Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญของไทยในอดีต

การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญของไทยในอดีต

Published by zeenate7, 2020-09-19 12:24:04

Description: สภาร่างรัฐธรรมนูญ คือ “คณะบุคคลที่ทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญ มักเกิดขึ้นเมื่อมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวและต้องการให้มีรัฐธรรมนูญฉบับถาวร หรือเป็นกรณีที่ต้องการประสานประโยชน์ ตรงตามความประสงค์ของบุคคลทุกฝ่ายมากที่สุด”

Search

Read the Text Version

สภารา่ งรัฐธรรมนญู คือ “คณะบุคคลท่ีทำ หนา้ ที่ร่างรฐั ธรรมนญู มกั เกดิ ขน้ึ เม่ือมกี ารประกาศใช้ รฐั ธรรมนญู ฉบบั ชว่ั คราวและต้องการใหม้ ีรัฐธรรมนูญ ฉบบั ถาวร หรือเปน็ กรณีทตี่ ้องการประสานประโยชน์ ตรงตามความประสงค์ของบุคคลทุกฝ่ายมากทส่ี ดุ ” ประเด็นคำถาม : เกีย่ วกบัสภารา่ งรฐัธรรมนญู zee rice

1 สารบญั ประเดน็ คำถาม : เก่ยี วกับสภารา่ งรฐัธรรมนญู 1. การต้ังสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ................................................................................. หน้า 1.1 สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) มคี ำนยิ ามตามกฎหายหรือไม่? 1 และหมายความว่าอยา่ งไร? ............................................................................. 1.2 ส.ส.ร. ต้ังมาแล้วก่คี รง้ั ? เม่อื ใดบ้าง ? ทำให้เกิด รธน. ฉบับไหนบา้ ง ?........... 2 1.3 การตงั้ ส.ส.ร. แตล่ ะคร้งั มเี หตผุ ลอะไร ? 2 ข้อความทตี่ ัดทิ้งและเพ่ิมมีอะไรบา้ ง ?............................................................. 1.4. สรุป ผล ส.ส.ร. เขียนแตล่ ะครัง้ นำมาใชป้ ระโยชน์เป็นอยา่ งไร? ..................... 3 1.5. สรุป ผล ส.ส.ร. เขยี นแตล่ ะครง้ั นำมาใช้ประโยชนเ์ ป็นอย่างไร? ..................... 6 6 2 การตั้งคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญศึกษาการแกไ้ ขรฐั ธรรมนญู 60 10 ชดุ ทมี่ นี ายพีระพนั ธุ์ สาลีรัฐวิภาค ..................................................................................... 10 2.1 องคป์ ระกอบ กมธ. ดว้ ยใครบ้าง ฯ ................................................................. 12 2.2 มกี ารเสนอแก้ไขหรือตดั มาตราใดบ้าง ? เพราะอะไร ? ................................... 53 2.3. เสนอตอ่ ประธานรัฐสภาวันไหน ? ............................................................ ....... 2.4. การเสนอแกไ้ ข รธน. 60 ของพรรคฝ่ายคา้ นและของพรรครว่ ม ฯ 54 ตอ่ ประธานรัฐสภาเมอ่ื ใด ? ..................................................................... ....... 3. ประเดน็ การทำประชามติ เพือ่ ลงคะแนนใหค้ วามเห็นชอบร่างรัฐธรรมนญู 60 เม่ือวนั ที.่ ...? มี 2 คำถามแต่ละคำถามมผี ู้เหน็ ชอบและไม่เหน็ ชอบเทา่ ไร? และมีผมู้ าลงมติทง้ั สิน้ มั่วประเทศเทา่ ไร?........................................................................... 54 บรรณานกุ รม ………………………………………….................................................................................. 56 zee rice

2 ประเดน็ คำถาม : เก่ยี วกบัสภารา่ งรฐัธรรมนญู 1. การตง้ั สภารา่ งรฐั ธรรมนูญ (ส.ส.ร.) 1.1 สภารา่ งรฐั ธรรมนูญ (ส.ส.ร.) มคี ำนิยามตามกฎหายหรือไม่? และหมายความวา่ อย่างไร? คำตอบ ส.ส.ร. ไม่มคี ำนิยามตามกฎหมาย เพยี งแต่ ส.ส.ร. เป็นเพียงคำย่อ ท่ยี ่อมาจาก คำว่า “สมาชิกสภารา่ งรฐั ธรรมนูญ” สภารา่ งรฐั ธรรมนูญ คือ คณะบุคคลทีท่ ำหน้าท่รี า่ งรัฐธรรมนูญ มกั เกดิ ข้นึ เมอ่ื มีการ ประกาศใชร้ ฐั ธรรมนญู ฉบบั ช่ัวคราวและตอ้ งการใหม้ รี ฐั ธรรมนูญฉบับถาวร หรอื เป็นกรณีทีต่ ้องการ ประสานประโยชน์ ตรงตามความประสงคข์ องบคุ คลทุกฝา่ ยมากท่สี ุด รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2492 เป็นรฐั ธรรมนูญฉบบั แรกของไทย ท่ีรา่ งโดยสภาร่างรฐั ธรรมนญู ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 1.2. ส.ส.ร. ต้งั มาแล้วก่ีครงั้ ? เม่ือใดบ้าง ? ทำให้เกิด รธน. ฉบับไหนบา้ ง ? คำตอบ นบั ตง้ั แต่เปล่ยี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบรู ณาญาสิทธริ าชยม์ าเปน็ การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย ซงึ่ มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นพระประมุข เมื่อวันท่ี 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 ได้ก่อให้เกิดพัฒนาการด้านการเมืองการปกครองของประเทศไทย โดยเปน็ ประเทศหน่งึ ทม่ี ี การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย สภารา่ งรฐั ธรรมนูญไทยสภารา่ งรฐั ธรรมนูญ หรือ ส.ส.ร. แตง่ ต้ัง ขึ้นมาเพ่อื ทำหนา้ ทร่ี า่ งรฐั ธรรมนูญฉบับใหม่ และนับจากอดีตจนถงึ ปจั จบุ ัน ประเทศไทยได้มีการ จัดตง้ั สภาร่างรัฐธรรมนญู ข้นึ มาร่างรฐั ธรรมนญู แลว้ จำนวน 4 คร้ัง ดงั นี้1 ครงั้ แรก สภาร่างรัฐธรรมนญู 2491 เป็นสภาร่างรัฐธรรมนูญที่จดั ทำรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย 2492 ครง้ั ทส่ี อง สภาร่างรฐั ธรรมนูญ 2502 เป็นสภาร่างรฐั ธรรมนญู ท่ีจดั ทำรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย 2511 ครง้ั ทส่ี าม สภาร่างรัฐธรรมนญู 2539 เป็นสภาร่างรัฐธรรมนญู ทจ่ี ัดทำรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 2540 ครง้ั ทส่ี ่ี สภาร่างรฐั ธรรมนูญ 2549 เป็นสภาร่างรฐั ธรรมนญู ทีจ่ ดั ทำรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย 2550 1.3. การต้งั ส.ส.ร. แต่ละคร้งั มเี หตผุ ลอะไร ? ข้อความที่ตดั ทิ้งและเพ่มิ มีอะไรบ้าง ? 1) สภาร่างรฐั ธรรมนญู พทุ ธศักราช 2491 เปน็ สภารา่ งรัฐธรรมนูญคณะแรกของประเทศไทย โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชว่ั คราว) เพือ่ ทำหน้าท่รี ่างรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 กระบวนการและข้อถกเถียงสำคญั รัฐบาลของนายควง อภัยวงศ์ พยายามเร่งรดั ใหม้ ีการร่าง 1 วีกพิ เี ดีย สารานกุ รมเสรี “รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 zee rice

3 รัฐธรรมนญู ฉบับถาวรใหเ้ ร็วทสี่ ดุ อันเปน็ สว่ นหนึ่งของความพยายามที่สร้างความม่นั คงให้กับรัฐบาล เนอื่ งจากรฐั บาลต้องใช้อำนาจรว่ มกับคณะรัฐประหารซึ่งพยายามท่ีจะเขา้ มาแทรกแซงการดำเนินงาน ของรัฐบาล ดังกรณกี ารแตง่ ตง้ั สมาชกิ วุฒิสภา เพราะฉะนั้น การมรี ัฐธรรมนูญฉบับถาวรจะทำใหร้ ฐั บาล มคี วามมน่ั คงคงด้วย ดังนนั้ ในวนั ท่ี 18 ธันวาคม พ.ศ.2490 นายควง อภัยวงศ์ ในฐานะนายกรัฐมนตรี จึงได้เสนอให้วุฒิสภาในฐานะรัฐสภา พจิ ารณารา่ งรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบบั ช่ัวคราว) แก้ไขเพิ่มเติม ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2490 เพ่อื นำไปสกู่ ารร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวรโดยรฐั บาลได้เสนอวิธีการ รา่ งรฐั ธรรมนูญ 3 วิธี คอื (1) ต้งั กรรมาธิการยกร่าง (2) ใหร้ าษฎรเลือกตง้ั สมาชกิ สภาร่างรัฐธรรมนญู และ (3) ให้รัฐสภาเลอื กตั้งสมาชกิ สภาร่างรฐั ธรรมนูญ โดยทปี่ ระชมุ ไดอ้ ภปิ รายเกี่ยวกับวิธกี ารร่าง รฐั ธรรมนูญอย่างกว้างขวาง และไดล้ งมตริ บั หลกั การด้วยคะแนนเสียง 76-7 ตอ่ มาท่ปี ระชมุ ไดแ้ ต่งตงั้ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั จำนวน 14 คน เพ่ือใหท้ ำหน้าทีพ่ ิจารณาข้อเสนอเก่ยี วกับวธิ ีการร่าง รฐั ธรรมนูญของรัฐบาล ซ่ึงประกอบไปด้วยสมาชิกวุฒิสภา จำนวน 11 คน และสมาชิกที่มาจากรัฐบาล อกี 4 คน วฒุ ิสภาในฐานะรัฐสภาไดล้ งมตดิ ว้ ยคะแนนเสียง 76 ต่อ 0 เห็นชอบรา่ งรัฐธรรมนญู แห่ง อาณาจกั รไทย2 2) สภาร่างรัฐธรรมนญู พ.ศ. 2502 สภาร่างรัฐธรรมนญู เปน็ สภารา่ งรัฐธรรมนูญคณะท่ี 2 ของประเทศไทยแตง่ ต้งั ขึ้นตาม อำนาจแห่งธรรมนูญการปกครองราชอาณาจกั ร พุทธศกั ราช 2502 เพื่อรา่ งรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักร ไทยฉบับถาวร เหตุผลของการตัง้ ส.ส.ร. สืบเนอื่ งมาจากการเมืองในรัฐสภาไม่สงบ บรรดาสมาชิกสภาผแู้ ทน ราษฎรเรยี กร้องเอาผลประโยชน์และมกี ารขู่ว่าหากไมไ่ ด้ตามท่รี ้องขอจะถอนตวั จากการสนับสนนุ รัฐบาล เป็นตน้ พลโท ถนอม กติ ตขิ จร ไม่อาจควบคมุ สถานการณ์ได้ ประกอบกับจอมพล สฤษด์ิ ธนะรชั ต์ หัวหน้า คณะปฏิวตั ิ ไดเ้ ดินทางไปต่างประเทศเพอ่ื รกั ษาโรคประจำตวั เมือ่ เดินทางกลบั มา ในเช้าวนั ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 พลเอกถนอม กติ ตขิ จร จงึ เขา้ เฝา้ พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร กราบถวายบงั คมทลู ลาออกในเวลาเทย่ี งของวันเดียวกนั แต่ยังไมไ่ ดป้ ระกาศให้แก่ ประชาชนทราบโดยทว่ั กนั กระทง่ั เวลา 20.45 นาที จึงได้มีการประกาศเร่ืองพลเอกถนอม กิตติขจร ลาออก จากตำแหน่งนายกรัฐมนตรจี ากน้นั ในเวลา 21.00 นาที จอมพล สฤษด์ิ ธนะรชั ต์ ประกาศยึดอำนาจอีกครัง้ โดยอ้างถงึ เหตคุ วามมั่นคงของประเทศ ซง่ึ มลี ัทธิคอมมิวนสิ ต์กำลังคุกคาม โดยมีคำส่งั คณะปฏิวตั ใิ ห้ยกเลิก รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2475 แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศกั ราช 2495 ที่ใชอ้ ยขู่ ณะนนั้ ยุบสภา ยกเลิกสถาบันทางการเมอื ง ไดแ้ ก่ พรรคการเมอื ง เป็นตน้ 3 จากนั้นต้ังแต่วนั ท่ี 20 ตลุ าคม พ.ศ. 2501 จนถึงวนั ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2502 คณะปฏวิ ัติได้มีประกาศคณะปฏวิ ตั อิ อกมาท้ังหมด 57 ฉบับ คณะปฏิวตั สิ ังเกตเหน็ วา่ มีความอลเวงไมส่ งบ เรียบรอ้ ย บา้ นเมอื งอาจประสบอนั ตรายไดอ้ ยา่ งมาก ถ้าจะใหก้ ารปกครองประเทศเป็นไปโดยเรยี บรอ้ ย และจะใหก้ ารปกครองระบอบรัฐธรรมนูญเป็นการม่นั คงถาวรโดยแท้แล้ว จะตอ้ งสรา้ งรากฐานของ ระบอบน้นั โดยพฒั นาการศึกษาและการเศรษฐกจิ ของชาติ ตามแผนและโครงการท่แี นน่ อน กบั ทัง้ จัดให้ มีรฐั ธรรมนญู ทเี่ หมาะสม จึงไดท้ ำการปฏวิ ัตเิ มือ่ วนั ที่ 20 ตลุ าคม 2501 และ คณะปฏวิ ตั ิได้ประกาศให้ 2 รายงานการประชุมวุฒสิ ภาสมยั สามญั พ.ศ.2490, น.433 – 457 อ้างถึงใน เฉลิมเกียรติ ภาระเวช, 2557, น.192 - 198 3 วกิ ิพีเดยี สารานุกรมเสรี เรื่อง รฐั ประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501 zee rice

4 ยกเลกิ รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2475 แกไ้ ขเพิ่มเตมิ พทุ ธศกั ราช 2495 และการ ทจี่ ะใหร้ ฐั ธรรมนญู ท่ีเหมาะสมน้ัน หัวหน้าคณะปฏิวัติ ไดน้ ำความกราบบังคมทูลว่า สมควรจดั ให้มีสภา รา่ งรัฐธรรมนูญ และมธี รรมนญู การปกครองราชอาณาจกั รเพือ่ ใช้ไปพลางกอ่ น ทรงพระราชดำริเห็นชอบ ด้วย เม่อื วนั ท่ี 28 มกราคม 2502 จ่ึงได้มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมใหใ้ ชธ้ รรมนญู การปกครองราชอาณาจกั ร จนกวา่ จะได้ประกาศใช้รฐั ธรรมนูญซึ่งสภารา่ งรฐั ธรรมนูญจะไดจ้ ัดร่างขน้ึ 4 สภารา่ งรัฐธรรมนญู ไดด้ ำเนนิ การร่างรฐั ธรรมนญู โดยละเอยี ดถถี่ ว้ น กล่าวคอื ได้ ตงั้ คณะกรรมาธกิ ารฟงั ความคดิ เหน็ ประชาชน มหี น้าทร่ี วบรวมพิจารณาความคิดเหน็ ของประชาชน คณะกรรมาธิการระเบียบวาระ มีหน้าท่คี น้ ควา้ และรวบรวมหลกั สาร สำคญั อนั ควรพิจารณา และ คณะกรรมาธิการยกร่างรฐั ธรรมนญู มหี น้าท่ยี กรา่ งรฐั ธรรมนญู และในการน้ี เฉพาะหลักสาระสำคญั ใหถ้ อื ตามมติของสภาในการร่างรฐั ธรรมนญู น้ี ทงั้ สภาร่างรัฐธรรมนูญและคณะ กรรมาธิการที่เก่ยี วขอ้ ง ได้พิจารณาดบู ทรฐั ธรรมนูญที่มีมาแล้วใน ประเทศไทย กับทั้งบทรฐั ธรรมนญู ของนานาประเทศประกอบ ดว้ ย แต่ความมุง่ หมายโดยเฉพาะ ก็คอื จะบญั ญัติบทรัฐธรรมนญู ให้เหมาะสมกับความตอ้ งการของ ประเทศชาติ เพอื่ ให้ต้งั อยใู่ น เสถยี รภาพและความเจริญกา้ วหนา้ สืบไป 3) สภารา่ งรัฐธรรมนญู พ.ศ. 2539 เปน็ สภาท่ีมหี นา้ ท่รี า่ งรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 เกิดข้ึนในสมยั รัฐบาลนายบรรหาร ศิลปอาชา เป็นนายกรฐั มนตรี ขณะน้ันมกี ารเรยี กรอ้ งให้มกี ารปฏิรูป การเมือง ให้แก้ไขรฐั ธรรมนูญใหม้ คี วามเป็นประชาธปิ ไตย สกัดก้นั นักการเมอื งทซ่ี ้ือเสียง และหวงั เขา้ มา คอรร์ ัปชัน โดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2534 แก้ไขเพิ่มเตมิ ครง้ั ท่ี 6 พ.ศ. 253 สภารา่ งรัฐธรรมนญู ชุดน้ี ท่ีประชมุ รัฐสภาสรุปให้ประกอบดว้ ยสมาชกิ จำนวน 99 คน โดยมีทม่ี าจากตวั แทนที่มาจากการเลอื กต้ังประชาชนทางออ้ มทง้ั หมด 76 จังหวัด และตวั แทน นกั วชิ าการ เสนอรายช่ือโดยสถาบันการศกึ ษา จำนวน 23 คน ส่วนสมาชิกทเี่ ป็นของตัวแทนประชาชนมี ที่มา 3 ขน้ั ตอนดงั น้ี 1.จากการเลือกตงั้ ของประชาชนในจังหวดั นน้ั ๆ 2.ใหผ้ ูส้ มัครคัดเลือกกันเองให้เหลอื จงั หวัดละ 10 คน รวมเปน็ 760 คน 3. จากนนั้ จงึ ส่งรายช่อื ทง้ั 760 คน ให้สมาชกิ รัฐสภาซ่ึงประกอบด้วย สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรและสมาชกิ วฒุ ิสภา คดั เลือกข้ันสดุ ท้ายใหเ้ หลือจงั หวดั ละ 1 คน รวม 76 คน โดยสมาชิกที่กล่าวถงึ ทง้ั ที่มาจากการเลือกตั้งและตัวแทนนกั วชิ าการก็คือสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนญู หรอื สสร. ประธานสภารา่ งรฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2539 คอื นายอุทยั พมิ พใ์ จชน 4) สภาร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 เปน็ สภาทมี่ หี น้าท่รี า่ งรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 โดยสมาชกิ สภารา่ งรฐั ธรรมนูญนี้ ไดร้ ับการสรรหามาจากสมาชกิ สมชั ชาแห่งชาติ พ.ศ. 2549 จำนวน 1,982 คน ลงมติคัดเลือกกันเอง เหลือ 200 คน และคณะมนตรีความม่ันคงแหง่ ชาติ ทำการคดั เลือก 4 วกิ ิพเี ดยี สารานุกรมเสรี เร่อื ง “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2492 zee rice

5 เหลือ 100 คน แล้วเสร็จต้งั แต่วนั ท่ี 27 ธันวาคม พ.ศ. 2549 เพ่อื นำรายช่อื ขน้ึ ทูลเกล้าฯ พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกล้า ฯ แต่งตงั้ สมาชกิ สภารา่ ง รฐั ธรรมนญู ตามมาตรา 23 ของรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว) พ.ศ. 2549 เมอื่ วนั ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2550 โดยพลเอกสนธิ บุญยรัตกลิน ประธาน คมช. เป็นผู้รบั สนองพระบรมราชโองการ สัดสว่ นของสมาชกิ สภาร่างรฐั ธรรมนญู ชุดน้ี มาจากบุคคลในภาครัฐ 28 คน ภาคเอกชน 27 คน ภาค สงั คม 23 คน และภาควชิ าการ 22 คน หากจำแนกตามภูมภิ าค ประกอบดว้ ยภาคเหนือ 10 คน ภาค กลาง 68 คน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื 12 คน และภาคใต้ 10 คน สมาชิกสภาร่างรฐั ธรรมนูญ จะคัดเลือกกันเองใหเ้ หลือ จำนวน 25 คน และคณะมนตรีความมน่ั คงแหง่ ชาติจะคดั เลือกผูท้ รงคณุ วุฒิ อกี 10 คน รวมเปน็ 35 คน เพอ่ื ทำหนา้ ที่เปน็ คณะกรรมาธกิ าร ประเดน็ ขอ้ เรยี กรอ้ ง ร่างรัฐธรรมนูญฉบบั นี้ มบี ุคคลและองคก์ รตา่ ง ๆ ออกมาเรียกร้องในหลายประเด็น เชน่ 1) การแก้ใหส้ มาชิกวฒุ ิสภามาจากการแตง่ ตง้ั แทนทจ่ี ะมาจากการเลือกตั้ง เดิมใน รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 สมาชกิ วฒุ ิสภา มาจากการเลอื กตั้ง สภารา่ ง รฐั ธรรมนูญได้แก้ไขให้มาจากการแต่งตั้งโดยกลุ่มทหารและข้าราชการ นายวชิ า มหาคุณ อดตี ผู้พพิ ากษา และกรรมการ คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริตแห่งชาติ ได้สนบั สนุนการแตง่ ต้งั สมาชกิ วุฒสิ ภา โดยกลา่ วว่า \"เรารู้กนั ดีวา่ การเลอื กตงั้ สมาชิกวุฒิสภาเปน็ เร่ืองการเล่นตลกร้ายของตระกลู นักการเมือง ทำไมชาวบา้ นถงึ อยากใหเ้ ห็นประวตั ศิ าสตรซ์ ้ำรอย? ชาวบา้ น และโดยเฉพาะนกั วิชาการ ท่ีอยากให้รฐั ธรรมนูญฉบบั นีจ้ ะก่อให้เกิด ประชาธิปไตยที่แทจ้ ริง กำลงั คดิ แบบฝนั ลอย การเลอื กตั้ง สมาชิกวุฒสิ ภาเป็นปัญหา สภาเหมอื นทีเ่ หน็ กันในอดตี ดังนนั้ ทำไมชาวบ้านไม่อยากให้กลมุ่ ผูพ้ ิพากษา ช่วยเลอื กให้ 2) การลดความมั่นคงของฝา่ ยบรหิ ารและระบบพรรคการเมือง เดมิ ในรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 ฝ่ายบริหารที่มาจากการเลือกตง้ั มคี วามม่ันคง และระบบพรรค การเมอื งเพม่ิ ความสำคญั ขนึ้ สภาร่างรัฐธรรมนญู ไดแ้ กไ้ ขให้ฝ่ายบริหารและระบบพรรคการเมืองลด อำนาจเบ็ดเสรจ็ ลง โดยทำให้ย่ืนญัตตไิ มไ่ วว้ างใจรฐั บาลได้งา่ ยขึน้ อนญุ าตให้สมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎร ย้ายพรรคไดง้ ่ายขึน้ และไม่อนุญาตใหบ้ คุ คลใดมสี ทิ ธเิ ป็นนายกรัฐมนตรเี กินสองสมัย 3) การไมบ่ ญั ญัติพทุ ธศาสนาเปน็ ศาสนาประจำชาติ โดย มหามกฏุ ราชวทิ ยาลัย, มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย, องค์การพุทธศาสนิกสมั พันธ์แหง่ โลก, ยุวพทุ ธกิ สมาคมแหง่ ประเทศไทย, คณะสงฆ์อณัมนิกาย และอกี 300 องค์กรได้รณรงค์ใหม้ กี ารบญั ญัติคำว่าพทุ ธศาสนาเป็นศาสนาประจำ ชาติ แต่ไมส่ ำเรจ็ 4) การเรียกร้องใหเ้ ปล่ียนนามประเทศไทยเปน็ สยาม โดย ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศริ ิ เพ่อื ให้สอดคล้องกบั ความเป็นจรงิ ทางเช้ือชาติ ภาษาและอัตลักษณ์วฒั นธรรม ตรงตามขอ้ มูลทาง ประวัตศิ าสตร์ เพือ่ หลักการณข์ องความสมานฉันท์ ยอมรบั ในความหลากหลายทางเชื้อชาติ การเรียกร้องเรือ่ งความเสมอภาคของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศโดยกลุ่มเกย์ 10 องค์กร การออกเสียงประชามติ : การลงประชามตริ า่ งรัฐธรรมนญู พ.ศ. 2550 รา่ งรฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2550 ได้เปดิ ให้ประชาชนออกเสียงประชามตเิ มอื่ วันที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ช่วงเวลา 8.00 น.ถึง 16.00 น. โดยใช้วิธกี ากบาทลงบัตรเหมือนการเลอื กตั้ง ใน zee rice

6 กรณที ่ปี ระชาชนผู้มีสิทธิเลอื กตัง้ โดยเสียงขา้ งมากของผูม้ าออกเสยี งประชามติเห็นชอบใหน้ ำร่าง รฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหม่มาใช้บงั คับแล้ว ประธานสภานติ ิบัญญตั ิแห่งชาตจิ ะนำร่างรัฐธรรมนญู ข้ึนทลู เกลา้ ทลู กระหมอ่ มถวาย และเมื่อทรงลงพระปรมาภไิ ธยแล้ว จะประกาศในราชกิจจานเุ บกษาและใช้บังคบั ได้ ในกรณที ่ีเสยี งข้างมากของผู้มาออกเสยี งประชามตไิ มเ่ ห็นชอบให้ใช้รา่ งรฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหม่ สภารา่ ง รัฐธรรมนญู จะส้ินสุดลง คณะมนตรีความมนั่ คงแห่งชาตจิ ะประชมุ รว่ มกบั คณะรัฐมนตรเี พ่อื พิจารณา รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย ที่ไดเ้ คยประกาศใช้บงั คับมาแลว้ ฉบับใดฉบบั หน่ึงมาปรับปรุงใหแ้ ล้ว เสร็จภายใน 30 วันนับตั้งแต่วนั ออกเสียงประชามติ และนำข้นึ ทลู เกลา้ ทูลกระหมอ่ มถวายเพ่อื ทรงลง พระปรมาภิไธย ประกาศใช้เปน็ รฐั ธรรมนูญตอ่ ไป ผลการออกเสียงตามรายงานผลอย่างเปน็ ทางการของคณะกรรมการการเลือกต้ังเม่ือ วันที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2550 ดงั น้ี ผลการออกเสียง: จำนวนผมู้ าใชส้ ิทธิ 25,978,954 57.61% จำนวนผูไ้ มม่ าใชส้ ิทธิ 19,114,001 42.39% ผมู้ สี ิทธอิ อกเสยี งทัง้ หมด 45,092,955 การลงคะแนน: บตั รที่นบั เปน็ คะแนน 25,474,747 98.06% บตั รท่ไี มน่ ับเปน็ คะแนน (บัตรเสยี /การคืนบตั ร/อนื่ ๆ) 504,207 1.94% รวม 25,978,954 การเหน็ ชอบและไมเ่ ห็นชอบ: เหน็ ชอบ 14,727,306 57.81% ไม่เหน็ ชอบ 10,747,441 42.19% รวม 25,474,747 1.4. สรปุ ผล ส.ส.ร. เขียนแตล่ ะครงั้ นำมาใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ อยา่ งไร? คำตอบ สรุป ผล ส.ส.ร. เขยี นหรอื ยกร่างรฐั ธรรมนูญแตล่ ะครัง้ นำมาใช้ประโยชน์ ดังน้ี 1) รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2492 ยกรา่ งขึ้นโดยสภาร่างรัฐธรรมนูญ เปน็ รฐั ธรรมนญู ฉบบั ที่ 5 ของไทย โดยหากเทียบ รฐั ธรรมนูญ 4 ฉบบั กอ่ นหน้าถือไดว้ า่ เป็นฉบับท่ีดีทีส่ ดุ ประกาศใช้เมอ่ื วันที่ 23 มีนาคม พ.ศ. 2492 และ ถูกยกเลิกเมอ่ื วนั ที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494 โดยจอมพล ป.พบิ ูลสงคราม ไดท้ ำรฐั ประหารตนเอง รวมอายกุ ารประกาศและบงั คับใช้ 2 ปี เศษ รฐั ธรรมนูญฉบบั นี้ มีท้ังหมด 188 มาตรา โดยแยกเปน็ 11 หมวด ดังนี้ หมวดท่ี 1 บททวั่ ไป หมวดท่ี 2 พระมหากษัตริย์ หมวดท่ี 3 สิทธแิ ละเสรภี าพของชนชาว zee rice

7 ไทย หมวดที่ 4 หนา้ ท่ขี องชนชาวไทย หมวดท่ี 5 แนวนโยบายแห่งรฐั หมวดท่ี 6 อำนาจนิติบญั ญัติ หมวดที่ 7 อำนาจบรหิ าร หมวดท่ี 8 อำนาจตุลาการ หมวดท่ี 9 ตุลาการรัฐธรรมนญู หมวดที่ 10 การแกไ้ ขเพ่มิ เติมรัฐธรรมนูญ และหมวดที่ 11 บทสุดท้าย และบทเฉพาะกาล5 รฐั ธรรมนูญฉบบั น้มี สี าระสำคัญแตกตา่ งจากฉบับอ่นื อย่างไร สว่ นที่แรก พระมหากษัตริยท์ รงเลือกและแต่งต้งั ประธานองคมนตรีคนหน่งึ และ องคมนตรไี ม่มากกว่า 8 คนเป็นคณะองคมนตรี องคมนตรตี ้องไมเ่ ปน็ ขา้ ราชการประจำหรือข้าราชการ พลเรอื นและตอ้ งไมแ่ สดงการฝกั ใฝใ่ นพรรคการเมืองใด ๆ สว่ นทส่ี อง ได้มกี ารกำหนดสทิ ธเิ สรีภาพ ตลอดจนหน้าท่ีของชนชาวไทย ส่วนท่สี าม อำนาจนิตบิ ญั ญัติ โดยใหม้ รี ัฐสภาซึ่งประกอบดว้ ยวุฒสิ ภาและสภาผู้แทน วุฒิสภา และมสี มาชกิ จำนวน 100 คน โดยประธานวุฒสิ ภาเป็นประธานรัฐสภา ส่วนสภาผู้แทน มี สมาชิกมาจากการท่ีราษฎรเลอื กตง้ั ใหถ้ ือเกณฑร์ าษฎร 150,000 คนต่อสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร 1 คน ถ้าราษฎรถงึ 75,000 คนหรอื กว่านัน้ ให้นบั เปน็ 150,000 คน และมสี มาชิกสภา ผู้แทนได้ 1 คน หลกั เกณฑใ์ นการกำหนดผู้มสี ิทธิออกเสยี งเลือกตัง้ ต้องมอี ายไุ ม่ต่ำกว่า 20 ปบี รบิ รู ณ์ การเลอื กตั้งส่วน สมาชกิ สภาผู้แทนตอ้ งมอี ายุไมต่ ่ำกว่า 30 ปีบรบิ ูรณใ์ นวนั เลือกตัง้ การลงมติไว้วางใจหรือไมไ่ ว้วางใจต่อ คณะรฐั มนตรี ใหส้ ภาผู้แทนเปน็ ผกู้ ระทำภายหลงั ท่ีคณะรัฐมนตรีไดแ้ ถลงนโยบายตอ่ วฒุ สิ ภาแล้ว6 ส่วนท่สี ี่ อำนาจในการบรหิ าร ห้ามรัฐมนตรเี ป็นข้าราชการประจำ ห้ามรฐั มนตรีเป็น กรรมการที่ปรกึ ษาตวั แทนหรอื ลูกจา้ งของบคุ คล หรือหา้ งหุ้นส่วนหรอื องคก์ ารใด ๆ ซง่ึ ดำเนินธรุ กิจเพอื่ การค้ากำไร เพื่อปอ้ งกันผลประโยชน์ทบั ซ้อนและการทุจรติ 2) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย 2511 ยกร่างข้ึนโดยสภารา่ งรฐั ธรรมนูญ เป็นฉบบั ที่ 8 มีทงั้ ส้นิ 183 มาตรา มีหลกั การสำคญั วา่ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และไดก้ ำหนดหลัก สาระสำคัญในเรอ่ื งอ่ืน ๆ อาทิ เร่ืองรูปรฐั สภา และเรือ่ งสมั พันธภาพระหว่าง รัฐสภากบั คณะรฐั มนตรี กล่าวคอื ให้รัฐสภามีสองสภา สภาหนึ่ง ประกอบดว้ ยสมาชกิ ทร่ี าษฎรเลอื กตัง้ อีกสภาหน่ึงประกอบด้วย สมาชิกท่พี ระมหากษัตรยิ ์ทรงแตง่ ต้งั รัฐสภามอี ำนาจในทางนติ ิบัญญัติ และควบคุมการบริหารราชการ แผน่ ดนิ ไดด้ ้วยวิธีการต้งั กระทูถ้ ามรฐั บาล เปิดอภปิ รายทั่วไปโดยไม่ลงมติ หรอื เปิด อภิปรายทั่วไปเพื่อลง มตไิ ม่ไวว้ างใจ เม่อื รฐั สภามีอำนาจในทางนติ บิ ัญญัติ และควบคมุ การบริหารราชการแผน่ ดนิ ดังกล่าวแลว้ สภารา่ งรฐั ธรรมนูญพิจารณา เห็นวา่ เพือ่ ดลุ แหง่ อำนาจอันจะยงั ระบอบรฐั ธรรมนูญให้ต้ังอยู่ ใน เสถียรภาพ สมควรทอี่ ำนาจนติ บิ ัญญตั ิและอำนาจบรหิ ารจะแยกจากกันให้มากยิ่งขึ้น จ่งึ ได้ลงมตใิ นหลกั สาระสำคญั ว่า นายกรัฐมนตรีหรือรฐั มนตรีอืน่ ซึ่งเป็นฝ่ายบรหิ ารจะเปน็ สมาชกิ แห่งรัฐสภาใน ขณะเดียวกันมไิ ด้ 5 วีกิพเี ดยี สารานุกรมเสรี “รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2492 6 เรือ่ งเดยี วกัน zee rice

8 3) รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย 2540 ยกร่างข้นึ โดยสภารา่ งรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 เปน็ กฎหมายสงู สดุ ว่าด้วยการจัดระเบยี บการปกครองประเทศไทยที่เป็นลายลักษณอ์ กั ษร ฉบบั ท่ี 16 รัฐธรรมนูญฉบับน้ี ถือเป็นรฐั ธรรมนูญที่ริเร่มิ ขึน้ โดยพรรคชาติไทย นายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี ไดแ้ ตง่ ตง้ั คณะกรรมการปฏิรูปการเมอื งเข้ามาดำเนนิ การและไดต้ ้งั คณะกรรมาธิการ วิสามัญพจิ ารณารา่ งรฐั ธรรมนญู ข้ึนมา และมีการเลือกตั้งสมาชกิ สภารา่ งรฐั ธรรมนูญ จำนวน 99 คน โดย 76 คนเป็นตวั แทนของแตล่ ะจงั หวัด และอีก 23 คน มาจากผเู้ ช่ียวชาญหรือผมู้ ีประสบการณ์ ซงึ่ ถือ ว่าเปน็ รฐั ธรรมนญู ทม่ี าจากการเลือกตั้งฉบับเดยี วของประเทศไทย โดยก่อนหนา้ น้ี 15 ฉบบั มาจาก คณะรฐั มนตรีทีม่ าจากการแต่งตงั้ หรอื รัฐบาลทหาร รัฐธรรมนญู ฉบับดงั กล่าวถูกเรียกว่าเป็น \"รฐั ธรรมนูญฉบบั ประชาชน\" เนอื่ งจากการมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการรา่ งแต่ยังไงก็ตามประชาชน ไม่ไดเ้ ปน็ ผลู้ งมติรบั รัฐธรรมนญู ฉบับนี้ ประกอบกบั การร่างรัฐธรรมนูญคร้งั น้ี เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ 40 เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนญู พ.ศ. 2540 กค็ อื การปฏิรูปการเมอื งโดยมเี ป้าหมาย 3 ประการ (1) ขยายสิทธิ เสรีภาพ และสว่ นรว่ มของพลเมอื งในการเมือง (2) การเพมิ่ การตรวจสอบการใช้อำนาจรฐั โดยประชาชน เพือ่ ให้เกดิ ความสจุ ริตและ โปร่งใสในระบอบการเมอื ง (3) การทำใหร้ ะบบการเมอื งมเี สถยี รภาพและประสทิ ธภิ าพ 4) รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย 2550 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 เปน็ ฉบบั ท่ี 18 ซ่ึงจดั ร่างโดย สภาร่างรัฐธรรมนญู (สสร.) ในระหว่าง พ.ศ. 2549 – 2550 ภายหลังการรัฐประหารในประเทศโดยคณะ ปฏริ ูปการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมขุ (คปค.) เม่อื วนั ท่ี 19 กันยายน พ.ศ. 2549 ซึง่ ต่อมาเปลย่ี นช่อื คณะเปน็ คณะมนตรคี วามมน่ั คงแหง่ ชาติ (คมช.) เมอื่ วนั ท่ี 1 ตุลาคม ปีเดยี วกนั รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทยฉบับนี้ เปน็ ฉบบั แรกที่เมือ่ ร่างเสร็จและไดร้ ับความ เหน็ ชอบจากฝ่ายนิตบิ ัญญัตแิ ลว้ ได้เผยแพร่ใหป้ ระชาชนทราบ และจัดให้มกี ารลงประชามติเพอ่ื ขอ ความเหน็ ชอบ ณ วนั ที่ 19 สงิ หาคม พ.ศ. 2550 ผลปรากฏว่าผู้มาลงประชามตริ ้อยละ 57.81 เห็นชอบ และร้อยละ 42.19 ไม่เหน็ ชอบ ประธาน สนช. จงึ นำขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระมหากษตั รยิ ์ให้ทรงลงพระ ปรมาภไิ ธย รฐั ธรรมนญู ฉบบั น้ีไดร้ ับการแก้ไขเพ่ิมเติมสองครง้ั ในเดอื นมีนาคม พ.ศ. 2554 ประเด็น ที่แก้ไข คอื ระบบการเลือกตัง้ (แก้ไขเพิม่ เติมฉบบั ที่ 1 มาตรา 93-98) และหลักเกณฑ์ในการทำ สนธิสัญญา (แกไ้ ขเพม่ิ เติมฉบบั ท่ี 2 มาตรา 190) 4.1 เจตนารมณข์ องรัฐธรรมนญู สภารา่ งรฐั ธรรมนญู ไดว้ างแนวทางการร่างรัฐธรรมนญู ฉบับนี้ โดยยึดตามแนวทางและ แก้ไขจดุ อ่อนของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 เพ่ือใหป้ ระชาชนได้รบั ประโยชนจ์ ากรัฐธรรมนญู นี้ 4 ประการ คือ zee rice

9 (1) ค้มุ ครอง ส่งเสริม ขยายสทิ ธแิ ละเสรีภาพ ของประชาชน (2) ลดการผกู ขาดอำนาจรัฐ และเพ่ิมอำนาจประชาชน (3) การเมอื งมีความโปรง่ ใส มคี ณุ ธรรม และจรยิ ธรรม (4) ทำใหอ้ งคก์ รตรวจสอบมคี วามอสิ ระ เขม้ แข็ง และทำงานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 4.2 การแตง่ ตง้ั สภาร่างรฐั ธรรมนูญ ความแตกตา่ งระหวา่ งรฐั ธรรมนญู 2550 กับ 2540 รัฐธรรมนญู พ.ศ. 2550 แตกต่างจากฉบับ พ.ศ. 2540 อยหู่ ลายประการ ดังจะเหน็ ว่า มกี ารถอดรอ้ื โครงสรา้ ง เช่น สทิ ธเิ สรภี าพ การมีสว่ นรว่ มทางการเมืองของประชาชน ทีม่ าของ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชกิ วฒุ สิ ภา การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจรัฐ องค์กรอสิ ระ อำนาจตุลาการ การเงนิ การคลังงบประมาณ ฯลฯ7 รฐั ธรรมนญู พ.ศ. 2540 ไดร้ บั การกล่าวขานวา่ มีความก้าวหน้าเนอื่ งจากนำแนวคิดใหม่ ๆ ทีล่ อกเลยี นจากต่างประเทศมาใช้ แตเ่ มือ่ บังคับใช้จริงกด็ จู ะไมค่ อ่ ยสอดคลอ้ งกบั วฒั นธรรมการเมืองไทย เพราะมีการกลา่ วหาว่ามีการฉอ้ ราษฎรบ์ ังหลวง การละเมดิ สิทธมิ นุษยชนอย่างกวา้ งขวางทัง้ กรณีการฆา่ ตัดตอน 2 พันศพ กรณปี ราบปรามยาเสพตดิ อ้มุ ฆา่ แกนนำภาคประชาชนทีต่ ่อสกู้ บั ความไมเ่ ป็นธรรม ในพน้ื ที่ เชน่ กรณขี อง สมชาย นลี ะไพจิตร นอกจากนี้ รฐั ธรรมนูญ 2540 ถูกวิจารณว์ ่าทำให้ฝา่ ย การเมืองเข้มแขง็ เกินไปจนเกดิ ระบบผู้นำกึง่ ประธานาธบิ ดี รัฐธรรมนญู 2550 จึงถูกวิจารณ์วา่ มอี คตติ ่อ \"ระบอบทักษิณ\" ทมี่ คี ำอธิบายว่าเป็นเผดจ็ การทุนนิยม ใช้อำนาจผ่านพรรคการเมืองใหญ่ ทำใหเ้ กดิ ผนู้ ำ เดยี่ วทสี่ ามารถใชอ้ ำนาจได้เบด็ เสรจ็ เดด็ ขาด ละเลยต่อเสียงปัญญาชนในสังคม สุดท้ายจงึ สรา้ งปญั หาตอ่ ระบอบประชาธิปไตยจนก่อตัวเปน็ วิกฤตการเมือง รฐั ธรรมนูญฉบับน้ีจงึ มขี ้อหา้ มต่าง ๆ ที่เป็นพฤติกรรม ของระบอบทกั ษิณ เชน่ ห้ามควบรวมพรรคการเมืองในระหว่างอายุของสภาผแู้ ทนราษฎร การทำเอฟทเี อ ตอ้ งฟังความเห็นจากรัฐสภา เข้มงวดตอ่ การแปรรูปรฐั วสิ าหกิจและจรยิ ธรรมของนกั การเมอื ง สรา้ ง มาตรการปอ้ งกนั ผลประโยชนท์ ับซ้อน เป็นต้น จุดแขง็ ของรฐั ธรรมนญู 2550 คือ บทบญั ญตั ิเร่อื งสิทธเิ สรภี าพของประชาชน เช่น รัฐตอ้ งจัดสวสั ดิการขนั้ พื้นฐานแก่ประชาชนทุกชนช้ัน ผู้ยากไร้ ผู้พกิ าร ทุพพลภาพตอ้ งไดร้ บั การศึกษา ทัดเทียมบุคคลอ่นื ผไู้ รท้ อี่ ยูอ่ าศัย ผ้สู ูงอายุ ไม่มีรายได้เพียงพอ ต้องไดร้ ับความชว่ ยเหลอื จากรัฐ ใหส้ ทิ ธิ ประชาชนได้รับหลักประกนั และสวัสดิภาพในการทำงาน ใหส้ ิทธแิ ก่ข้าราชการ เจ้าหนา้ ท่ีรัฐในการ รวมกลุ่มเพือ่ ปกป้องสิทธิ์ของตน ทส่ี ำคัญ คือ ใหม้ ผี ลบังคับทนั ที ต่างจากรัฐธรรมนูญ 2540 ที่ระบุ ขอ้ ความท้ายมาตราต่างๆ วา่ \" ทัง้ นี้ ตามที่ กฎหมายบัญญัติ\" หมวดที่ไดร้ ับการบัญญตั ิขึน้ มาใหม่ เช่น \"สทิ ธิชมุ ชน\" ชมุ ชนสามารถปกป้องส่งิ แวดล้อมและทรัพยากรทอ้ งถิ่นของตน หรอื การกำหนดให้รฐั ต้อง จดั ใหม้ ีการรบั ฟงั ความเหน็ หากโครงการก่อให้เกดิ ผลกระทบตอ่ คุณภาพชีวติ หรอื ทรัพยากรธรรมชาติ หมวด \"การมีส่วนร่วมทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน\" ใหป้ ระชาชนเข้าช่ือเสนอร่างกฎหมาย หรือ ถอดถอนนกั การเมืองทป่ี ระพฤตมิ ิชอบไดง้ า่ ยข้นึ ประชาชนมีโอกาสยื่นแก้ไขรฐั ธรรมนญู ไดโ้ ดยตรง รวมถงึ การ ใหร้ ัฐตอ้ งจดั ใหม้ กี ฎหมายการจดั ตั้งกองทุนพฒั นาการเมอื งภาคพลเมือง ฯลฯ 7 วีกิพีเดีย สารานกุ รมเสรี “รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 zee rice

10 หมวด \"แนวนโยบายพนื้ ฐานแหง่ รฐั \" มีสภาพบังคับให้รัฐต้องทำซง่ึ ตา่ งจาก รฐั ธรรมนญู ฉบบั กอ่ น ๆ ท่ีจะทำหรือไม่ก็ได้ เพ่มิ เน้ือหาม่งุ กระจายความเป็นธรรมในสงั คม และปกปอ้ ง ทรพั ย์สินของชาติ เช่น ปรับปรงุ ระบบการจดั เก็บภาษีอากร การปฏิรปู ที่ดิน จดั ใหม้ ีการวางผังเมอื ง เพอื่ ให้เกษตรกรมีสทิ ธใิ นท่ีดินอย่างท่วั ถงึ คุ้มครองสาธารณปู โภคข้นั พน้ื ฐานไม่ใหเ้ กดิ การผูกขาด หรือ หากรฐั บาลจะทำสนธิสัญญาทมี่ ผี ลตอ่ ความมัน่ คงทางสงั คมหรอื เศรษฐกิจ เชน่ เอฟทีเอ ต้องไดร้ ับความ เห็นชอบจากรัฐสภาก่อน จดุ เดน่ อ่นื ๆ คอื มาตรการปอ้ งกันผลประโยชนท์ ับซ้อนทเ่ี ข้มแขง็ ขน้ึ เช่น ห้าม นายกรัฐมนตรแี ละรัฐมนตรี รวมถงึ ภรรยาและบตุ รที่ยงั ไม่บรรลนุ ติ ิภาวะเป็นผถู้ อื ห้นุ ในบริษัท กำหนดให้ ส.ส. และ ส.ว. ตลอดจนคูส่ มรสและบุตร ห้ามรบั หรอื แทรกแซงสัมปทานจากรฐั หน่วย ราชการหรอื รัฐวิสาหกิจ ไม่วา่ ทางตรงหรือทางออ้ ม กำหนดให้ ส.ส. และ ส.ว. แสดงบัญชที รัพย์สนิ จาก เดมิ ท่ีกำหนดเฉพาะนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี และได้เพิม่ หมวด \"จริยธรรมของผูด้ ำรงตำแหนง่ ทาง การเมอื งและเจา้ หน้าทีข่ องรัฐ\" สรา้ งกลไกควบคุมการใช้อำนาจให้เป็นไปโดยสุจริตและเป็นธรรม นอกจากน้ี ยงั ได้ปรบั ปรุงระบบตรวจสอบโดยร้ือทม่ี าองค์กรอสิ ระท้ังหมด ป้องกนั ไม่ใหฝ้ ่ายการเมือง แทรกแซงกระบวนการสรรหาอยา่ งทีเ่ กดิ ขึน้ ในอดตี อยา่ งไรก็ตาม มีข้อท้วงติงในประเด็นโครงสรา้ งของสถาบนั การเมอื ง เชน่ ท่มี าของ ส.ส. และ ส.ว. หรือการใหอ้ ำนาจฝ่ายตลุ าการเขา้ มาแก้ปัญหาฉ้อฉลทางการเมือง ดว้ ยการเพิม่ บทบาทในการ คดั เลือกผทู้ ำหนา้ ทอี่ งคก์ รอสิ ระ และรว่ มสรรหา ส.ว. จำนวน 74 คน เปน็ ท่ีมาของข้อครหาวา่ เปน็ รฐั ธรรมนูญฉบับอำมาตยาธปิ ไตย ทใี่ หอ้ ำนาจชนชั้นนำกับขุนนางผ่านทางวฒุ ิสภาและตุลาการเพอ่ื สร้าง ฐานอำนาจ แตค่ ำช้แี จงอีกด้านกลา่ วว่า สภาพวฒั นธรรมการเมืองไทยในปัจจบุ นั การให้ ส.ว.มาจากการ เลือกตงั้ 100% โดยหวังวา่ จะปลอดจากการครอบงำของพรรคการเมืองคงยังไมเ่ กดิ ขน้ึ งา่ ย ๆ ดงั จะเหน็ ได้จากการเลือกตงั้ ส.ว. สองครั้งทผ่ี ่านมาซงึ่ อยู่ในสภาพ \"สภาผวั เมีย-สภาบริวาร\" ขณะที่การสรรหา ส.ว.อาจไดต้ ัวแทนหลายสาขาอาชพี กว่า ทำให้การทำงานด้านนติ บิ ัญญัตมิ ีประสิทธิภาพ อกี ประเด็นหนึ่ง คอื การเปล่ยี นระบบเลอื กตั้ง ส.ส. ไปใชแ้ บบแบ่งเขตเรียงเบอร์ เป็นท่เี กรงกันวา่ จะทำใหพ้ รรคการเมอื ง อ่อนแอเพราะผ้สู มัครในพรรคเดยี วกนั จะแยง่ คะแนนกันเอง และการทมุ่ เงินซื้อเสียงจะมีมากข้นึ เมือ่ เทยี บกบั ระบบเขตเดยี วคนเดยี ว โครงสร้างการเมืองใหม่ทล่ี ดการผูกขาดอำนาจ มีมาตรการตรวจสอบ มากมาย และใหส้ ิทธปิ ระชาชนฟอ้ งร้องศาลรัฐธรรมนูญหากรฐั ไมป่ ฏบิ ตั ิตามรฐั ธรรมนูญ อาจส่งผลให้ เสถียรภาพของรัฐบาลใหมอ่ ่อนแอลง แตผ่ ้รู า่ งช้ีแจงว่ากติกาเช่นว่านีบ้ ังคบั ให้รฐั บาลต้องตอบสนอง ประชาชน หากละเมดิ ต่อหลกั รฐั ธรรมนูญกจ็ ะอยลู่ ำบาก นอกจากนรี้ ฐั ธรรมนูญ 2550 ยงั ยกเลกิ ขอ้ หา้ มไม่ให้ ส.ส. เปน็ รฐั มนตรที ีเ่ คยระบไุ ว้ใน รฐั ธรรมนูญ 2540 มาตรา 118 จึงทำให้รฐั มนตรีอาจมาจาก ส.ส. ทั้งสองระบบโดยไม่ตอ้ งมีการเล่ือน รายชือ่ หรอื จดั การเลือกตง้ั ใหม่ 2. การตง้ั คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั ศกึ ษาการแก้ไขรฐั ธรรมนญู 60 ชดุ ท่ีมีนายพรี ะพนั ธุ์ สาลีรฐั วภิ าค เปน็ ประธานคณะกรรมาธกิ าร มอี งค์ประกอบอะไรบา้ ง 2.1. องค์ประกอบ กมธ. ด้วยใครบา้ ง ฯ คำตอบ การตั้งคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาศกึ ษาปญั หา หลักเกณฑ์ และ แนวทางการแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ชุดทีม่ ีนายพรี ะพนั ธุ์ สาลีรัฐวิภาค เปน็ ประธานคณะกรรมาธิการ มีดังนี้ zee rice

11 คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาศกึ ษาปญั หา หลกั เกณฑ์ และแนวทางการแก้ไข เพ่ิมเตมิ รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มีจำนวน 49 คน ดงั นี้8 1) นายพรี ะพันธุ์ สาลรี ัฐวิภาค ประธานคณะกรรมาธกิ าร 2) นายไพบูลย์ นติ ติ ะวนั รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่ีหนง่ึ 3) นายวัฒนา เมอื งสขุ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่สี อง 4) นายชำนาญ จันทรเ์ รือง รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทสี่ าม 5) นายชินวรณ์ บณุ ยเกียรติ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทีส่ ี่ 6) นายวิเชยี ร ชวลติ รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนท่ีห้า 7) รศ.สมชยั ศรสี ุทธิยากร รองประธานคณะกรรมาธกิ าร คนทห่ี ก 8) นายศภุ ชัย ใจสมทุ ร รองประธานคณะกรรมาธิการ คนทีเ่ จด็ 9) รองศาสตราจารยโ์ ภคิน พลกลุ ทป่ี รึกษาคณะกรรมาธิการ 10) นายสัมพันธ์ เลศิ นุวัฒน์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ 11) พันตำรวจเอกทวี สอดส่อง ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธิการ 12) นายสทุ ัศน์ เงนิ หมน่ื ท่ีปรกึ ษาคณะกรรมาธิการ 13) นายมนูญ สิวาภิรมย์รัตน์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ 14) นายสุรสิทธ์ิ นธิ ิวุฒิวรรักษ์ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ 15) นายสทุ นิ คลังแสง โฆษกคณะกรรมาธิการ 16) นายธนกร วงั บุญคงชนะ โฆษกคณะกรรมาธิการ 17) นายรงั สิมนั ต์ โรม โฆษกคณะกรรมาธกิ าร 18) นายนพิ ฏิ ฐ์ อนิ ทรสมบัติ โฆษกคณะกรรมาธิการ 19) นางสาวธณกิ านต์ พรพงษาโรจน์ โฆษกคณะกรรมาธกิ าร 20) นายกฤช เอือ้ วงศ์ กรรมาธิการ 21) นายโกวิทย์ ธารณา กรรมาธกิ าร 22) นายชยั เกษม นติ ิสริ ิ กรรมาธิการ 23) รองศาสตราจารยช์ ศู กั ด์ิ ศิรินลิ กรรมาธิการ 24) นายดำรงค์ พเิ ดช กรรมาธิการ 25) นายเทพไท เสนพงศ์ กรรมาธกิ าร 26) นายนิกร จำนง กรรมาธิการ 27) นายนิโรธ สุนทรเลขา กรรมาธิการ 28) นายบญั ญตั ิ บรรทดั ฐาน กรรมาธกิ าร 29) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์บัณฑติ จนั ทร์โรจนกิจ กรรมาธิการ 30) นายบุญดำรง ประเสรฐิ โสภา กรรมาธกิ าร 31) นายปกรณ์ นลิ ประพนั ธ์ กรรมาธกิ าร 8 รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาปญั หา หลกั เกณฑ์ และแนวทางการแก้ไขเพ่ิมเติมรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 zee rice

12 32) นายประยทุ ธ์ ศิริพานิชย์ กรรมาธกิ าร 33) นายปิยบุตร แสงกนกกลุ กรรมาธิการ 34) นายพงศ์เทพ เทพกาญจนา กรรมาธิการ 35) นายยงยุทธ ติยะไพรัช กรรมาธิการ 36) รศ. รงค์ บญุ สวยขวัญ กรรมาธิการ 37) นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล กรรมาธิการ 38) ศาสตราจารยว์ ุฒิสาร ตนั ไชย กรรมาธิการ 39) นายสนธิญาณ ช่ืนฤทัยในธรรม กรรมาธกิ าร 40) นายสฤษฏ์พงษ์ เก่ียวขอ้ ง กรรมาธิการ 41) นายสิระ เจนจาคะ กรรมาธิการ 42) นาวาอากาศเอกอนุดษิ ฐ์ นาครทรรพ กรรมาธิการ 43) ศาสตราจารยอ์ ดุ ม รัฐอมฤต กรรมาธกิ าร 44) นายเอกพันธุ์ ปิณฑวณิช กรรมาธกิ าร 45) นายทศพล เพง็ ส้ม เลขานกุ ารคณะกรรมาธกิ าร 46) นายจตุพร เจริญเชอ้ื ผชู้ ่วยเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ คนทห่ี นง่ึ 47) ผศ. วลัยพร รตั นเศรษฐ ผชู้ ว่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร คนทส่ี อง 48) นายภราดร ปรศิ นานันทกลุ ผชู้ ว่ ยเลขานกุ ารคณะกรรมาธิการ คนทีส่ าม 49) นายชัยธวชั ตุลาธน ผ้ชู ว่ ยเลขานุการคณะกรรมาธกิ าร คนที่ส่ี 2.2. มกี ารเสนอแก้ไขหรอื ตดั มาตราใดบ้าง ? เพราะอะไร ? คำตอบ รายงานของคณะกรรมาธิการ ฯ เป็นการศกึ ษาเชิงวชิ าการ ที่ได้รวบรวมความ คดิ เหน็ ทั้ง 2 ด้าน เพื่อเปน็ ข้อมลู ให้กับผู้ที่จะรา่ งรัฐธรรมนูญนำไปศึกษา ส่วนผู้ร่างรฐั ธรรมนูญใหมจ่ ะ นำขอ้ มูลผลการศึกษาไปพิจารณาประกอบหรอื ไมน่ ้ัน เปน็ เรอ่ื งของสภารา่ งรัฐธรรมนูญ เพราะไมม่ บี ท บงั คบั แตห่ ากสภาร่างรฐั ธรรมนญู นำขอ้ มลู ไปศกึ ษากจ็ ะไดข้ อ้ มลู ทเ่ี ปน็ กลาง เพราะในรายงานทาง คณะกรรมาธิการได้อธิบายประกอบเหตุผลไว้ทั้งหมดแลว้ ส่วนโครงสร้างสมาชกิ สภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ทา่ นพีระพันธ์ุ สาลรี ฐั วภิ าค เป็นประธานคณะกรรมาธกิ าร เคยให้สมั ภาษณ์วา่ ในกรรมาธกิ าร ไมไ่ ดม้ ีการศึกษา สำหรบั ข้อเสนอของคณะกรรมาธิการวิสามญั ฯ ได้นำเสนอผลการพจิ ารณาศึกษา ขอ้ สังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะในหมวดหรือในบทบญั ญัตมิ าตราต่าง ๆ ไว้ด้วย ดังน้ี9 หมวด 1 บทท่วั ไป และหมวด 2 พระมหากษัตรยิ ์ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั มีความเห็นวา่ หมวด 1 บททั่วไป และหมวด 2 พระมหากษัตริย์ ไม่ มีประเด็นทจี่ ะต้องพิจารณาศกึ ษา 9 เรอ่ื งเดยี วกันกัน หนา้ 11 zee rice

13 หมวด 3 สทิ ธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย (มี 25 มาตรา คอื มาตรา 25 ถึงมาตรา 49) คณะกรรมาธิการวสิ ามัญมีความเหน็ ว่า มปี ระเดน็ ความเหน็ ดังน้ี (1) ปญั หาหลักการเกี่ยวกับสิทธแิ ละเสรีภาพของประชาชน จากการศกึ ษาของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พบวา่ สาระสำคญั การบญั ญัตสิ ทิ ธิและ เสรภี าพ ของประชาชนตามที่บัญญัตใิ นหมวด 3 สทิ ธิและเสรภี าพของปวงชนชาวไทย ในรฐั ธรรมนูญ แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ไดบ้ ญั ญตั ิหลกั ประกนั สทิ ธิและเสรภี าพของประชาชนด้อย กว่าที่เคยบัญญตั ิในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 และรฐั ธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 เช่น สทิ ธิของประชาชนในการถอดถอนผูด้ ำรงตำแหนง่ ทาง การเมอื ง ซึ่งในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2540 และรัฐธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ได้บญั ญตั ิใหป้ ระชาชนผ้มู สี ทิ ธิ เลือกต้ังสามารถเขา้ ช่ือถอดถอนผู้ ดำรงตำแหนง่ ทางการเมอื งได้ แตใ่ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 มไิ ด้ใหส้ ิทธิ แก่ประชาชนในการดำเนินการดังกลา่ ว เป็นตน้ ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาเหน็ วา่ ควรแก้ไขเพิ่มเตมิ บทบญั ญตั ใิ นหมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย โดยเพิ่มหลักประกันสิทธแิ ละเสรีภาพดังเชน่ ที่บัญญตั ิใน รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 และรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 เชน่ สิทธขิ องประชาชนผ้มู ีสิทธเิ ลือกต้ังในการถอดถอนผดู้ ำรงตำแหนง่ ทาง การเมือง เปน็ ตน้ (2) การรับรองสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญมีความเห็นต่อการแกไ้ ขเพมิ่ เติมมาตรา 26 แบ่งเปน็ 3 แนวทาง ดังนี้ แนวทางที่ 1 ควรแกไ้ ขเพิ่มเติมมาตรา 25 โดยตดั ความวา่ “เปน็ อนั ตรายต่อความ มนั่ คง ของรัฐ ความสงบเรียบรอ้ ย” ออก เน่อื งจากเป็นถอ้ ยคำท่ีมคี วามหมายกว้าง และรัฐจะยกขน้ึ เปน็ ขอ้ อ้างในการ จำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน แนวทางท่ี 2 ควรแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ มาตรา 25 โดยตดั ความวา่ “ไมก่ ระทบกระเทือนหรือ เป็น อันตรายตอ่ ความม่นั คงของรฐั ความสงบเรียบร้อย” ออก และใชค้ วามว่า “ไมล่ ะเมิดสิทธแิ ละ เสรภี าพของ บคุ คลอื่น และไม่เปน็ ปฏิปักษ์ตอ่ รฐั ธรรมนูญ หรือไม่ขดั ตอ่ ศลี ธรรมอันดขี อง ประชาชน” แทน ซึ่งเป็นถอ้ ยคำ ท่บี ญั ญัติในมาตรา 28 วรรคหน่ึง ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั ร ไทย พุทธศักราช 2540 แนวทางที่ 3 ควรแกไ้ ขเพม่ิ เติมมาตรา 25 โดยตัดความวา่ “ความม่ังคงของรัฐ” ออก แลว้ ใช้ คำวา่ “การดำรงอยู่ของรฐั ” แทน เนื่องจากสิทธแิ ละเสรภี าพบางประเด็นอาจสง่ ผลกระทบต่อ การดำรงอยู่ ของรฐั และมีนยั ตอ่ ความมั่นคงของประเทศ zee rice

