั การไดโ้ ดยสว่ นใหญ่ มีบางครง้ั ยงั จดั การไมไ่ ดก้ ระทบถึงผู้ใชบ้ ริการ/ผู้รับมอบผลงานองคก์ ร แต่ยอมรับไดม้ ีความเขา้ ใจ ออ่ น : จัดการไม่ได้ หรอื ไดเ้ พียงส่วนน้อย การจัดการเพม่ิ เกิดจากรายจา่ ย มผี ลกระทบถึงผูใ้ ช้บริการ/ ผูร้ ับมอบผลงานและยอมรับไมไ่ ดไ้ ม่มคี วามเข้าใจ ตารางที่ ๒ SCORING ทะเบยี นข้อมูลท่ตี อ้ งเฝ้าระวงั ๒ มติ ิ โอกาส/ความเสยี่ งการทจุ ริต ระดับความ ระดับความรนุ แรง คา่ ความเส่ียงรวม จำเปน็ ของการ ของผลกระทบ จำเปน็ x รุนแรง เจา้ หน้าทเ่ี รียกรับผลประโยชน์ ในระหว่างการตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน เฝา้ ระวงั ๒ ๒ ประกอบการพิจารณา และการเสนอ ความเห็น การดำเนนิ การไม่เปน็ ไปตามลำดับ ๒ คำขอ แผนการบรหิ ารความเสี่ยงดา้ นความโปรง่ ใสของสำนักงานประธานวฒุ ิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๑ ตารางที่ ๒.๑ ระดบั ความจำเปน็ ของการเฝ้าระวงั โอกาส/ความเส่ยี งการทุจรติ กจิ กรรมหรือขน้ั ตอนหลัก กิจกรรมหรอื ขนั้ ตอนรอง MUST SHOULD เจา้ หน้าที่เรยี กรบั ผลประโยชนใ์ น ระหวา่ งการตรวจสอบเอกสาร ๒ หลักฐานประกอบการพิจารณา และ การเสนอความเหน็ การดำเนินการไม่ เปน็ ไปตามลำดับ คำขอ ตารางท่ี ๒.๒ ระดบั ความรุนแรงของผลกระทบ โอกาส/ความเสี่ยงการทุจรติ ๑ ๒ ๓ เจา้ หน้าท่ีเรียกรบั ผลประโยชนใ์ นระหวา่ งการ x ตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบการ พจิ ารณา และการเสนอความเหน็ การ ดำเนินการไม่เปน็ ไปตามลำดับคำขอ ๔. การประเมนิ การควบคมุ ความเสยี่ ง (Risk – Control Matrix Assessment) ระดบั การควบคมุ ความเสย่ี งการทุจรติ แบ่งเป็น ๓ ระดบั ดังนี้ ดี : จัดการได้ทันทที ุกครั้งทเี่ กิดความเสีย่ ง ไม่กระทบถึงผใู้ ชบ้ ริการ/ผู้รับมอบผลงาน องค์กรไม่มีผลเสีย ทางการเงิน ไม่มรี ายจา่ ยเพ่ิม พอใช้ : จัดการไดโ้ ดยสว่ นใหญ่ มบี างคร้งั ยงั จดั การไม่ไดก้ ระทบถงึ ผู้ใช้บรกิ าร/ผ้รู ับมอบผลงานองค์กร แต่ ยอมรับได้มคี วามเขา้ ใจ อ่อน : จัดการไม่ไดห้ รอื ได้เพียงส่วนน้อย การจดั การเพิม่ เกิดจากรายจา่ ย มีผลกระทบถึงผู้ใช้บริการ/ผ้รู ับ มอบผลงานและยอมรับไมไ่ ด้ ไมม่ ีความเขา้ ใจ แผนการบริหารความเส่ยี งดา้ นความโปร่งใสของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๒ ตารางท่ี ๔ ตารางแสดงการประเมินการควบคมุ ความเส่ียง คุณภาพ ค่าประเมนิ การควบคุมความเสีย่ งการทุจริต การจดั การ โอกาส/ความเส่ียงการทุจริต ค่าความเสย่ี ง ค่าความเส่ยี ง คา่ ความเสย่ี ง พอใช้ ระดบั ตำ่ ระดบั ปานกลาง ระดับสงู เจา้ หน้าทเ่ี รียกรับผลประโยชนใ์ นระหวา่ ง การตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน ประกอบการพิจารณา และเสนอความเห็น การดำเนินการไม่เป็นไปตามลำดบั คำขอ แผนการบริหารความเสยี่ งด้านความโปรง่ ใสของสำนักงานประธานวฒุ ิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๓ บทที่ ๔ แผนบริหารความเส่ยี งดา้ นความโปรง่ ใส่ สำนักงานประธานวุฒิสภา ได้วิเคราะห์ความเสี่ยงด้านความโปร่งใส่และปัจจัยเสี่ยงแต่ละปัจจัยจาก รายประเด็นยุทธศาสตร์ ตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ ของสำนักงานประธาน วุฒิสภา ซึ่งการวิเคราะห์ความเสี่ยงความโปร่งใส่ ที่อาจเป็นเหตุให้เกิดการทุจริต ตามมาตรฐาน COSO (Committee of Sponsoring Organization of the Treadway Commission) โดยวเิ คราะห์ จากความสำคญั ของโครงการ เช่น โครงการเชิงยุทธศาสตร์ โครงการ Flagship โครงการตามนโยบายที่สำคัญ, โครงการที่มี งบประมาณสูง พิจารณาเลือกกระบวนตามภารกิจที่สำคัญ ตามพระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการ พิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 และ วิเคราะห์ความเสี่ยงด้านความโปร่งใส่และการจัดการ ความเสี่ยงด้านความโปร่งใส่เกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน ซึ่งเป็นความเสี่ยงที่มีระดับความสำคัญ และมี ผลกระทบสูงต่อการบริหารราชการ การวิเคราะห์ความเสี่ยงรายประเด็นยุทธศาสตร์ของสำนักงาน เลขาธิการวฒุ สิ ภา ทีส่ ่งผลต่อการบรรลุเป้าหมายทางยทุ ธศาสตรข์ องสำนกั งานประธานวุฒิสภา รายละเอียด การวิเคราะห์ ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังน้ี 1. ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 เสริมสรา้ งภาพลักษณอ์ งคก์ รและยกระดับธรรมาภบิ าล 2. ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ขบั เคล่ือนกระบวนการทำงานและบรหิ ารจดั การสคู่ วามเปน็ เลิศ 3. ยุทธศาสตร์ท่ี 3 พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและนวตั กรรมตามแนวทาง Thailand 4.0 4. ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 สง่ เสริมและสนบั สนุนการพฒั นาบคุ ลากรใหม้ คี วามเป็นมืออาชพี กรอบแนวทาง การดำเนินการบริหารความเสี่ยง การพจิ ารณาความเส่ียงเชิงยทุ ธศาสตร์ท่ีอาจสง่ ผลกระทบต่อการบรหิ าร ราชการของสำนักงานประธานวุฒสิ ภา 1. การพจิ ารณาความเสี่ยงเชิงยทุ ธศาสตร์ ของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมตามภารกิจทีม่ ี ความสำคญั โดยกำหนดหลักเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดังน้ี 1.1 พิจารณาคดั เลือกแผนงาน/โครงการ ภายใตแ้ ผนปฏบิ ัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อนำมาจัดทำแผนบรหิ ารความเสี่ยง โดยวิเคราะหจ์ ากความสำคัญของโครงการ เชน่ โครงการเชงิ ยุทธศาสตร์ , โครงการ Flagship , โครงการตามนโยบายท่สี ำคัญ , โครงการท่มี ีงบประมาณสูง เป็นตน้ 1.2 พิจารณาวิเคราะห์แผนงาน/โครงการ จากขอ้ 1. โดยกำหนดหลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คัดเลือกแผนงาน/โครงการทส่ี ำคญั ดังน้ี แผนการบริหารความเสี่ยงดา้ นความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวุฒสิ ภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๔ หลักเกณฑก์ ารพิจารณา เกณฑค์ ะแนนการพจิ ารณา 1. ความสอดคลอ้ งกบั กลยทุ ธ์ ๑๒ ๓ ในประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ไมส่ อดคล้องกับกล สอดคลอ้ งกับกลยุทธ์ ยุทธ์ใน ประเดน็ ในประเดน็ ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ 2. การสง่ ผลกระทบต่อ สง่ ผลกระทบตอ่ สง่ ผลกระทบตอ่ สง่ ผลกระทบตอ่ ความสำเรจ็ ของนโยบาย ความสำเร็จ ในระดับ ความสำเร็จ ใน ความสำเร็จ ในระดบั (โครงการสำคัญ) / ยทุ ธศาสตร์ ผลผลิตของสำนักงาน ระดบั เปา้ หมาย เปา้ หมายการ สำนกั งานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา เลขาธกิ ารวุฒิสภา การใหบ้ รกิ าร ใหบ้ รกิ ารประชาชน สำนักงาน เลขาธิการวฒุ ิสภา 1.3 พิจารณาวเิ คราะห์แผนงาน/โครงการมีคา่ คะแนนรวมสูงสดุ ในแตล่ ะประเด็นยทุ ธศาสตร์ มาจดั ทำแผนบริหารความเสี่ยง 2. พิจารณาเลือกกระบวนตามภารกจิ ท่สี ำคญั ของกระบวนการอนุมตั ิ อนญุ าต ตาม พระราชบญั ญัตกิ ารอำนวยความสะดวกในการพจิ ารณาอนญุ าตของทางราชการ 3. วิเคราะหค์ วามเส่ยี งและการจดั การความเสี่ยงเก่ียวกับผลประโยชนท์ บั ซอ้ น ซ่ึงเปน็ ความเสีย่ งที่มี ระดบั ความสำคัญและมผี ลกระทบสงู ตอ่ การบริหารราชการ และเปน็ สว่ นหน่งึ ของการประเมินคณุ ธรรมและ ความโปร่งใส่ในการดำเนินงานโครงการการของหน่วยงานภาครฐั และสอดรบั กบั การกากับดูแลองคก์ ารตาม พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และการกากับและดูแลองค์การ เร่อื ง การปอ้ งกันการทุจรติ และความโปรง่ ใส (PMQA 4.0 : หมวด 1) แผนการบรหิ ารความเส่ียงด้านความโปร่งใสของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๕ แผนบริหารความเสย่ี งสำนักงานประธานวฒุ ิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๔ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ เปา้ ประสงคเ์ ชงิ แผนงาน/โครงการ งบประมาณ ๑. เปน็ เลิศ ยทุ ธศาสตร์ เชงิ รุกออกจากกระบวน ๒. ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 1. เพ่ือใหอ้ งค์กรมรี ะบบ จดั การเร่อื งร้องเรียน พัฒนา เทคโนโลยี เทคโนโลยี สารสนเทศ ผา่ นนโยบายเรง่ ด่วน สารสนเทศและ และนวตั กรรมที่ทันสมัย นวตั กรรมตาม 1.การพัฒนาระบบเพ่อื แนวทาง Thailand บูรณาการ ฐานข้อมูล 4.0 ดา้ นการรบั เร่ือง ร้องเรียนตามโครงการ สมาชิกวุฒิสภาพบ ประชาชน ๓. ประเด็น 1. เพื่อให้บคุ ลากรมี 1. โครงการพัฒนาระบบ Competency Career ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ความเชีย่ วชาญ และมี Path และ แผนพฒั นา ความภกั ดตี ่อองคก์ ร สมรรถนะรายบคุ คล ส่งเสริมและ (IDP) สนบั สนุนการพฒั นา 2. โครงการพัฒนา บุคลากรใหม้ ีความ บคุ ลากรให้มีความ ชำนาญสหวิทยาการ เปน็ มืออาชพี แผนการบริหารความเสย่ี งด้านความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๖ แผนการบรหิ ารความเสยี่ งดา้ นความโปร่งใส ของสำนกั งานประธานวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ความเสีย่ งด้าน กระบวนงาน รปู แบบพฤตกิ ารณ์ มาตรการปอ้ งกนั ระยะเวลา ผรู้ ับผิดชอบ ความเสี่ยงด้าน ดา้ นการโปรง่ ใส่ ดำเนนิ การ ๑. การบริหาร กระบวนงาน ความโปร่งใส่ อนกุ รรมดา้ น จดั การเกยี่ วกับ ๑. มอบหมายให้มี ม.ค.๖๔ – รวบรวม แยก เร่ืองรอ้ งเรยี น ด้านการ ๑. การดำเนนิ การ ผูร้ ับผดิ ชอบชดั เจน ต.ค.๖๔ เร่ืองและ ตามโครงการ พจิ ารณา เก่ยี วกบั เรื่องมี ๒. จัดแผน ติดตามเรอ่ื ง สมาชิกวฒุ สิ ภา เก่ยี วกับเร่ือง ความลา้ ชา้ กระบวนการ ร้องเรียน พบประชาชน ร้องเรยี นตาม ๒. การเกบ็ ขอ้ มูล ดำเนนิ งานอย่างเปน็ สำนกั งาน โครงการ เกี่ยวกับเรือ่ ง ระบบ ประธาน สมาชิกวฒุ สิ ภา ร้องเรยี นไมเ่ ป็น ๓. จดั ทำระบบ วฒุ สิ ภา พบประชาชน ระบบทำใหก้ าร สารสนเทศเพื่อ สบื คน้ กระทำได้ จดั เกบ็ ขอ้ มูล กล่มุ งานรอง ยาก เกย่ี วกับเร่ือง ประธาน รอ้ งเรยี น วฒุ ิสภา คนที่สอง ๒. การบรหิ าร กระบวนงาน ๑. การ ๑. มอบหมายให้มี ม.ค. ๖๔ – สำนกั งาน จัดการเกย่ี วกบั ดา้ นการ เบิกจา่ ยเบ้ยี ผู้รบั ผดิ ชอบชดั เจน ต.ค. ๖๔ ประธาน โครงการกอง ดำเนนิ การ ประชุม ๒. จัดแผน วุฒิสภา ทนุ การศึกษา เกีย่ วกับ กระบวนการ โครงการกอง ๒. การบริหาร ดำเนนิ งานอย่างเปน็ ทนุ การศกึ ษา จัดการเกี่ยวกบั ระบบ โครงการกอง ๓. จัดทำระบบ ทนุ การศกึ ษา สารสนเทศเพอ่ื จัดเก็บขอ้ มูล เก่ียวกับเรือ่ ง รอ้ งเรยี น แผนการบริหารความเสีย่ งดา้ นความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวฒุ ิสภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๗ บทที่ ๕ การติดตามประเมนิ ผลการบรหิ ารความเสยี่ งดา้ นความโปร่งใส ภายหลังจากสำนักงานประธานวุฒิสภาได้จัดทำแผนบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใส และ มีการดำเนินการตามแผน จำเป็นต้องมีการรายงานและติดตามผลเป็นระยะ เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่า ได้มีการดำเนินงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม โดยมีเป้าหมายในการติดตามผล คือ เป็นการประเมิน คุณภาพและความเหมาะสมของวิธีการจัดการความเสี่ยง รวมทั้งติดตามผลการจัดการความเสี่ยง ด้านความโปร่งใส ที่ได้มีการดำเนินการแล้วว่าบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ตามแผนบริหารความเสี่ยง ด้านความโปร่งใส หรอื ไม่ โดยหน่วยงานตอ้ งสอบทานว่าวิธีการบรหิ ารจดั การความเสี่ยงด้านความโปร่งใสใด มีประสิทธิภาพดี ความเสี่ยงใด ควรปรับเปลี่ยนและจัดทารายงานสรุปผลการติดตามเสนอคณะกรรมการ บรหิ ารความเสี่ยงทราบ การตดิ ตามผล มี 2 ลกั ษณะ คือ 1) การตดิ ตามผลเปน็ รายคร้ัง (Separate Monitoring) สำหรบั ปงี บประมาณ พ.ศ. 256๔ ไดจ้ ดั ใหม้ ีการติดตามประเมินผลการบริหารความเส่ียงด้าน ความโปร่งใส 2) การติดตามผลในระหวา่ งการปฏิบตั ิ (Ongoing Monitoring) เป็นการติดตามผลการดำเนินงาน ตามปกติของสำนักงาน หากพบว่าปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวอยู่ใน ระดับที่ไม่สามารถยอมรับได้ ให้หน่วยงานกำหนด มาตรการ/กิจกรรมรองรับหรือควบคุมความเสี่ยง ถ้าเป็น กิจกรรมที่ไม่ต้องใช้งบประมาณมากเกินไป หน่วยงานนั้น สามารถดำเนินการได้ทันที และให้รายงานกรณีที่ พบความเสี่ยงใหม่ รวมทั้งรายงานผลการดำเนินการตามมาตรการ/กิจกรรมที่กำหนด หากเป็นกิจกรรมท่ี ต้องใช้งบประมาณจานวนมากเกินกว่าหน่วยงานจะบริหารจัดการได้ ให้รายงานต่อฝ่ายเลขานุการคณะ กรรมการบริหารความเสี่ยง เพื่อแจ้งให้คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงพิจารณาหาแนวทางในการจัดการ ความเสีย่ งตอ่ ไป ๓) การจัดทำรายงานสรุปผลการบรหิ ารความเสี่ยงประจำปี 256๔ ให้ฝ่ายเลขานุการคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใส จัดทำรายงานสรุปผลการ บริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใส ประจำปี โดยประมวลผลการดำเนินการตามแผนบริหารความเสี่ยงท่ี สำนักประธานวุฒิสภา รับผิดชอบในการดำเนินการ ตามมาตรการที่ระบุในแผนบริหารความเสี่ยง และ นำเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบรายงานผลการบริหารความเสี่ยงด้านความโปร่งใส ภายใน เวลาที่กำหนด แผนการบริหารความเสยี่ งดา้ นความโปรง่ ใสของสำนักงานประธานวุฒิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

๒๘ บรรณานกุ รม ๑. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงาน ป.ป.ท. (๒๕๖๑) คู่มือแนวทางประเมินความเสี่ยงการทุจริต FRAsRISK-ASSESSMENTS.[ ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก http://acoc.ops.moc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=352. ๒. สำนักงานประธานวุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (๒๕๖๒) แผนบริหารความเสี่ยง ดา้ นความโปรง่ ใสของสำนกั งานประธานวุฒิสภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓. สำนักงานประธานวุฒิสภา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (๒๕๖๓) แผนบริหารความเสี่ยง ดา้ นความโปร่งใสของสำนกั งานประธานวุฒสิ ภา ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ แผนการบริหารความเสีย่ งด้านความโปรง่ ใสของสำนักงานประธานวฒุ สิ ภา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔



คณะทำงานจดั การความรู้ (KM) สำนกั งานประธานวฒุ สิ ภา สำนักงานเลขาธกิ ารวุฒสิ ภา