Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ไฟล์ ขลุ่ยเพียงออ

ไฟล์ ขลุ่ยเพียงออ

Published by Twisted by mood BANKZA, 2019-09-01 01:12:46

Description: ไฟล์ ขลุ่ยเพียงออ

Search

Read the Text Version

ขลุย่ เพียงออ ขลยุ่ เพยี งออ เป็นเครื่องดนตรีไทย ประเภทเคร่ืองเปา่ ชนดิ ไม่มลี นิ้ ทา จากไม้รวกปล้องยาวๆ ด้านหน้าเจาะรเู รยี งกนั สาหรบั ปิดเปิดเพื่อเปลย่ี นเสยี ง ตรงทเ่ี ป่าไมม่ ลี ้ินแต่มีดาก ซงึ่ ทาด้วยไม้อดุ เหลาเป็นทอ่ นกลมๆยาวประมาณ ๒ น้ิว สอดลงไปอดุ ที่ปากของขลยุ่ แลว้ บากด้านหน่ึงของดากเป็นช่องสเ่ี หล่ยี มเลก็ ๆ เราเรียกว่า ปากนกแก้ว เพื่อให้ลมส่วนหนงึ่ ผา่ นเข้าออกทาให้เกดิ เสียงขลยุ่ ลมอกี สว่ นจะวง่ิ เขา้ ไปปลายขลุย่ ประกอบกับน้ิวท่ปี ิดเปดิ บังคับเสียงเกิดเป็นเสียงสูงตา่ ตามต้องการได้ปากนกแก้วลงมาเจาะ ๑ รู เรยี กวา่ รนู ้ิวคา้ เวลาเปา่ ตอ้ งใช้หัวแม่ มอื คา้ ปดิ เปดิ ท่ีรูนี้ บางเลาด้านขวาเจาะเป็นรูเยอื่ ปลายเลาขลุ่ยมรี ู ๔ รู เจาะ ตรงกันข้ามแตเ่ หลือ่ มกันเลก็ น้อย ใช้สาหรบั รอ้ ยเชือกแขวนเกบ็ หรือคล้องมอื จึง เรียกวา่ รูรอ้ ยเชอื ก รวมขล่ยุ เลาหนงึ่ มี ๑๔ รูด้วยกนั รูปร่างของขลุ่ยเมือพิจารณาแล้วจะเป็นเครื่องดนตรีท่ีเก่าแก่ที่สุดชนิดหนึ่ง จากหลักฐานที่พบขลุ่ยใน หบี ศพภรรยาเจ้าเมืองไทยทีร่ ิมฝ่ังแมน่ า้ ฮวงเหอ ซึง่ มีหลกั ฐานจารึกศักราชไว้ไม่ต่ากว่า ๒,๐๐๐ ปี ปจั จุบันขลุ่ย มีราคาสูง เนื่องจากไม้รวกชนิดท่ีทาขลุ่ยมีน้อยลงและใช้เวลาทามากจึงใช้วัตถุอ่ืนมาเจาะรูซ่ึงรวดเร็วกว่า เช่น ไม้เนื้อแข็ง ไม้ไผ่ ไม้ชิงชัน ไม้พยุง บางคร้ังอาจทาจากท่อพลาสติกแต่คุณภาพเสียงไม่ดีเท่าขลุ่ยไม้ ขลุ่ยที่มี เสียงไพเราะมากส่วนใหญ่จะเป็นขลุ่ยผิวไม้แห้งสนิทขลุ่ยใช้เป่าในวงเครื่องสายไทย วงมโหรี และในวงปีพ่ าทย์ ไม้นวม วงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์การเทียบเสียงขลุ่ยเพียงออกับระดับเสียงดนตรีสากล เสียงโดของขลุ่ยเพียงออ เทียบได้เท่ากับ เสียง ทีแฟล็ต ในระดับเสียงทางสากล ปัจจุบันได้มีการทาขลุ่ยเพียงออท่ีมีระดับเสียงเท่ากับ ระดับเสียงสากล เรียกวา่ ขลุ่ยเพียงออ ออรแ์ กนบา้ ง หรอื ขล่ยุ กรวดบ้าง แต่ในทางดนตรีสากลจะเรียกเปน็ ขลุ่ย ไทยหมด จะเอาระดับเสียงมาเปน็ ตวั แยกขนาดเชน่ ขล่ยุ คีย์ C, ขลยุ่ คยี ์ D, ขล่ยุ คยี ์Bb, ขลุย่ คีย์ G เป็นต้น