14 (3) หลกั ประกนั ความเสมอภาค ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพจิ ารณาเหน็ วา่ ควรตดั ความวา่ “ชายและหญิงมสี ิทธิเท่าเทียมกัน” ในมาตรา 27 วรรคสอง ออก เนอ่ื งจากถ้อยคำในมาตรา 27 วรรคหนง่ึ มคี วามหมายครอบคลุมเรือ่ ง ความเท่าเทียมกันของบคุ คลไวแ้ ลว้ (4) หลกั ประกนั สทิ ธิและเสรีภาพในกระบวนการยตุ ิธรรม ขอ้ สังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาเหน็ ว่า ควรแกไ้ ขเพิ่มเติม 2 ประการ ได้แก่ 1) ควรแก้ไขเพ่มิ เติมมาตรา 29 โดยบัญญัติลกั ษณะเดยี วกบั รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 39 และมาตรา 40 2) ควรเพ่มิ บทบัญญตั ใิ นมาตรา 29 เพื่อเป็นหลักประกนั มิให้มีการใชก้ ฎหมาย ยอ้ นหลังที่เปน็ ผลเสยี แก่บคุ คล (5) หลักประกันเสรีภาพในการถือศาสนา ขอ้ สังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาเห็นวา่ ควรแกไ้ ขมาตรา 31 โดยตัดความว่า “ไม่เป็น อันตราย ต่อความปลอดภยั ของรัฐ” ออก เนื่องจากตามหลักคำสอนในพระพทุ ธศาสนาอนั เป็นศาสนาที่ ประชาชนชาวไทยสว่ นใหญน่ ับถอื รวมทง้ั ศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนาอิสลาม ศาสนาครสิ ต์ เปน็ ตน้ ไมม่ ี ศาสนาใดทีถ่ ่ายทอดคำสอนและการประกอบพิธกี รรมทเ่ี ป็นอนั ตรายต่อความปลอดภยั ของรฐั จงึ ควรตดั ถ้อยคำดงั กลา่ วออก (6) หลักประกันสิทธใิ นการฟอ้ งหน่วยงานของรฐั ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพ่มิ เติมมาตรา 41 (3) โดยบัญญัติ หลักการเพม่ิ เตมิ กรณที ีป่ ระชาชนยน่ื ฟ้องหนว่ ยงานของรัฐจะต้องได้รบั การพิจารณาโดยรวดเร็ว และ เพิ่มสทิ ธิ ของชมุ ชนในการไดร้ ับการสนับสนนุ ทางกฎหมาย และทนายความในการฟ้องรอ้ งหน่วยงาน ของรัฐได้ โดยสะดวกมากย่ิงข้ึน รวมทงั้ การเพิม่ บทคมุ้ ครองประชาชนจากการท่หี น่วยงานภาครฐั ตรา กฎหมายหรอื อนุบญั ญตั ิต่าง ๆ ท่ีขดั หรือแย้งกบั บทบัญญัตขิ องรัฐธรรมนญู ดว้ ย เช่น กรณีศาลปกครอง สงู สดุ ออกระเบียบ ของที่ประชุมใหญต่ ุลาการในศาลปกครองสงู สุดกำหนดวันนบั อายุความซ่งึ ขัดหรือ แย้งกบั บทบัญญตั ิของ กฎหมายทอ่ี อกโดยฝา่ ยนติ บิ ัญญตั ิ เปน็ ตน้ (7) หลกั ประกันสิทธิของบคุ คลและชมุ ชน ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาเหน็ ว่า บทบัญญัตใิ นมาตรา 43 ควรบัญญตั ใิ ห้ ชัดเจนวา่ “สทิ ธิของชมุ ชน” หมายความถึงการใชส้ ทิ ธขิ องปจั เจกบุคคลหรอื หมายความถึงการใช้สิทธิที่ เป็นการรวมตัวกนั ของบคุ คล zee rice

15 (8) หลักประกันเสรภี าพในการจดั ต้ังพรรคการเมือง ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พจิ ารณาเหน็ ว่า ควรทบทวนบทบญั ญัติในมาตรา 45 วรรคสอง และมาตราอ่ืน ๆ ที่เก่ยี วกับพรรคการเมือง ในส่วนวิธกี ารเปิดโอกาสใหส้ มาชิกมสี ่วนร่วมในการสง่ ผู้สมัคร เพ่อื นำไปสู่การทบทวนบทบัญญัตติ ามพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยพรรค การเมือง พ.ศ. 2560 ในหมวด 3 การส่งผู้สมคั รรบั เลือกตง้ั (มาตรา 47 ถึงมาตรา 57) ทก่ี ระทบต่อการ บรหิ ารพรรคการเมือง และการสง่ ผู้สมัครรับเลือกตง้ั เชน่ มาตรา 57 การกำหนดนโยบายพรรค การเมอื งทีใ่ ช้ประกาศโฆษณา หากเปน็ นโยบายทตี่ ้องใชจ้ ่ายเงนิ จะต้องระบุแหลง่ ทีม่ าของเงินท่ีจะใชใ้ น การดำเนนิ การ เป็นตน้ (9) หลกั ประกันสิทธขิ องผ้บู ริโภค ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพิ่มเตมิ มาตรา 46 โดยกำหนดให้ มีองค์กร ที่มีความเป็นอสิ ระในการคุ้มครองผู้บริโภค ท่บี ริหารงานโดยคณะกรรมการที่มาจากผูแ้ ทนของ ผู้บรโิ ภค และให้องคก์ รน้ีไม่มีบทบาทหน้าทใ่ี นการออกระเบยี บหรอื ข้อบงั คบั ใดได้ เพื่อใหท้ ำหน้าทใ่ี น การคุ้มครองสิทธิ ของผู้บรโิ ภคให้กับประชาชนอย่างแทจ้ รงิ ลักษณะเดียวกับท่ีบัญญตั ิในรฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 (10) หลักประกันสิทธิของผู้สูงอายุและผ้ยู ากไร้ ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาเห็นวา่ ควรแก้ไขเพ่ิมเติมมาตรา 48 โดยบญั ญัติ หลักการ เพิ่มเตมิ เพอ่ื ใหบ้ คุ คลทุกคนมสี ิทธิเสมอกันในการได้รับความช่วยเหลือจากรฐั และนำไปส่กู าร เป็นรฐั สวัสดิการ รวมทั้งการกำหนดให้บุคคลท่ีมอี ายุเกนิ หกสบิ ปีทุกคนมีสิทธไิ ด้รับเบ้ยี ผสู้ ูงอายุ โดยตดั เง่อื นไขในเร่ืองการพสิ จู นว์ า่ เป็นผ้ไู มม่ รี ายไดเ้ พยี งพอแก่การยังชีพ หรือเป็นบุคคลผยู้ ากไร้ออก (11) หลักประกนั สิทธิและเสรภี าพในการปกป้องการปกครองระบอบประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเป็นประมขุ ข้อสงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเห็นวา่ ควรแก้ไขเพม่ิ เติมมาตรา 49 โดยบญั ญตั ิ เปน็ ข้อยกเว้นว่าญตั ติเสนอแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ รัฐธรรมนญู ไมถ่ อื เป็นการลม้ ล้างการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ ประมขุ หมวด 4 หนา้ ท่ีของปวงชนชาวไทย (มี 1 มาตรา คือ มาตรา 50) ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นว่า ควรพจิ ารณาทบทวนบญั ญัตใิ นมาตรา 50 (1) ถงึ (10) วา่ กรณีใดควรกำหนดให้เปน็ หน้าทหี่ รอื เปน็ สิทธเิ ชน่ การไปใช้สทิ ธิเลือกตงั้ หรอื ลงประชามติ เปน็ ต้น และบางกรณมี คี วามจำเป็นต้องกำหนดให้เปน็ หน้าท่ขี องปวงชนชาวไทยหรือไม่ เช่น ร่วมมอื zee rice

16 และสนับสนนุ การอนุรกั ษแ์ ละคุม้ ครองสิง่ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชวี ภาพ รวมท้ังมรดก ทางวัฒนธรรม เป็นตน้ หมวด 5 หนา้ ทขี่ องรัฐ (มี 13 มาตรา คอื มาตรา 51 ถงึ มาตรา 63) (1) การบัญญตั หิ นา้ ที่ของรฐั ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญพิจารณาเหน็ วา่ หนา้ ทีข่ องรฐั ตามทบี่ ญั ญัตใิ นมาตรา 52 ถึง มาตรา 63 ควรกำหนดให้มหี นว่ ยงานใดเปน็ ผู้รับผดิ ชอบ และหน่วยงานนัน้ ต้องดำเนินการอยา่ งไร (2) มาตรา 51 ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นว่า ควรพิจารณาบทบญั ญตั ิในมาตรา 51 ว่าจะ มวี ิธกี ารใด เพ่ือใหอ้ ำนาจแก่ประชาชนในการกำกับควบคุมการใชอ้ ำนาจของภาครฐั โดยอาศัยอำนาจ ตามทีก่ ำหนดไวใ้ น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 (3) หนา้ ท่จี ัดให้มกี ารศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพส่ิงแวดลอ้ มและสขุ ภาพ ของประชาชน ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพิม่ เตมิ บทบัญญตั ิมาตรา 58 โดย กำหนดกลไกและมาตรการบงั คบั ให้รัฐจะต้องดำเนินการศกึ ษาและประเมนิ ผลกระทบต่อคณุ ภาพ ส่ิงแวดลอ้ มและ สขุ ภาพของประชาชนหรอื ชุมชน และจดั ใหม้ กี ารรบั ฟงั ความคดิ เห็นของผ้มู ีส่วนไดเ้ สยี และประชาชนและชมุ ชน ทเี่ กยี่ วข้องกอ่ นดำเนนิ โครงการมีผลกระทบตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติ คณุ ภาพ สงิ่ แวดล้อม สุขภาพ อนามัย คุณภาพชวี ิต หรือสว่ นไดเ้ สียสำคญั อ่นื ใดของประชาชนหรือชมุ ชนหรอื สงิ่ แวดล้อมอย่างรนุ แรงในทุกกรณี หมวด 6 แนวนโยบายแหง่ รฐั (มี 15 มาตรา คอื มาตรา 64 ถึงมาตรา 78) (1) ปญั หาหลักการการบญั ญัติแนวนโยบายแห่งรัฐ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาเหน็ ว่า การกำหนดนโยบายการบริหาร ประเทศ ควรให้อิสระ แกค่ ณะรัฐมนตรี ไม่ควรบญั ญัติเป็นบทบงั คบั ไวใ้ นรฐั ธรรมนูญ (2) ทศิ ทางของนโยบายการกระจายอำนาจ ข้อสงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเห็นวา่ ควรกำหนดเจตนารมณ์ เรอื่ ง ทิศทางการพัฒนา การปกครองท้องถน่ิ และการกระจายอำนาจที่เพม่ิ ขน้ึ ไว้ในแนวนโยบายแหง่ รัฐ หรือ หมวดทวี่ ่าดว้ ยการปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ โดยตรง อาทิ การบัญญัติในมาตรา 281 วรรคหนึง่ วา่ “ภายใต้ บังคับมาตรา 1 รฐั จะตอ้ งให้ความ เปน็ อิสระแกอ่ งค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ตามหลักแห่งการ zee rice

17 ปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชน ในท้องถิ่น และสง่ เสริมให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน เปน็ หน่วยงานหลกั ในการจัดบริการสาธารณะและ มสี ่วนร่วมในการตดั สินใจแก้ไขปัญหา ในพ้ืนท่”ี เปน็ ต้น และควรบัญญตั แิ นวทางการกระจายอำนาจไปสู่องคก์ ร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้ ชัดเจน ดงั เชน่ ที่ปรากฏในรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 - 26 - และรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ท่ีบัญญตั เิ ป็นแนวทางในการออกกฎหมายลำดบั รองตอ่ ไป อกี ท้ังควรบญั ญตั ิให้มกี ารปฏิรูปการปกครองส่วนท้องถิน่ โดยบญั ญัติไวใ้ นหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ โดยเพิม่ ในส่วนของมาตรา 258 ก. ด้านการเมอื งอกี ด้วย (3) การจัดให้มยี ทุ ธศาสตรช์ าติ ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามญั พิจารณาเห็นวา่ ควรแก้ไขเพมิ่ เติมพระราชบัญญตั ิ การจดั ทำยทุ ธศาสตรช์ าติ พ.ศ. 2560 โดยปรบั ลดระยะเวลาการพิจารณาทบทวนยทุ ธศาสตร์ชาติให้เร็ว ขนึ้ เชน่ ทุกหนึง่ ปี หรอื ทกุ สองปี เปน็ ต้น ปรบั ปรุงองค์ประกอบของคณะกรรมการยุทธศาสตรช์ าติ โดย เปดิ โอกาสให้ทุกภาคสว่ นไดเ้ ขา้ มามี ส่วนรว่ มในการกำหนดยทุ ธศาสตรช์ าตไิ ดอ้ ย่างแท้จรงิ เพือ่ ให้การ พจิ ารณากำหนดยุทธศาสตรช์ าติมีมุมมอง ท่หี ลากหลายและสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน และบัญญัติเพม่ิ เงอ่ื นไขการจัดทำยุทธศาสตรช์ าติ จะต้องมีการรบั ฟังความคดิ เห็นของประชาชน (4) แนวนโยบายด้านทดี่ นิ ทรัพยากรนำ้ และพลังงาน ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาเห็นวา่ ควรแก้ไขเพ่ิมเตมิ มาตรา 72 โดยเพิ่ม หลักการ เก่ียวกับวธิ กี ารดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติอยา่ งยงั่ ยนื (5) แนวนโยบายดา้ นเศรษฐกิจ ข้อสงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาเหน็ วา่ บทบญั ญัติในมาตรา 75 ควรแก้ไข เพม่ิ เติมบทบัญญัติ ใหช้ ัดเจนว่ากิจการลักษณะใดที่ห้ามมใิ หร้ ัฐประกอบกจิ การท่เี ปน็ การแข่งขันกบั เอกชน และควรกำหนดให้ ชดั เจนวา่ การผกู ขาดทางการคา้ การใหส้ ัมปทาน การอนญุ าตใหใ้ ชท้ รพั ยากร ของแผน่ ดินจะต้องระบใุ ห้ชัดเจน วา่ สามารถดำเนนิ การในลักษณะใดบ้าง เพื่อปอ้ งกันการครอบงำโดย กลมุ่ ทนุ ขนาดใหญใ่ นภาคเอกชน (6) แนวนโยบายด้านกฎหมาย ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเห็นวา่ ควรแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 77 โดยเพม่ิ บทบญั ญตั ิ เก่ยี วกบั เงือ่ นเวลาในการเสนอรา่ งกฎหมาย และหากไม่ดำเนินการตามระยะเวลาที่กำหนด ถอื วา่ เปน็ การกระทำที่ขัดต่อรัฐธรรมนญู เพือ่ ใหก้ ระบวนการตรากฎหมายเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว ซึ่งจะ ก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ ประชาชนและประเทศ และกำหนดแนวทางการรับฟังความคิดเหน็ ของผู้ท่ี เกี่ยวข้องให้ชดั เจน รวมทั้งกำหนด มาตรการและช่องทางการรับฟังความคดิ เหน็ ให้เปน็ รูปธรรมมากขึน้ เพื่อให้การรับฟงั ความคิดเห็นเปน็ ไป อย่างรอบด้านและกว้างขวาง และเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนได้เข้ามา มสี ่วนรว่ มในการตรากฎหมายมากข้นึ zee rice

18 หมวด 7 รฐั สภา 1) สว่ นท่ี 1 บททวั่ ไป (มี 4 มาตรา คือ มาตรา 79 ถึงมาตรา 82) คณะกรรมาธิการวสิ ามญั มคี วามเห็นเก่ยี วกบั ระบบรฐั สภาแบ่งเปน็ สอง ความเหน็ คอื ความเห็นที่ 1 มีความเห็นว่าควรกำหนดใหร้ ฐั สภาของประเทศไทยเป็นระบบสภา เดียว เนือ่ งจากประเทศไทยมีการปกครองในรปู แบบราชอาณาจกั ร ไมใ่ ชก่ ารปกครองในรูปแบบ สาธารณรฐั หรอื สหพันธรฐั ซึ่งจะใชร้ ะบบสองสภา ประกอบกับการกำหนดรูปแบบรฐั สภาเป็นสองสภา คือสภาสงู และสภาลา่ ง จะทำใหส้ ิน้ เปลืองงบประมาณและประชาชนเกิดความสับสน โดยเฉพาะการตัง้ คณะกรรมาธิการสามัญ ท้งั ในส่วนของสภาผ้แู ทนราษฎรและวฒุ สิ ภาซ่ึงมีช่ือ อำนาจและการท าหน้าท่ี ในลักษณะคล้ายกัน ความเห็นท่ี 2 มคี วามเหน็ วา่ ระบบรัฐสภาของประเทศไทยควรใชร้ ะบบสองสภา โดยสภาที่สอง หรือสภาสูงอาจกำหนดให้มที ี่มาจากการเลือกต้ังจำนวนกึง่ หนง่ึ และมาจากการเลือก บคุ คลในกลมุ่ วชิ าชพี ต่าง ๆ จำนวนกง่ึ หน่ึงซึง่ จะต้องกำหนดกลไกหรือหลกั เกณฑก์ ารคดั สรรให้ไดบ้ ุคคล ทเ่ี ปน็ ตัวแทนของกล่มุ วิชาชีพนนั้ ๆ อยา่ งแท้จริงดว้ ย ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพจิ ารณาเหน็ ว่า ควรพิจารณาความเหมาะสมวา่ ประเทศไทย ควรเป็นระบบสภาเดียวหรือสภาคู่ 2) สว่ นที่ 2 สภาผู้แทนราษฎร (มี 24 มาตรา คือ มาตรา 83 ถึงมาตรา 106) ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั พจิ ารณาเห็นว่า ควรกลับไปใชร้ ะบบเลอื กตัง้ สมาชิก สภา ผแู้ ทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 และรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 กล่าวคอื ให้ประชาชนมสี ทิ ธิเลอื กสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรไดส้ อง แบบ คือ แบบแบ่งเขตเลือกตั้งและแบบบัญชีรายชื่อ ซ่ึงระบบดงั กล่าวจะทำใหเ้ กิดดลุ ยภาพทาง การเมอื ง และทำให้ ประชาชนเกิดความสบั สนน้อยท่สี ดุ ทั้งนี้ เมื่อกลับไปใช้ระบบเลอื กตัง้ แบบแบ่งเขต เลือกต้ังและแบบบญั ชีรายช่ือแล้ว จะส่งผลให้มกี ารแก้ไขปญั หาเรือ่ งบตั รเลอื กต้ังใบเดยี วและระบบการ คดิ คำนวณคะแนน ของสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรใหส้ อดคล้องกนั ต่อไป นอกจากนนั้ ควรบัญญัติเง่อื นไข เพ่มิ เติมด้วยว่าในระหว่าง ทีพ่ ระราชกฤษฎกี าให้มีการเลือกตัง้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรเป็นการทัว่ ไปมี ผลใชบ้ ังคับ ผ้มู อี ำนาจจะต้องไม่ใช้ อำนาจพเิ ศษใด ๆ ในช่วงการเลือกตั้ง ซึ่งถือเปน็ การสร้างบรรยากาศ ใหเ้ กดิ ความเป็นอสิ ระต่อการเลอื กตัง้ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ต้องไม่มกี ารบังคบั ใชก้ ฎหมายพิเศษในช่วงการ จัดการเลอื กต้ังอันจะสง่ ผลกระทบต่อความเป็นอิสระของคณะกรรมการการเลือกตงั้ ผ้สู มัครรับเลอื กตั้ง และประชาชนผู้มีสทิ ธเิ ลือกตั้งในการ แสดงความคดิ เห็นที่เก่ียวกบั การเลือกต้งั zee rice

19 2.2) องคป์ ระกอบของสภาผู้แทนราษฎร (มาตรา 83) ขอ้ สงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาเห็นว่า ควรแกไ้ ขเพิ่มเติมมาตรา 83 โดย กำหนดให้มสี มาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบง่ เขตเลอื กตั้ง จำนวน 400 คน และสมาชกิ สภาผู้แทน ราษฎรแบบบญั ชีรายช่อื จำนวน 100 คน ตามท่ีเคยกำหนดในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 2.3) บัตรเลอื กตัง้ และการกำหนดหมายเลขผ้สู มคั ร (มาตรา 85) ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นวา่ (1) ควรแก้ไขเพิม่ เติมมาตรา 85 โดยกำหนดให้ใช้บัตรเลือกต้งั สองใบ ตามที่ เคยบัญญตั ิ ในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 และรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั ร ไทย พทุ ธศกั ราช 2550 เนื่องจากเปน็ ระบบท่ผี ลการเลือกต้งั สะท้อนเจตนารมณข์ องประชาชนผ้อู อกไป ใช้สิทธิเลือกตัง้ ได้ อย่างแท้จรงิ และเปน็ ระบบทท่ี ำใหค้ ะแนนเสยี งเลือกตัง้ ปรากฏผลตามคะแนนทถ่ี กู แยกออกระหว่างคะแนน ของผ้สู มัครรบั เลอื กต้งั แบบแบ่งเขตเลอื กต้ังกับคะแนนของบตั รเลือกตั้งท่ี ประชาชนเลอื กพรรคการเมือง - 36 – ซึง่ จะเปน็ คะแนนที่ใชใ้ นการคำนวณหาสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎร แบบบญั ชีรายชือ่ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน และควรกำหนด หมายเลขผู้สมัครรับเลือกต้ังจากพรรคเดยี วกันเปน็ หมายเลขเดียวกันท้ังประเทศ (2) ควรให้อิสระแก่พรรคการเมอื งในการคัดเลือกผสู้ มัครรบั เลือกต้งั ไมค่ วร กำหนด ใหม้ กี ารจดั การคดั เลอื กผสู้ มัครขั้นต้นไว้ในกฎหมาย 2.4) การเสนอชอื่ นายกรฐั มนตรโี ดยพรรคการเมือง (มาตรา 88 และมาตรา 89) ผลการพจิ ารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวสิ ามัญจำนวนข้างมากเห็นว่า การทรี่ ฐั ธรรมนูญฉบับปัจจุบนั กำหนดให้ พรรคการเมืองที่สง่ ผสู้ มคั รรับเลือกตั้งแจ้งรายชอ่ื บุคคลซ่ึง พรรคการเมืองน้ันมีมติว่าจะเสนอให้ สภาผู้แทนราษฎรเพือ่ พิจารณาให้ความเห็นชอบแต่งตง้ั เป็น นายกรฐั มนตรไี ม่เกินสามรายช่อื ต่อคณะกรรมการ การเลือกตั้งก่อนปดิ การรับสมัครรับเลอื กตง้ั และให้ คณะกรรมการการเลอื กตัง้ ประกาศรายชื่อบคุ คลดังกล่าว ใหป้ ระชาชนทราบน้ัน กไ็ ม่ถอื ว่าเป็น นายกรฐั มนตรีท่ีมาจากการเลอื กตง้ั โดยตรงของประชาชน ควรกำหนดให้ นายกรัฐมนตรมี าจาก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรดังเชน่ ทเี่ คยบัญญัตใิ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 และรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 ซึง่ จะทำให้นายกรฐั มนตรี มคี วามใกลช้ ดิ กบั ประชาชน ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอและ คณะกรรมาธิการวิสามัญสว่ นใหญ่พิจารณาเหน็ วา่ ควรกำหนดให้ นายกรัฐมนตรีตอ้ งเป็น สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร และควรยกเลิกบทบญั ญัตมิ าตรา 88 และมาตรา 89 zee rice

20 2.5) การคำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอื่ ผลการพิจารณาศึกษาของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญ ดงั น้ี (1) บทบญั ญัตมิ าตรา 91 ที่กำหนดวธิ กี ารคำนวณหาสมาชิกสภาผแู้ ทน ราษฎร แบบบัญชรี ายชือ่ เปน็ บทบญั ญตั ิทกี่ อ่ ให้เกิดปัญหาตคี วามเกีย่ วกับวธิ ีการคำนวณหา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แบบบัญชรี ายช่ือเปน็ อย่างมาก เน่อื งจากไม่มีความชัดเจนในวธิ ีการคำนวณ รวมท้งั ผลการเลือกตงั้ ไม่ตรงกับเจตนารมณข์ องประชาชนผอู้ อกไปใชส้ ิทธิเลอื กตัง้ ซงึ่ ปรากฏขอ้ เท็จจรงิ จากการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรคร้งั ทผ่ี ่านมาว่ามพี รรคการเมอื งบางพรรคทไี่ ด้รับคะแนนเสียง จากการเลือกตง้ั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรแบบแบง่ เขตเลอื กตงั้ จำนวนสามหมืน่ คะแนนกลับไดร้ บั จัดสรรสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชี รายช่อื จำนวนหนึ่งคนเท่ากบั พรรคการเมอื งอีกพรรคหนึ่งท่ี ได้ รบั คะแนนเลอื กต้งั สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรแบบแบง่ เขตเลอื กต้ังจำนวนแปดหมืน่ คะแนน แตก่ ลบั ไดร้ บั การจดั สรรสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายช่ือหนง่ึ คนเทา่ กัน ซึง่ ก่อใหเ้ กดิ ปญั หาเกีย่ วกับ ความไม่ชดั เจนในสูตรการคำนวณหาสมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎรแบบบัญชรี ายช่ือ ซึ่งหากยงั คงวิธีการ คำนวณหาสมาชกิ สภาผ้แู ทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอ่ื ตามท่บี ัญญตั ใิ นมาตรา 91 กจ็ ะสง่ ผลต่อการ เลือกตั้ง สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรในอนาคตทีจ่ ะมีสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชอ่ื จากพรรค การเมอื งตา่ ง ๆ จำนวนเพมิ่ สงู ขึ้น เพราะในการเลอื กตั้งสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรในอนาคต พรรค การเมืองใดได้รบั คะแนน จากผ้สู มัครรับเลือกตงั้ แบบแบง่ เขตเลอื กต้ังจำนวนเพียงสามหมื่นคะแนน ก็จะ เปน็ ผลใหผ้ สู้ มัครรับเลอื กตง้ั แบบบัญชีรายช่ือในระดับต้นเป็นผ้ไู ด้รับเลอื กต้งั เปน็ สมาชิกสภาผแู้ ทน ราษฎรแบบบัญชรี ายช่ือได้ (2) วธิ ีการคำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชือ่ ตามทบ่ี ัญญตั ิใน มาตรา 91 ทำให้พรรคการเมืองอ่อนแอ และส่งกระทบตอ่ จดั ตงั้ รัฐบาล โดยจะได้รัฐบาลผสม ประกอบด้วยพรรคการเมอื ง จากหลายพรรค ทำให้เสถยี รภาพของรฐั บาลลดน้อยลง (3) กรณีทจุ ริต เลอื กตงั้ แมผ้ ู้กระทำความผดิ จะไมไ่ ดร้ ับเลือกตั้งเปน็ สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร ก็ตาม แตค่ ะแนนท่ี ผูส้ มคั รผ้นู ั้นไดร้ บั จะถกู นำไปรวมคำนวณเป็นคะแนนของพรรคการเมอื งทีผ่ นู้ ้นั สงั กัด เพ่ือคำนวณหา สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชีรายช่ือของพรรคการเมอื งนั้นแลว้ ข้อสังเกต ความเหน็ และ ข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเห็นว่ากรณีท่ีมีการแกไ้ ขเพ่มิ เติมมาตรา 85 โดยใช้ บัตร เลอื กต้ังสองใบ เหน็ ควรยกเลกิ มาตรา 91 แตถ่ า้ ยังคงใช้บัตรเลือกต้ังใบเดียว ควรมีการแก้ไขเพ่ิมเตมิ มาตรา 91 โดยกำหนดวธิ ีการคำนวณหาสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบญั ชรี ายชื่อใหม้ คี วามชดั เจน 2.6) คุณสมบัติผู้มีสทิ ธิสมัครรับเลอื กตง้ั (มาตรา 97) ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเห็นวา่ ควรพจิ ารณาความเหมาะสมวา่ ประเทศไทย ควรกำหนดใหส้ มาชกิ สภาผู้แทนราษฎรตอ้ งสงั กดั พรรคการเมือง หรือไมต่ ้องสังกดั พรรค การเมอื ง 2.7) บคุ คลต้องหา้ มมิใหใ้ ชส้ ทิ ธสิ มัครรับเลอื กตัง้ ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเหน็ วา่ ควรแก้ไขเพิม่ เตมิ บทบัญญตั มิ าตรา 98 ในการ กำหนดคณุ สมบัติและลกั ษณะต้องหา้ มของผสู้ มคั รรับเลือกต้ังเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร zee rice

21 ลกั ษณะเดียวกับการกำหนดคณุ สมบตั แิ ละลักษณะตอ้ งห้ามของผู้มสี ิทธิสมัครรับเลอื กตัง้ ตามท่บี ญั ญตั ิใน รัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 2.8) เหตุแหง่ การสนิ้ สุดสมาชกิ ภาพของสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามญั พจิ ารณาเห็นวา่ ควรแก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 101 (9) โดยกำหนดให้ มกี ระบวนการตรวจสอบเหตุผลของพรรคการเมอื งทีล่ งมตใิ ห้สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พน้ จากการเป็นสมาชกิ พรรคการเมอื ง 3) สว่ นท่ี 3 วฒุ สิ ภา 3.1) ปัญหาหลักการการบัญญัตอิ ำนาจของวฒุ ิสภา ขอ้ สังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาเห็นวา่ ควรแก้ไขเพ่ิมเติมบทบัญญัติในส่วน หน้าท่ี และอำนาจของวุฒิสภาให้มีอำนาจในการถอดถอนผดู้ ำรงตำแหนง่ ทางการเมอื ง ตุลาการศาล รฐั ธรรมนูญ ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระ และขา้ ราชการระดับสูง เชน่ เดยี วกบั รฐั ธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2550 3.2) ทม่ี าและองคป์ ระกอบของวฒุ สิ ภา ผลการพจิ ารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเหน็ วา่ การกำหนดวิธกี าร ไดม้ าซ่งึ สมาชกิ วฒุ ิสภาท่ีไมไ่ ดม้ าจากการเลือกโดยตรงของประชาชน ทำใหเ้ กดิ ปัญหาความเปน็ กลางใน การปฏบิ ัติหน้าท่ีและสง่ ผลต่อกลไกการตรวจสอบ นอกจากน้ัน วิธีการเลอื กไขว้ระหว่างกลมุ่ อาชีพนัน้ เป็นวิธีการท่ไี ม่เหมาะสมเพราะผเู้ ลอื กต่างฝ่ายต่างไมร่ ้จู กั ซ่ึงกันและกันทำใหไ้ ม่มฐี านความรูแ้ ละเหตุผล อย่างพอเพยี งทจี่ ะเลอื กผ้สู มคั รจากกลุ่มอาชีพ อนื่ เพือ่ เข้ามาทำหน้าทีเ่ ปน็ สมาชิกวุฒสิ ภา ดงั นั้น การออกแบบวธิ กี ารไดม้ าซงึ่ สมาชิกวฒุ ิสภา ควรพจิ ารณาวา่ วิธกี าร ไดม้ าซ่ึงสมาชกิ วฒุ ิสภาโดยการเลือกตัง้ ทางอ้อมตามที่บัญญัติในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 กับวิธีการได้มาซ่งึ สมาชิกวุฒสิ ภาจากการเลือกตง้ั โดยตรงของประชาชนตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2540 วิธกี ารใดจะทำใหไ้ ด้สมาชกิ วุฒิสภาซ่งึ เปน็ ผู้ทม่ี ี คุณสมบตั ิเหมาะสม เพ่อื เข้ามาปฏบิ ัติหน้าที่ในสภาสูง ส่วนการกำหนดรปู แบบวธิ ีการได้มาซึง่ สมาชิก วฒุ ิสภาต้องสอดคล้องกับความต้องการของประชาชน โดยประชาชนตอ้ งมีส่วนรว่ มในการแสดงความ คดิ เห็นและกำหนดรูปแบบการเลือกตัง้ ท่ีเหมาะสมและเป็นไปตามความต้องการของประชาชนที่เปน็ เจา้ ของอำนาจอธปิ ไตย ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาเหน็ วา่ ควรแก้ไขเพิม่ เตมิ ประเด็นเร่ืองการ ไดม้ าซึ่งสมาชกิ วุฒิสภา ท่ีกำหนดหา้ มมิใหเ้ ลอื กกันเองในกลมุ่ อาชพี เดียวกนั ใหม้ ีความชดั เจนมากยง่ิ ขึ้น ส่วนการกำหนดกลมุ่ อาชพี ไมค่ วรกำหนดแบบตายตัว แต่ควรมีการอนวุ ตั ิการกำหนดกลุ่มอาชพี ใหเ้ ป็นไป ตามบริบทของสงั คมไทยท่มี กี ารเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา zee rice

22 4) ส่วนท่ี 4 บทที่ใช้แกส่ ภาทัง้ สอง (มี 42 มาตรา คอื มาตรา 114 ถงึ มาตรา 155) 4.1) เอกสิทธคิ์ วามค้มุ กนั สมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎร สมาชิกวฒุ สิ ภา (มาตรา 124) ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นวา่ บทบัญญตั ใิ นมาตรา 124 ควร มีมาตรการคุ้มครองสมาชิกเพอ่ื ให้สมาชิกสามารถทำหนา้ ที่โดยไม่ต้องกังวลว่าจะถูกฟอ้ งดำเนินคดีจาก บุคคลอน่ื ซ่งึ มิใช่รัฐมนตรหี รือสมาชกิ แห่งสภาน้นั 4.2) คณะกรรมาธิการ (มาตรา 129) ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาเห็นวา่ ควรแกไ้ ขเพ่มิ เติมมาตรา 129 โดยบญั ญัติ หลักการเพิ่มเตมิ กลไกการถว่ งดลุ ตรวจสอบระหวา่ งองคก์ รนิติบญั ญตั ิกับองค์กรตลุ า การและองค์กรอิสระ โดยกำหนดให้คณะกรรมาธิการมีอำนาจเรยี กเอกสาร หรอื เรียกผพู้ พิ ากษา ตุลา การ หรือผ้ดู ำรงตำแหน่ง ในองค์กรอสิ ระ มาแถลงขอ้ เทจ็ จริงหรือแสดงความคดิ เหน็ ในเรอื่ งที่เก่ียวกับ การปฏิบัตหิ น้าท่หี รอื การใช้อำนาจในกระบวนวิธพี จิ ารณาพพิ ากษาอรรถคดี หรือการบรหิ ารงานบุคคล ของศาล หรือในส่วนทเี่ กย่ี วกบั การปฏบิ ัติ ตามหนา้ ท่ีและอำนาจโดยตรงตามรฐั ธรรมนูญ หรอื พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู 4.3) การเสนอรา่ งพระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญ ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาเห็นวา่ (1) ควรกำหนดใหป้ ระชาชนผมู้ สี ทิ ธิเลอื กตง้ั สามารถร่วมกันเขา้ ชือ่ เสนอ ร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนญู ได้เชน่ เดยี วกับทเ่ี คยกำหนดไวใ้ นรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั ร ไทย พทุ ธศักราช 2540 และไม่ควรกำหนดใหอ้ งค์กรตุลาการมีสิทธใิ นการเสนอร่างพระราชบัญญัติ ประกอบรฐั ธรรมนูญ เนอ่ื งจาก องค์กรตุลาการเปน็ องคก์ รทม่ี อี ำนาจในการวนิ ิจฉยั จงึ ไม่ควรกำหนดให้ เปน็ ผูม้ ีสทิ ธิเสนอร่างกฎหมาย (2) ควรมกี ารแก้ไขบทบัญญัตมิ าตรา 131 (1) ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 โดยบญั ญัติให้ชัดเจนว่าเปน็ อำนาจของคณะรฐั มนตรใี นการเสนอ ร่างพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญไมว่ า่ ศาลฎีกา ศาลรฐั ธรรมนญู หรือองคก์ รอิสระที่เกย่ี วขอ้ งจะ มขี อ้ เสนอแนะตอ่ คณะรฐั มนตรหี รอื ไม่ หากเกดิ ปัญหาการบงั คบั กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู และ จำเป็นที่ตอ้ งมกี ารแกไ้ ขเพ่ิมเติม หรอื กรณีคณะรฐั มนตรีเหน็ สมควรตอ้ งเสนอรา่ งพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนญู ฉบับใหม่ หรอื เสนอรา่ งพระราชบัญญัตปิ ระกอบรัฐธรรมนูญฉบับแกไ้ ขเพิ่มเติมก็ สามารถดำเนนิ การได้ 4.4) การเสนอรา่ งพระราชบัญญตั ิ ผลการพจิ ารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญเห็นว่าอำนาจในการ ตรากฎหมาย ควรเปน็ อำนาจของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร แต่รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 กลับใหศ้ าลหรอื องค์กรอิสระ มีชอ่ งทางในการตรากฎหมายแทน ซึ่งเป็นเรอ่ื งสำคญั เนือ่ งจากเป็นการใชอ้ ำนาจท่ีไมไ่ ด้มาจากประชาชน ดงั นนั้ เม่ือหลายองคก์ รสามารถมอี ำนาจพเิ ศษ หรอื มอี ำนาจในการตรากฎหมาย และดำเนินการตา่ ง ๆ ที่กระทบตอ่ ประชาชน รฐั สภาซึ่งเปน็ ฝ่ายนติ ิ zee rice

23 บัญญัติจึงควรมอี ำนาจสูงสุดในการตรากฎหมาย อนั เป็นหลักการพื้นฐาน ตามระบอบประชาธปิ ไตยที่มี ความเป็นสากล ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอและ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพิจารณาเห็นวา่ บทบัญญัตทิ ่ีเกย่ี วกบั การ เขา้ ช่ือเสนอกฎหมาย ควรกำหนดให้ประชาชนสามารถเขา้ ช่ือเสนอกฎหมายในหมวดวา่ ด้วย แนวนโยบายพ้ืนฐานแหง่ รัฐได้ด้วย 4.5) ขอ้ ห้ามมิให้สมาชกิ สภาผูแ้ ทนราษฎร สมาชกิ วฒุ ิสภา และกรรมาธิการ ในการ พิจารณาร่างพระราชบัญญัตงิ บประมาณรายจา่ ยประจำปีงบประมาณ ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) บทบญั ญัติมาตรา 144 ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 ควรแก้ไขเพิ่มเตมิ โดยบัญญัติถ้อยคำใหม้ ีความชัดเจนว่าขอ้ หา้ มมใิ หก้ ารพิจารณาของสภา ผ้แู ทนราษฎร วุฒสิ ภา หรือคณะกรรมาธิการ การเสนอ การแปรญัตตหิ รอื การกระทำดว้ ยประการใด ๆ ท่ีมี ผลใหส้ มาชิกสภาผแู้ ทนราษฎร สมาชกิ วุฒิสภาหรอื กรรมาธกิ ารมีส่วนไม่วา่ โดยทางตรงหรือทางอ้อมใน การใชง้ บประมาณนน้ั มีขอบเขตเพยี งใด (2) ควรแก้ไขเพ่มิ เติมบทบัญญัตมิ าตรา 144 วรรคสอง โดยกำหนดให้ฝา่ ย นติ บิ ญั ญตั ิ และฝา่ ยบรหิ ารมอี ำนาจในการพจิ ารณาและบรหิ ารงบประมาณแผน่ ดินดงั เช่นทีเ่ คยบัญญัติ ในรฐั ธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 นอกจากนัน้ เพ่อื ป้องกนั ปญั หาการทุจริตท่อี าจเกิดข้นึ ในชนั้ การพจิ ารณาร่าง พระราชบัญญัตงิ บประมาณ รายจ่ายประจำปีงบประมาณของสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชิก วฒุ ิสภา ควรเพิม่ บทบัญญัติ โดยกำหนดใหเ้ ปน็ อำนาจของคณะรัฐมนตรใี นการพจิ ารณาและบริหาร งบประมาณแผ่นดนิ (3) ควรแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยเพิม่ บทบัญญัตใิ นลกั ษณะทีเ่ ปน็ การให้ความ คุม้ ครอง คณะกรรมาธกิ ารหรือสมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรทีท่ ำหน้าท่ีโดยสุจรติ เช่นเดียวกับทีบ่ ัญญัตใิ น รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 (4) การจดั ทำงบประมาณของส่วนราชการในระดบั จงั หวดั ควรเปิดโอกาส ใหส้ มาชกิ ผู้แทนราษฎรและภาคประชาชนไดเ้ ข้าไปมีสว่ นรว่ มในการนาเสนอโครงการ 4.6) กระทถู้ าม (มาตรา 150) ขอ้ สงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นว่า ควรแก้ไขเพม่ิ เตมิ มาตรา 150 วรรคหนึง่ โดยกำหนดว่าการตง้ั กระทถู้ ามด้วยวาจา ควรระบุรายละเอียดพอสงั เขปเพ่ือให้รฐั มนตรีไดท้ ราบ ประเด็นทส่ี มาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวฒุ สิ ภาจะต้งั กระทู้ถามด้วยวาจา zee rice

24 5) สว่ นที่ 5 การประชุมร่วมกนั ของรัฐสภา (มี 2 มาตรา คอื มาตรา 156 ถงึ มาตรา 157) ผลการพจิ ารณาศึกษา (1) มาตรา 156 (1) ถึง (15) ไดก้ ำหนดให้รัฐสภาประชมุ ร่วมกนั ในกรณีใดบ้างไว้ อย่าง ชดั เจน แตใ่ นมาตรา 156 (16) ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 ที่ กำหนดวา่ “(16) กรณอี ืน่ ตามท่บี ญั ญัตไิ ว้ในรัฐธรรมนูญ” ไมม่ คี วามชัดเจนวา่ หมายถงึ กรณใี ดบ้าง (2) มาตรา 156 (7) ท่ีกำหนดวา่ “การพิจารณารา่ งพระราชบัญญัติประกอบ รฐั ธรรมนญู ตามมาตรา 132” ซง่ึ ในหลักการการพิจารณารา่ งพระราชบัญญตั ิประกอบรฐั ธรรมนญู หรอื รา่ งพระราชบัญญตั ิ จะตอ้ งเสนอให้สภาผแู้ ทนราษฎรพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบก่อนท่ีจะเสนอให้ วฒุ ิสภาพิจารณา ประกอบกบั ในมาตรา 156 (8) ของรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ได้กำหนดให้ที่ประชมุ รว่ มกัน ของรัฐสภามีอำนาจในการปรึกษาร่างพระราชบัญญัตปิ ระกอบ รฐั ธรรมนญู หรือรา่ งพระราชบญั ญัตใิ หม่ ตามมาตรา 146 ไว้แลว้ ฉะนั้น การทม่ี าตรา 156 (7) ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 กำหนดไวใ้ นลกั ษณะเชน่ น้ีกอ็ าจทำใหก้ าร พจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบรา่ งพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญขึน้ อยู่กบั การตัดสินใจของวฒุ สิ ภา เปน็ หลกั ข้อสังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พจิ ารณาเห็นว่า ควรตัดความในมาตรา 156 (7) และ (16) ออก 6) ข้อเสนอแนะพิเศษทา้ ยหมวด 7 รฐั สภา ประเด็นข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธกิ ารวิสามัญ เกยี่ วกบั ความเหมาะสมของประเทศไทยว่า ควรเป็นระบบสภาเดียวหรือสภาคู่ กรณีท่เี หน็ ควรกำหนด เป็นสภาคู่ควรจะมกี ารจดั ต้ังสำนักงานเลขาธิการรัฐสภาขึ้น เพ่ือทำหน้าทร่ี องรบั การทำงานทีท่ งั้ สภา ผแู้ ทนราษฎรและวฒุ สิ ภาตอ้ งใช้บริการร่วมกัน เชน่ การรักษาความปลอดภยั ระบบคอมพิวเตอร์ ภาษาตา่ งประเทศงานร่างกฎหมายใหส้ มาชิก หอ้ งสมุด ประชาสมั พันธ์ ฯลฯ โดยสภาผแู้ ทนราษฎร และ วฒุ ิสภาคงทำหนา้ ท่ีสำคัญ คือ งานประชมุ และงานกรรมาธกิ ารหรืองานอืน่ ที่รัฐธรรมนญู กฎหมายหรือ ข้อบงั คับกำหนด ทัง้ น้ี เพ่ือให้ระบบงานรองรับของท้งั สองสภาไมซ่ ำ้ ซ้อน และมีประสิทธภิ าพมากยิ่งขนึ้ หมวด 8 คณะรฐั มนตรี 1) การแต่งตงั้ นายกรฐั มนตรี (มาตรา 158) ผลการพิจารณาศกึ ษา คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั เห็นวา่ ในหมวด 8 คณะรฐั มนตรี ควรกำหนดให้ชดั เจนวา่ กอ่ นมีการเลอื กตง้ั ทัว่ ไป พรรคการเมืองจะตอ้ งมีการประกาศรายช่อื ของผทู้ จ่ี ะ มาดำรงตำแหน่งเป็นนายกรฐั มนตรแี ละรัฐมนตรีด้วย เพ่อื ใหป้ ระชาชนทราบว่าผใู้ ดที่จะมาดำรงตำแหนง่ zee rice

25 เปน็ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ซง่ึ จะเปน็ การปอ้ งกันไมใ่ ห้นายทุนของพรรคการเมอื งเข้ามาดำรง ตำแหน่งรัฐมนตรี ขอ้ สังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นวา่ การทำหน้าที่ของฝ่ายการเมือง ควรกำหนด ห้ามมิให้รฐั มนตรดี ำรงตำแหนง่ สมาชิกสภาผแู้ ทนราษฎรในขณะเดียวกัน เพือ่ ใหร้ ัฐมนตรที ำงานได้อยา่ งเตม็ ท่ี 2) คณุ สมบตั ิและลกั ษณะตอ้ งหา้ มของรฐั มนตรี (มาตรา 160) ขอ้ สังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั พิจารณาเหน็ วา่ ควรมกี ารแกไ้ ขเพิ่มเติมโดยระบรุ ายละเอยี ด เกีย่ วกับลกั ษณะต้องหา้ มของรัฐมนตรีในการเปน็ เจ้าของหรือผถู้ ือหนุ้ ในกิจการหนงั สือพมิ พห์ รอื สอ่ื มวลชนใด ๆ ใหช้ ดั เจน 3) การแถลงนโยบายของคณะรฐั มนตรีตอ่ รฐั สภา (มาตรา 162) ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ (1) ควรตัดความวา่ “และต้องชแี้ จงแหล่งที่มาของรายได้ท่ีจะนำมาใชจ้ ่ายในการ ดำเนินนโยบาย” ในมาตรา 162 วรรคหนึง่ ออก และนำหลกั การของมาตรา 162 ไปกำหนดไว้ใน พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยพรรคการเมือง พ.ศ. 2560 เพือ่ ใหเ้ ป็นอำนาจของ คณะกรรมการการเลือกตัง้ ในการควบคมุ การกำหนดนโยบายของพรรคการเมอื งทใ่ี ชใ้ นการหาเสียงกับ ประชาชนก่อนการเลือกต้ัง (2) ควรเพิ่มหลกั การในเร่อื งการจัดทำนโยบายของคณะรฐั มนตรใี หต้ ้องคำนึงถึงสทิ ธแิ ละ เสรีภาพของประชาชน และการกระจายอำนาจสกู่ ารปกครองส่วนท้องถน่ิ ด้วย หมวด 9 การขดั กนั แห่งผลประโยชน์ (มี 4 มาตรา คือ มาตรา 184 มาตรา 185 มาตรา 186 และมาตรา 187) 1) มาตรา 184 ผลการพจิ ารณาศึกษา คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั มีความเห็นวา่ หลกั เกณฑแ์ ละ เจตนารมณ์ของบทบญั ญัติ มาตรา 184 นี้ โดยหลักการแลว้ มคี วามถกู ตอ้ งเหมาะสมดีแล้ว ข้อสงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญมีขอ้ สังเกตในบทบญั ญตั ิมาตรา 184 (2) เรอ่ื งการห้ามเปน็ ผถู้ อื หนุ้ ในบรษิ ัททีร่ ับสัมปทานหรือทเี่ ข้าเปน็ คสู่ ัญญากับรฐั หน่วยราชการ หนว่ ยงานของรฐั หรือ รฐั วิสาหกจิ ในลักษณะที่กำหนดไว้ ไมว่ ่าโดยทางตรงหรือทางอ้อมว่าไม่ควรรวมไปถงึ การเปน็ ผ้ถู อื หุ้น จากการลงทุน ในตลาดหลักทรัพยแ์ หง่ ประเทศไทยในลกั ษณะทเ่ี ป็นการลงทนุ ท่มี ีจำนวนหุ้นหรือวงเงิน ลงทนุ ท่ไี มม่ ีลักษณะ เปน็ ผู้ถอื หนุ้ รายใหญห่ รอื ทมี่ สี ิทธิในการบรหิ ารจัดการในบรษิ ทั นั้น 2) มาตรา 185 ข้อสงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเหน็ ว่า บทบัญญตั ใิ นมาตรา 185 (1) และ (3) ควร จะต้อง มกี ารปรบั ปรุงแก้ไขให้มคี วามผอ่ นคลายเพ่ือที่จะใหส้ มาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรและสมาชิกวุฒสิ ภา zee rice

26 สามารถ ท าหนา้ ท่ีผู้แทนของประชาชนในการรับเร่ืองราวรอ้ งทกุ ข์ ความเดอื ดร้อน และแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ให้ประชาชน ได้เช่นท่ถี อื ปฏบิ ตั มิ า โดยหากตอ้ งการใหม้ ีมาตรการป้องกันมิใหส้ มาชิกสภาผู้แทนราษฎรและ สมาชกิ วฒุ สิ ภา แอบใช้ขอ้ ผอ่ นผันไปแสวงหาประโยชนด์ ังท่เี ปน็ เจตนารมณข์ องบทบัญญตั ิมาตรา 185 (1) และ (2) นแี้ ลว้ กค็ วรจะบญั ญัติใหม้ ขี อ้ ยกเว้นอยา่ งใดอย่างหน่ึงไว้ เช่น บญั ญัติข้อยกเว้นเพ่มิ เติมวา่ หากเป็น กรณกี ารช่วยเหลอื ประชาชนตามคำร้องเรียนหรือขอ้ เสนอแนะผ่านสมาชกิ สภาผู้แทนราษฎรหรอื สมาชิก วุฒสิ ภากใ็ ห้สามารถ ดำเนินการตามมาตรา 185 (1) และไม่ใหถ้ อื วา่ การดำเนินการเพ่ือแกไ้ ขปัญหาของ ประชาชนดงั กล่าวเปน็ การ มีส่วนร่วมในการใชจ้ า่ ยเงินงบประมาณหรอื เห็นชอบในการจัดทำโครงการใด ๆ ของหนว่ ยงานของรัฐ ตามมาตรา 185 (2) ได้เป็นต้น 3) มาตรา 186 และมาตรา 187 ผลการพิจารณาศึกษา คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาศึกษาหลักเกณฑ์และเจตนารมณข์ องบทบัญญัติ มาตรา 186 และมาตรา 187 แล้ว เห็นวา่ มคี วามเหมาะสมแลว้ หมวด 10 ศาล ๑) ส่วนท่ี 1 บทท่ัวไป ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) ควรกำหนดใหม้ ีกระบวนการตรวจสอบการใช้อำนาจของผ้พู พิ ากษาและตุลาการใน การ พจิ ารณาพพิ ากษาคดใี นกรณที ค่ี ำพิพากษาหรือคำช้ขี าดในบางคดที อี่ าจขัดตอ่ ความสงบเรยี บร้อย หรอื ศลี ธรรม อันดีของประชาชน หรอื ขดั ต่อความรสู้ ึกของสงั คมและประชาชน หรอื มีข้อสงสยั หรือมีขอ้ โตแ้ ย้งที่มเี หตุผล ทางวชิ าการน่าเชื่อได้ว่าคำพพิ ากษาหรอื คำช้ีขาดของศาลไมเ่ ป็นไปตามรัฐธรรมนญู หรือกฎหมาย หรอื ในบางกรณี อาจมขี ้อสงสัยท่ีมีเหตุอันสมควรเชอ่ื ไดอ้ ยา่ งสมเหตสุ มผลที่มี พยานหลกั ฐานพอสมควรวา่ การใชด้ ลุ พินจิ พจิ ารณาพิพากษาคดีของผพู้ ิพากษาและตุลาการนน้ั อาจเกิด จากการถกู แทรกแซงจากปัจจยั ภายนอก หรอื ปจั จัยภายในศาลเอง หรือเกดิ จากความมีอคติของผู้ พิพากษาและตุลาการ หรือเกิดจากความสำคญั ผดิ ในข้อเทจ็ จรงิ หรือข้อกฎหมาย หรอื ไมเ่ ป็นไปตาม หลกั นติ ธิ รรมหรือหลกั กฎหมายหรือระเบียบของศาลในการ พจิ ารณาพพิ ากษาคดีหรอื ท่สี ง่ ผลกระทบต่อ ประโยชน์สาธารณะหรือความม่ันคงของประเทศอยา่ งรุนแรง เพื่อเป็นการปกป้องสทิ ธเิ สรีภาพของ ประชาชนและประโยชนส์ าธารณะทไ่ี ดร้ ับผลกระทบจากคำพิพากษา ดงั กล่าว (2) ควรมบี ทบญั ญตั ิที่เปน็ หลักประกันความเป็นอิสระของผ้พู พิ ากษาและตลุ าการใน การ พิจารณาพิพากษาคดใี ห้มคี วามเป็นอสิ ระจากผู้บังคับบัญชาของศาลอย่างแท้จรงิ โดยควรกำหนดให้ ชัดเจนวา่ การบงั คับบัญชาในศาลจะต้องเป็นการบังคับบญั ชาในงานธรุ การเทา่ น้ัน ลำดบั ชน้ั และอาวุโส ของผู้พิพากษา และตุลาการไมใ่ ชผ่ บู้ ังคับบัญชาในการพจิ ารณาพพิ ากษาคดี คำพิพากษา คำสั่ง และ คำช้ขี าดใดของศาล ที่เป็นผลจากการแทรกแซงไม่วา่ ในกรณใี ดใหม้ ีผลเป็นโมฆะ โดยใหผ้ มู้ สี ว่ นไดเ้ สียกบั คำพพิ ากษา คำสัง่ และคำชขี้ าดนน้ั สามารถใช้สทิ ธโิ ต้แยง้ และพสิ ูจน์ขอ้ เท็จจรงิ ต่อศาลได้ (3) การตรวจสอบการท าหน้าที่ของผูพ้ ิพากษาและตุลาการโดยเฉพาะในเรอื่ งของการ ใช้ ดลุ พนิ จิ และการปฏิบตั ิหน้าทีใ่ นฐานะผู้พพิ ากษาและตุลาการนน้ั ควรกำหนดให้มีการตรวจสอบใน zee rice

27 ลกั ษณะ ถว่ งดลุ อำนาจในระบอบประชาธิปไตยกนั ได้ในระหว่างองคก์ รท่ีใช้อำนาจตามรฐั ธรรมนูญ แต่ ปัจจุบันกลับให้ องค์กรบรหิ ารหรอื องค์กรปกครองของฝ่ายตลุ าการตรวจสอบกันเอง แตฝ่ ่ายตุลาการ กลับสามารถตรวจสอบฝา่ ยบริหารและฝา่ ยนิติบญั ญัติได้ ดังนัน้ สภาผแู้ ทนราษฎรซ่ึงเปน็ ฝ่ายนติ ิบญั ญัติ ซงึ่ เป็นหนึ่งในอำนาจอธปิ ไตย และถอื วา่ เปน็ ผูแ้ ทนปวงชนชาวไทย จึงควรมอี ำนาจตรวจสอบการใช้ ดุลพนิ ิจในการทำคำพิพากษา คำส่งั และคำชี้ขาดของฝา่ ยตุลาการไดภ้ ายใต้หลักเกณฑ์ทีเ่ หมาะสม ซง่ึ ถือได้วา่ เป็นการถ่วงดลุ การใชอ้ ำนาจของ องคก์ รทใ่ี ช้อำนาจอธิปไตยตามรัฐธรรมนญู ซง่ึ กันและกัน อนั เปน็ กระบวนการในระบอบประชาธิปไตย อยา่ งแท้จรงิ นอกจากน้นั คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตกิ ็สามารถถูกฟอ้ ง ต่อศาลว่าปฏิบัติหน้าที่โดยมชิ อบไดด้ ว้ ย ดงั นั้น กค็ วรมี บทบญั ญัตใิ ห้ชดั เจนว่า ผู้พพิ ากษาและตุลาการ สามารถถูกกลา่ วหาตอ่ คณะกรรมการปอ้ งกันและ ปราบปรามการทุจริตแหง่ ชาตวิ ่าใชด้ ุลพนิ จิ โดยมิชอบได้ และคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการ ทจุ รติ แห่งชาตกิ พ็ ึงมีสิทธิทจี่ ะไตส่ วนและมีความเหน็ กรณที ่มี ีการ กล่าวหาว่าผู้พพิ ากษาศาลยตุ ธิ รรม ตุลาการศาลปกครอง ตลุ าการศาลรัฐธรรมนูญ และอัยการ จงใจปฏิบัติ หน้าทห่ี รือใชอ้ ำนาจขัดตอ่ บทบญั ญตั ิของรฐั ธรรมนูญหรอื กฎหมายหรือใชด้ ุลพนิ จิ โดยมชิ อบได้เช่นกันด้วย จึงควรแกไ้ ขบทบัญญัติ รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 234 (1) และมาตรา 235 ใหผ้ ู้พิพากษา และตุลาการในศาลยตุ ิธรรมและศาลปกครองสามารถถูกกลา่ วหาต่อ คณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทจุ รติ แหง่ ชาตวิ า่ มีพฤติการณร์ ่ำรวยผิดปกติ ทจุ ริตต่อหนา้ ที่ หรอื จงใจปฏิบัตหิ นา้ ท่หี รอื ใช้อำนาจขดั ต่อบทบญั ญตั ิรฐั ธรรมนญู หรอื กฎหมายหรือฝา่ ฝนื หรือไม่ปฏิบตั ิ - 70 - ตามมาตรฐานทาง จรยิ ธรรมของศาลนั้น ๆ อย่างร้ายแรง เพื่อใหค้ ณะกรรมการป้องกันและปราบปราม การทจุ ริตแห่งชาติ มีอำนาจหน้าท่ีไตส่ วนและมีความเหน็ ได้ด้วย (4) ควรใหม้ ีบทบญั ญตั ทิ ่ีจะกำหนดให้มีวิธกี ารหรอื มาตรการหรือกลไกในการค้มุ ครอง การท าหนา้ ท่ีของผพู้ ิพากษาและตลุ าการให้เป็นไปโดยอิสระไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง รวมท้ังกลไกในการควบคมุ การใช้ ดลุ พินิจของผู้พพิ ากษาและตลุ าการไม่ใหเ้ กิดการใชด้ ุลพนิ ิจโดยมีอคติหรือไมเ่ ปน็ ไปตามหลกั นิติ ธรรม ใหม้ ากกว่าที่บัญญตั ิไว้ในรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 (5) ปัจจุบันปัญหาเรอื่ งค่าใชจ้ ่ายในการฟ้องร้องหรือต่อสคู้ ดสี ำหรับผู้มีรายได้น้อยก็ เปน็ ประเด็น ทพ่ี ึงไดร้ ับการแกไ้ ข เพราะประชาชนผยู้ ากไร้หรือมรี ายไดน้ ้อยมกั จะไม่มรี ายไดเ้ พยี ง พอท่ีจะนำมาใช้จ่าย เป็นค่าทนายความหรอื คา่ ใช้จา่ ยอน่ื ๆ ในการดำเนินคดี ซ่ึงก็ต้องถอื วา่ เปน็ การเสีย ความยตุ ิธรรมท่ีรัฐ พึงเข้ามามสี ว่ นชว่ ยเหลือ มิฉะนน้ั จะก่อใหเ้ กดิ ความรู้สกึ ไม่เปน็ ธรรมและความไม่ เสมอภาคในสังคม และจะทำใหเ้ กดิ ความรู้สึกว่าจะหาความยตุ ธิ รรมไดก้ ็ตอ่ เมอื่ มีเงินเทา่ นนั้ อนั จะเปน็ ต้นเหตุแหง่ ปญั หาสงั คม ต่อไป (6) ควรกำหนดใหม้ ีความชัดเจนเกีย่ วกบั อำนาจตามกฎหมายของศาลแต่ละประเภท ในการทีจ่ ะกำหนดระเบียบหลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาพิพากษาอรรถคดขี องผพู้ พิ ากษาและตุลาการในศาล น้นั วา่ จะตอ้ งไม่เปน็ การกำหนดระเบียบหลกั เกณฑท์ ่มี ลี กั ษณะท่ขี ดั แยง้ หรือไม่เปน็ ไปตามหลกั เกณฑท์ ่ี กฎหมายกำหนดไว้ เช่น ในกรณีที่ศาลปกครองสงู สุดมีมติท่ปี ระชมุ ใหญศ่ าลปกครองสูงสุดกำหนดให้เร่ิม นบั อายคุ วามฟอ้ งร้องคดปี กครองนบั ต้ังแต่วนั ท่ีศาลปกครองเปดิ ทำการครงั้ แรกในเดอื นมนี าคม 2544 ในทุกคดีปกครองที่มกี ารฟ้องร้องตอ่ ศาลปกครอง ทง้ั ๆ ที่ตามพระราชบญั ญตั จิ ดั ตั้งศาลปกครองและวิธี พิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 บญั ญตั ิไว้วา่ ให้เร่ิมนับอายคุ วามคดปี กครองนบั แต่วนั ท่ีรหู้ รอื ควรจะรู้ zee rice

28 ถึงเหตุท่ใี ชส้ ิทธฟิ ้องรอ้ งน้นั ซงึ่ เปรียบเสมอื นเป็นการแก้ไขบทบัญญัตขิ องกฎหมายเพียงโดยมติที่ประชุม ใหญซ่ ึง่ เปน็ การไม่ถกู ตอ้ งและ ไมเ่ หมาะสม (7) ควรกำหนดใหม้ คี วามชดั เจนเกี่ยวกบั สทิ ธขิ องประชาชนในการเสนอ พยานหลักฐานตอ่ ศาลทเ่ี ป็นศาลพิเศษ เช่น ศาลรฐั ธรรมนญู โดยต้องเปน็ การเปิดโอกาสใหป้ ระชาชน สามารถใช้สทิ ธิแสดงพยานหลกั ฐานของตนตอ่ ศาลได้อยา่ งเต็มที่ ดังจะพบว่าการพิจารณาคดีบางคดีของ ศาลรัฐธรรมนูญไมเ่ ปิดโอกาสให้คูค่ วามนำพยานหลักฐานเข้าสบื และประชาชนไม่สามารถทราบ ข้อเท็จจริงได้ว่าเพราะเหตใุ ด ศาลรัฐธรรมนูญ จงึ ใช้ดลุ พินิจไม่รับฟังพยานหลกั ฐาน เป็นต้น (8) รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 และรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 กำหนดใหว้ ุฒสิ ภามีอำนาจในการถอดถอนผ้ดู ำรงตำแหนง่ ทาง การเมืองผูด้ ำรงตำแหนง่ ในองค์กรอสิ ระ รวมทง้ั ผพู้ ิพากษาและตุลาการด้วย เพอ่ื ให้กระบวนการถอด ถอนบคุ คลออกจากตำแหน่ง เปน็ เคร่อื งมือหนึ่งในการควบคุมใหผ้ ูด้ ำรงตำแหน่งต่าง ๆ จะต้องปฏิบัติ หน้าทีด่ ้วยความซอ่ื สตั ยส์ ุจรติ มเิ ช่นน้ันอาจถูกย่นื ถอดถอนออกจากตำแหนง่ ไดซ้ ึง่ รฐั ธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ไม่ได้กำหนดหลกั เกณฑเ์ ชน่ น้ีไว้ จึงทำใหร้ ัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 ไมม่ ีกระบวนการถว่ งดลุ ตรวจสอบการทำหนา้ ทีข่ องผู้ท่ดี ำรง ตำแหน่งในอำนาจอื่น ดงั เช่นทเี่ คยบญั ญัติมาในรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2550 จงึ ควรมีการแกไ้ ขเพิม่ เตมิ โดยกำหนดให้ วุฒิสภามีอำนาจในการถอดถอนผ้พู พิ ากษาและตลุ าการได้เหมือนการถอดถอนบคุ คลทีด่ ำรงตำแหนง่ อนื่ ตามรัฐธรรมนูญ (9) การตรวจสอบการใชอ้ ำนาจของฝ่ายตลุ าการรวมถงึ ศาลรัฐธรรมนญู ไม่ไดม้ ุ่งหมายที่ จะแทรกแซงการใชด้ ลุ พนิ จิ ของฝ่ายตลุ าการ โดยเฉพาะเรื่องละเมิดอำนาจศาลน้ัน โดยเจตนารมณ์ของ กฎหมายกำหนดขนึ้ เพอื่ ใหศ้ าลสามารถควบคมุ และดำเนินกระบวนพิจารณาคดีเปน็ ไปอย่างเรยี บร้อย กฎหมาย จึงบญั ญตั ิให้ศาลมอี ำนาจในเร่อื งการละเมดิ อำนาจศาลซ่ึงเป็นขอ้ ยกเว้นเรอ่ื งส่วนได้เสียในการ ดำเนนิ คดี โดยกำหนดใหศ้ าลซง่ึ ถือเป็นคกู่ รณสี ามารถพิจารณาพพิ ากษาคดลี ะเมิดอำนาจศาลได้ โดยไม่ ต้องผ่าน กระบวนการและวธิ พี จิ ารณาคดอี ย่างเชน่ คดีท่วั ไป ดงั นั้น การกระทำที่จะเป็นการละเมดิ อำนาจศาลจงึ ควรใช้ บงั คับเฉพาะกบั กรณีทเ่ี กดิ ขน้ึ ในหอ้ งพจิ ารณาคดเี ท่านัน้ 2) ส่วนที่ 2 ศาลยตุ ิธรรม ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) ผพู้ ิพากษาหรือขา้ ราชการตุลาการศาลยตุ ิธรรมไม่ควรมีตำแหน่งหรือได้รับ แต่งตั้งให้มีตำแหน่งหรอื เป็นกรรมการในหนว่ ยงานหรอื องค์กรอื่นของรฐั ไม่วา่ จะเปน็ ตำแหน่งท่มี ี ลักษณะที่ตอ้ งปฏบิ ัติ หนา้ ท่ีประจำหรอื เป็นการเฉพาะคราว เช่นที่เคยยดึ ถอื ปฏบิ ัตกิ ันมาในอดตี เพ่อื มิ ใหม้ ีขอ้ ครหาหรอื สรา้ งความ ไมเ่ ชอื่ มน่ั ในความเปน็ กลางในความรู้สึกของสังคมและประชาชน เพราะ การมีตำแหน่งหน้าทหี่ รอื การปฏิบตั ิ หน้าทใี่ นตำแหน่งใด ๆ ในหน่วยงานอ่นื ของรัฐย่อมจะทำใหเ้ กดิ ความสนิทสนมใกล้ชดิ กับบุคลากรใน หน่วยงานนั้น ๆ ซงึ่ หากมีหน่วยงานราชการอื่นหรือภาคเอกชนเข้า มาเกย่ี วข้องกบั หนว่ ยงานราชการนนั้ ด้วยแลว้ กจ็ ะยงิ่ สรา้ งความไม่เช่อื ม่นั ให้สงั คมและประชาชนมาก ยง่ิ ขน้ึ zee rice

29 (2) ผู้พิพากษาหรอื ข้าราชการตลุ าการศาลยุติธรรมไม่ควรเข้าเรยี นหรือเข้ารับการ อบรม ในหลักสตู รการอบรมหรือหลักสตู รการศึกษาท่จี ัดขนึ้ โดยสถาบนั การศกึ ษาหรอื สว่ นราชการอ่นื ใด เพราะจะเปน็ การเปิดโอกาสใหภ้ าคเอกชนและผทู้ เี่ ข้าร่วมการศึกษาหรือการอบรมในหลักสูตรนัน้ ๆ สามารถ - 72 - สร้างความสมั พนั ธส์ ว่ นตวั กบั ผูพ้ พิ ากษาหรอื ข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมนั้นได้ อนั จะเปน็ การสร้างความ ไม่เชื่อมัน่ ให้สังคมและประชาชนในการดำรงตนของตลุ าการศาลยตุ ธิ รรมได้ (3) ไม่ควรใหบ้ ุคคลภายนอกไม่วา่ จะในภาครฐั หรือเอกชนเขา้ มาร่วมศกึ ษาหรอื อบรม ในหลักสตู รการศึกษาหรอื หลกั สตู รการอบรมใด ๆ ทีจ่ ัดขึ้นโดยศาลยุตธิ รรมหรือสถาบนั ศาล ยุติธรรม เพราะจะเป็นอีกช่องทางหน่งึ ทเี่ ป็นการเปดิ โอกาสให้บคุ ลากรจากภาครัฐและภาคเอกชนทีเ่ ข้า รว่ มการศกึ ษา หรอื การอบรมในหลกั สตู รนัน้ ๆ สามารถสรา้ งความสมั พันธส์ ว่ นตวั กบั ผ้พู ิพากษาหรือ ข้าราชการตุลาการ ศาลยุติธรรมน้ันได้ อนั จะเป็นการสรา้ งความไม่เช่ือมัน่ ใหส้ งั คมและประชาชนในการ ดำรงตนของตลุ าการ ศาลยุตธิ รรมได้เช่นกนั (4) คณะกรรมการตุลาการศาลยตุ ิธรรมเปน็ องคก์ รปกครองข้าราชการตลุ าการ ศาลยุตธิ รรม มิใชอ่ งค์กรตวั แทนข้าราชการตลุ าการศาลยุติธรรมท่จี ะต้องมีตวั แทนของข้าราชการตลุ า การศาลยตุ ิธรรม ทกุ ระดบั ช้ันเขา้ มาเป็นกรรมการตลุ าการศาลยุติธรรม ดงั น้ัน จงึ ควรกำหนดใหผ้ ู้ท่ีจะ เปน็ กรรมการข้าราชการ ตุลาการศาลยตุ ิธรรมจะต้องเป็นข้าราชการตุลาการศาลยุติธรรมทมี่ อี าวโุ ส พอสมควรเช่นที่เคยถือปฏบิ ตั ิ มาในอดตี (5) รูปแบบการเขา้ สู่การเป็นกรรมการตุลาการศาลยุติธรรมในปจั จุบนั ใชว้ ธิ กี าร เลอื กตง้ั จากข้าราชการตุลาการศาลยตุ ิธรรมผทู้ ี่ประสงคส์ มัครเปน็ กรรมการตุลาการศาลยตุ ธิ รรม ซง่ึ ในทางปฏบิ ัติ ย่อมหลีกไมพ่ ้นการหาเสยี งสนบั สนนุ จากขา้ ราชการตลุ าการศาลยุติธรรมทง้ั ท่มี อี าวโุ สสงู กวา่ และตำ่ กว่า ขา้ ราชการตลุ าการศาลยุติธรรมผทู้ ่สี มัครเปน็ กรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรมนัน้ จึงเป็น ช่องทางทที่ ำให้เกิด ระบบอุปถมั ภซ์ ึ่งอาจกระทบตอ่ การปกครองท่ีดีในสถาบันศาลยตุ ธิ รรมได้ จึงควร พจิ ารณากำหนดห้ามมใิ ห้มีการ กระทำการใดทีม่ ีลักษณะเปน็ การขอรับการสนับสนนุ ของขา้ ราชการตลุ า การศาลยุตธิ รรมผู้ทปี่ ระสงค์สมคั ร เปน็ กรรมการตุลาการศาลยุตธิ รรมท้ังก่อนและในขณะทีม่ ี กระบวนการสมคั รและเลือกกรรมการตลุ าการ ศาลยุติธรรม 3) สว่ นท่ี 3 ศาลปกครอง ขอ้ สังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ (1) รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 197 วรรคแรก บญั ญตั ิวา่ “ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพพิ ากษาคดีปกครองอันเนอื่ งมาจากการใช้อำนาจทาง ปกครองตามกฎหมายหรอื เนื่องมาจากการดำเนินกจิ การทางปกครอง ท้งั น้ี ตามท่ีกฎหมายบญั ญัติ” บทบญั ญตั มิ าตรา 197 วรรคแรกดังกลา่ ว บัญญัติใหศ้ าลปกครองมอี ำนาจหน้าทต่ี ามทีก่ ฎหมายบัญญตั ิ เทา่ น้นั ซงึ่ กฎหมายดังกล่าวหมายถึง พระราชบญั ญตั จิ ัดตง้ั ศาลปกครองและวธิ พี ิจารณาคดี ปกครอง พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเติม ดงั นัน้ ตุลาการศาลปกครองทกุ ทา่ นทุกช้ันศาลจะต้องใชด้ ุลพนิ จิ โดย อิสระในการพจิ ารณาพิพากษาคดปี กครองที่อยใู่ นความรบั ผดิ ชอบตามหลักเกณฑท์ ่ีกำหนดใน พระราชบญั ญัตจิ ดั ตั้งศาลปกครองและวธิ ีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 และทีแ่ กไ้ ขเพม่ิ เตมิ น้ัน เท่านนั้ โดยพระราชบญั ญัติจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 และที่แกไ้ ข zee rice

30 เพ่มิ เติมทใ่ี ชบ้ งั คบั ในปัจจุบัน มาตรา 51 วรรคแรก บัญญตั วิ า่ “มาตรา 51 การฟ้องคดตี ามมาตรา 9 วรรคหนงึ่ (3) หรือ (4) ให้ย่ืนฟ้องภายในหา้ ปนี บั แต่ วันที่รู้หรอื ควรรถู้ ึงเหตุแหง่ การฟ้องคดีแต่ไมเ่ กินสิบ ปนี ับแตว่ นั ทม่ี ีเหตแุ หง่ การฟอ้ งคดี” จะเหน็ ได้วา่ พระราชบญั ญตั ิจดั ตงั้ ศาลปกครองและวิธีพจิ ารณาคดี ปกครอง พ.ศ. 2542 และ ท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เติม มาตรา 51 วรรคแรก บัญญัตไิ ว้ชัดเจนว่าการนับอายุความคดี ปกครองให้เร่ิมนับตัง้ แต่ “วันที่รู้ หรือควรรู้ถึงเหตแุ หง่ การฟ้องคด”ี ซึ่งหลักเกณฑ์ดังกล่าวนีเ้ ปน็ บทบัญญัตขิ องกฎหมาย ดงั น้ัน การแก้ไข เปลยี่ นแปลงบทบัญญตั ิดังกลา่ วน้จี ะตอ้ งกระทำโดย พระราชบัญญัตแิ ก้ไขเพ่มิ เติมตามหลักเกณฑ์ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 มาตรา 81 เท่าน้ัน ศาลปกครองหรือที่ประชุมใหญ่ ตุลาการในศาลปกครองสูงสุดไมม่ อี ำนาจตาม กฎหมายและตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ท่ีจะใช้อำนาจของทปี่ ระชุม ใหญ่ตุลาการในศาลปกครองสูงสดุ หรอื อำนาจใดมาแกไ้ ขหลกั เกณฑ์ วันเร่มิ ตน้ นบั อายุความตาม บทบญั ญตั มิ าตรา 51 วรรคแรกดังกล่าวนน้ั ได้เองโดยพลการ เวน้ แต่หากเป็นเพียง การกำหนดแนวทาง หรือวิธีการในการใชด้ ุลพนิ ิจของตลุ าการศาลปกครองในการพิจารณาวินจิ ฉัยข้อเท็จจรงิ ว่า ขอ้ เทจ็ จรงิ ใน ลักษณะใดท่ีจะถือวา่ เปน็ “วันที่รู้หรือควรรูถ้ ึงเหตแุ หง่ การฟ้องคด”ี เชน่ นีย้ อ่ มกระทำได้แต่หากจะเปน็ การกำหนดหลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาวันเร่มิ นับอายุความใหมเ่ สียเองให้แตกต่างไปจากหลกั เกณฑ์ ที่ กฎหมายกำหนดไวน้ ้นั ยอ่ มกระทำมไิ ด้ เพราะถือได้ว่าเป็นการแก้ไขเพมิ่ เตมิ บทบญั ญตั ิของกฎหมาย อนั ไมใ่ ช่อำนาจของศาลปกครองหรอื ทปี่ ระชมุ ใหญต่ ุลาการศาลปกครองสูงสดุ และไม่เปน็ การใชอ้ ำนาจ หนา้ ท่ี ของศาลปกครองตามทีก่ ฎหมายบัญญัติถอื ไดว้ า่ เปน็ การกระทำที่ขัดต่อบทบัญญัตขิ องกฎหมาย และขัดตอ่ บทบญั ญัตริ ฐั ธรรมนูญ ข้อเท็จจรงิ ปรากฏว่าทีป่ ระชมุ ใหญต่ ุลาการในศาลปกครองสูงสุด คร้งั ที่ 18/2545 วนั ที่ 27 พฤศจิกายน 2545 มมี ตกิ ำหนดหลักเกณฑ์ “วนั เรม่ิ นับอายุความท่ีแหง่ การฟอ้ ง คด”ี ตามทีบ่ ัญญตั ไิ วใ้ น พระราชบัญญตั ิจดั ตัง้ ศาลปกครองและวธิ ีพจิ ารณาคดีปกครอง พ.ศ. 2542 และ ท่ีแกไ้ ขเพม่ิ เติม ทใ่ี ชบ้ ังคับ ในปจั จบุ นั มาตรา 51 วรรคแรก เสยี ใหม่ สำหรับคดีท่เี กิดขึ้นกอ่ นท่ศี าล ปกครองจะเปิดทำการจากท่ีบญั ญตั ิไว้ ใหเ้ ร่ิมนบั อายุความตงั้ แต่ “วนั ทรี่ ูห้ รือควรรถู้ ึงเหตุแหง่ การฟ้อง คดี” เป็น “ให้เร่ิมนับระยะเวลาการฟอ้ งคดี - 74 - ตงั้ แต่วนั ท่ี 9 มีนาคม 2544 ซึ่งเป็นวันที่ศาลปกครอง เปดิ ทำการเปน็ ต้นไป” ซึง่ น่าจะถอื ได้วา่ มตทิ ปี่ ระชมุ ใหญต่ ลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ ดังกล่าวเป็นมติที่ ขัดตอ่ กฎหมายและขดั ต่อบทบัญญตั ิรฐั ธรรมนญู (2) นอกจากนั้น มติที่ประชมุ ใหญต่ ุลาการในศาลปกครองสงู สุดครงั้ ที่ 18/2545 วนั ท่ี 27 พฤศจกิ ายน 2545 ท่ีกำหนดหลักเกณฑ์ “วันเรมิ่ นับอายุความท่ีแห่งการฟอ้ งคด”ี ตามทบ่ี ัญญตั ิ ไว้ใน พระราชบญั ญัตจิ ัดตัง้ ศาลปกครองและวธิ พี จิ ารณาคดปี กครอง พ.ศ. 2542 และทแ่ี กไ้ ขเพ่มิ เติม ท่ี ใชบ้ ังคับ ในปัจจุบัน มาตรา 51 วรรคแรก เสียใหมเ่ ป็น “ใหเ้ ริ่มนับระยะเวลาการฟอ้ งคดีตั้งแต่วันท่ี 9 มนี าคม 2544 ซ่งึ เปน็ วันทศ่ี าลปกครองเปดิ ทำการเปน็ ต้นไป” ดงั กล่าวนน้ั ยังถอื ได้วา่ เปน็ การ กำหนดการใช้ ดุลพนิ ิจของตลุ าการศาลปกครองทำให้ตุลาการศาลปกครองไมม่ ี “อสิ ระ” ในการ พจิ ารณาพพิ ากษาคดี ในความรับผิดชอบของตน และยังจะทำใหก้ ารพจิ ารณาพพิ ากษาคดปี กครองของ ตุลาการศาลปกครอง ไมเ่ ปน็ ไปตามกฎหมาย อันนา่ จะตอ้ งถือดว้ ยว่ามติที่ประชมุ ใหญ่ศาลปกครองสงู สดุ ดังกล่าวเป็นมติทขี่ ดั ตอ่ บทบัญญตั ิรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 188 ที่ บญั ญัตเิ ป็นหลกั ทวั่ ไป ของศาลท้งั ปวงวา่ “มาตรา 188 การพจิ ารณาพพิ ากษาอรรถคดีเปน็ อำนาจของ ศาล ซ่งึ ต้องดำเนินการให้ เปน็ ไปตามกฎหมาย และในพระปรมาภิไธยพระมหากษัตรยิ ์ ผ้พู พิ ากษาและ zee rice

31 ตุลาการยอ่ มมีอิสระในการพจิ ารณาพพิ ากษาอรรถคดีตามรฐั ธรรมนูญและ กฎหมายใหเ้ ปน็ ไปโดย รวดเรว็ เป็นธรรม และปราศจากอคติทัง้ ปวง” (3) ปัญหาทีพ่ บต่อมามีวา่ เมอื่ มขี ้อสงสัยวา่ การกำหนดหลกั เกณฑ์การพจิ ารณา พพิ ากษาคดี ของตุลาการศาลปกครองของท่ีประชุมใหญต่ ลุ าการในศาลปกครองสงู สุดทม่ี ลี กั ษณะนา่ จะ เปน็ การขดั ต่อ บทบัญญัตริ ัฐธรรมนูญเชน่ มตทิ ป่ี ระชุมใหญต่ ุลาการในศาลปกครองสงู สดุ ครั้งที่ 18/2545 วันท่ี 27 พฤศจิกายน 2545 น้ี ไม่ปรากฏหลักเกณฑ์ใดของรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 ท่ีจะนำมติทปี่ ระชุมใหญ่ตลุ าการในศาลปกครองสงู สดุ เช่นว่าน้ีไปสศู่ าลรัฐธรรมนญู เพอ่ื ให้ศาลรัฐธรรมนูญ พจิ ารณาวินิจฉยั ได้ จึงทำใหเ้ สียประโยชน์แห่งความยตุ ธิ รรมและไมเ่ ปน็ ไปตาม หลกั นิตธิ รรมในระบบ กระบวนการยตุ ธิ รรมของประเทศเปน็ อย่างยิ่ง สมควรทจ่ี ะตอ้ งมหี ลักเกณฑก์ ำกบั และตรวจสอบการใชอ้ ำนาจ ในลักษณะดังกล่าวของศาลปกครองหรือทป่ี ระชุมใหญต่ ุลาการในศาล ปกครองสูงสุดในรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทยต่อไปด้วย 4) สว่ นที่ 4 ศาลทหาร (มี 1 มาตรา คือ มาตรา 199) ข้อสังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญมคี วามเห็นสอดคลอ้ งกับคณะอนุกรรมาธกิ ารศึกษา วเิ คราะห์ บทบญั ญตั ิรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติประกอบรฐั ธรรมนูญ และกฎหมายอน่ื ในกรณีศาล ทหารว่าศาลทหาร ควรเป็นศาลทีพ่ ิจารณาพิพากษาเฉพาะแต่คดคี วามทีผ่ ้กู ระทำความผดิ เป็นทหารและ เปน็ ความผิดตามกฎหมาย อาญาทหารและวินัยทหารเทา่ นั้น โดยไม่ควรมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีท่ี มีพลเรอื นร่วมกระทำผิดด้วย ยกเว้นในช่วงทมี่ ีภาวะสงคราม หมวด 11 ศาลรฐั ธรรมนูญ (มี 15 มาตรา ต้ังแตม่ าตรา 200 ถึงมาตรา 214) ขอ้ สังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ 1) อำนาจหน้าทข่ี องศาลรัฐธรรมนูญ 1.1) การท่รี ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 บัญญัติหมวดศาล รฐั ธรรมนูญ แยกออกมาจากหมวด 10 ว่าดว้ ยเรื่องศาล และหมวด 12 ว่าดว้ ยองค์กรอิสระ ยอ่ มแสดง ให้เหน็ วา่ ศาลรัฐธรรมนญู เป็นศาลทต่ี ่างจากศาลยตุ ธิ รรม ศาลปกครอง และศาลทหาร และไม่ใช่องคก์ ร อสิ ระ ตามรฐั ธรรมนญู ด้วย 1.2) การท่รี ัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 ไมม่ บี ทบัญญัตเิ กี่ยวกบั การตรวจสอบตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ อาจทำให้ตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญมอี ำนาจมากเกนิ ไป และไม่ เป็นไป ตามหลกั การถว่ งดลุ อำนาจในการปกครองระบอบประชาธิปไตย และอาจอยภู่ ายใตอ้ ิทธพิ ลทาง การเมอื ง อันอาจเปน็ เหตุให้เกดิ ความขัดแย้งในสังคมได้ 1.3) รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทยในอดีตก่อนรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 ทีบ่ ัญญัติใหม้ ศี าลรฐั ธรรมนูญเป็นครั้งแรกน้ัน กำหนดใหม้ คี ณะตุลาการรัฐธรรมนูญ ทำหน้าทพี่ จิ ารณาวนิ ิจฉัยบรรดากฎหมายทศ่ี าลเหน็ ว่ามขี ้อความทีแ่ ย้งหรอื ขัดต่อรัฐธรรมนญู ส่วนการ พิจารณา ปัญหาเกี่ยวกับรัฐธรรมนญู อืน่ ในส่วนของสภาผู้แทนราษฎร วฒุ สิ ภา และรัฐสภา ที่ไม่ใช่กรณีที่ zee rice

32 เห็นวา่ กฎหมายใด มีข้อความทแี่ ยง้ หรอื ขดั ตอ่ รัฐธรรมนูญแลว้ ใหเ้ ป็นอำนาจหนา้ ท่ขี องรฐั สภาท่จี ะ ตคี วามเอง โดยเรมิ่ ต้ังแต่ รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2492 ทบี่ ญั ญตั ไิ วใ้ นมาตรา 168 ว่า “มาตรา 168 คณะตุลาการรฐั ธรรมนูญประกอบดว้ ย ประธานวุฒิสภา ประธาน สภาผูแ้ ทน ประธานศาลฎีกา อธบิ ดศี าลอุทธรณ์ อธิบดีกรมอยั การ และบุคคลอื่นอกี ส่คี นซงึ่ รัฐสภาแตง่ ตง้ั จาก ผู้ทรงคุณวฒุ ใิ นทางกฎหมาย ประธานวฒุ สิ ภาเปน็ ประธานตุลาการรัฐธรรมนญู ” และกำหนดให้ตุลาการ รฐั ธรรมนญู มีหนา้ ทต่ี ามท่บี ญั ญัตไิ วใ้ นรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2492 มาตรา 169 วรรคแรกวา่ “มาตรา 169 คณะตลุ าการรัฐธรรมนูญมหี นา้ ทตี่ ามท่บี ญั ญัติในรฐั ธรรมนูญน้”ี โดย บทบญั ญตั ิรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 มาตรา 178 และ มาตรา 179 บัญญัติ ให้ศาลส่งบทบัญญตั ิของกฎหมายที่ศาลเหน็ ว่ามขี อ้ ความแย้งหรือขัดต่อรัฐธรรมนญู กใ็ หศ้ าลส่ง ความเหน็ นนั้ ตามทางการเพอื่ ให้คณะตุลาการรัฐธรรมนญู พจิ ารณาวินจิ ฉยั ดงั นี้ “มาตรา 178 บทบญั ญัติแห่งกฎหมายใดมขี ้อความแย้งหรือขัดตอ่ รฐั ธรรมนูญน้ี บทบญั ญัตนิ ้ันเป็นอนั ใช้บงั คบั มไิ ด้ มาตรา 179 ในการทศี่ าลจะใช้บทบัญญัติแห่งกฎหมายบงั คบั แก่คดีใด ถา้ ศาลเหน็ วา่ บทบญั ญัติแห่ง กฎหมายนั้นต้องดว้ ยบทบญั ญัตมิ าตรา 178 กใ็ หศ้ าลรอการพิจารณาพพิ ากษาคดไี วช้ ัว่ คราว แลว้ ส่ง ความเห็นเช่นวา่ นัน้ ตามทางการเพอ่ื คณะตลุ าการรัฐธรรมนูญจะได้พิจารณาวินจิ ฉยั คำวินิจฉยั ของคณะ ตุลาการรฐั ธรรมนูญใหถ้ ือเปน็ เดด็ ขาด และใหใ้ ชไ้ ดใ้ นคดีทั้งปวง แต่ไม่กระทบกระทั่งคำพิพากษาของ ศาลอนั ถงึ ทสี่ ุดแล้ว คำวนิ ิจฉยั ของคณะตลุ าการรฐั ธรรมนูญ ให้ประกาศในราชกิจจานเุ บกษา” อย่างไร ก็ตาม ในกรณที ีม่ ีปญั หาการตคี วามรัฐธรรมนญู อนั อยใู่ นวงงานของวฒุ ิสภา สภาผูแ้ ทนราษฎร หรอื ท่ี ประชมุ รว่ มกันของรฐั สภาท่ไี ม่ใชป่ ญั หาเร่อื งความชอบด้วยรัฐธรรมนูญของกฎหมาย ตามทบี่ ัญญตั ไิ ว้ใน มาตรา 179 แหง่ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2492 แลว้ ก็ใหเ้ ปน็ อำนาจของรฐั สภา ที่จะตีความ และให้ถอื วา่ การตคี วามของรัฐสภาเป็นเดด็ ขาด ตามท่ีบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา 177 วรรคแรก วา่ “มาตรา 177 ภายใต้บังคบั มาตรา 179 ถา้ มีปญั หาการตคี วามรฐั ธรรมนญู อนั อยใู่ น วงงานของ วุฒสิ ภา สภาผ้แู ทน หรอื ทปี่ ระชุมร่วมกนั ของรฐั สภา ใหเ้ ปน็ อำนาจของรัฐสภาที่จะตีความ และใหถ้ อื ว่า การตีความของรฐั สภาเป็นเด็ดขาด” ทงั้ น้ี รฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทยฉบับต่อ ๆ มากบ็ ัญญัตเิ กยี่ วกับตุลาการ รฐั ธรรมนญู และการตคี วามการใดทีเ่ ก่ียวกับรฐั ธรรมนูญในกจิ การของสภาผู้แทนราษฎร วฒุ ิสภา หรอื ที่ ประชุมรว่ มกนั ของรฐั สภาไว้ในทำนองเดียวกนั กบั หลักเกณฑท์ ีบ่ ญั ญัติไวใ้ นรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2492 ดังกลา่ วตลอดมา แต่ตอ่ มารัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2517 ไดแ้ กไ้ ข หลักเกณฑ์เก่ียวกบั การตคี วามปญั หารฐั ธรรมนญู อันอย่ใู นวงงานของวฒุ ิสภา สภาผแู้ ทนราษฎร หรอื ท่ีประชมุ รว่ มกันของรฐั สภา เสยี ใหม่ โดยบัญญตั ไิ ว้ในมาตรา 163 วรรคแรกวา่ “มาตรา 163 ภายใตบ้ ังคับมาตรา 225 ถ้ามีปญั หาเกี่ยวกับอำนาจหนา้ ที่ของรฐั สภา ทจ่ี ะตอ้ งตคี วาม รัฐธรรมนญู ให้เป็นอำนาจของรัฐสภาท่ีจะตคี วามและให้ถือว่าการตีความของรฐั สภา เป็นเด็ดขาด” จาก ถอ้ ยคำท่ีใชใ้ นบทบญั ญัตมิ าตรา 163 วรรคแรกดงั กลา่ ว รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2517 ได้เปลี่ยนหลกั เกณฑ์การตีความรฐั ธรรมนญู จากประเดน็ วา่ ให้รฐั สภา มีอำนาจตคี วามปญั หา รัฐธรรมนญู ท่ีอยูใ่ นวงงานของวฒุ ิสภา สภาผู้แทนราษฎร หรอื ท่ปี ระชมุ ร่วมกนั ของ รฐั สภา เป็นให้ รัฐสภามอี ำนาจตีความปัญหาอำนาจหน้าทรี่ ฐั สภาทจี่ ะต้องตีความรัฐธรรมนูญ ซง่ึ มีความหมาย ต่างกนั และรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2517 ยงั ลดขอบเขตของการตคี วามปญั หา zee rice

33 รัฐธรรมนูญที่เปน็ อำนาจของรฐั สภา จากเดมิ ทร่ี วมถึงกรณีทอ่ี ย่ใู นวงงานของวฒุ ิสภา สภาผแู้ ทนราษฎร หรอื ทป่ี ระชุมรว่ มกนั ของรฐั สภา เหลอื เพยี งกรณที ี่มีปัญหาเฉพาะที่เก่ียวกบั อำนาจหน้าทีข่ องรัฐสภาที่ จะต้อง ตีความรฐั ธรรมนญู เท่าน้นั สำหรับบทบญั ญัติมาตรา 225 ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2517 ที่บัญญัติไวใ้ นมาตรา 163 วรรคแรก ก็คือเร่ืองเก่ียวกบั การที่ศาลมีขอ้ สงสัยเก่ยี วกบั ความชอบดว้ ย รฐั ธรรมนญู ของกฎหมายใดเช่นเดียวกบั บทบญั ญตั ิรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2592 มาตรา 179 นั่นเอง ต่อมารัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2521 และฉบับต่อ ๆ มา แม้จะบญั ญัติโครงสร้างและองค์ประกอบของตุลาการรัฐธรรมนูญไว้ในลักษณะเดมิ แตไ่ ดป้ รบั เปล่ียนหลกั เกณฑ์ เกี่ยวกับอำนาจในการตีความปัญหารัฐธรรมนญู ของวุฒิสภา สภา ผแู้ ทนราษฎร หรอื ทป่ี ระชมุ ร่วมกนั ของรฐั สภา โดยกำหนดใหเ้ ป็นอำนาจของตุลาการรัฐธรรมนญู เปน็ การเฉพาะเป็นกรณี ๆ ไป โดยเน้นในเรื่องของการตคี วาม บทบญั ญัติของกฎหมายที่แยง้ หรือขัดตอ่ รัฐธรรมนูญ ต่อมารฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2540 ซึง่ เป็นรัฐธรรมนูญ ฉบับแรกที่ บัญญตั ใิ หม้ ีศาลรฐั ธรรมนูญและตุลาการศาลรฐั ธรรมนญู ขน้ึ มาท าหน้าท่แี ทนตุลาการรฐั ธรรมนูญ มี อำนาจหนา้ ท่ีพิจารณาวินิจฉัยวา่ บทบัญญัติของกฎหมายใดขัดหรือแยง้ ต่อรัฐธรรมนญู รวมทัง้ ให้มี อำนาจ พิจารณาวินิจฉยั ปัญหาเก่ียวกบั อำนาจหนา้ ท่ีขององค์กรตา่ ง ๆ ตามรัฐธรรมนญู ตามหลักเกณฑท์ ่ี กำหนดไว้ใน มาตรา 262 และมาตรา 266 ต่อมารฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ยงั คงบญั ญตั ิใหม้ ี ศาลรัฐธรรมนูญโดยกำหนดอำนาจหน้าท่ีพจิ ารณาวินิจฉัยวา่ บทบัญญัติของกฎหมายใด ขดั หรือแยง้ ตอ่ รัฐธรรมนญู แตเ่ พมิ่ หลกั เกณฑใ์ ห้บคุ คลซ่งึ ถูกละเมดิ สิทธหิ รือเสรภี าพท่รี ัฐธรรมนญู รับรองไวม้ สี ิทธิยนื่ คำรอ้ ง ต่อศาลรัฐธรรมนูญเพอื่ มีคำวินิจฉยั วา่ บทบัญญัติแห่งกฎหมายขดั หรอื แยง้ ตอ่ รฐั ธรรมนูญได้ตามหลกั เกณฑ์ ท่บี ญั ญัติไวใ้ นมาตรา 212 รวมทั้งใหอ้ ำนาจศาลรัฐธรรมนูญพจิ ารณา วินจิ ฉยั ความขัดแย้งเก่ยี วกับอำนาจหนา้ ท่รี ะหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรหี รือองค์กรตามรฐั ธรรมนญู ที่ มิใชศ่ าลตง้ั แต่สององคก์ รขนึ้ ไปตามหลักเกณฑ์ ท่บี ญั ญัติไว้ในมาตรา 214 ทัง้ น้ี รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ได้กำหนดใหม้ ี พระราชบัญญัตปิ ระกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยวิธี พจิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนูญขนึ้ มาบงั คับใช้ดว้ ย ปัจจุบันรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 บัญญัติให้อำนาจ ศาลรัฐธรรมนูญไว้ 3 ประการ ตามบทบัญญตั ิมาตรา 210 กลา่ วคอื (1) พจิ ารณาวินจิ ฉัยความชอบดว้ ยรฐั ธรรมนูญของกฎหมายหรือร่างกฎหมาย (2) พจิ ารณาวินิจฉัยปัญหาเกย่ี วกบั หน้าทแี่ ละอำนาจของสภาผแู้ ทนราษฎร วฒุ ิสภา รฐั สภา คณะรัฐมนตรี หรอื องค์กรอสิ ระ (3) หนา้ ที่และอำนาจอน่ื ตามท่ีบัญญัตไิ ว้ในรฐั ธรรมนูญ จะเหน็ ได้ว่าศาลรฐั ธรรมนูญเป็น พัฒนาการมาจากตุลาการรัฐธรรมนญู ในอดตี ตงั้ แต่เริม่ มี รัฐธรรมนญู ฉบับแรก คือ ฉบับพุทธศกั ราช 2475 โดยอำนาจและบทบาทหน้าที่ของตลุ าการรฐั ธรรมนูญ ในอดีตกบั ตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญใน ปจั จุบนั มีความแตกต่างกันอย่างมาก ในอดตี บทบาทและอำนาจหน้าท่ี ของตลุ าการรัฐธรรมนูญจะเนน้ ท่ี การพิจารณาวินจิ ฉยั ความชอบดว้ ยรัฐธรรมนญู ของกฎหมายเปน็ สำคัญ ในขณะท่ีปจั จุบันตุลาการศาล รฐั ธรรมนญู มบี ทบาทอำนาจหน้าที่ท่กี วา้ งขวางกว่ามากและรวมไปถึงการ พจิ ารณาวินิจฉัยในประเดน็ ปัญหาทมี่ ีผลกระทบทางการเมอื งด้วย ดังนั้น จึงควรมีบทบัญญัติท่ีกำหนดขอบเขต การใชอ้ ำนาจของ ศาลรัฐธรรมนูญและการผูกพันองคก์ รตา่ ง ๆ จากคำวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ โดยควรกำหนดให้ zee rice

34 รฐั สภาซ่งึ ถือเปน็ องคก์ รที่มีอำนาจสูงสุดทีเ่ ป็นตวั แทนของประชาชน ให้มอี ำนาจตรวจสอบ และถว่ งดุล การใช้อำนาจของตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญไดใ้ นบางกรณี 2) รปู แบบ องค์ประกอบ และท่มี าของศาลรัฐธรรมนญู 2.1) องค์ประกอบของตลุ าการศาลรฐั ธรรมนูญ ตั้งแตร่ ฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักร ไทย พทุ ธศักราช 2540 จนถึงรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 ไม่มสี ัดส่วนของ ตลุ าการ ศาลรัฐธรรมนญู ที่มาจากฝา่ ยนติ ิบัญญัติและฝา่ ยบรหิ ารเลย แตกตา่ งจากตุลาการรัฐธรรมนญู ใน อดีตทจ่ี ะ ประกอบไปดว้ ยผูแ้ ทนจากวฒุ ิสภาและสภาผู้แทนราษฎรดว้ ย ดงั นนั้ จงึ มีการพิจารณาวา่ ตุลา การ ศาลรัฐธรรมนญู ควรจะตอ้ งมอี งค์ประกอบจากผู้ท่มี ีความรทู้ างด้านรัฐศาสตรแ์ ละผ้ทู มี่ ปี ระสบการณ์ ทางการเมืองและมปี ระสบการณก์ ารท าหน้าที่ในคณะรัฐมนตรไี ดเ้ ข้ามาท าหน้าท่ีเปน็ ตลุ ากา ร ศาล รฐั ธรรมนญู ด้วยหรอื ไม่ เช่น ผ้ทู ่เี คยเปน็ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒสิ ภา หรอื ผูท้ ี่เคยเปน็ รฐั มนตรี เป็นต้น ซึ่งนา่ จะทำให้การพจิ ารณาพพิ ากษาคดขี องศาลรัฐธรรมนูญ มีมมุ มองทก่ี ว้างขวางข้ึน ทงั้ น้ี ในข้นั ตอนการคดั เลอื กผู้ท่ีเคยเปน็ สมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรหรือสมาชกิ วุฒสิ ภา หรือผทู้ ี่เคยเปน็ รัฐมนตรี ในการเข้ารบั การสรรหาเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนญู น้นั สามารถกำหนดหลกั เกณฑแ์ ละ เงือ่ นไข ทงั้ ในด้านความรู้ ประสบการณ์ และประวัติการท างานให้สามารถสร้างความเชอื่ มั่นใหแ้ กส่ งั คม และ ประชาชนได้ 2.2) มีความเห็นว่าศาลรฐั ธรรมนูญไม่ควรทำหนา้ ที่เป็นองค์กรตลุ าการ แต่ควร ปรับเปล่ยี น รูปแบบเปน็ คณะกรรมการ โดยมหี นา้ ที่พิจารณาข้อเท็จจรงิ ท่ีเกดิ ปญั หาจากกรณีทอี่ งค์กร นติ ิบัญญัติ องคก์ ร บรหิ าร หรอื องคก์ รอิสระมปี ระเด็นเกย่ี วกับการตีความบทบญั ญัตริ ัฐธรรมนญู โดย คณะกรรมการดงั กล่าว จะเปน็ เพียงองค์กรที่ทำหน้าที่ให้ขอ้ เสนอแนะต่อองคก์ รนิติบญั ญตั ิ องคก์ ร บรหิ าร หรือองคก์ รอิสระเพือ่ ปฏบิ ัติให้ถูกต้องตามบทบญั ญัติของรฐั ธรรมนญู ไมใ่ ช่เป็นองคก์ รท่มี อี ำนาจ ในการวินจิ ฉยั ชีข้ าดดงั เชน่ ศาลรัฐธรรมนูญ ในปัจจบุ ัน 2.3) แมร้ ัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2560 จะกำหนดคณุ สมบตั ิ ของ ผูท้ ่ีจะเป็นตลุ าการศาลรัฐธรรมนญู วา่ จะตอ้ งเป็นผูท้ รงคุณวุฒทิ ่มี คี วามรู้หลากหลายสาขาวชิ าต่าง ๆ แตท่ ่ผี า่ นมาการแต่งตัง้ ตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู จะแตง่ ตัง้ จากผทู้ รงคุณวุฒดิ ้านกฎหมายเป็นสำคัญ จึง ทำให้ คำพิพากษาของศาลรฐั ธรรมนูญมลี ักษณะเปน็ การวนิ จิ ฉยั ปญั หาขอ้ กฎหมายเพียงด้านเดยี วว่าเป็น การขดั หรอื แย้งตอ่ รฐั ธรรมนญู หรอื ไม่ ทง้ั ๆ ทศ่ี าลรัฐธรรมนูญควรมีมุมมองท้งั ด้านการปกครองและ การเมอื งดว้ ย 2.4) องค์ประกอบของตลุ าการศาลรัฐธรรมนญู ตามรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั ร ไทย พทุ ธศกั ราช 2560 กำหนดใหม้ ีตลุ าการศาลรฐั ธรรมนญู จำนวนเก้าคนนนั้ มจี ำนวนน้อยไป ควร กำหนดเพิ่มจำนวนตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญให้มจี ำนวนมากขึ้น เพราะจะทำให้เกิดการถว่ งดลุ ตรวจสอบ การทำหน้าท่ี ระหวา่ งตุลาการศาลรัฐธรรมนญู ดว้ ยกันเองได้มากขน้ึ เช่น รัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักร ไทย พทุ ธศกั ราช 2540 มาตรา 255 บญั ญัตใิ ห้มปี ระธานศาลรัฐธรรมนูญหนง่ึ คนและตุลาการศาล รฐั ธรรมนญู อีกสิบสี่คน รวมเปน็ สบิ ห้าคน โดยบญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา 255 วรรคแรก วา่ “มาตรา 255 ศาล รฐั ธรรมนญู ประกอบด้วยประธานศาลรฐั ธรรมนญู คนหนึ่งและตุลาการ ศาลรฐั ธรรมนูญอนื่ อีกสิบส่ีคน ซ่ึงพระมหากษตั ริยท์ รงแต่งตง้ั ตามคำแนะนำของวุฒิสภาจากบคุ คลดงั ตอ่ ไปน”ี้ zee rice

35 2.5) ท่มี าของตุลาการศาลรฐั ธรรมนูญตามหลกั เกณฑใ์ นปัจจุบันตามรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 ไม่มีความยึดโยงกับประชาชน ประกอบกับสถานการณท์ างการ เมือง ของประเทศในชว่ งกอ่ นที่รฐั ธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 จะมผี ลบงั คับใช้ น้ัน ถอื ไดว้ ่า มิใช่การปกครองแบบประชาธิปไตย การสรรหาบคุ คลเพือ่ ดำรงตำแหนง่ ตลุ าการศาล รฐั ธรรมนญู จึงถูกมองวา่ เป็นบคุ คลท่ีมีความใกล้ชิดกับผ้ทู ่มี ีอำนาจทำใหเ้ กิดความไมเ่ ช่อื ถือ 2.6) ควรพจิ ารณาว่าควรยกเลกิ ศาลรฐั ธรรมนญู แลว้ กลบั ไปใช้รปู แบบของคณะตุลา การ รฐั ธรรมนูญเช่นในอดตี หรือไม่ 3) ปัญหาการใชอ้ ำนาจของศาลรฐั ธรรมนูญ 3.1) ในบางกรณที ี่เกิดปญั หาเก่ียวกบั บทบญั ญตั ิรฐั ธรรมนูญควรให้องค์กรผใู้ ช้อำนาจ ตามรัฐธรรมนูญ เชน่ รัฐสภา สภาผ้แู ทนราษฎร และวุฒิสภา มีอำนาจท่ีจะพิจารณาวินิจฉยั เพ่อื แก้ไข ปญั หาทเี่ กิดข้ึน ไดต้ ามหลกั เกณฑท์ ่กี ำหนด โดยไม่ควรใหอ้ ำนาจในการพิจารณาวนิ ิจฉัยปญั หาเก่ียวกับ รฐั ธรรมนูญนี้อยกู่ บั ศาลรฐั ธรรมนญู เพยี งองคก์ รเดียว โดยเฉพาะประเดน็ ปัญหาที่เก่ียวกับปัญหาทาง การเมอื ง หากยังคงเปน็ อำนาจ ของศาลรฐั ธรรมนูญอยู่ ศาลรัฐธรรมนญู กค็ วรที่จะมผี ทู้ ม่ี ีประสบการณ์ ความรู้ความเข้าใจในบริบททางการเมือง และบรบิ ทอืน่ ๆ ของประเทศไทยเป็นตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ ด้วย และในส่วนประเดน็ ปัญหากฎหมาย ท่เี ก่ยี วกบั บริบททางการเมืองนน้ั ตุลาการศาลรัฐธรรมนญู ก็ ควรท่จี ะต้องพิจารณาวนิ ิจฉัยหรอื ตีความ รฐั ธรรมนูญตามหลกั กฎหมายมหาชนเปน็ สำคัญ มใิ ช่ตคี วาม ตามหลักกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยห์ รือตามหลกั กฎหมายอาญา 3.2) การออกข้อกำหนดศาลรฐั ธรรมนูญท่ีกระทำโดยอาศัยอำนาจตามมาตรา 6 และมาตรา 28 ของพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู ว่าด้วยวธิ พี จิ ารณาของศาลรฐั ธรรมนูญ พ.ศ. 2561 ซึ่งไมผ่ า่ นการพิจารณาและได้รบั ความเหน็ ชอบจากรฐั สภาในบางประเด็นนั้น น่าที่จะเปน็ เน้อื หา ของกฎหมาย ทีค่ วรต้องผา่ นกระบวนการบญั ญตั ิกฎหมายของรัฐสภาตามหลักเกณฑ์ของรฐั ธรรมนญู มใิ ช่กระทำเป็น ข้อกำหนดที่ออกตามพระราชบญั ญัติประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ด้วยวิธพี จิ ารณาของศาล รฐั ธรรมนูญท่ีไมผ่ า่ น การพิจารณาของรฐั สภา เพราะเปน็ เร่ืองเกยี่ วกับสิทธขิ องประชาชน จึงไมน่ ่าจะ เปน็ การถูกต้องตามเจตนารมณ์ ของรัฐธรรมนูญ 3.3) ควรมกี ารแก้ไขกฎหมายเกย่ี วกับวิธีพจิ ารณาคดีของศาลต่าง ๆ เกย่ี วกับอำนาจ ของ ศาลรฐั ธรรมนญู และศาลอ่นื ในการออกข้อกำหนดหรอื กฎหมายที่เป็นอนุบญั ญัตหิ รอื มตใิ ด ๆ ของ ศาลท่ีมี ผลบังคบั ในทางการพิจารณาพพิ ากษาอรรถคดีของศาล เพ่อื ใหม้ กี ารตรวจสอบรายละเอยี ดและ ผลบังคบั ของข้อกำหนดหรืออนบุ ัญญตั ิหรือมติน้นั ๆ ใหม้ ีความถกู ต้อง เปน็ ธรรม เป็นไปตามหลักนิติ ธรรม และไม่ขดั หรือแยง้ ตอ่ บทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู เพ่อื เป็นหลกั ประกนั ความยุติธรรมให้แก่ ประชาชน 3.4) มีข้อสังเกตวา่ การทร่ี ัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยตั้งแต่ฉบับพุทธศกั ราช 2540 จนถึงฉบับพุทธศักราช 2560 บัญญัตใิ หค้ ำวนิ ิจฉยั ของศาลรฐั ธรรมนญู เป็นเดด็ ขาด มีผลผูกพัน รัฐสภา คณะรฐั มนตรี ศาล องค์กรอสิ ระ และหนว่ ยงานของรฐั นน้ั เป็นการบญั ญัตใิ ห้อำนาจศาล รัฐธรรมนูญมากเกินไป หรือไม่ เพราะเป็นการใหอ้ ำนาจศาลรัฐธรรมนญู พิจารณาวินิจฉัยการทำหนา้ ท่ี ของสภาผู้แทนราษฎร วฒุ สิ ภา และคณะรัฐมนตรีซ่งึ เปน็ องค์กรผใู้ ช้อำนาจอธิปไตยตามรัฐธรรมนูญด้วย 3.5) ควรกำหนดกรอบในการใชด้ ลุ พนิ ิจในการพจิ ารณาวินิจฉัยคดีของศาล zee rice

36 รฐั ธรรมนูญ ให้ชัดเจน และควรกำหนดให้มอี งค์กรเข้ามาตรวจสอบการใช้อำนาจของศาลรัฐธรรมนูญ เช่นเดียวกบั คณะรฐั มนตรีและรัฐสภา เนือ่ งจากทุกองคก์ รในรฐั ธรรมนูญ ควรถูกตรวจสอบได้ หาก ปฏบิ ัตหิ น้าทไ่ี ม่เท่ียงธรรม หรอื การให้เหตผุ ลเพ่อื ดำเนินการต่าง ๆ ไม่เป็นไปโดยชอบดว้ ยกฎหมาย หมวด 12 องค์กรอสิ ระ 1) สว่ นที่ 1 บททัว่ ไป (มี 7 มาตรา คือ มาตรา 215 ถงึ มาตรา 221) ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) ควรกำหนดกรอบการใชด้ ุลพนิ จิ ขององค์กรอสิ ระ รวมถึงประเด็นเกยี่ วกับระบบการ ตรวจสอบการใชอ้ ำนาจขององคก์ รอสิ ระ ที่กำหนดห้ามมิใหศ้ าลปกครองตรวจสอบการใช้อำนาจของ องคก์ รอสิ ระ ซ่ึงศาลรัฐธรรมนูญได้เคยวินิจฉยั ว่า การใชอ้ ำนาจขององคก์ รอสิ ระเปน็ การใชอ้ ำนาจ ตาม รัฐธรรมนญู จึงต้องห้ามมใิ หศ้ าลเข้ามาตรวจสอบการใช้อำนาจขององค์กรอสิ ระ (2) ควรกำหนดกลไกการตรวจสอบและถ่วงดลุ การใช้อำนาจขององคก์ รอิสระใหม้ ีความ เหมาะสม (3) องค์กรอสิ ระควรมีองค์กรเข้ามาตรวจสอบการใช้อำนาจเช่นเดียวกบั คณะรฐั มนตรี และ รัฐสภา เน่ืองจากทุกองค์กรในรัฐธรรมนูญ ควรถกู ตรวจสอบได้ หากปฏิบัติหน้าทไี่ ม่เทย่ี งธรรมหรือการ ใหเ้ หตุผลเพอ่ื ดำเนินการต่าง ๆ ไมเ่ ป็นไปโดยชอบดว้ ยกฎหมาย 1.2) ทม่ี าและองคป์ ระกอบขององคก์ รอสิ ระ ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) สภาผแู้ ทนราษฎรควรมีบทบาทในการเปน็ องคก์ รตรวจสอบองค์กรอิสระเพราะมี อำนาจยดึ โยงกับประชาชน (สภาผูแ้ ทนราษฎร องค์กรอสิ ระ ศาลรัฐธรรมนูญ ตอ้ งสามารถคานอำนาจ กนั ได)้ (2) การกำหนดให้องค์กรอสิ ระยึดโยงกับประชาชนไม่จำเป็นวา่ การสรรหาบุคคล เพ่ือ แตง่ ต้งั ดำรงตำแหน่งในองค์กรอสิ ระจะต้องมาจากการเลอื กตงั้ โดยตรงของประชาชนเทา่ นนั้ (3) ตอ้ งมกี ลไกให้ประชาชนสามารถตรวจสอบการทำงานขององคก์ รอิสระได้ (4) องค์กรอิสระไมค่ วรมวี าระการดำรงตำแหนง่ นานเกินไป (5) การพ้นจากตำแหนง่ ของกรรมการองค์กรอิสระควรกำหนดให้พ้นจากตำแหน่ง เหล่อื ม กนั โดยให้หนึ่งในสามของจำนวนกรรมการในแตล่ ะองค์กรอสิ ระพน้ จากตำแหน่งเพื่อไมใ่ ห้ขาดช่วง (6) การกำหนดให้กรรมการในองคก์ รอิสระมหี น้าทย่ี น่ื บญั ชีทรพั ยส์ ินและหนสี้ นิ ควร กำหนดใหส้ ภาผแู้ ทนราษฎรเป็นผตู้ รวจสอบ เพราะกลไกสมาชกิ วฒุ ิสภาปัจจุบนั มีที่มาไม่เหมาะสม 1.3) คณุ สมบตั ิและลักษณะต้องหา้ มของผู้ดำรงตำแหน่งในองคก์ รอิสระ ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั เห็นว่า ควรแกไ้ ขบทบัญญตั ิมาตรา 216 โดยกำหนดท่ีมา และคุณสมบัติของผทู้ ีจ่ ะดำรงตำแหน่งในองคก์ รอิสระใหม้ ีความเป็นกลางและสามารถทำงานไดอ้ ยา่ ง อิสระ และมปี ระสิทธภิ าพไดอ้ ย่างแท้จริง 1.4) คณะกรรมการสรรหาผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอสิ ระ zee rice

37 ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ (1) ควรยกเลกิ บทบญั ญัตมิ าตรา 203 วรรคสี่ และมาตรา 217 ในส่วนที่กำหนดให้ ค าวินจิ ฉยั ของคณะกรรรมการสรรหาเป็นที่สดุ และเพ่ิมบทบัญญัติในกรณีท่ีเกดิ ปัญหาการตีความ เกย่ี วกับคณุ สมบัติของผสู้ มัครเขา้ รับการสรรหา ผู้ได้รับการคัดเลือกหรือไดร้ ับการสรรหาเป็นกรรมการ ในองคก์ รอิสระ โดยใหผ้ ู้ได้รับผลกระทบจากคำวินิจฉยั ของคณะกรรมการสรรหามีสทิ ธิรอ้ งตอ่ ศาล รัฐธรรมนูญ เพื่อวินจิ ฉยั ได้ (2) ควรแกไ้ ขเพิม่ เตมิ บทบญั ญตั มิ าตรา 203 วรรคหนงึ่ และมาตรา 217 ในสว่ น องค์ประกอบของคณะกรรมการสรรหา โดยเพ่ิมสดั สว่ นกรรมการสรรหาจากรฐั สภาให้มีจำนวนเพมิ่ มากขน้ึ เพ่อื ให้เกิดความสมดุลและเกดิ การถ่วงดุลการใชด้ ลุ พินจิ ในคณะกรรมการสรรหา 1.5) มาตรฐานทางจรยิ ธรรมของผดู้ ำรงตำแหนง่ ในองค์กรอสิ ระ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ (1) ควรแกไ้ ขเพม่ิ เติมบทบัญญตั ิมาตรา 219 วรรคสอง ไมใ่ ห้มีสภาพบังคบั กบั สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวฒุ ิสภา เน่ืองจากมาตรา 128 กำหนดใหส้ ภาผู้แทนราษฎรและ วุฒสิ ภา มอี ำนาจในการตราข้อบังคบั เกย่ี วกบั ประมวลจรยิ ธรรมของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชกิ วุฒสิ ภา และกรรมาธิการอยแู่ ล้ว นอกจากนนั้ ในกระบวนการจดั ทำมาตรฐานทางจรยิ ธรรม ควรจัดใหม้ ี การรับฟงั ความคิดเหน็ ของประชาชนประกอบด้วย (2) ในขัน้ ตอนการจดั ทำมาตรฐานทางจริยธรรมตามมาตรา 219 ควรบญั ญัติหลกั การ เพมิ่ เติมในส่วนการให้อำนาจประชาชนผ้มู สี ิทธิเลอื กต้ังสามารถรว่ มกันเขา้ ชื่อเพื่อใหม้ ีการตรวจสอบ และถอดถอนผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระไดโ้ ดยผา่ นกระบวนการทางวฒุ สิ ภา นอกจากนั้น ในกรณีท่ี ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระกระทำผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอยา่ งร้ายแรง ควรให้เปน็ อำนาจของ วฒุ ิสภา ในการถอดถอนออกจากตำแหนง่ ไม่ควรกำหนดให้ศาลฎีกาซ่งึ เป็นองค์กรดา้ นกระบวนการ ยตุ ธิ รรมเข้ามา ท าหน้าท่วี ินิจฉยั เกยี่ วกบั จรยิ ธรรมท่ีเปน็ ความผิดด้านพฤตกิ รรมทไี่ มเ่ หมาะสมของผู้ ดำรงตำแหน่ง ในองคก์ รอิสระ 2) ส่วนท่ี 2 คณะกรรมการการเลอื กต้ัง (มี 6 มาตรา คือ มาตรา 222 ถงึ มาตรา 227) ขอ้ สังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ (1) ควรกำหนดแนวทางการตรวจสอบและวธิ กี ารเพิกถอนคำวนิ ิจฉัยหรอื คำส่ังของ คณะกรรมการการเลือกตง้ั และองค์กรอิสระอนื่ โดยอาจกำหนดให้ศาลมีอำนาจเพกิ ถอนคำวินิจฉัย หรอื คำส่งั ของคณะกรรมการการเลอื กตง้ั และองคก์ รอสิ ระอ่ืนได้ (2) คณะกรรมการการเลอื กตัง้ ไมค่ วรมอี ำนาจวินจิ ฉัยเพกิ ถอนสิทธิสมคั รรับเลือกต้ัง แต่ควรกำหนดให้เปน็ อำนาจของศาลฎกี าแผนกคดีเลอื กตง้ั 3) ส่วนที่ 3 ผตู้ รวจการแผ่นดนิ (มี 4 มาตรา คือ มาตรา 228 ถึงมาตรา 231) ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาเห็นวา่ ควรกำหนดใหผ้ ตู้ รวจการแผน่ ดินอยู่ ภายใตร้ ัฐสภา เพ่อื เปน็ กลไกสนับสนนุ ทีส่ ำคัญในการขับเคล่ือนการปฏิบัติหนา้ ท่ีของสมาชกิ สภาผู้แทน ราษฎรในการแกไ้ ขปัญหาของประชาชน zee rice

38 4) ส่วนที่ 4 คณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ (มี 6 มาตรา คือ มาตรา 232 ถึงมาตรา 237) ข้อสังเกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาเห็นว่า ควรทบทวนบทบัญญัติมาตรา 234 และ มาตรา 235 ในเรอ่ื งการใช้ดลุ พินิจวนิ ิจฉยั คดขี องคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริต แหง่ ชาตกิ รณี วนิ ิจฉยั ชี้มลู ความผดิ จะต้องเปน็ กรณที ่ีปรากฏพยานหลักฐานทแ่ี น่ชดั ว่าผ้ถู ูกกล่าวหามกี าร กระทำความผดิ ตามที่ถกู กล่าวหา มใิ ชเ่ พยี งแค่ “เชื่อได้ว่า” ผูถ้ ูกกลา่ วหากระทำความผดิ นอกจากนั้น ควรกำหนดตำแหน่งเจ้าหน้าทขี่ องรฐั ตำแหน่งใดบ้างที่มหี นา้ ที่ตอ้ งย่ืนบญั ชที รพั ยส์ ินและหนสี้ ินและต้อง เปิดเผยใหส้ าธารณะไดร้ บั ทราบดว้ ย 5) ส่วนที่ 5 คณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดนิ 5.1) ทีม่ าและองค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจเงนิ แผ่นดิน ข้อสงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ (1) ควรกำหนดให้สภาผูแ้ ทนราษฎรมบี ทบาทในการเปน็ องค์กรตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน เน่ืองจากสภาผู้แทนราษฎรเป็นองค์กรที่ยดึ โยงกับประชาชน (สภา ผู้แทนราษฎร องคก์ รอิสระ ศาลรัฐธรรมนญู ตอ้ งสามารถคานอำนาจกนั ได)้ (2) ควรกำหนดการพน้ จากตำแหน่งของคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ โดย กำหนดให้พ้นจากตำแหนง่ เหล่ือมเวลากนั ไมใ่ ช่พ้นจากตำแหน่งพร้อมกนั โดยกำหนดใหพ้ ้นจากตำแหน่ง หน่งึ ในสามของจำนวนคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดิน เพือ่ ใหก้ ารท าหน้าที่ของคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดินไม่ขาดชว่ ง 5.2) คณุ สมบัตแิ ละลกั ษณะต้องหา้ มของคณะกรรมการตรวจเงินแผน่ ดนิ ข้อสังเกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ (1) ควรทบทวนเร่อื งขอบเขตอำนาจ และกลไกการตรวจสอบถว่ งดุลท่ีไมเ่ สีย ความเปน็ อสิ ระ และตอ้ งโปร่งใสและตรวจสอบได้ (2) ทบทวนเร่ืองคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการตรวจเงนิ แผน่ ดนิ ใหม่ เพ่อื ใหไ้ ด้ บุคคลทีส่ ามารถ เข้าไปหน้าทีเ่ ป็นกรรมการองค์กรอิสระไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ไม่ใช่ได้เปน็ กรรมการ องค์กรอสิ ระเพียงเพราะมี คณุ สมบัติทก่ี ำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญเท่านนั้ 6) สว่ นที่ 6 คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ 6.1) ท่ีมาและองค์ประกอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ข้อสงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ (1) การพ้นจากตำแหน่งของคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ควร กำหนดให้พน้ จากตำแหนง่ เหลือ่ มกนั โดยให้หนงึ่ ในสามของจำนวนคณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชน แหง่ ชาตพิ น้ จากตำแหน่ง เพอ่ื ไมใ่ หข้ าดช่วง (2) ควรกำหนดให้คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาติตอ้ งมหี นา้ ท่ยี นื่ บัญชี ทรพั ย์สนิ และหนส้ี ินโดยตอ้ งกำหนดให้สภาผแู้ ทนราษฎรเป็นผู้ตรวจสอบ เพราะกลไกสมาชิกวฒุ ิสภา ปัจจบุ ันมที ี่มา ไม่เหมาะสม (3) ต้องมกี ลไกใหป้ ระชาชนสามารถตรวจสอบการท างานของ คณะกรรมการสิทธิมนษุ ยชนแห่งชาตไิ ด้ zee rice

39 6.2) คณุ สมบัติและลกั ษณะตอ้ งห้ามของคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติ ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) ควรทบทวนเร่อื งขอบเขตอำนาจ และกลไกการตรวจสอบถว่ งดลุ ทไ่ี ม่เสีย ความเป็นอสิ ระ และตอ้ งโปร่งใสและตรวจสอบได้ (2) ควรทบทวนเรอ่ื งคุณสมบตั ิของคณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแห่งชาติ เพือ่ ให้ไดค้ นท่ี สามารถทำงานไดจ้ รงิ ไมใ่ ช่คุณสมบัติเพียงตำแหน่ง 6.3) หนา้ ทีแ่ ละอำนาจของคณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และขอ้ เสนอแนะ (1) ควรยกเลิกบทบัญญัติมาตรา 247 (4) โดยไม่ควรกำหนดให้คณะกรรมการ สิทธมิ นุษยชนแห่งชาติเปน็ องค์กรทมี่ หี น้าท่รี ายงานสถานการณเ์ กี่ยวกับสิทธิมนษุ ยชนในประเทศไทย แตค่ วรกำหนดใหเ้ ปน็ บทบาทของรัฐบาลในการรายงานสถานการณ์เกีย่ วกับสทิ ธิมนุษยชนทีเ่ กดิ ขน้ึ ใน ประเทศไทย (2) ควรกำหนดให้คณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแห่งชาติมีอำนาจในการ ตรวจสอบ การละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชนแห่งชาติและมอี ำนาจแสวงหาพยานหลกั ฐานทเี่ กดิ จากการกระทำ ละเมิด สิทธมิ นุษยชนแห่งชาติทงั้ ในทางแพ่งและทางอาญา (3) ควรกำหนดกรอบในการใชด้ ุลพนิ จิ และระบบการตรวจสอบการใชอ้ ำนาจ ของคณะกรรมการสทิ ธมิ นุษยชนแห่งชาติให้ชัดเจน และควรกำหนดกลไกการตรวจสอบและถ่วงดลุ การ ใชอ้ ำนาจของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหง่ ชาติให้มีความเหมาะสม (4) ควรมอี งคก์ รเข้ามาตรวจสอบการใชอ้ ำนาจของคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชน แหง่ ชาติเชน่ เดยี วกับคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา เน่อื งจากทกุ องค์กรในรัฐธรรมนูญ ควรถูก ตรวจสอบได้ หากปฏิบตั ิหนา้ ท่ไี ม่เทย่ี งธรรมหรอื การให้เหตผุ ลเพอื่ ดำเนินการต่าง ๆ ไมเ่ ปน็ ไปโดยชอบ ดว้ ยกฎหมาย หมวด 13 องค์กรอัยการ ข้อสงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามญั มีความเหน็ วา่ องคก์ รอยั การเป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการ ยตุ ิธรรมของประเทศทจี่ ะต้องเป็นหลักประกันความยุติธรรมและความเที่ยงธรรมในการดำเนินคดีอาญา ท่มี ีผลกระทบตอ่ สิทธิและเสรีภาพและความรบั ผิดในทางอาญาของประชาชนโดยตรง เช่นเดยี วกับ บทบาทหนา้ ท่ีของสำนกั งานตำรวจแห่งชาติ โดยพนักงานอยั การมอี ำนาจหน้าทตี่ รวจสอบสำนวนการ สอบสวนของพนกั งานสอบสวนทเ่ี ปน็ เจ้าหน้าทีต่ ำรวจในสงั กัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ และยงั มีอำนาจ หนา้ ทีท่ ส่ี ามารถส่ังการให้พนักงานสอบสวนทำการสอบสวนเพิม่ เตมิ ได้ อีกทัง้ ยงั มีอำนาจเดด็ ขาดในการ พิจารณาส่ังคดแี ละส่งั ทบทวนการสั่งฟ้องหรือไมฟ่ ้องคดอี าญาในสำนวนคดที ีพ่ นักงานสอบสวนเสนอ ข้ึนมาเพ่ือย่นื ฟ้องประชาชนตอ่ ศาลอาญาซึง่ เปน็ ศาลในระบบศาลยุติธรรมดว้ ย ดังนัน้ นอกจากองคก์ ร อัยการจะเป็นส่วนหนง่ึ ของระบบกระบวนการยุติธรรมของประเทศแลว้ องค์กรอัยการยังเป็นส่วนหนงึ่ ของระบบศาลยุตธิ รรมด้วย แตบ่ ทบัญญตั ิในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 zee rice

40 หมวด 13 องค์กรอัยการ กลับมบี ทบญั ญัติเก่ยี วกบั การควบคมุ หรอื การกำกับดแู ลการใชอ้ ำนาจของ พนักงานอัยการไวน้ ้อยมาก โดยเฉพาะไม่มบี ทบัญญตั ิทม่ี ีความชัดเจนเกีย่ วกับการตรวจสอบการใช้ อำนาจหน้าท่ีและการใช้ดลุ พินจิ ของพนกั งานอยั การอยา่ งเพยี งพอในขณะทบี่ ทบัญญตั ิในหมวด 10 ศาล ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มบี ทบัญญตั ทิ ีเ่ ปน็ หลักเกณฑเ์ ก่ียวกับการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีและการใช้อำนาจของศาลทัง้ ที่เป็นบทบญั ญตั ทิ วั่ ไปและท่ีเปน็ บทบญั ญัตเิ ฉพาะของศาล ยตุ ธิ รรมไว้มากกวา่ บทบัญญตั ิขององคก์ รอยั การในเรื่องหลกั เกณฑ์การมอบอำนาจของพนกั งานอยั การท่ี แม้จะมบี ทบัญญัติห้ามมิให้มีการมอบอำนาจของพนักงานอยั การบัญญัตไิ ว้ในบทบญั ญัติตอนท้ายของ มาตรา 248 วรรคท้าย ว่าห้ามมิให้มีการมอบอำนาจใหม้ ีการพจิ ารณาในลักษณะที่เปน็ กรณี ๆ โดย บัญญัติว่า “...จะมอบอำนาจใหม้ ีการพิจารณาเปน็ กรณี ๆ ไปมไิ ด”้ กต็ าม แต่ถอ้ ยคำดังกล่าวก็ไมม่ คี วาม ชัดเจนในความหมายและเจตนารมณ์ทแี่ ท้จรงิ วา่ หมายความเชน่ ใด และหมายความถงึ การมอบอำนาจ ในการสั่งคดหี รือเป็นเพียงการมอบอำนาจในการพิจารณาเก่ยี วกับการบริหารองค์กรอัยการ หรือทงั้ สอง กรณี อยา่ งไรกต็ าม หากหมายถึงการมอบอำนาจในการพิจารณาสั่งคดแี ลว้ กจ็ ะกลายเปน็ ว่าแมจ้ ะมีการ มอบอำนาจใหพ้ จิ ารณาสั่งคดเี ปน็ กรณี ๆ ไปไม่ได้แต่กอ็ าจหมายความวา่ สามารถมอบอำนาจให้พจิ ารณา สง่ั คดเี ป็นการทัว่ ไปท่ไี ม่ใชเ่ ปน็ กรณี ๆ ไปได้ซง่ึ หากหมายความเช่นนไ้ี ด้ดว้ ยแลว้ ก็จะเป็นช่องทางท่จี ะทำ ใหเ้ กดิ การกระทำโดยการใช้ดลุ พินจิ ท่ไี มถ่ ูกต้องหรือไม่สจุ รติ หรือไมเ่ ท่ยี งธรรมได้ ซึ่งจะเป็นการยากใน การพิจารณาวินิจฉยั ว่าเป็นการกระทำหรือเปน็ การใช้ดุลพินิจโดยสจุ ริตหรือไม่ เช่น ในกรณีท่กี ฎหมาย กำหนดใหอ้ ำนาจพิจารณาส่ังคดใี ดเป็นอำนาจของอยั การสงู สุดแต่หากอัยการสูงสดุ สามารถมอบอำนาจ เปน็ การท่วั ไปให้รองอัยการสูงสุดหรือพนักงานอยั การในตำแหน่งอ่ืนเป็นผู้มอี ำนาจพิจารณาสั่งคดนี ัน้ ๆ แทนตนเองได้แลว้ กจ็ ะเป็นการขัดกับเจตนารมณข์ องกฎหมายที่ตอ้ งการให้การส่ังคดีน้นั ๆ ตอ้ งไดร้ บั การพิจารณาโดยละเอียดรอบคอบโดยผูท้ ดี่ ำรงตำแหน่งอัยการสูงสุด อันจะทำใหเ้ ป็นปัญหาในระบบ กระบวนการยุตธิ รรมของประเทศและความเทย่ี งธรรมในการปฏบิ ัติหนา้ ที่ของอัยการสงู สุดไดด้ ังน้นั จงึ ควรแก้ไขบทบญั ญัตมิ าตรา 248 ใหม้ ีความชัดเจนในเรื่องการมอบอำนาจพจิ ารณาของพนกั งาน อยั การโดยควรกำหนดให้ชัดเจนวา่ ห้ามมิใหม้ อบอำนาจพิจารณาสง่ั คดที เี่ ปน็ หรือควรเป็นอำนาจของ พนักงานอยั การผูห้ นง่ึ ไปให้พนักงานอยั การอกี ผู้หน่ึงเป็นผพู้ ิจารณาสั่งคดีแทน โดยเฉพาะอำนาจ พิจารณาส่งั คดที เ่ี ปน็ อำนาจของพนกั งานอยั การระดับหนึ่งระดับใดหรอื ท่ีเปน็ อำนาจของอัยการสูงสุด เป็นการเฉพาะหากเปรยี บเทียบอำนาจหนา้ ท่ีในการใช้ดลุ พนิ ิจพิจารณาเก่ยี วกบั คดีความต่าง ๆ ของผู้ พิพากษาและตลุ าการกับพนกั งานอัยการแล้ว จะเหน็ ได้ว่าการใชด้ ลุ พินจิ ในทางคดีของผู้ทดี่ ำรงตำแหนง่ ผู้พพิ ากษาและตุลาการน้ันลว้ นมลี ักษณะทตี่ ้องเป็นการใชอ้ ำนาจและดุลพินิจท่ีเปน็ การเฉพาะตัวและไม่ อาจมอบอำนาจใหผ้ ้พู พิ ากษาและตุลาการอื่นกระทำการแทนได้ เชน่ ผ้พู ิพากษาและตุลาการทเี่ ปน็ เจ้าของสำนวนหรือทเ่ี ปน็ ผูท้ มี่ ีหนา้ ที่สง่ั สำนวนคดีใด ก็ยอ่ มจะต้องใชด้ ลุ พนิ จิ ในการพิจารณาพพิ ากษา หรือในการสัง่ สำนวนคดีนน้ั ดว้ ยตนเองไม่อาจมอบหมายใหผ้ ู้พพิ ากษาหรือตลุ าการอ่นื เปน็ ผ้ทู ำ คำพพิ ากษาหรอื สง่ั สำนวนแทนได้ ดังนน้ั พนกั งานอัยการไม่วา่ จะในระดับใด โดยเฉพาะพนักงานอยั การในตำแหน่งอัยการ สูงสดุ ที่กฎหมายบัญญตั ิมอบความเชอื่ ถอื ให้ไวเ้ ป็นการเฉพาะตวั ก็ย่อมจะอยู่ในสถานะเดียวกนั กับผู้ พพิ ากษาและตลุ าการทีไ่ ม่อาจมอบอำนาจการพจิ ารณาพิพากษาหรือสั่งคดีที่กฎหมายมอบความ ไวว้ างใจไวก้ ับตัวอยั การสูงสุดให้พนกั งานอยั การอืน่ เป็นผ้ใู ช้ดุลพินจิ สง่ั คดแี ทนได้ โดยเฉพาะเม่อื มกี าร zee rice

41 บญั ญตั ิใหอ้ งค์กรอยั การเปน็ องค์กรตามรัฐธรรมนญู เช่นเดียวกับศาลแล้ว อำนาจพิจารณาส่งั คดขี อง พนักงานอัยการสงู สดุ และของพนักงานอัยการเจา้ ของสำนวนในระดับต่าง ๆ จึงควรเป็นอำนาจ เฉพาะตัวตามรฐั ธรรมนญู เช่นเดยี วกบั ผู้พิพากษาและตุลาการที่ไม่อาจมอบอำนาจใหพ้ นักงานอัยการ ผอู้ ่นื กระทำการแทนได้ ดงั นัน้ การทีบ่ ทบญั ญตั มิ าตรา 248 วรรคท้ายของรฐั ธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2560 บัญญตั ใิ หม้ กี ารมอบอำนาจพิจารณาเป็นการทัว่ ไป ที่ไม่ใชเ่ ปน็ กรณี ๆ ไปสามารถกระทำได้นนั้ หากเปน็ การมอบอำนาจในการพจิ ารณาสงั่ คดแี ล้วกเ็ ปน็ การ ไมถ่ กู ต้อง แตห่ ากไมไ่ ดห้ มายความถึงการมอบอำนาจในการพิจารณาสัง่ คดแี ลว้ ก็ย่อมทีจ่ ะต้องแกไ้ ข บทบัญญตั ิในสว่ นน้ใี หม้ คี วามชัดเจนต่อไป แต่ไม่ว่ากรณใี ดกต็ ามกย็ ่อมเปน็ การสมควรทจ่ี ะต้องแก้ไข บทบัญญัตมิ าตรา 248 วรรคทา้ ยนี้ ให้มีความชดั เจนและถูกตอ้ งตอ่ ไป นอกจากนั้น คณะกรรมาธกิ ารวิสามญั เห็นวา่ หากยงั คงกำหนดให้องค์กรอยั การเป็นองค์กร ตามรัฐธรรมนูญต่อไปแล้ว กค็ วรมีบทบัญญตั ิรัฐธรรมนูญบัญญตั หิ ้ามมใิ ห้พนักงานอัยการเป็นกรรมการ ในรฐั วสิ าหกิจหรือกิจการอ่ืนของรัฐในทำนองเดยี วกนั เวน้ แตจ่ ะได้รับอนุมัติจากคณะกรรมการอัยการ แต่ต้องไม่เปน็ การทำใหส้ งั คมและประชาชนเกดิ ความไมเ่ ชื่อถือหรือไมเ่ ชือ่ มั่นในการปฏิบัตหิ น้าที่และ การใชด้ ลุ พนิ ิจของพนักงานอยั การได้ และต้องมีบทบัญญตั ิหา้ มมิให้พนักงานอัยการประกอบอาชพี หรอื วชิ าชีพหรอื กระทำกิจการใดอันเปน็ การกระทบกระเทือนถงึ การปฏบิ ัติหนา้ ท่ี หรือเส่ือมเสียเกียรติศักดิ์ แหง่ ตำแหน่งหนา้ ทร่ี าชการ และต้องห้ามมใิ หพ้ นักงานอัยการเป็นกรรมการ ผ้จู ัดการ หรือท่ีปรึกษา กฎหมาย หรอื ดำรงตำแหน่งอ่นื ใดที่มลี กั ษณะงานคล้ายคลงึ กันในห้างหุ้นส่วนบริษทั ในทำนองเดียวกัน กับบทบัญญตั ิมาตรา 255 ของรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 ด้วยในเร่อื ง เกีย่ วกับวธิ กี ารหรอื แนวทางการปฏิบตั หิ นา้ ทแี่ ละการใช้ดุลพินิจในการสั่งคดขี องพนักงานอัยการนั้น คณะกรรมาธิการวสิ ามัญเห็นว่า ควรใหม้ ีบทบญั ญัตทิ ีก่ ำหนดหลักเกณฑก์ ารตรวจสอบการปฏิบัติหนา้ ที่ การใชอ้ ำนาจ และการใชด้ ลุ พนิ ิจของพนกั งานอยั การเป็นการเฉพาะให้ชัดเจน ซ่งึ แม้การใช้ดลุ พินิจของ พนกั งานอยั การจะได้รบั ความค้มุ ครองตามพระราชบญั ญตั อิ งคก์ รอัยการและพนักงานอยั การ พ.ศ. 2553 ก็ตาม แต่ดลุ พินจิ นนั้ ย่อมต้องเปน็ ดุลพนิ ิจท่ีสุจรติ เท่ยี งธรรม และชอบด้วยกฎหมายด้วย จึงควรมี บทบญั ญัติของรัฐธรรมนญู ที่กำหนดให้มีการตรวจสอบการใช้ดลุ พนิ จิ ของพนกั งานอยั การได้ โดยเฉพาะ ในคดีท่มี ีความสำคัญที่อยใู่ นความสนใจของสงั คมและประชาชน หรอื ท่ีมผี ลกระทบต่อความสงบ เรยี บรอ้ ยหรอื ศีลธรรมอนั ดีของประชาชน หรอื ดุลพนิ ิจหรือการสง่ั คดีทเ่ี ปน็ ไปในทางตรงกันข้ามกับ ขอ้ เทจ็ จริงหรือเหตกุ ารณห์ รือสถานการณท์ ่ปี รากฏต่อสาธารณชน โดยอาจกำหนดใหเ้ ป็นอำนาจ ตรวจสอบของคณะกรรมการกลางทีแ่ ตง่ ต้งั ขึ้นโดยรัฐสภาหรอื ตามหลกั เกณฑท์ ี่กำหนดเป็นการเฉพาะ คราว โดยให้มีอำนาจตรวจสอบ สอบสวนและมีอำนาจกล่าวหาฟอ้ งร้องพนกั งานอัยการทีใ่ ช้ดุลพนิ จิ หรือ ปฏิบตั ิหนา้ ทโี่ ดยไม่สจุ รติ นั้นได้ โดยควรมีบทบญั ญัตริ ัฐธรรมนญู กำหนดให้ผลของดุลพนิ จิ หรือการปฏบิ ตั ิ หน้าท่ีทีไ่ ม่สุจริตนน้ั เป็นโมฆะไวใ้ ห้ชดั เจนด้วยโดยควรมีบทบญั ญัตริ ัฐธรรมนญู กำหนดให้พนกั งานอัยการ ท่มี ีพฤติกรรมใชด้ ลุ พินิจหรอื ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ีโดยไม่สจุ รติ เช่นนั้น ตอ้ งพน้ จากการเปน็ พนักงานอัยการตาม บทบญั ญัตริ ฐั ธรรมนูญทนั ที และควรแก้ไขบทบญั ญตั ิของพระราชบัญญัตอิ งคก์ รอยั การและพนักงาน อยั การ พ.ศ. 2553 ใหม้ ีบทกำหนดโทษพนักงานอยั การทมี่ ีพฤติกรรมใชด้ ลุ พนิ จิ หรอื ปฏบิ ัตหิ น้าที่โดยไม่ สุจรติ น้นั ต้องรับโทษอาญาทส่ี ูงกว่าโทษทกี่ ำหนดไว้สำหรบั กรณีนนั้ ในกรณีปกตทิ ว่ั ไป zee rice

42 ทง้ั น้ี เพือ่ เป็นหลักประกนั ความยตุ ิธรรมและความเท่ียงธรรมใหส้ ังคมและประชาชน และ เพอ่ื สร้างความเชอื่ มน่ั ของประชาชนในระบบกระบวนการยุติธรรมของประเทศใหม้ ีมากข้ึน หมวด 14 การปกครองสว่ นท้องถน่ิ (มี 6 มาตรา คือ มาตรา 249 ถงึ มาตรา 254) 1) ทศิ ทางการปกครองท้องถ่นิ ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญพจิ ารณาเห็นว่า ควรกำหนดเจตนารมณ์ เรอื่ ง ทศิ ทางการ พฒั นา การปกครองทอ้ งถิ่นและการกระจายอำนาจที่เพิ่มขน้ึ ไวใ้ นแนวนโยบายแห่งรฐั หรือหมวดที่ว่า ด้วยการปกครอง สว่ นท้องถ่นิ โดยตรง อาทิ การบญั ญัตใิ นมาตรา 281 วรรคหนงึ่ วา่ “ภายใต้บังคับ มาตรา 1 รัฐจะตอ้ งให้ความ เปน็ อสิ ระแก่องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ตามหลักแห่งการปกครองตนเอง ตามเจตนารมณข์ องประชาชน ในทอ้ งถน่ิ และส่งเสรมิ ใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่นเปน็ หนว่ ยงานหลกั ในการจดั บริการสาธารณะ และมีสว่ นรว่ มในการตัดสนิ ใจแกไ้ ขปัญหาในพ้นื ที่” เปน็ ตน้ และควรบัญญตั ิ แนวทางการกระจายอำนาจไปสู่ องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ใหช้ ัดเจน ดังเช่นท่ีปรากฏในรฐั ธรรมนญู แห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 และรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ท่ี บัญญตั ิเป็นแนวทางในการออกกฎหมายลำดบั รองตอ่ ไป อกี ทงั้ ควรบัญญตั ใิ ห้มกี ารปฏริ ปู การปกครอง สว่ นท้องถน่ิ โดยบญั ญัติไว้ในหมวด 16 การปฏิรูปประเทศ โดยเพ่มิ ในสว่ นของมาตรา 258 ก. ดา้ น การเมืองอกี ด้วย 2) การจดั ตัง้ องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาเหน็ ว่า การจัดตั้งองคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ ควร ให้ความสำคญั กับเจตนารมณ์ของประชาชนในทอ้ งถน่ิ เป็นสำคญั ไมค่ วรใช้เงอื่ นไขเร่ืองรายได้ หรือ จำนวน และความหนาแนน่ ของประชากรเปน็ เง่อื นไขประกอบ เพราะไมเ่ ปน็ การสง่ เสริมการปกครอง ส่วนท้องถิน่ ในหลกั ความเปน็ อิสระ และเจตนารมณ์ของประชาชนในพ้ืนท่ี 3) ความเปน็ อสิ ระขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน ขอ้ สงั เกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวิสามัญพจิ ารณาเห็นวา่ ควรบัญญัติใหช้ ัดเจนเก่ียวกบั หลกั ความเป็น อสิ ระ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ โดยให้มีอสิ ระท้งั ในทางการเมืองที่สามารถปกครองและ บริหารงานภายใน ทอ้ งถ่นิ ของตนเองตามความตอ้ งการของประชาชน และควรกำหนดขอบข่ายของ ความเป็นอิสระในการ บรหิ ารงานขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในการกำหนดนโยบาย การปกครอง การบริหาร การบรหิ ารงาน บคุ คล การเงินและการคลงั และมีอำนาจหนา้ ทข่ี องตนเองโดยเฉพาะ นอกจากนี้ ในดา้ นการบรหิ ารงานบุคคลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ นัน้ เพื่อให้ ส่งเสรมิ ตอ่ การบรหิ ารงานตามหลกั ธรรมาภิบาล ควรจะบัญญตั ิถึงการให้มี “องคก์ รพทิ ักษค์ ณุ ธรรมใน การบรหิ าร งานบุคคล” หรือกำหนดให้มี “คณะกรรมการพทิ กั ษ์ระบบคุณธรรม” ไว้ในหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรัฐ และควรมกี ารปรบั ปรงุ โครงสรา้ งด้านบคุ ลากรขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ใหม่ ทง้ั ระบบเพอื่ ใหส้ ่งเสรมิ ตอ่ การพัฒนาการปกครองส่วนท้องถ่ินและการกระจายอำนาจ zee rice

43 4) รายได้ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั พิจารณาเหน็ วา่ การบัญญัติเกยี่ วกบั การสร้างแหลง่ รายได้ใหม่ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน อาทิ กรณีของการกู้เงนิ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ และการออก พนั ธบตั รท้องถน่ิ ซ่งึ แมว้ ่าจะไมม่ ีการบัญญัติในประเด็นน้ใี นรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2560 แต่ควรมีการกำหนดแนวทางไวส้ ำหรับการบัญญัตใิ นกฎหมายลำดบั รองทีเ่ กี่ยวขอ้ ง ตอ่ ไป 5) การกำกับดแู ลและการตรวจสอบ ขอ้ สังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) ตอ้ งระบขุ อบเขตการกำกับดูแลให้ชดั เจน โดยกำหนดว่า “ในการกำกบั ดูแลองคก์ ร ปกครองส่วนท้องถน่ิ น้นั จะกระทบถงึ สาระสำคญั แห่งหลกั การปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของ ประชาชนในท้องถนิ่ หรือนอกเหนือจากทกี่ ฎหมายบญั ญัติไว้มิได”้ โดยเน้นเร่ืองความเปน็ อสิ ระของ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ กับความสมดลุ ในการกำกับดูแลจากรัฐ (2) กำหนดให้สมาชกิ สภาท้องถน่ิ และผบู้ ริหารทอ้ งถิ่นมาจากการเลอื กตง้ั โดยตรงของ ประชาชน เพ่ือใหป้ ระชาชนได้ทำหนา้ ท่ีตรวจสอบ และสร้างการมีส่วนร่วมในทางการเมอื งใหแ้ ก่ ประชาชน (3) ในการตรวจสอบควรใหเ้ ปน็ ระบบการตรวจสอบแบบ Post Audit โดยเน้นประเด็น เรอื่ งความชอบดว้ ยกฎหมายในการใชจ้ ่ายงบประมาณ และการทุจริตคอร์รัปช่ัน (4) การตรวจสอบเร่อื งความค้มุ คา่ โดยสำนกั งานการตรวจเงินแผ่นดนิ ควรจะอยบู่ น หลักการเรื่องความเป็นอิสระในการดำเนินงานของทอ้ งถิน่ และความคมุ้ ค่าในมิติทก่ี ว้างและคำนงึ ถึง ประโยชน์ท่ีเกดิ ข้นึ กบั ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ เป็นสำคัญ (5) ประชาชนควรมบี ทบาทสำคัญในการตดิ ตาม ตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้ จา่ ยงบประมาณและการบรหิ ารงานทอ้ งถิน่ 6) การจดั ทำบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ (1) ควรบญั ญัติใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ เปน็ องค์กรหลกั ในการจดั บริการ สาธารณะ (2) ควรบัญญตั ิเพิม่ เตมิ ใหอ้ งค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ มบี ทบาทในการรองรบั การดำเนนิ กจิ การเรอ่ื งการพฒั นาเศรษฐกจิ ชมุ ชน การสรา้ งงาน การช่วยเหลอื ผดู้ อ้ ยโอกาส คนยากจน เป็นต้น (3) ควรบัญญัตเิ รือ่ งการดำเนินกิจกรรมสาธารณะขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ว่า “กจิ การใดที่รัฐธรรมนญู ไมไ่ ดบ้ ัญญตั ิห้าม กจิ การน้ันองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ ย่อมสามารถดำเนินการได้” หรอื บญั ญตั วิ ่ากิจการใดทอ่ี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ ทำไมไ่ ด้ เช่น กิจการทหาร ความม่นั คง การ ต่างประเทศการเงินการคลังระดับชาติ ศาล เปน็ ตน้ และนอกเหนอื จากที่กำหนดห้ามองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นกส็ ามารถดำเนนิ การได้ zee rice

44 (4) ควรบญั ญัติใหม้ ีการทบทวนอำนาจหน้าทีข่ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ แตล่ ะ รปู แบบเพอื่ ให้มคี วามชัดเจนในเชงิ อำนาจหนา้ ท่ี และป้องกนั ความซำ้ ซ้อนในการจัดบรกิ ารสาธารณะ ระหวา่ งกันและระหว่างองค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินกับรัฐ (5) ควรบัญญัติใหม้ ีคณะกรรมการคณะหนึ่งที่ทำหนา้ ที่กำหนดบทบาทความสมั พนั ธ์ ระหวา่ งรัฐกับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ หรือระหวา่ งองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ดว้ ยกนั เองเพ่อื จดั ระบบความสมั พนั ธ์ในเชงิ อำนาจหน้าทใี่ นการบริหารราชการแผ่นดิน 7) การมสี ่วนรว่ มของประชาชนในการปกครองสว่ นท้องถน่ิ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ (1) ควรบญั ญัติให้ประชาชนในท้องถิ่นมีสทิ ธิมสี ว่ นร่วมในการบรหิ ารกจิ การขององค์กร ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และกำหนดให้เปน็ หนา้ ท่ขี ององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทจ่ี ะตอ้ งจัดใหม้ ีวิธีการให้ ประชาชนมสี ่วนร่วม (2) ควรบญั ญัตใิ หป้ ระชาชนมีสว่ นรว่ มในกจิ กรรมตา่ ง ๆ ขององคก์ รปกครองส่วน ท้องถิ่นทห่ี ลากหลายขน้ึ เช่น กำหนดให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ตอ้ งแจง้ ข้อมูลและรายละเอยี ดให้ ประชาชนทราบเกี่ยวกบั การดำเนินกจิ กรรม/โครงการตา่ ง ๆ ในท้องถนิ่ โดยเฉพาะอย่างย่งิ โครงการทจ่ี ะ มีผลกระทบต่อชวี ิตและความเปน็ อยู่ของประชาชนในท้องถ่ิน เปน็ ต้น หรอื กำหนดให้ชัดเจนวา่ การ ดำเนนิ กิจการขององคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ในเรอื่ งใดบา้ งทีจ่ ะต้องมกี ารรับฟงั ความคิดเห็นจาก ประชาชนก่อนดำเนนิ การ เป็นต้น 8) องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ รปู แบบพเิ ศษ ขอ้ สังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ (1) การจัดตง้ั องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ รูปแบบพิเศษน้นั ควรจะมีการออกแบบใหม่ โดยกำหนดให้มคี ณะกรรมการควบคุมนโยบายเพ่อื ควบคุมและตรวจสอบการใช้อำนาจของผบู้ ริหาร ทอ้ งถ่ินและสภาท้องถน่ิ ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินรปู แบบพิเศษ ซ่ึงคณะกรรมการ ประกอบด้วย ส่วนราชการในพ้นื ท่ี และผู้ทรงคณุ วฒุ ิทีม่ ีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน คณะกรรมการมหี น้าทใ่ี นการให้ คำปรกึ ษาและพจิ ารณาอนุมัตกิ ารดำเนนิ การใด ๆ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ซงึ่ เป็นการดำเนินงาน ตามภารกจิ ในฐานะรูปแบบพเิ ศษตามทก่ี ฎหมายกำหนด (2) กำหนดให้ผบู้ ริหารท้องถิน่ ขององค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นรปู แบบพิเศษ ควรต้องมา จากการเลือกตงั้ โดยตรงของประชาชนเท่านัน้ โดยควรบัญญัติไวใ้ นส่วนของทมี่ าของผบู้ ริหารทอ้ งถน่ิ ใน องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินรปู แบบพิเศษเช่นเดยี วกับท่ีบัญญัตใิ นมาตรา 284 รัฐธรรมนญู แห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช2550 วา่ “...การจดั ตง้ั องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินรูปแบบพิเศษท่ีมี โครงสร้างการบรหิ ารทแ่ี ตกตา่ งจากบัญญัติไวใ้ นมาตรานี้ ใหก้ ระทำได้ตามทก่ี ฎหมายบัญญัติ แต่คณะ ผูบ้ รหิ ารท้องถนิ่ หรอื ผู้บริหารทอ้ งถ่นิ ต้องมาจากการเลอื กต้ัง” ทั้งน้ี การบัญญตั ิความในลักษณะน้เี ปน็ การเปิดโอกาสใหอ้ งค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรปู แบบพิเศษมโี ครงสร้างที่แตกตา่ งกันไดต้ ามความเฉพาะ หากแตผ่ ู้บรหิ ารทอ้ งถิ่นตอ้ งมาจากการเลือกต้ังซ่ึงสอดคลอ้ งกับหลักประชาธิปไตย zee rice

45 ข้อสงั เกตและข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธกิ ารวสิ ามญั ท่แี จ้งให้สำนักงานบรหิ าร หนีส้ าธารณะ กระทรวงการคลัง ทราบ ขอ้ สงั เกต 1) รฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศักราช 2560 มาตรา 74 วรรคหนึ่ง กำหนดว่า “รฐั พึงสง่ เสริมให้ประชาชนมคี วามสามารถในการท างานอย่างเหมาะสมกับศกั ยภาพและวัยและใหม้ ี งานทำและพึงคมุ้ ครองผ้ใู ช้แรงงานให้ได้รบั ความปลอดภัยและมสี ขุ อนามัยทีด่ ใี นการท างานได้รับรายได้ สวัสดกิ ารการประกนั สงั คม และสทิ ธิประโยชน์อ่ืนที่เหมาะสมแก่การดำรงชีพ และพงึ จดั ให้มีหรือ ส่งเสรมิ การออมเพ่อื การดำรงชพี เม่อื พ้นวยั ทำงาน” และมาตรา 75 วรรคสอง กำหนดว่า “รฐั ตอ้ งไม่ ประกอบกจิ การทม่ี ีลักษณะเป็นการแขง่ ขันกบั เอกชน เว้นแตก่ รณีที่มีความจำเป็นเพ่อื ประโยชน์ในการ รกั ษาความม่ันคงของรัฐ การรักษาผลประโยชน์สว่ นรวม การจดั ใหม้ สี าธารณปู โภคหรือการจดั ทำบรกิ าร สาธารณะ” ดังนน้ั กรณีท่อี งค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ จะดำเนนิ โครงการลงทนุ เพื่อจัดใหม้ ีสาธารณูปโภค หรือการจดั ทำบริการสาธารณะให้กบั ประชาชนในท้องถน่ิ แมจ้ ะเป็นการแขง่ ขันกับเอกชนกย็ ่อมกระทำ ได้ จึงควรแก้ไขหรือกำหนดขอ้ ยกเวน้ ในกรณที ีอ่ งคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ จดั ให้มีสาธารณูปโภคหรือ การจดั ทำบริการสาธารณะบางประเภทสามารถกระทำได้ เพอื่ ป้องกันไมใ่ ห้ระเบยี บดงั กลา่ วมขี ้อความ ขัดหรอื แยง้ กับรัฐธรรมนญู 2560 2) รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจกั รไทย พุทธศกั ราช 2560 มาตรา 75 วรรคสอง กำหนดว่า “รัฐต้องไม่ประกอบกิจการที่มีลกั ษณะเปน็ การแขง่ ขันกบั เอกชน เว้นแต่กรณีท่ีมีความจำเปน็ เพอ่ื ประโยชนใ์ นการรกั ษาความมน่ั คงของรฐั การรกั ษาผลประโยชน์ส่วนรวม การจดั ใหม้ สี าธารณปู โภค หรอื การจดั ทำบริการสาธารณะ” กรณีท่ีระเบียบคณะกรรมการนโยบายและกำกับการบริหารหนี้ สาธารณะว่าดว้ ยหลักเกณฑ์การกู้เงนิ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น พ.ศ. 2561 ห้ามมิให้องคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ินจัดทำโครงการลงทุนท่เี ป็นการแข่งขันกบั เอกชนน้นั มีขอ้ พจิ ารณาว่าการทร่ี ฐั หรอื องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ดำเนินกิจการท่เี ป็นการแข่งขนั กับเอกชน หากเพือ่ ประโยชนใ์ นการจัดทำ บรกิ ารสาธารณะควรใหก้ ระทำได้โดยรัฐหรือองคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ ไมจ่ ำเป็นต้องดำเนินการเอง ซึ่ง การจะดำเนินการเพ่ือใหเ้ กดิ ประสิทธภิ าพสูงสุดน้ันจะตอ้ งมคี วามเข้าใจภาพรวมการดำเนินการของรัฐ ส่วนกลาง ขณะเดียวกันก็ตอ้ งเขา้ ใจการบรหิ ารงานขององค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ด้วย 3) การกู้เงนิ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินไม่มีหลกั เกณฑท์ ่ีมีประสิทธิภาพเนื่องจาก กำหนดให้เป็นดลุ พนิ ิจขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในการพจิ ารณาลำดบั การใชจ้ า่ ยเงินกู้ โดยเฉพาะการกเู้ งินเพ่ือไปสร้างสำนักงานขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ซ่งึ การกู้เงนิ ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ินควรนำไปใชใ้ นกรณีทีม่ ีความจำเป็นเพอื่ จัดทำบรกิ ารสาธารณะใหก้ ับประชาชน อย่างแทจ้ ริงมากกว่า 4) ควรมีการแก้ไขปรับปรุงระเบยี บคณะกรรมการนโยบายและกำกับการบรหิ าร หนส้ี าธารณะวา่ ด้วยหลักเกณฑ์การกเู้ งินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ พ.ศ. 2561 ใหส้ อดคลอ้ งกับ บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ 2560 และกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องนั้น 5) ระเบยี บคณะกร รมการนโยบายและกำกับการบริหารหนสี้ าธารณะว่าด้วย หลักเกณฑก์ ารก้เู งนิ ขององคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2561 ข้อ 31 ไมม่ ีการกำหนดเง่อื นไขไว้ zee rice

46 อยา่ งชดั เจนว่าเมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ได้รบั เงนิ กู้แลว้ จะตอ้ งนำไปใช้ดำเนนิ การในเรื่องใด เพ่ือ ป้องกนั การน าเงินกไู้ ปใช้ผิดประเภท รวมท้งั ควรมีการตรวจสอบการใช้จา่ ยเงินขององคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถิ่นไมใ่ ห้เกิดการใช้จ่ายเงินท่เี กินความจำเปน็ หรือสรา้ งภาระหนี้มากเกินกว่ารายไดข้ ององค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 6) ระเบียบคณะกรรมการนโยบายและกำกบั การบริหารหนีส้ าธารณะว่าด้วย หลักเกณฑ์การกู้เงินขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น พ.ศ. 2561 กำหนดนยิ ามคำว่า “ภาระหน”้ี ไวใ้ น ขอ้ 3 โดยองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ ต้องแสดงขอ้ มูลภาระชำระหน้ดี งั กล่าวก่อนการกู้เงินตามข้อ 23 (4) แต่ระเบียบดังกล่าวนำไปใช้เฉพาะกบั หนี้ที่เกิดขึ้นนอกเหนือจากการกำกับดแู ลของ กระทรวงมหาดไทย ดงั นั้น จงึ เกิดปญั หาว่าสำนักงานบรหิ ารหน้สี าธารณะจะมีอำนาจในการกำกบั ดแู ล ภาระชำระหนขี้ ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ในภาพรวมได้อยา่ งไร หากองค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ไม่ได้กู้เงินตามระเบียบดังกล่าว จงึ ควรแกไ้ ขหลกั เกณฑใ์ ห้สำนกั งานบริหารหน้ีสาธารณะตรวจสอบและ กำกบั ดแู ลในสว่ นนีไ้ ด้ 7) การพจิ ารณาวงเงนิ และกรอบการกู้เงินขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถิน่ จะพจิ ารณา เฉพาะความสามารถในการใชเ้ งินกู้คนื ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ กล่าวคือ การก้เู งนิ ขององค์กร ปกครองส่วนท้องถ่นิ ตอ้ งไมก่ ่อใหเ้ กิดภาระชำระหน้เี กนิ กวา่ รอ้ ยละสบิ ของ รายไดเ้ ฉล่ยี ตอ่ ปี ทงั้ ท่ีในความเป็นจริงองคก์ รปกครองสว่ นท้องถน่ิ ท่ีมีขนาดเล็กบางแหง่ มคี วามสามารถในการจัดทำ โครงการทีส่ ร้างรายได้ให้กับท้องถิน่ ได้ หรือทีเ่ รยี กว่า “วสิ าหกิจท้องถนิ่ ” ซ่งึ ชว่ ยลดภาระของรัฐบาลใน การจัดสรรเงินอุดหนนุ ให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ ดงั นัน้ การพิจารณากำหนดหลกั เกณฑก์ ารกู้ เงินขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินนอกจากความสามารถในการใชเ้ งินกู้คนื แล้วควรพจิ ารณาโครงการท่ี องค์กรปกครองสว่ นท้องถิ่นจะจดั ทำดว้ ยวา่ สามารถสรา้ งรายได้ใหก้ ับองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ได้ เน่ืองจากในอนาคตการพฒั นาเศรษฐกิจในระดับทอ้ งถน่ิ จะมีความสำคญั มาก โดยอาจมกี ารร่วมลงทุน ระหวา่ งองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินรูปแบบตา่ ง ๆ ในลกั ษณะเชน่ เดียวกบั การจัดตง้ั บริษัท กรุงเทพ ธนาคม จำกดั ซึง่ เปน็ วิสาหกจิ ของกรงุ เทพมหานคร 8) ระเบียบคณะกรรมการนโยบายและกำกับการบรหิ ารหนสี้ าธารณะว่าด้วย หลักเกณฑ์การกเู้ งินขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน พ.ศ. 2561 มีข้อจำกดั ต่อการดำเนนิ การพัฒนา ท้องถิ่นขององคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่ และควรผ่อนปรนเงอ่ื นไขการกู้ยืมเงินขององคก์ รปกครองสว่ น ท้องถิน่ มคี วามยืดหยุ่นโดยกำหนดใหส้ ถาบนั การเงนิ แตล่ ะแหง่ เป็นผพู้ จิ ารณาวา่ โครงการและ หลักประกันการกูเ้ งินที่องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ เสนอน้นั มคี วามเปน็ ไปได้หรอื ไม่ 9) ปจั จบุ นั องค์การบริหารส่วนตำบลไม่สามารถกยู้ ืมเงนิ ไดเ้ พราะไม่มีระเบียบรองรบั กระทรวงมหาดไทย หรือสำนกั งานบรหิ ารหน้สี าธารณะ ควรตราระเบยี บกระทรวงมหาดไทย หรอื ระเบียบคณะกรรมการนโยบายและกำกบั การบรหิ ารหน้สี าธารณะวา่ ดว้ ยหลักเกณฑก์ ารกู้เงินของ องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ พ.ศ. 2561 เพ่อื ใหอ้ งค์การบรหิ ารสว่ นตำบลกูย้ ืมเงนิ ได้ 10) การแก้ไขประเดน็ ปญั หาการก่อหนีข้ ององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ อาจทำได้ สองแนวทาง คือ (1) การแกไ้ ขเพมิ่ เตมิ พระราชบัญญตั ิกำหนดแผนและข้นั ตอนการกระจายอำนาจให้แก่ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2542 เพอ่ื กำหนดวงเงนิ กู้ให้แก่องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินแตล่ ะแห่ง zee rice

47 ใหม้ คี วามยืดหยนุ่ และ (2) การจัดลำดับความสำคญั ของการดำเนินงานขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน เพ่อื ใหท้ ันตอ่ ความเปล่ยี นแปลงของบริบทและพลวัตของสังคม 11) ควรมมี าตรการปอ้ งกัน ควบคุม และมโี ทษ กรณอี งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่นิ นำเงนิ กู้ ไปใช้ไมต่ รงกับวตั ถุประสงค์หรอื ประเภทของเงนิ กู้ 12) เพื่อปอ้ งกันการนำเงินกู้ไปใชผ้ ิดประเภทควรแก้ไขระเบียบคณะกรรมการนโยบายและ กำกบั การบริหารหนีส้ าธารณะว่าด้วยหลกั เกณฑ์การกูเ้ งนิ ขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ พ.ศ. 2561 ข้อ 13 กำหนดเงอ่ื นไขใหช้ ัดเจนวา่ องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ไดร้ ับเงนิ กูแ้ ลว้ จะต้องนำไปใช้ดำเนินการใน เรือ่ งใดและในกิจการใด รวมทั้งควรมีการตรวจสอบการใชจ้ ่ายเงินขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ ไมใ่ ห้ เกดิ การใชจ้ า่ ยเงินทเ่ี กินความจำเปน็ หรือสรา้ งภาระหนี้มากเกนิ กวา่ รายไดข้ ององค์กรปกครองส่วน ท้องถนิ่ 13) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินที่มคี วามพร้อมในการจัดทำบรกิ ารสาธารณะ ตอ้ งเปน็ ต้นแบบใหก้ บั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินทม่ี ปี ญั หาในการจดั ทำบรกิ ารสาธารณะด้วย รวมท้ัง ต้องเปดิ โอกาสให้ประชาชนในท้องถิ่นได้เขา้ มามสี ว่ นรว่ มแสดงความคิดเหน็ ถึงความตอ้ งการของตนวา่ ประสงค์จะให้องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินจดั ให้มสี าธารณูปโภคหรือจดั ทำบริการสาธารณะในดา้ นใด ทง้ั น้ี หากเป็นไปได้ควรมีการสง่ เสรมิ และพัฒนาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถเจริญเตบิ โตได้ โดยไม่จำเป็นต้องมกี ารกเู้ งินจะเปน็ ประโยชน์มากทส่ี ดุ 14) ควรมีการปรบั เปลี่ยนหลกั เกณฑ์และแกไ้ ขข้อกฎหมายบางประการเกี่ยวกบั การกู้เงิน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ เพือ่ ลดอุปสรรคในการพฒั นาความเจริญของทอ้ งถน่ิ ต่อไป ข้อเสนอแนะ 1) ตง้ั แต่ระเบียบคณะกรรมการนโยบายและกำกบั การบรหิ ารหนส้ี าธารณะวา่ ด้วย หลักเกณฑ์การกู้เงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ พ.ศ. 2561 ประกาศใชบ้ ังคับ หน่วยงานทีเ่ กย่ี วขอ้ ง มีการรวบรวมขอ้ มูลหรือไมว่ ่าองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ กเู้ งนิ เพอ่ื วัตถุประสงค์ใดมากทส่ี ุด และมีการ ติดตามประเมินผลหรือไม่วา่ การกเู้ งินนนั้ สร้างรายได้หรอื ประโยชน์ใหก้ บั ทอ้ งถิ่นหรือประชาชนเพยี งใด 2) กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ รูปแบบอน่ื นอกจากกรุงเทพมหานครจะจัดทำระเบียบ การใช้เงินขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ ขึน้ ใชบ้ งั คับเองไดห้ รอื ไม่ เนื่องจากองค์กรปกครอง สว่ นทอ้ งถน่ิ รูปแบบต่าง ๆ มอี งคป์ ระกอบและท่มี า รวมทั้งอำนาจหนา้ ทท่ี ่ีแตกตา่ งกนั จึงควรแยก ระเบยี บเกยี่ วกับการใชเ้ งนิ กู้ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่นิ เปน็ เอกเทศจากกัน 3) องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินในประเทศไทยมีหลายขนาด แต่มีโครงสรา้ งการบริหาร ที่คล้ายกันทำให้ค่าใช้จ่ายในการบริหารจดั การภายในองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถิ่นมจี ำนวนใกลเ้ คียงกัน ซึ่งทำใหเ้ กิดปัญหาตามมาว่าการกำหนดให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ินทุกประเภทสามารถกู้เงินได้ โดยการกเู้ งินน้ันจะต้องไมก่ ่อให้เกิดภาระการชำระหน้ีเกินกว่ารอ้ ยละสบิ ของรายได้เฉลยี่ ตอ่ ปี จงึ ส่งผล ให้องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ ขนาดเลก็ ซึง่ มรี ายได้จำนวนน้อย ไมม่ ีงบประมาณท่ีเพยี งพอในการจดั ทำ บริการสาธารณะ ดงั น้นั ควรพิจารณาแก้ไขระเบียบหลักเกณฑ์ท่ีเก่ียวขอ้ งเพื่อกำหนดวงเงินกู้ และ หลักเกณฑ์การใช้เงนิ คนื ใหเ้ หมาะสมกับขนาดและรายไดข้ ององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในแตล่ ะ ประเภท โดยอาจลดจำนวนยอดเงนิ ใช้คืนหรือยกเว้นหลกั เกณฑข์ น้ั ต่ำของยอดเงินทต่ี ้องใชเ้ งินกคู้ ืนให้แก่ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินท่ีมีขนาดเล็ก เปน็ ต้น zee rice

48 4) กรณที ่ีองคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ กู้เงินผา่ นกองทนุ ขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ิน และสถาบนั การเงินอ่ืน ๆ พรอ้ มกนั หน่วยงานใดจะทำหนา้ ทีด่ ูแลการกู้เงินขององคก์ รปกครองส่วน ทอ้ งถิน่ ในภาพรวมว่าการกเู้ งินดังกล่าวคิดเป็นสัดสว่ นร้อยละเท่าใดของรายไดข้ ององค์กรปกครองสว่ น ท้องถ่นิ 5) ควรมีมาตรการควบคุมการใชเ้ งินกู้ในกรณีทอี่ งคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ นำเงนิ กู้ ไปใช้ไมต่ รงกับวัตถุประสงค์หรือประเภทของการกู้เงินให้ชดั เจน หมวด 15 การแกไ้ ขเพ่ิมเติมรฐั ธรรมนญู (มี 2 มาตรา คอื มาตรา 255 และมาตรา 256) 1) มาตรา 255 ข้อสงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามญั มีความเหน็ รว่ มกันว่า บทบัญญตั ิมาตรา 255 ไมม่ ีประเดน็ ปัญหาท่ีนำไปสู่การแก้ไขใด ๆ 2) มาตรา 256 2.1) มาตรา 256 (3) ขอ้ สังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการเหน็ ชอบใหม้ ีการแก้ไข โดยแยกออกเป็น 3 แนวทาง ดงั น้ี แนวทางที่ 1 ยกเง่ือนไขที่ต้องมีสมาชิกวุฒสิ ภาเหน็ ชอบหน่งึ ในสามออกเหลอื เพยี งได้ เสยี งขา้ งมากของสมาชกิ รัฐสภา ตามหลักการทีป่ รากฏในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พทุ ธศกั ราช 2540 และรัฐธรรมนญู แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 แนวทางท่ี 2 กำหนดใหเ้ ง่อื นไขทีต่ ้องมีสมาชกิ วุฒิสภาเหน็ ชอบหน่งึ ในสาม ใช้ ในกรณี ซง่ึ วุฒสิ ภามที ่มี าจากบทบัญญัติหลกั ตามส่วนที่ 3 วฒุ สิ ภา ของหมวด 7 รัฐสภา ไมใ่ ช้บังคบั ใน กรณีทวี่ ฒุ ิสภา มาจากบทเฉพาะกาล แนวทางท่ี 3 ยกเง่ือนไขท่ีต้องมสี มาชิกวุฒสิ ภาเหน็ ชอบหนงึ่ ในสามออก เปล่ียนเปน็ ต้อง ไดร้ ับเสยี งเหน็ ชอบสองในสามของสมาชกิ รฐั สภา ในกรณีซึ่งวุฒสิ ภามีที่มาจาก บทบัญญตั หิ ลกั ตามสว่ นท่ี 3 วุฒิสภา ของหมวด 7 รัฐสภา ทั้งน้ี แนวทางท่ี 1 เป็นแนวทางท่ีเสยี งสว่ นใหญ่เห็นชอบ 2.2) มาตรา 256 (6) ข้อสังเกต ความเหน็ และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธิการวสิ ามัญเหน็ ชอบใหม้ กี ารแกไ้ ข ดงั นี้ (1) ยกเงื่อนไขทีต่ ้องมีสมาชิกวฒุ สิ ภาเหน็ ชอบหนึ่งในสามออกเหลือเพียงเสยี งข้าง มากของสมาชกิ รฐั สภา ตามหลักการที่ปรากฏในรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2540 และรัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2550 (2) ยกเงอ่ื นไขทตี่ อ้ งมสี มาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจากพรรคการเมอื งทสี่ มาชกิ มิได้ ดำรงตำแหนง่ รัฐมนตรี ประธานสภาผ้แู ทนราษฎรหรือรองประธานสภาผ้แู ทนราษฎร เหน็ ชอบด้วยไม่ นอ้ ยกว่าร้อยละยส่ี บิ ของทุกพรรคการเมืองดงั กลา่ วรวมกนั ออก zee rice

49 2.3) มาตรา 256 (8) ข้อสงั เกต ความเหน็ และขอ้ เสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวสิ ามัญมีความเห็นร่วมกนั วา่ สมควรมกี ารแก้ไขมาตรา 256 (8) โดยยกข้อกำหนดท่ตี ้องทำประชามติ หากแกไ้ ขเพิ่มเติมรฐั ธรรมนูญ หมวด 15 การแก้ไขเพิ่มเตมิ รัฐธรรมนญู หรือเร่ืองท่ีเก่ยี วกับคณุ สมบัตหิ รอื ลักษณะต้องหา้ มของผ้ดู ำรงตำแหนง่ ตา่ ง ๆ ตาม รัฐธรรมนญู หรือเรอื่ งท่ีเก่ียวกับหนา้ ที่หรอื อำนาจของศาล หรอื องค์กรอิสระ หรือเรอื่ งทีท่ ำใหศ้ าลหรือ องคก์ รอสิ ระไมอ่ าจปฏบิ ัติตามหนา้ ท่ีหรืออำนาจไดอ้ อก โดยไมต่ ้องทำประชามตใิ นประเดน็ ดังกล่าว 3) ขอ้ เสนอใหม้ ีสภารา่ งรัฐธรรมนญู หลังจากการแก้ไขมาตรา 256 แลว้ ข้อสังเกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ คณะกรรมาธกิ ารวิสามัญสว่ นใหญ่เหน็ ชอบให้มกี ารรา่ งรัฐธรรมนญู ใหม่ ด้วยวิธกี ารดังนี้ (1) จดั ให้มีสภารา่ งรัฐธรรมนูญที่มาจากประชาชน ทำหน้าท่ใี นร่างรัฐธรรมนูญใหม่เกือบ ทง้ั ฉบบั ยกเว้นหมวด 1 บทท่ัวไป และหมวด 2 พระมหากษัตรยิ ์ (2) จัดใหม้ ีการออกเสยี งประชามติ หลังจากรฐั ธรรมนูญร่างเสร็จแล้ว ก่อนนำขึ้น ทูลเกลา้ เพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธย ประกาศใชเ้ ปน็ รฐั ธรรมนูญฉบับใหม่ (3) เงือ่ นไขการดำรงอยู่ขององคก์ รทางการเมืองต่างๆ เป็นไปตามเนือ้ หาของรฐั ธรรมนญู ใหม่ ท่ผี า่ นประชามติ หมวด 16 การปฏริ ูปประเทศ 1) ปญั หาหลักการ ขอ้ สงั เกต ความเห็น และข้อเสนอแนะ (1) กรรมาธกิ ารจำนวนมากเห็นวา่ ควรนำหมวดการปฏิรูปประเทศออกจากรัฐธรรมนญู โดยอาจบัญญัติเปน็ พระราชบัญญตั หิ รอื กฎหมายประเภทอ่ืน หรอื ยกเลิกโดยสมบรู ณ์ คงเหลือเพยี ง แผนการบริหารประเทศทีม่ ีอยูเ่ ดิม เชน่ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ เพือ่ ให้รฐั บาลดำเนิน นโยบายของตวั เองไดอ้ ย่างเต็มท่ี (2) หากมีเน้ือหาการปฏริ ูปใดท่ียังจำเปน็ ตอ้ งบญั ญตั ิในรฐั ธรรมนญู ควรบัญญัตไิ ว้ในหมวด 5 หน้าทขี่ องรัฐ หรอื หมวด 6 แนวนโยบายแหง่ รัฐ (3) กรรมาธิการจำนวนหน่ึงเห็นว่าการปฏิรูปประเทศท่ีแท้จริงไมใ่ ช่การดำเนนิ การตาม กรอบท่ีกำหนดโดยกฎหมาย แต่ควรกำหนดการปฏริ ูปประเทศด้านตา่ ง ๆ ไวใ้ นรัฐธรรมนูญ ซึ่ง รฐั ธรรมนญู ฉบับใหม่ควรมโี ครงสร้างทางการเมืองท่ีเคารพต่อเสียงของประชาชน ยึดโยงต่อประชาชน รฐั บาลมอี ำนาจบรหิ ารจดั การให้เป็นไปตามทไ่ี ด้รับเจตนารมณจ์ ากประชาชน และมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อ ประชาชน เพื่อใหป้ ระชาชนมีอำนาจตัดสนิ ใจวา่ ประเทศจะก้าวไปในทิศทางใด โดยไม่นำวาทกรรมการ ปฏริ ปู ประเทศมาบดิ เบอื นสาระสำคัญของรฐั ธรรมนูญ (4) ควรกำหนดหวั ขอ้ การปฏิรปู ใหต้ รงกบั ปญั หาทแี่ ท้จริง (5) การปฏิรูปประเทศควรมีกลไกหรือตัวเร่งท่จี ะทำใหเ้ กิดการเปลยี่ นแปลงจรงิ ๆ ให้เกิด การมีผนู้ ำซึ่งอาจเป็นรัฐบาลหรอื รัฐสภาที่จะทำให้กระบวนการปฏิรูปเปน็ ไปอย่างจรงิ จงั zee rice


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook