50 ๒)กระบวนการปฏริ ปู ประเทศ/ปญั หาในทางปฏบิ ัติ ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) กรรมาธิการจำนวนหน่ึงเห็นว่าควรยกเลิกหมวด 16 การปฏิรูปประเทศไปจาก รัฐธรรมนูญ เน่ืองจากกว่าจะมีการแกไ้ ขเพ่มิ เติมเสรจ็ ส้ินก็ส้นิ สดุ ระยะเวลาการปฏิรปู ประเทศแลว้ และหากการดำเนนิ การตามแผนการปฏิรปู เป็นไปไม่ไดใ้ นทางปฏิบตั ิกเ็ ปล่าประโยชนท์ จี่ ะบญั ญัตไิ วใ้ น รฐั ธรรมนูญ (2) กรรมาธกิ ารบางท่านเห็นว่ายังควรคงบทบญั ญัติเก่ียวกับการปฏิรปู ประเทศไว้ แต่ต้อง ปรับเปลี่ยนกลไกการดำเนนิ การท้ังหมด เพราะหากส้นิ สุดระยะเวลาการปฏิรูปประเทศแลว้ จะไม่ สามารถใชบ้ ังคบั โดยรฐั ธรรมนญู ตอ่ ไปได้ (3) การปฏิรปู ตอ้ งใหเ้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิในทางปฏิบัติ ควรมบี ทบญั ญัตใิ นการกำกับวา่ หากไม่ ดำเนนิ การตามแผนการปฏิรปู ประเทศแลว้ จะเป็นอยา่ งไร เป็นบทบัญญัตทิ บ่ี งั คับได้กบั รัฐบาลทกุ ชุด แผนการปฏริ ูปแต่ละดา้ นควรมกี ารกำหนดเปา้ หมายและหน่วยงานรบั ผดิ ชอบอยา่ งชัดเจน ตัวชี้วดั ตอ้ ง ไม่ใช่การชว้ี ัดเพยี งผลผลติ (Output) ว่ามโี ครงการทท่ี ำเสร็จส้ินแล้วจำนวนเทา่ ไร แตต่ ้องชี้วดั ผลลัพธ์ (Outcome) ด้วยว่ากอ่ ให้เกดิ ผลประโยชน์ในเชิงของการปฏริ ูปอย่างไรบ้าง และต้องมีมาตรการ กลไก วิธีการท่ที ำใหบ้ รรลผุ ลจริง มหี นว่ ยงานที่ประเมนิ ผลใหก้ ับหน่วยงานผรู้ บั ผดิ ชอบ (4) วุฒิสภาควรวิเคราะห์และมีความเห็นตอ่ เนื้อหารายงานการปฏิรูปประเทศ วา่ มีคุณภาพ มากน้อยเพียงใด สมควรปรบั ปรุงอยา่ งไร ท้งั รายงานประจำปี และรายงานประจำไตรมาส (5) กรรมาธกิ ารบางทา่ นเห็นวา่ การนบั 5 ปขี องการปฏิรปู ประเทศ ควรนบั ต้งั แตร่ ัฐบาล เข้ารับหนา้ ท่วี ันที่ 10 กรกฎาคม 2562 โดยไมเ่ ร่ิมนบั ใหมห่ ากมีการเปล่ยี นคณะกรรมการปฏิรปู ประเทศ เพ่ือไม่ใหเ้ กดิ การขยายเวลาออกไปไมม่ ที สี่ น้ิ สุด (6) การปฏริ ปู ประเทศควรคำนึงถงึ ความต้องการของประชาชนและสถานการณ์ ท่เี ปลย่ี นแปลงไป ควรมีกระบวนการจดั ลำดับความสำคัญของปัญหาเป็นตวั ต้ัง โดยพจิ ารณาประเดน็ ปญั หาทีอ่ ยใู่ นความสนใจของประชาชน กับปญั หาที่หน่วยงานเลง็ เหน็ ว่าสงั คมกำลังเผชญิ หน้าอยู่ ทค่ี วร จะเร่งรดั ปฏิรูป เพ่ือใหผ้ ลงานปรากฏชดั และได้รบั ความเช่อื มน่ั จากประชาชนมากขนึ้ (7) ควรมีการสอื่ สารต่อสาธารณะอยา่ งสมำ่ เสมอถงึ การดำเนินการปฏิรปู ประเทศ วา่ ดำเนินการอะไรบา้ ง เพอ่ื วตั ถปุ ระสงค์อะไร มีความคบื หน้าอย่างไร มอี ุปสรรคอะไรบ้าง เพ่อื ให้สังคม ไดร้ บั รูแ้ ละมสี ่วนรว่ มไดม้ ากขน้ึ มิใชร่ บั รูก้ นั แค่ภายในสว่ นราชการ โดยอาจใชต้ วั อยา่ งจากต่างประเทศ ท่เี ปิดรับความคิดเห็นทุกช่องทางทงั้ ด้านบวกและด้านลบ คดั กรองสิ่งทเ่ี ป็นประโยชน์ในการขบั เคล่ือน แตไ่ ม่ปิดก้นั การรอ้ งเรยี นถึงปญั หาโดยท่ัวไปของประชาชนแล้วเรง่ ตอบสนอง ทำใหป้ ระชาชนรู้สึกวา่ การ ปฏิรูปประเทศเปน็ ส่วนหนึ่งของชีวิต (8) ควรสร้างความตระหนักรใู้ นเรอ่ื งการปฏิรูปประเทศตอ่ ท้ังหนว่ ยงานราชการและภาค สว่ นอืน่ ๆ เพื่อใหเ้ กดิ ความรู้ความเข้าใจและใหค้ วามร่วมมือในการดำเนินการปฏิรปู ประเทศ (9) ส านักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาตคิ วรออกแบบกลไกสรา้ งการมี สว่ นรว่ มจากภาคประชาชนไวใ้ นระบบ eMENSCR zee rice
51 ๓) เนื้อหาของการปฏิรูปประเทศ/ประเดน็ การปฏิรูปด้านตา่ ง ๆ ข้อสงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ (1) ควรให้อิสระและเสริมสร้างความเขม้ แขง็ ของประชาชนทที่ ำมาหากนิ ลดขอ้ ติดขดั ทาง กฎหมายในการจะประกอบการต่างๆ ให้ประชาชนคนตัวเลก็ ตวั น้อยทำมาหากินได้ ไมก่ ลายเป็นภาระ แก่ประเทศ โดยกรรมาธกิ ารท่านหนง่ึ เสนอให้ปลดปล่อยประชาชนจากพันธนาการของระบบราชการ ที่ต้องขออนญุ าตต่าง ๆ นานา เป็นเวลา 3 ปี โดยใหท้ ำคำรับรองว่าจะปฏิบัติใหถ้ ูกต้องตามกฎหมาย มีเจ้าหน้าทค่ี อยกำกบั ดแู ล ในขณะเดยี วกนั ก็ปรับปรงุ กฎหมายทีใ่ ช้ไมไ่ ด้จริง ท่ีทำให้เกิดการวงิ่ เต้น หรอื ใชเ้ สน้ สาย ร่วมมอื กนั ระหว่างผูค้ ุมกฎระเบียบ ผปู้ ระกอบการ และผ้บู ริโภค และสง่ เสรมิ ให้เกิดการ รวมตัวในหมู่ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดยอ่ ม (SMEs) เพ่ือดแู ลกันเองให้เกิดมาตรฐาน สร้าง อำนาจตอ่ รองในตลาด และส่งเสยี งเรยี กร้องไปยงั ภาครัฐ ส่วนรฐั มหี น้าที่หาตลาดและอำนวยความ สะดวกแกผ่ ู้ประกอบการนอกจากนีย้ งั เสนอให้มบี ทบัญญตั ิวา่ ดว้ ยการปลดเปลอ้ื งภาระและเสรมิ สร้าง พลังให้ประชาชนบัญญตั ิไวใ้ นรฐั ธรรมนูญ (2) การปฏริ ูปต้องเริม่ ตน้ ท่ตี วั เองเปน็ ตัวต้ัง มีความซ่อื สตั ย์สจุ ริต ไม่ใช้ทฤษฎีตา่ งประเทศ เพยี งอย่างเดียว หากแตต่ ้องคำนงึ ถึงพนื้ ฐานของประเพณีวฒั นธรรมของประเทศไทยด้วย ควรนำเรอ่ื ง เศรษฐกิจพอเพยี ง ความรักชาติศาสนา พระมหากษตั ริย์ ท่ีกำหนดในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบบั ท่ี 9 มาบรรจใุ นแผนการปฏริ ปู ประเทศดว้ ย (3) ประเทศไทยประสบปัญหาความขัดแย้งทางการเมือง และมแี นวโน้มทีจ่ ะเกิดความ รุนแรงได้การปฏริ ปู จงึ ควรพิจารณาถงึ กลไกการขจัดความขดั แยง้ ดว้ ยสนั ติวธิ ดี ว้ ย (4) ความสงบเรียบรอ้ ยต้องเกดิ จากประชาชนใช้เสรภี าพระดมสติปัญญาเพ่ือกำหนด นโยบายความมน่ั คงรว่ มกนั ตามวิถที างของประชาธิปไตย ไมใ่ ช่การยดึ ถอื ความสงบเรยี บร้อยเฉพาะใน แบบฉบับของทหารหรือตำรวจ บทเฉพาะกาล ๑) มาตรา 269 ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญมีความเหน็ แยกเป็น 2 แนวทางคอื แนวทางท่ี 1 เหน็ สมควรยกเลิกวุฒิสภาท่ีไดม้ าตามบทเฉพาะกาล ตามมาตรา 269 และใหว้ ฒุ ิสภามาจากวิธีการปกตติ ามท่ีรัฐธรรมนูญกำหนด ในมาตรา 107 แนวทางท่ี 2 ให้วุฒสิ ภาชุดปัจจบุ นั ปฏิบัติหนา้ ท่ีต่อไปจนครบวาระหา้ ปแี ตอ่ าจมีการปรับ ในเรือ่ งบทบาท หน้าทีแ่ ละอำนาจ เชน่ บทบาทในการร่วมเลือกนายกรัฐมนตรี หนา้ ทแ่ี ละอำนาจในการ ตดิ ตาม กำกบั การท างานของคณะรฐั มนตรใี นเรอ่ื งการปฏิรูปประเทศ zee rice
52 2) มาตรา 270 ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาเหน็ สมควรใหม้ ีการแก้ไขมาตรา 270 ดังนี้ (1) ยกเลกิ มาตรา 270 วรรคหนงึ่ หรอื แก้ไขขยายเวลาการท่ีกำหนดให้คณะรัฐมนตรี ตอ้ งรายงานต่อรฐั สภา ตามวรรคหนงึ่ เป็นทุกหกเดือน (2) ตดั ขอ้ ความในวรรคสองและวรรคทเี่ ก่ียวข้อง ออกไปทัง้ วรรค ให้การออกกฎหมาย ทุกฉบับเป็นไปตามกระบวนการปกติของรัฐสภา (3) ควรแก้ไขเพมิ่ เติมมาตรา 270 วรรคหน่ึง โดยกำหนดให้เปน็ หน้าทแ่ี ละอำนาจของ รัฐสภาในการตดิ ตาม เสนอแนะ และเรง่ รัดการปฏริ ปู ประเทศ เพือ่ ใหบ้ รรลุเป้าหมายตามหมวด 17 การ ปฏริ ูปประเทศ 3) มาตรา 271 ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาเหน็ ว่า ควรยกเลิกมาตรา 271 4) มาตรา 272 ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามญั มีความเห็นแยกเปน็ 2 แนวทาง คอื แนวทางที่ 1 เปน็ เสียงสว่ นใหญ่ สมควรยกมาตรา 272 ออกท้ังมาตรา โดยใหก้ ารลงมตเิ ลอื ก นายกรัฐมนตรี กระทำในท่ปี ระชมุ สภาผู้แทนราษฎร ตามท่เี คยดำเนนิ การในรัฐธรรมนญู ฉบบั ตา่ ง ๆ ที่ผ่านมา แนวทางท่ี 2 เป็นเสยี งส่วนน้อย ไมม่ ีความจำเป็นทีจ่ ะต้องแก้ไขเพม่ิ เตมิ หรือยกเลิกมาตรา 272 เนอื่ งจากการใหว้ ุฒิสภามอี ำนาจในการเลือกนายกรฐั มนตรีเป็นการบงั คับใชช้ ่ัวคราวในช่วงทม่ี กี าร เปลีย่ นผ่านและไดม้ กี ารเลือกนายกรัฐมนตรีไปแลว้ 5) มาตรา 279 ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญมีความเหน็ เป็น 2 แนวทาง คอื แนวทางที่ 1 ใหย้ กเลิกมาตรา 279 เพราะมาตราดังกลา่ ว เปน็ การไม่เปิดโอกาสให้ ผูไ้ ดร้ บั ผลกระทบจากคำสัง่ ประกาศ สามารถตรวจสอบไดว้ ่า การใช้อำนาจรัฐในขณะนนั้ เป็นการชอบ ด้วยกฎหมายหรือไม่ การมมี าตราดังกล่าวเปน็ การไปรับรองประกาศ คำส่ังทีม่ ลี กั ษณะเป็นการลดิ รอน สทิ ธิเสรีภาพก่อนประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู ซึ่งขดั กับบทบัญญัตริ ัฐธรรมนญู วา่ ดว้ ยสิทธเิ สรีภาพของปวงชน ชาวไทย แนวทางที่ 2 ให้คงมาตรา 279 ไวเ้ น่ืองจากมีการออกประกาศคำส่งั ตา่ ง ๆ จำนวนมาก ซง่ึ จะมีผลกระทบทางกฎหมายตามมาและหากฉบับใดมปี ัญหากส็ ามารถใชก้ ระบวนการแก้ไข โดยออกเป็นพระราชบญั ญัติโดยรฐั สภา หรือใชค้ ำสัง่ นายกรัฐมนตรีหรือมติคณะรัฐมนตรแี ล้วแต่กรณีได้ และการยกเลิกมาตราดังกล่าวอาจนำไปสู่ความขดั แย้งในหมูป่ ระชาชน ถึงขนั้ ชมุ นุมประท้วง zee rice
53 3. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามญั คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศกึ ษาปัญหา หลกั เกณฑ์ และแนวทางการแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 ได้พิจารณาศึกษาประเดน็ ปัญหาการบังคับใชห้ รือ ความไมส่ มบูรณ์ รวมทัง้ หลกั การและเจตนารมณข์ องบทบญั ญตั ิรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช2560 ในแตล่ ะประเด็นปญั หา โดยคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญได้มีข้อสังเกต ความเห็น และ ข้อเสนอแนะตอ่ ประเดน็ ปัญหาการบงั คับใชห้ รือความไม่สมบูรณข์ องบทบัญญตั ิรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยพุทธศกั ราช 2560 ไว้ส่วนทา้ ยในแตล่ ะประเด็น เพ่อื เป็นขอ้ มูลสำหรับองค์กรท่มี ี อำนาจในการเสนอญตั ติแกไ้ ขเพมิ่ เติมรฐั ธรรมนญู ตามบทบัญญัตมิ าตรา 256 ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ได้นำไปเปน็ ขอ้ มูลประกอบการพจิ ารณาแก้ไขเพมิ่ เตมิ บทบญั ญัติ รัฐธรรมนูญในอนาคตตอ่ ไป ทงั้ น้ี คณะกรรมาธิการวสิ ามญั เห็นควรมขี ้อสงั เกตท่สี ภาผ้แู ทนราษฎร วฒุ สิ ภา และ คณะรัฐมนตรี ควรทราบหรือควรปฏิบตั ิ ดังน้ี 3.1 สภาผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา คณะกรรมาธิการสามัญและคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญของ สภาผ้แู ทนราษฎรและวฒุ สิ ภา ท่มี หี น้าที่และอำนาจเกีย่ วกบั การศึกษาปญั หาการบงั คบั ใช้บทบัญญัติ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ควรนำข้อมลู ไปประกอบการพิจารณา เชน่ คณะกรรมาธิการการพฒั นาการเมืองและการมีสว่ นร่วมของประชาชน วุฒสิ ภา คณะกรรมาธิการการ พฒั นาการเมือง การส่ือสารมวลชน และการมีสว่ นรว่ มของประชาชน สภาผ้แู ทนราษฎร เป็นตน้ นอกจากนั้น ใหส้ ำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรดำเนนิ การเผยแพร่รายงานของคณะกรรมาธิการ วสิ ามญั พจิ ารณาศกึ ษาปัญหา หลักเกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพิม่ เตมิ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ทางสอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์และช่องทางอ่นื เพ่ือเผยแพรใ่ ห้แกห่ น่วยงานของรัฐ และ ประชาชนทส่ี นใจได้นำไปใช้ประโยชนใ์ นทางวชิ าการต่อไปด้วย 3.2 คณะรฐั มนตรี คณะรัฐมนตรีในฐานะท่เี ปน็ องคก์ รทม่ี อี ำนาจในการเสนอญตั ติขอแก้ไข เพ่ิมเติมรฐั ธรรมนญู ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 256 (1) ควรนำ ขอ้ มลู การศึกษาประเดน็ ปัญหาการบังคับใชห้ รือความไม่สมบูรณข์ องบทบญั ญตั ริ ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 โดยเฉพาะบทบญั ญตั ิทีม่ ีผลกระทบตอ่ ประชาชนโดยตรง ไป ประกอบการพจิ ารณาในการเสนอญตั ตขิ อแกไ้ ขเพิ่มเตมิ รฐั ธรรมนูญตามรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช 2560 2.3. เสนอต่อประธานรัฐสภาวนั ไหน ? คำตอบ นายพรี ะพนั ธ์ุ สาลีรัฐวภิ าค ประธานคณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณา ศกึ ษา ปญั หา หลกั เกณฑแ์ ละแนวทางการแก้ไขเพม่ิ เตมิ รฐั ธรรมนูญ พุทธศกั ราช 2560 พร้อมคณะ ส่งมอบ รายงานผลการศึกษาฯ ตอ่ นายชวน หลกี ภยั ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร เมื่อวันที่ 31 สงิ หาคม 2563 zee rice
54 2.4. การเสนอแก้ไข รธน. 60 ของพรรคฝ่ายคา้ นและของพรรคร่วม ฯ ตอ่ ประธานรฐั สภา เมื่อใด ? คำตอบ นายสมพงษ์ อมรวิวฒั น์ ผู้นำฝา่ ยค้าน และตัวแทนพรรครว่ มฝ่ายคา้ น ย่ืนญตั ตขิ อ แก้ไขรัฐธรรมนญู นายชวน หลกี ภัย ประธานสภาผูแ้ ทนราษฎร เมอ่ื วันท่ี 17 สิงหาคม 2563 3.ประเด็นการทำประชามติ เพื่อลงคะแนนใหค้ วามเหน็ ชอบ ร่างรัฐธรรมนูญ 60 เม่อื วันท.่ี ...? มี 2 คำถามแต่ละคำถามมีผเู้ ห็นชอบและไม่เห็นชอบเท่าไร?และมีผูม้ าลงมตทิ งั้ สิน้ มัว่ ประเทศเท่าไร? 1) ผลคะแนนจากการออกเสยี งประชามตใิ นประเดน็ รา่ งรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย การออกเสยี งประชามติ ร่างรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช .... ทางเลือก คะแนนเสียง % เห็นชอบ 16,820,402 61.35% ไม่เหน็ ชอบ 10,598,037 38.65% บัตรดี 27,418,439 96.85% บัตรเสยี หรอื ไม่ลงคะแนน 936,209 3.15% คะแนนเสยี งทงั้ หมด 29,740,677 100.00% อัตราการลงคะแนนเลือกต้ัง 59.40% จำนวนผมู้ ีสทิ ธเิ์ ลือกตงั้ 50,071,589 แหล่งอ้างองิ : ขอ้ มลู การออกเสยี งประชามตขิ องคณะกรรมการการเลอื กต้งั zee rice
55 2) ผลคะแนนจากการออกเสยี งประชามติในประเด็นเพิ่มเตมิ ว่าดว้ ยบทเฉพาะกาล ในร่างรฐั ธรรมนูญ การออกเสยี งประชามติ ประเดน็ เพิม่ เติมว่าด้วยบทเฉพาะกาลในรา่ งรัฐธรรมนูญ ทางเลอื ก คะแนนเสยี ง % เห็นชอบ 15,132,050 58.07% ไม่เห็นชอบ 10,926,648 41.93% บตั รดี 26,058,698 91.90% บตั รเสยี หรอื ไม่ลงคะแนน 3,681,979 8.10% คะแนนเสียงทั้งหมด 29,740,677 100.00% อตั ราการลงคะแนนเลอื กตงั้ 59.40% จำนวนผูม้ ีสทิ ธเิ์ ลอื กต้งั 50,071,589 แหล่งอ้างองิ : ข้อมลู การออกเสยี งประชามติของคณะกรรมการการเลอื กตั้ง (ประชามติเมอ่ื วนั ท่ี 7 สิงหาคม พ.ศ. 2559 และ กกต.ประกาศรบั รองผลเมอ่ื วันท่ี 7 สงิ หาคม พ.ศ. 2559) zee rice
56 บรรณานุกรม 1. วกี ิพเี ดีย สารานกุ รมเสรี “รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2492 2. วกิ ิพเี ดยี สารานุกรมเสรี เรื่อง รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501 3. รายงานของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาศึกษาปัญหา หลกั เกณฑ์ และแนวทางการแก้ไข เพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 zee rice
Search