ลกั ษณะขลุ่ยโดยทวั่ ไป - เลาขลุ่ย คือ ตัวขลุ่ย มีขนาดแตกต่างกันไปตามชนิดของขลุ่ย มักนิยมประดิษฐ์ลวดลายต่าง ๆ ลงบนตัวขลุ่ย เช่น ลาย ดอกพิกุล ลายหิน และลายลูกระนาด เป็นต้น ถ้าเป็นขลุ่ยไม้ไผ่ นิยมจะทาลวดลายลงบนเลาขลุ่ย แต่ถ้าเป็นไม้เนื้อแข็ง เช่น ไม้ชิงชัน ไม้พยงุ ไม้ง้วิ ดา ฯลฯ จะไมน่ ิยมทาลายลงบนเลาขล่ยุ แต่อาจจะมกี ารลงรกั ประกอบมกุ ประกอบงา แทน - ดาก คือ ไม้อุดปากขลุ่ย นิยมใช้ในไม้สักทอง เหลากลมให้คับแน่นกับร่องภายในของปากขลุ่ย ฝานให้เปน็ ช่องว่าง ลาด เอียงตลอดชน้ิ ดาก ให้เป่าลมผา่ นไปได้ - รูเป่า เป็นรูสาหรับเป่าลมเขา้ ไป - รูปากนกแก้ว เป็นรูท่ีเจาะร่องรับลม จากปลายดากภายในขลุ่ย อยู่ด้านเดียวกับรูเป่า อยู่สุดปลายดากพอดี เป็นรูป ส่เี หลย่ี มผืนผ้า รูปากนกแก้วนที้ าใหเ้ กิดเสียง เทียบไดก้ ับล้นิ ของขลยุ่ - รเู ย่ือ เป็นรสู าหรับปดิ วัสดุท่ีทาใหเ้ สียงส่นั พริว้ มกั ใช้เยื่อไม้ไผ่ หรือเยอื่ หัวหอมปดิ อย่ดู า้ นขวามือ *ในปัจจุบัน หาขลุ่ยที่ มีรเู ยอ่ื ไม่ค่อยได้แล้ - รูค้า หรือรนู วิ้ คา้ เป็นรูสาหรบั ให้นิ้วหวั แม่มือปิด เพอ่ื บงั คับเสยี ง และประคองเลาขลุ่ยขณะเปา่ อยดู่ ้านล่างเลาขลุ่ย ต่อ จากรูปากนกแก้วไปทางปลายเลาขลยุ่ - รูบังคับเสยี ง เปน็ รทู ่เี จาะเรยี งอยู่ด้านบนของเลาขลยุ่ มีอยู่ ๗ รู ด้วยกนั - รูร้อยเชือก มี ๔ รู หรอื ๒ รูกไ็ ด้ อยทู่ างส่วนปลายของเลาขลยุ่ โดยการเจาะทะลบุ น-ล่าง และ ซ้าย-ขวา ให้เย้ืองกันใน แตล่ ะคู่ ชา่ งบางคนไดก้ ล่าวไวว้ ่า ความจริงจดุ ประสงค์หลกั ไม่ไดไ้ ว้รอ้ ยเชอื ก ทจ่ี รงิ ทาเพื่อให้เสยี งของขลุย่ ได้ทน่ี น่ั เอง

ลกั ษณะของขลยุ่ ทดี่ ี ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่าขลุ่ยท่ีดี ควรทามาจากไม้ไผ่ นอกจากนี้ควรพิจารณาส่ิงอ่ืน ๆ ประกอบกัน ด้วย เสียงขลุ่ยท่ีจะใช้ ได้ต้องเสียงไม่เพี้ยนต้ังแต่เสียงต่าสุด ไปจนถึงสูงสุด คือทุกเสียงจะต้องห่างกัน 1เสียง ตามระบบเสียงของไทยเสียงคู่แปดจะต้องเท่ากัน เสียงเลียนหรือน้ิวควงจะต้องตรงกัน เสียงแท้ เสียงต้อง โปร่งใส มีแก้วเสยี ง ไม่แหบพร่าหรอื แตก ถ้าเล่นในวงดนตรที ี่มีเครื่องดนตรีท่ีเสียงตายตัว เช่น ระนาดหรือฆ้อง จะตอ้ งเลือกขลุ่ยท่ีมีระดบั เสยี งเขา้ กับ เคร่ืองดนตรีเหล่าน้นั ลม ขลุ่ยที่ดจี ะตอ้ งกินลมน้อย ไม่หนักแรงเวลาเป่า ซึง่ จะทาให้สามารถระบายลมได้ง่าย ลักษณะของไม้ที่นามาทา จะต้องเป็นไม้ท่ีแก่จัดหรือแห้งสนิท โดยสังเกตจากเส้ียนของไม้ ควร เป็นเส้ียนละเอียดที่มีสีน้าตาล แก่ค่อนข้างดาตาไม้เล็กๆ เน้ือไม่หนาหรือบางเกินไปคือต้องเหมาะสมกับ ประเภทของขลุ่ยว่าขลุ่ยอะไรในกรณีท่ีไม้ไผ่แก่จัดหรือไม่แห้งสนิทเม่ือทาแล้วในระยะหลังจะแตกร้าวได้ง่าย เสียงจะเปลี่ยนไป และมอดจะกัดกินเสียหาย ดาก ควรทาจากไม้สักทอง ไม่มีขุยหรือขนแมวขวางทางลม การ ใส่ดากจะต้องไม่ชิดหรือห่างไม้ไผ่ ซึ่งเป็น ตัวเลาขลุ่ยจนเกินไป เพราะถ้าใส่ชิดจะทาให้เสียงทึบ ตี้อ ถ้าใส่ห่าง จะทาให้เสียง โวง่ กินลมมาก นอกจากนก้ี ารหยอดข้ีผึ้งที่ดากตอ้ งทาอย่างประณตี ละลายขีผ้ ้ึงให้ไหลเข้าไป อุด ช่องว่างท่ีไม่ต้องการรอบ ๆ ดาก ให้เต็มเพ่ือไม่ให้ลมรั่วออกรูต่าง ๆ บนเลาขลุ่ย จะต้องเจาะอย่างประณีต ขนาดความกว้าง ของรูต้องเหมาะกับขนาดของไม้ไม่กว้างเกินไป ขลุ่ยในสมัยโบราณ รูต่าง ๆ ที่น้ิวปิดจะต้อง คว้านด้านในให้เว้า คือ ผิวด้านในรูจะกว้างกว่าผิวด้านนอก ซึ่งจะทาให้เสียงของขลุ่ย กังวานดียิ่งข้ัน แต่ใน ปจั จบุ ันไมไ่ ด้ควา้ นภายในรเู หมอื นแต่ก่อนแล้วซ่ึงอาจจะเนอื่ ง มาจากความเอาใจใส่ของคนท่ีทาขลุ่ยน้อยลง ทา ให้เห็นแต่เพียงว่าภายนอกเหมือนขลุ่ยเท่าน้ันลักษณะประกอบอื่น ๆ เช่นสีของไม้สวย ไม่มีตาหนิ ขีดข่วน ไม่ คดงอ เทลายได้สวยละเอียด แต่ส่ิงเหล่าน้ีไม่มีผล กระทบต่อเสียงของขลุ่ยแต่อย่างใด เพียงพิจารณาเป็น สว่ นประกอบเพอื่ เลอื กใหไ้ ดข้ ลยุ่ ที่ถูกใจเทา่ นั้น

ดงั ที่กลา่ วมาแล้ววา่ ขลุ่ยทดี่ คี วรทามาจากไมไ้ ผ่ นอกจากน้กี ็ควรพิจารณาสิง่ อนื่ ๆประกอบไปด้วย 1.เสยี ง ขลยุ่ ทใี่ ช้ได้ดเี สียงตอ้ งไม่เพยี้ นตง้ั แตเ่ สียงตา่ สดุ ไปจนถึงเสียงสูงสดุ คอื ทกุ เสยี งต้องห่างกันหน่ึง เสียงตามระบบของเสียงไทย เสียงคู่แปดจะตอ้ งเท่ากันหรือเสียงเลียนเสียงจะต้องเท่ากัน หรือนิ้วควง จะตอ้ งตรงกัน เสียงแท้เสยี งต้องโปร่งใสมีแก้วเสียงไม่แหนพร่าหรือแตก ถ้านาไปเล่นกบั เครอ่ื งดนตรีท่ี มเี สียงตายตวั เชน่ ระนาดหรอื ฆ้องวงจะต้องเลอื กขลุย่ ทม่ี รี ะดบั เสยี งเขา้ กับเครอ่ื งดนตรเี หล่านนั้ 2.ล ม ข ลุ่ ย ที่ ดี ต้ อ ง กิ น ล ม น้ อ ย ไ ม่ ห นั ก แ ร ง เ ว ล า เ ป่ า ซ่ึ ง ส า ม า ร ถ ร ะ บ า ย ล ม ไ ด้ ง่ า ย 3.ลักษณะของไม้ที่นามาทา จะต้องเป็นไม้ท่ีแก่จัดหรือแห้งสนิท โดยสังเกตจากเส้ียนของไม้ควรเป็น เสี้ยนละเอยี ดท่มี ีสีน้าตาลแก่คอ่ นข้างดา ตาไม้เลก็ ๆเนื้อไม่หนาหรอื บางจนเกนิ ไป คือต้องเหมาะสมกับ ประเภทของขลุ่ยว่าเป็นขลุ่ยอะไร ในกรณีที่เป็นไม้ไผ่ถ้าไม้ไม่แก่จัดหรือไม่แห้งสนิท เมื่อนามาทาเป็น ขลยุ่ แลว้ ตอ่ ไปอาจแตกรา้ วได้งา่ ย เสียงจะเปล่ยี นไป และมอดจะกนิ ไดง้ ่าย 4.ดาก ควรทาจากไม้สักทอง เพราะไม่มีขุยหรือขนแมวขวางทางลม การใส่ดากต้องไม่ชิดหรือห่าง ขอบไม้ไผ่จนเกนิ ไปเพราะถา้ ชิดจะทาให้เสียงทึบ ตื้อ ถ้าใสห่ ่างจะทาใหเ้ สยี งโวง่ กินลมมาก 5.รูต่างๆบนเลาขลุ่ย จะต้องเจาะอย่างประณีตขนาดความกวา้ งของรตู อ้ งเหมาะกบั ขนาดของไม้ไผ่ไม่ กว้างเกินไปขลุ่ยในสมัยก่อนรูต่างๆ ที่น้ิวปิดจะต้องกว้านด้านในให้เว้า คือผิวด้านในรูจะกว้างกว่าผิว ดา้ นนอก แตป่ จั จบุ นั ไม่ได้กวา้ นภายในรูเหมือนแตก่ ่อนแลว้ ซึ่งอาจจะเนื่องมาจากคนทาขลุย่ ต้องผลติ ขล่ยุ คราวละมากๆ ทาใหล้ ะเลยในส่วนน้ีไป 6.ควรเลือกขลุ่ยท่ีมีขนาดพอเหมาะกับน้ิวของผู้เป่า กล่าวคือ ถ้าผู้เป่ามีน้ิวมือเล็กหรือบอบบางก็ ควรเลือกใช้ขลุ่ยเลาเลก็ ถ้าผูเ้ ปา่ มีมอื อวบอว้ น ก็ควรเลอื กใช้ขลุ่ยขนาดใหญ่พอเหมาะ 7.ลักษณะประกอบอื่นๆ เช่น สีผิวของไม้สวยงาม ไม่มีตาหนิ ขีดข่วน เทลายได้สวยละเอียด แต่ส่ิง เหล่านกี้ ไ็ มไ่ ดม้ ีผลกระทบกบั เสียงขลยุ่ แต่อย่างใด เพียงพิจารณาเพอ่ื เลือกใหไ้ ด้ขล่ยุ ท่ีถกู ใจเทา่ น้ัน

การรกั ษาขลุ่ย ขลุ่ยถ้าทิ้งไว้นาน ๆ จะแห้ง ดากจะหดตวั ลง ทาใหเ้ ปา่ เสยี งไมใ่ ส การที่จะใหข้ ลยุ่ เสียงดพี ระยาภูมเี สวิน ไดใ้ ห้คาแนะนาวา่ ให้นาขลุ่ยแชน่ า้ ผงึ้ ให้ ทว่ มปากนกแก้ว น้าผ้งึ จะช่วยใหข้ ลยุ่ ชมุ่ อยเู่ สมอและขยายตวั ไมม่ ีช่องทีล่ มจะรว่ั ได้ หรืออกี วธิ หี นง่ึ ทาโดย นา ขลยุ่ ไปแช่ในนา้ ตาลสดหรือน้าตาลเมาหลาย ๆ วัน จะทาให้เนอื้ ได้อยตู่ ัว มอดไม่รบกวน นอกจากนค้ี วรระวัง ดา้ นอ่ืน ๆ คอื อยา่ ใหถ้ ูกความร้อนนาน ๆ ไม่ควรเอาไมห้ รือวสั ดอุ ่ืนแหย่เขา้ ไปใน ปากนกแกว้ เพราะอาจทาให้ แงข่ องดากภายในบนิ่ เสียงจะเสียไปได้ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรที ตี่ ้องใช้ปากเปา่ โดยตรง ฉะนน้ั การรกั ษาความ สะอาดจงึ เป็นเรอ่ื งทีส่ าคัญ โดยมวี ธิ กี ารบารงุ รักษาดังนี้ 1.ก่อนหรือหลงั เปา่ ขลุ่ยควรทาความสะอาดโดยการขัดเชด็ ทุกคร้งั แตห่ ้ามนาไปล้างในอา่ งนา้ หรือ ตากแสงแดดโดยตรง เพราะจะทาใหเ้ กิดการยดื หรดื หดตวั ได้ อนั เปน็ สาเหตุทาให้เสียงขลยุ่ เปลย่ี นไป ควรใช้ แอลกอฮอล์เชด็ เพือ่ ฆ่าเชอื้ บริเวณท่เี ปา่ ด้วย 2.อย่าใชข้ ล่ยุ รว่ มกบั ผอู้ ื่น เพราะอาจเปน็ แหล่งแพร่เชอื้ ได้ 3.อยา่ ใหต้ กหลน่ เพราะขล่ยุ นที้ าด้วยไม้หรือพลาสตกิ อาจแตกหกั ได้ 4.ถ้าไม่มีความรจู้ รงิ ๆ อย่าไปตกแตง่ รขู ลุ่ยเพราะจะทาใหเ้ สียงเพย้ี นได้ 5.หลังการใชค้ วรเกบ็ ใส่ถงุ ให้เรยี บรอ้ ยเพื่อปอ้ งกนั แมลงหรือสัตว์เล็กๆเขา้ ไปอาศัย

วิธเี ปุาขลยุ่ เพยี งออ ให้เผยอริมฝีปากด้านบนและล่างจรดลงบนรูปากเป่า จัดเลาขลุ่ยให้ต้ังได้มุม ป ร ะ ม า ณ ๔ ๕ อ ง ศ า กั บ ล า ตั ว โ ด ย ท อ ด แ ข น ไ ว้ ข้ า ง ล า ตั ว พ อ ง า ม (ไม่กางศอกมากจนเกินไป)เปา่ ลมใหเ้ หมาะสมไม่เบาและแรงจนเกินไป

ทาุ นงั่ เปุาขลยุ่ เพียงออ การเล่นเคร่ืองดนตรีไทยทกุ ชนดิ นกั ดนตรีต้องสารวมกิรยิ ามารยาทปฏบิ ัติให้เรยี บร้อย ให้ความเคารพต่อครูบาอาจารย์ เครื่องดนตรี ผู้ฟัง ตลอดจนนักดนตรีด้วยกันเอง การนั่งเป่า ขลยุ่ ตอ้ งน่งั ตัวตรงเพือ่ ให้ลมเดินสะดวก ไม่นัง่ กม้ หนา้ ถา้ น่งั กับพน้ื ควรนง่ั พับเพียบ

ทาุ จับเขลุ่ยเพยี งออ การจับขลุ่ยแบบไทยโดยประเพณีนิยมมาแต่โบราณจะจับเอามือขวาอยู่ข้างบนมือ ซ้าย(แต่ถ้าจับแบบสากลนิยมจับเอามือซ้ายไว้ด้านบนมือขวาไว้ด้านล่าง) ซึ่งสันนิษฐานว่า คนสว่ นใหญถ่ นดั มือขวามากกว่ามือซ้าย วธิ เี ปุาเขล่ยุ เพยี งออ มือบนจับเลาขลุ่ย ๓ รูด้วยนิ้วช้ี นิ้วกลางและน้ิวนาง อยู่ในลักษณะที่พร้อมจะปิด-เปิดรูบังคับเสียง (ซ่ึงอยู่ ด้านบนของเลาขลุ่ย) เรียงลงมาตามลาดับตั้งแต่รูที่อยู่บนสุดถึงรูท่ีสาม น้ิวหัวแม่มือปิดรูค้าด้านหลังไว้ พร้อมท้ังใช้ นิ้วกอ้ ยประคองด้านล่างของเลาขลยุ่ ไว้มือลา่ งจับเลาขล่ยุ ส่วนล่าง ๔ รู ดว้ ยนว้ิ ช้ี น้ิวนาง นิ้วกลางและนิ้วก้อย เรียงลง มาตามลาดับนิ้วหัวแม่มือยันขลุ่ยด้านหลัง จับเลาขลุ่ยให้แขนส่วนปลายท้ังขวาและซ้ายได้ฉากกับเลาขลุ่ย พอประมาณโดยกางขอ้ ศอกพองาม

ลักษณะการวางนวิ้ ลักษณะการวางนว้ิ ของมอื ซา้ ยและมอื ขวา ให้วางลักษณะขวางกับเลาขลุ่ยโดยน้ิวอยู่เหนือ รูบงั คบั เสยี งประมาณ ๑ เซนตเิ มตรและใชน้ ้วิ บริเวณผิวหนังสว่ นท่ีนูนใต้ปลายนิ้ว เป็นส่วนท่ีใชป้ ดิ - เปิดรูบังคับเสียง การวางนิ้วเพ่ือปิดรูบังคับเสยี ง ตอ้ งพยายามปิดรใู หส้ นิท มิฉะนน้ั จะทาใหส้ ยี งขลุ่ย ที่เปา่ ออกมา ดังผดิ เพ้ยี นโดยเฉพาะเสียงโด (ด)เปน็ เสียงทเี่ ป่ายากทีส่ ุด



เทคนิคของขลยุ่ เพยี งออ การท่ีเราจะเป่าขลุ่ยให้ไพเราะน้ัน ย่อมมีเทคนิคต่างๆกันเช่น การเปาให้มีเสียงสั่น เสียงเอ้ือน เสียงรัว หรือมีเสยี งควง ประกอบด้วยเป็นตน้ การเป่าใหไ้ ด้เสยี งท่ีกลา่ วไว้นนั้ ต้องอาศัยการหมัน่ ฝึกฝน โดยมีวธิ กี ารหลายอย่างดังนี้ 1.การเป่าเสียงส่ัน ต้องบังคับลมให้ออกมาเป็นช่วงๆ ให้ลมทยอยออกมาถ่ีๆ หรือห่างๆตามตอ้ งการที่จะทา ให้เกิด เสยี งคล้ายคลืน่ ตามอารมณ์ของเพลง 2.การเป่าเสียงรัว หรือการพรมนิ้วทาได้โดยใช้น้ิวเปิดปิดสลับกันถ่ีๆ ใช้สอดแทรกเพื่อให้เพลงเกิดความ ไพเราะมาก ย่งิ ข้ึน 3.การเปา่ เสียงเออ้ื น คือการใช้น้ิวค่อยๆเปิดบังคับลมให้เสียงขลุ่ยโรยจากหนักไปเบาหรือจากเบาไปหนักท่ี เสยี งใดเสยี งหน่ึง 4.เสียงโหยหวน หวน ใช้ลมและน้ิวบงั คับเพ่ือให้เสียงต่อเนื่องระหวา่ งสองเสยี ง เช่นเสียงคสู่ าม คู่ห้า ซ่ึงเป็น เสียงท่ีมคี วาม กลมกลืนกันมากเทา่ กับเสยี งโดกบั เสยี งซอล เป็นต้น 5.การหยุด หรือ การชะงักลม การเป่าขลุ่ยบางจังหวะควรมีการหยุด การเบา การเน้นเสียงบ้าง เพ่ือให้ เพลงเกดิ ความไพเราะมากข้นึ 6.เสียงเลียน หรือ เสียงควง คือการทาเสียงโดยใช้น้ิวตา่ งกันแต่ได้เสียงเดียวกัน ใช้เม่ือทานองเพลงช่วงนั้น ยาว ทาได้โดยการเป่าเสียงตรงก่อน แล้วจึงเป่าเสียงเลียนและกลับมาเป่าเสียงตรงเมื่อหมดจังหวะการเป่า โดยใช้เสียงตรงและเสียงเลียนน้ีจะทาให้เพลงเกิดความไพเราะได้อีกแบบหน่ึง นอกจาก น้ียังมีประโยชน์ อย่างมากในการเลือกขลุ่ย เพราะขลุ่ยท่ีดีเสียงตรงกับเสียงเลียนต้องเท่ากันประการสุดท้ายผู้ฝึกหัดควรหา โอกาสฟังการเด่ียวขลุ่ย หรือเสียงขลุ่ยที่บรรเลงในวงดนตรีไทย จากวิทยุ เทป หรืด ซีดี ให้มากๆ แล้วใช้ ความสงั เกต จากการฟังจดจาเอาแบบอยา่ งมาฝกึ ฝนใหเ้ ชยี่ วชาญต่อไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook