Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บาสเกตบอล

บาสเกตบอล

Published by badeesorn sitthikong, 2019-06-03 05:30:20

Description: บาสเกตบอล

Search

Read the Text Version

E-book ประกอบชน้ิ งาน เร่อื ง สงวนลขิ สทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดีศร สทิ ธคิ ง โรงเรยี นบางสะพานวทิ ยา เพอ่ื ใช้ในการทาชิน้ งานวชิ าพละศกึ ษา

ประวตั ิกฬี าบาสเกตบอล ความเป็นมา Basketball  ประวตั กิ ฬี าบาสเกตบอล ของโลก (History of Basketball in The World)  ประวตั ิบาสเกตบอล มีความเป็นมายาวนานกวา่ 100 ปี นบั ต้งั แตป่ ี พ.ศ.2434 โดย Dr.James Naismith อาจารย์พลศึกษาของโรงเรยี นคนงานคริสเตียน ปจั จุบัน เป็นวิทยาลัยสปรงิ ฟลิ ( Springfield College )เมอื งสปริงฟิล รัฐแมสซาชูเซส สหรัฐอเมรกิ า ( Massachusetts, USA. ) ขณะน้นั ผู้ฝึกสอนฟุตบอลของโรงเรียน ตอ้ งการใหม้ ีการแขง่ ขันกฬี าในร่มสาหรับนกั เรยี นระหว่งฤดูหนาว  และไดก้ าหนดกติกาพนื้ ฐาน 5 ขอ้ ดังน้ี  ผูเ้ ลน่ ใช้มือเล่นลกู บอล  ผ้เู ล่นหา้ มถอื ลกู บอลว่ิง  ผเู้ ลน่ สามารถยืนตาแหนง่ ใดกไ็ ด้ในสนาม  ผู้เลน่ หา้ มปะทะหรือถูกต้องตัวกนั  ห่วงประตตู ดิ ตงั้ ไวเ้ หนอื พ้นื สนามขนานกบั เสน้ เขตสนาม  Dr.James Naismith ไดใ้ ช้ไมร้ ปู รา่ งคล้ายผลทอ้ จัดทาเปน็ ห่วงประตู ตดิ ต้ังไว้ท่ี ระเบยี งหอ้ งโถงตามความสงู ของระเบียง ประมาณ 10 ฟุต คร้ังแรกใช้ลกู ฟุตบอลโดย มีคนนั่งบนราวบันไดเพือ่ หยิบลกู บอลออกจากประตูเม่อื เกดิ การยิงประตูเปน็ ผล ต่อมา Dr.James Naismith ได้กาหนดหลกั การเล่นขนึ้ 13 ขอ้ เป็นพื้นฐานของกตกิ าโดย ใช้ทกั ษะมากกวา่ การใชแ้ รง  พ.ศ.2435 ไดพ้ มิ พล์ งในนติ ยสาร ‘Triangle magazine’ ใชห้ ัวข้อวา่ ‘A New Game’ สงวนลขิ สิทธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดีศร สิทธิคง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพ่ือใช้ในการทาชิน้ งานวชิ าพละศกึ ษา

ประวัตกิ ฬี าบาสเกตบอล ความเปน็ มา Basketball  พ.ศ. 2435 เรม่ิ มีการแขง่ ขนั บาสเกตบอลคร้งั แรก ระหวา่ งนกั ศกึ ษากับคณะ ครู ของวิทยาลัย สปริงฟิล (Springfield College) ผลการแข่งขนั นกั ศึกษาชนะ 5:1  พ.ศ. 2435 เริ่มมีการเผยแพร่เขา้ ไปเลน่ ในประเทศเม็กซโิ ก (Mexico) ในปี เดยี วกัน Lew Allen of Hartford ไดป้ ระดษิ ฐป์ ระตูทรงกระบอกทท่ี า จากเสน้ ลวดลกั ษณะคล้ายกบั ของ Dr.James Naismith ห่วงประตยู งั ตงตดิ ต้ังไวต้ าแหน่งเดมิ มีตะแกรงปอ้ งกันลกู บอลสาหรับผู้ชมทาใหม้ ีความ สนกุ สนานเพลิดเพลนิ มีการจดั ทากระดานหลังแผ่นแรกขึ้น มีขนาด 3.6 เมตร * 1.8 เมตร  พ.ศ. 2437 บาสเกตบอลแยกออกมาจากฟุตบอล โดยมคี ณะกรรมการ บาสเกตบอล – ในปีเดยี วกนั น้ีมกี ารรับรองกระดานหลงั ซง่ึ มีขนาด 1.8 เมตร * 1.2 เมตร – กาหนดใหม้ กี ารโยนโทษ – เกิดการคิดค้นหว่ งประตู มตี าข่ายตดิ กบั ห่วงประตูด้วยเสน้ เชือก เมอื่ เชือก นั้นถูกดงึ จะทาใหล้ กู บอลผา่ นไปได้ และยกเลิกการใชบ้ ันไดต้งั แต่บัดนั้น – เรมิ่ การแข่งขนั บาสเกตบอลหญิงเปน็ ครั้งแรกที่ นอร์ตแฮมตัน (Northamton)  พ.ศ. 2439 เปลย่ี นแปลงกตกิ าเร่ืองการนบั คะแนนจากการยิงประตูธรรมดา เป็น 2 คะแนน และนบั คะแนนจากการโยนลกู โทษ 1 คะแนน – เกดิ การแขง่ ขนั ระดับวทิ ยาลยั เปน็ ครั้งแรกระหว่าง ชิคาโก (Chicago) กับโลวา (Lowa) โดยให้มผี เู้ ลน่ ฝ่ายละ 5 คน ผลการแขง่ ขนั ชิคาโก ชนะ 15:12 ไมม่ กี ารเปลี่ยนตวั ผู้เลน่ – Dr.James Naismith ควบคมุ กตกิ า จนกระทง่ั มกี ารจัดตง้ั สหพันธ์ กฬี าสมัครเล่นและไดบ้ รรจกุ ติกาและการเปลย่ี นแปลง สงวนลขิ สทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดศี ร สิทธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวิทยา เพื่อใช้ในการทาชิน้ งานวิชาพละศึกษา

ประวัตกิ ีฬาบาสเกตบอล ความเป็นมา Basketball  พ.ศ. 2440 สหพนั ธ์ไดก้ าหนดกติกาโดยให้ทมี มผี ู้เล่นฝา่ ยละ 5 คน และเปน็ ทย่ี อมรบั กัน ท่ัวโลก ซ่ึงก่อนหนา้ น้ีการเลน่ บางคร้งั มผี เู้ ลน่ มากกวา่ 50 คน ของแตล่ ะฝ่ายในสนาม  พ.ศ. 2448 ไดข้ ยายเขา้ ไปในโรงเรยี นมัธยม,มหาวิทยาลัย,สมาคม โบสถ์ และ ทหาร – นกั ศกึ ษาโรงเรยี นกฬี าสปริงฟลิ ไดน้ าเผยแพร่ ณ ประเทศฝร่งั เศส  พ.ศ. 2452 มีการนากระดานหลังชนดิ กระจกใสเปน็ คร้ังแรก และไดร้ ับการ รับรองในกตกิ า และผู้เล่นท่ีฟาลว์ ครบ 4 ครงั้ ใหเ้ ป็นฟาลว์ เสียสทิ ธ์ – ระหว่างสงครามโลกครงั้ ที่ 1 การแขง่ ขันบาสเกตบอลไดห้ ยุดชะงกั ลง ระหว่างนนั้ ทหารอเมริกัน,ผ้ฝู กึ สอน และ Dr.James Naismith นา บาสเกตบอลเข้าไปยุโรปเปน็ นวัตกรรมการแข่งขนั  พ.ศ. 2463 มกี ารแข่งขัน Inter-Allied Game เปน็ คร้งั แรก ณ กรงุ ปารีส (Paris) ผลการแข่ง ขนั สหรฐั อเมรกิ า (USA.) ชนะฝรั่งเศส (France)และอิตาลี (Italy) โดยถอื เปน็ การแขง่ ขันระหว่างชาตเิ ป็นครั้งแรก และเปน็ การเริ่มต้นไปสกู่ ารแขง่ ขันชิงชนะเลิศระดบั โลก  พ.ศ. 2466 กาหนดการฟาล์วผู้เล่นยงิ ประตูโทษโดยแยกจากการฟาล์วอ่นื ๆ กลา่ วคือ การ ฟาลว์ บุคคลตอ่ ผ้เู ลน่ กาลงั ยงิ ประตจู ะต้องมีการโยนโทษ  พ.ศ. 2467 เป็นกฬี าสาธิตในการแขง่ ขนั กฬี าโอลมิ ปิค ณ กรุงปารีส (Paris)  พ.ศ. 2470 Abe Saperstein ติดต่อกับ Harlem Gloketrotters. ซ่ึงเป็นผูเ้ ลน่ จากชคิ าโก และ แขง่ ขนั กนั คร้งั แรกที่ Hinebluy มลรฐั Illinois ต้งั แต่นนั้ มสี ่วนทาให้ประชาชนทวั่ ไปหนั มาสนใจกีฬาบาสเกตบอล เพม่ิ ขึน้ กวา่ 100 ประเทศ สงวนลขิ สทิ ธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดศี ร สทิ ธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวิทยา เพอ่ื ใช้ในการทาชิ้นงานวชิ าพละศกึ ษา

ประวัติกฬี าบาสเกตบอล ความเปน็ มา Basketball  พ.ศ. 2472 จัดตง้ั โรงเรยี นพลศึกษา ขึ้นที่ กรุงเจนีวา (Geneva) โดยได้รบั ความ ร่วมมอื จาก วทิ ยาลัยสปรงิ ฟิล (Springfield College)  พ.ศ. 2475 บาสเกตบอลเปน็ ท่ีสนใจและเปน็ ทนี่ ิยมของคนท่ัวโลก และสามารถ กลา่ วได้วา่ บาสเกตบอลเป็นกฬี ามาจาก สหรัฐอเมริกา (USA.) – สมาคมบาสเกตบอล ไดจ้ ดั การประชมุ สมั มนา ณ กรุงเจนีวา (Genrva) และไดม้ ี ประเทศกอ่ ตง้ั สหพันธ์บาสเกตบอลสมคั รเลน่ นานาชาติ (FIBA) รวม 8 ประเทศ – FIBA ไดก้ าหนดและจัดทากติกาบาสเกตบอลอย่างละเอยี ด ดังน้ี 1. แตล่ ะทมี มผี ้เู ลน่ ได้ 5 คน เปลยี่ นผู้เลน่ สารองได้ 2 คน 2 ครั้ง 2. ภายหลงั จากการทาคะแนนปกตหิ รอื จากการโยนโทษ ให้เร่มิ การแข่งขนั ดว้ ยลูก กระโดด ณ วงกลมกลาง 3. มอบหมายให้ Technical Commission ประชุมตกลงเปล่ียนแปลงกตกิ าทุก ๆ 4 ปี ภายในปที ีม่ ีการแขง่ ขนั กีฬาโอลิมปิก  พ.ศ. 2478 จัดการแข่งขันกีฬาบาสเกตบอลชายชงิ ชนะเลศิ แห่งทวปี ยุโรปเป็นครงั้ แรก ณ กรุงเจนีวา (Geneva) โดยมีทมี เขา้ ร่วมการแขง่ ขนั 10 ประเทศ ในครง้ั น้ัน ทีมชนะเลิศ คอื ประเทศแลตเวีย (Latvia) ซึง่ ชนะ ประเทศสเปน (Spain) ด้วย คะแนน 24 :18 – การประชุมคณะกรรมการโอลิมปิกสากล ณ กรงุ ออสโล (Oslo) และไดร้ บั การ บรรจุในการแข่งขนั กฬี าโอลมิ ปิกครัง้ ตอ่ ไป ณ กรงุ เบอร์ลนิ (Berlin) นับเป็น รายการแขง่ ขนั ทใ่ี หญท่ ่ีสุดคร้ังแรงของบาสเกตบอล และในการแข่งขนั ครง้ั นนั้ ประเทศสหรฐั อเมริกา (USA.) ชนะเลิศ โดยชนะค่ชู งิ ประเทศแคนาดา (Canada) ดว้ ยคะแนน 19:8 ผ้ใู หเ้ กยี รตมิ อบเหรยี ญรางวัล คือ Dr.James Naismith – FIBA จัดการประชุม ณ กรงุ เบอร์ลนิ (Berlin)โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 1. ใหเ้ กดิ ความสมดลุ และเสมอภาคระหว่างผ้เู ล่นฝา่ ยป้องกันและฝ่ายรกุ 2. จากดั ความสงู ของผู้เล่น 3. ขอเวลานอกได้ 3 ครัง้ 4. ยกเลกิ การเลน่ ลกู กระโดดหลงั จากเกดิ ทาคะแนนได้ ให้ส่งบอลเขา้ เลน่ จากเสน้ หลังแทน 5. แบง่ สนามเป็นสองสว่ น 6. เร่มิ ใชก้ ตกิ าว่าด้วย 10 วนิ าทีในแดนหลัง 7. ฟาลว์ บคุ คลของผู้เลน่ เพม่ิ เปน็ 4 คร้ัง สงวนลิขสทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดีศร สิทธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวิทยา เพ่ือใชใ้ นการทาชิ้นงานวชิ าพละศึกษา

ประวตั กิ ฬี าบาสเกตบอล ความเป็นมา Basketball  พ.ศ. 2483 Dr.James Naismith ผู้คดิ คน้ กฬี าบาสเกตบอล ได้เสียชีวิต  พ.ศ. 2491 หลงั สงครามโลกครั้งที่ 2 , FIBA ไดป้ ระชุม ณ กรงุ ลอนดอน (London) โดยมี รายละเอยี ดทเี่ ปลี่ยนแปลง ดังน้ี – เรมิ่ นากตกิ าวา่ ด้วย 3 วินาที – ห้ามผู้เลน่ ทมี่ ีความสูงยนื ใตห้ ่วงประตู – เพมิ่ ผเู้ ล่นสารองจาก 5 คน เป็น 7 คน – ขอเวลานอกเพ่มิ เปน็ 4 ครง้ั – ให้ส่งบอลแทนการโยนโทษในช่วงเวลา 3 นาทีสุดทา้ ยของการแขง่ ขัน – ใหย้ กเท้าหลักได้กอ่ นการยงิ ประตู ,ส่งบอล หรือเลย้ี งบอล – ผ้เู ลน่ ชาวเอเชียเริม่ ใช้วธิ กี ารกระโดดยิงประตู  พ.ศ. 2492 จัดต้งั สมาคมบาสเกตบอลอาชีพ NBA  พ.ศ. 2493 จัดการแข่งขันชงิ ชนะเลศิ ชายของโลก ณ ประเทศอาเจนตนิ า (Argentina)  พ.ศ. 2494 จดั การแข่งขนั NBA-ALL STAR เปน็ คร้ังแรก ณ กรุงบอสตนั (Boston) ใน ครง้ั นั้นฝงั่ ตะวนั ออก ชนะ ฝัง่ ตะวันตก ด้วยคะแนน 111 : 94  พ.ศ. 2495 หลังจากการแข่งขนั กฬี าโอลมิ ปกิ ณ กรุงเฮลซงิ กิ (Helsinki) มีการ เปล่ียนแปลงดงั นี้ – เพิ่มฟาลว์ บุคคลเป็น 5 ครงั้ (Foul-out) – เกิดการแขง่ ขันท่นี า่ เบอื่ เน่ืองจากทมี เล่นชา้ ลงมากโดยไมม่ เี หตกุ ารณ์ใด ๆ ทาให้ เกิดชอ่ งวา่ ง ของการพฒั นาเกมการแข่งขนั  พ.ศ. 2496 จัดการแข่งขนั ชงิ ชนะเลศิ หญิงของโลก ณ ประเทศชิลี (Chile)  พ.ศ. 2497 Danny Biason เสนอแนะขอ้ สรปุ และใน NBA เริม่ ใชก้ ตกิ าใหม่ เพ่อื ใหเ้ กมการ แข่งขันรวดเรว็ โดยให้ทีมครอบครองบอลตอ้ งยิงประตู ภายใน 24 วนิ าที  พ.ศ. 2499 ในการแขง่ ขัน ณ กรุงเมลเบอร์น (Melbourne) มีการเปล่ียนแปลงดังน้ี – ฝ่ายรุกตอ้ งยิงประตู ภายในเวลา 30 วินาที – กาหนดเขตโยนโทษ เปน็ รูปส่เี หล่ียมคางหมู บริเวณใตห้ ว่ งประตู – FIBA Technical Commission ทบทวนความสมดุลและเสมอภาคของผเู้ ลน่ ฝ่ายรกุ และ ฝา่ ยป้องกัน การยิงประตยู กเทา้ หลักแลว้ ปล่อยบอลหลุดจากมือ และการเล้ยี งบอลต้องปลอ่ ย บอลหลุดจากมือกอ่ นยกเทา้ หลัก สงวนลขิ สทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดีศร สทิ ธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพ่อื ใชใ้ นการทาชิ้นงานวชิ าพละศึกษา

ประวตั กิ ฬี าบาสเกตบอล ความเปน็ มา Basketball  – เกิดการกระโดดยิงประตูได้ใช้กนั อย่างแพรห่ ลาย และเปน็ การเปล่ยี นแปลงคร้งั สาคัญของการยงิ ประตู , การสง่ บอล และการเล้ียงบอล – เกดิ ยทุ ธวธิ ีกาบงั (Screen) การเล่นเตม็ สนามของผเู้ ลน่ ทาใหย้ ากตอ่ การ จัดการ  พ.ศ. 2501 จัดการแขง่ ขันชายชงิ ชนะเลศิ ชายของสโมสรยโุ รป  พ.ศ. 2502 จดั การแข่งขนั ชงิ ชนะเลิศหญงิ ของสโมสรยโุ รป  พ.ศ. 2503 FIBA ประชุม ณ กรุงโรม (Rome) มีการเปลี่ยนแปลง ดัง รายละเอยี ดดังนี้ – 5 นาทีสดุ ท้ายของการแข่งขัน เกิดการฟาล์วบคุ คลจะลงโทษด้วยการโยนโทษ 2 คร้ัง – กระทาฟาลว์ แลว้ ยงิ ประตูเป็นผล ใหย้ กเลกิ คะแนน – ทั้งสองทีมทาฟาลว์ ซงึ่ กันและกนั และบทลงโทษเทา่ กนั ใหย้ กเลกิ บทลงโทษของ การโยนโทษ หากบทลงโทษไม่สามารถยกเลกิ ได้ ใหโ้ ยนโทษได้ไม่เกิน 2 คร้ังและ ครอบครองบอล – การเปลี่ยนแปลงของบทลงโทษทส่ี ลบั ซา้ ซอ้ นทาใหบ้ างครง้ั เป็นสถานการณ์ที่ ยุ่งยากสาหรับกรรมการผูต้ ัดสิน เมอื่ ต้องมกี ารนบั การยกเลกิ บทลงโทษ และ จานวนของการโยนโทษทเ่ี หลือ ทาให้บางครง้ั ผชู้ มหรือผ้เู ล่นไม่เขา้ ใจและเกดิ ความ สบั สน  พ.ศ. 2507 เรมิ่ ใช้ ชว่ งการเล่น (Play Phase) – FIBA ไดป้ ระชุม ณ กรงุ โตเกยี ว (Tokyo) ตกลงให้จดั ทาหนงั สอื กตกิ าที่เข้าใจ ง่าย – เกดิ ระบบของการรกุ และมีการยงิ ประตูทาคะแนนได้เพม่ิ ขน้ึ ความแข็งแกร่งของผู้ เล่นมคี วามสาคัญ เน่ืองจากกีฬาบาสเกตบอลค้องเคลอ่ื นทีต่ ลอดเวลา  พ.ศ. 2515 หลงั จากการแขง่ ขันโอลมิ ปกิ ณ ประเทศเมก็ ซิโก (Mexico), FIBA ได้ กาหนดการเปล่ยี นแปลงรายละเอียดของกตกิ าดงั นี้ – กาหนดหลกั ทรงกระบอกเหนอื ห่วงประตู ยกเลกิ การห้ามผ้เู ลน่ ฝ่ายปอ้ งกัน สมั ผสั ลูกบอลเหนือหว่ งประตู เม่อื ลูกบอลกระทบห่วงประตผู ้เู ลน่ ท้งั สองฝ่าย สามารถเลน่ ได้ – 3 นาทีสุดทา้ ยของการแขง่ ขนั หากเกิดการฟาลว์ จะไดโ้ ยนโทษ 2 คร้ัง – หากเกดิ ฟาลว์ ทีมใหส้ ่งบอลเข้าเลน่ แทนการโยนโทษ สงวนลิขสทิ ธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดศี ร สทิ ธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพื่อใชใ้ นการทาชน้ิ งานวชิ าพละศึกษา

ประวตั กิ ฬี าบาสเกตบอล ความเปน็ มา Basketball  – เกิดการกระโดดยิงประตูได้ใช้กนั อย่างแพรห่ ลาย และเปน็ การเปล่ยี นแปลงคร้งั สาคัญของการยงิ ประตู , การสง่ บอล และการเล้ียงบอล – เกดิ ยทุ ธวธิ ีกาบงั (Screen) การเล่นเตม็ สนามของผเู้ ลน่ ทาใหย้ ากตอ่ การ จัดการ  พ.ศ. 2501 จัดการแขง่ ขันชายชงิ ชนะเลศิ ชายของสโมสรยโุ รป  พ.ศ. 2502 จดั การแข่งขนั ชงิ ชนะเลิศหญงิ ของสโมสรยโุ รป  พ.ศ. 2503 FIBA ประชุม ณ กรุงโรม (Rome) มีการเปลี่ยนแปลง ดัง รายละเอยี ดดังนี้ – 5 นาทีสดุ ท้ายของการแข่งขัน เกิดการฟาล์วบคุ คลจะลงโทษด้วยการโยนโทษ 2 คร้ัง – กระทาฟาลว์ แลว้ ยงิ ประตูเป็นผล ใหย้ กเลกิ คะแนน – ทั้งสองทีมทาฟาลว์ ซงึ่ กันและกนั และบทลงโทษเทา่ กนั ใหย้ กเลกิ บทลงโทษของ การโยนโทษ หากบทลงโทษไม่สามารถยกเลกิ ได้ ใหโ้ ยนโทษได้ไม่เกิน 2 คร้ังและ ครอบครองบอล – การเปลี่ยนแปลงของบทลงโทษทส่ี ลบั ซา้ ซอ้ นทาใหบ้ างครง้ั เป็นสถานการณ์ที่ ยุ่งยากสาหรับกรรมการผูต้ ัดสิน เมอื่ ต้องมกี ารนบั การยกเลกิ บทลงโทษ และ จานวนของการโยนโทษทเ่ี หลือ ทาให้บางครง้ั ผชู้ มหรือผ้เู ล่นไม่เขา้ ใจและเกดิ ความ สบั สน  พ.ศ. 2507 เรมิ่ ใช้ ชว่ งการเล่น (Play Phase) – FIBA ไดป้ ระชุม ณ กรงุ โตเกยี ว (Tokyo) ตกลงให้จดั ทาหนงั สอื กตกิ าที่เข้าใจ ง่าย – เกดิ ระบบของการรกุ และมีการยงิ ประตูทาคะแนนได้เพม่ิ ขน้ึ ความแข็งแกร่งของผู้ เล่นมคี วามสาคัญ เน่ืองจากกีฬาบาสเกตบอลค้องเคลอ่ื นทีต่ ลอดเวลา  พ.ศ. 2515 หลงั จากการแขง่ ขันโอลมิ ปกิ ณ ประเทศเมก็ ซิโก (Mexico), FIBA ได้ กาหนดการเปล่ยี นแปลงรายละเอียดของกตกิ าดงั นี้ – กาหนดหลกั ทรงกระบอกเหนอื ห่วงประตู ยกเลกิ การห้ามผ้เู ลน่ ฝ่ายปอ้ งกัน สมั ผสั ลูกบอลเหนือหว่ งประตู เม่อื ลูกบอลกระทบห่วงประตผู ้เู ลน่ ท้งั สองฝ่าย สามารถเลน่ ได้ – 3 นาทีสุดทา้ ยของการแขง่ ขนั หากเกิดการฟาลว์ จะไดโ้ ยนโทษ 2 คร้ัง – หากเกดิ ฟาลว์ ทีมใหส้ ่งบอลเข้าเลน่ แทนการโยนโทษ สงวนลิขสทิ ธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดศี ร สทิ ธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพื่อใชใ้ นการทาชน้ิ งานวชิ าพละศึกษา

ประวตั ิกฬี าบาสเกตบอล ความเปน็ มา Basketball  – FIBA มกี ารประชุม ณ กรงุ มิวนิค (Munich) และไดเ้ ปล่ียนแปลงกตกิ าดงั น้ี – ยกเลกิ 3 นาทีสุดทา้ ย ให้ใช้กบั ทกุ นาทีในการแขง่ ขนั หากเกดิ การฟาล์วผ้เู ลน่ ท่ไี ม่ มบี อล ให้สง่ บอลเข้าเล่น – การเปลยี่ นแปลงกติกาทาให้ผู้เล่นฝา่ ยป้องกนั สามารถละเมดิ การฟาล์วเพอ่ื ทาให้ ผเู้ ลน่ ฝ่ายรกุ ไมอ่ ยูใ่ นตาแหน่งยิงประตู  พ.ศ. 2516 การแขง่ ขนั ชงิ ชนะเลศิ ของทวปี ยุโรป ณ กรุงบาร์เซโลนา (Barselona) การฟาล์วชว่ งใหล้หมดเวลาการแขง่ ขนั เพมิ่ มากขนึ้ ทาให้การฟาล์ว เฉลยี่ ต่อเกมสงู ถงึ 61 คร้ัง ซ่งึ มีผลกระทบตอ่ การแขง่ ขนั เป็นอย่างยงิ่ ทาให้ FIBA ไม่สามารถรอจนถงึ การประชมุ ในการแขง่ ขันกฬี าโอลมิ ปกิ คร้งั หน้า ดังนัน้ FIBA จึงมกี ารประชุมและกาหนดตกลงดังนี้ – “หากแต่ละครึ่งเวลาทีมกระทาฟาลว์ ครบ10 ครงั้ จะถูกโยนโทษ 2 ครงั้ ” สาหรับ การฟาลว์ ของทมี ครอบครองบอลให้สง่ บอลเขา้ เลน่ จากเสน้ ขา้ ง  พ.ศ. 2517 เกิดการเปลยี่ นแปลงจากการใช้การฟาลว์ ทมี ครบ 10 ครงั้  พ.ศ. 2519 ประชุม FIBA ณ กรุงมอลทรีออล (Montreal) มกี ารกาหนดการ เปลยี่ นแปลงใหมด่ งั นี้ – ใหม้ ีการใชก้ ตกิ าวา่ ด้วยการฟาลว์ ทมี 10 ครงั้ บทลงโทษ โยนโทษ 2 ครง้ั – ผเู้ ลน่ ทีถ่ ูกกระทาฟาล์วขณะกาลงั ยงิ ประตู บทลงโทษให้ได้โยนโทษใน 3 ครงั้ หาก การยิงประตูธรรมดาน้ันเปน็ ผล ใหน้ บั คะแนนและไดโ้ ยนโทษ 1 คร้ัง  พ.ศ. 2523 ประชุม FIBA ณ กรุงมอสโคว์ (Moscow) เกิดการเปล่ียนแปลงดังนี้ – ลดจานวนการฟาลว์ ทีมรวม เหลอื 8 คร้ัง – ฟาลว์ เทคนิคทน่ี ั่งทีม และหากฟาลว์ เทคนิคผฝู้ กึ สอนครบ 3 ครั้ง ให้เป็นการ ฟาล์วเสยี สิทธิ์ตอ่ ผูฝ้ ึกสอน – ได้จดั ทาเอกสารขอ้ แนะนากติกาสาหรับวิธกี ารพจิ ารณาหลักการประทะโดย กาหนดผูเ้ ล่นใดที่ตอ้ งรับผดิ ชอบตอ่ การปะทะนัน้ ( ใช้หลักของแนวดิง่ หมายถงึ ชอ่ งว่างเหนือผูเ้ ล่นที่เปน็ รูปทรงกระบอก โดยผู้เล่นทีล่ อยตวั ในอากาศอยา่ งถูกตอ้ ง จะลงสพู่ น้ื ตาแหน่งเดมิ ก่อนการกระโดด และการป้องกนั อย่างถกู ตอ้ งนน้ั เป็น ลักษณะใด รวมถงึ การพิจารณาการสกดั กัน้ ) สงวนลิขสิทธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดศี ร สทิ ธคิ ง โรงเรยี นบางสะพานวทิ ยา เพ่ือใช้ในการทาชิน้ งานวชิ าพละศึกษา

ประวตั กิ ีฬาบาสเกตบอล ความเปน็ มา Basketball  –พ.ศ. 2527 FIBA ได้กาหนดกติกาใหมด่ งั นี้ – เริม่ ใช้การยิงประตู 3 คะแนน (NBA เรม่ิ ใช้เม่อื ปี 2526 โดยกาหนดการพยายาม ยิงประตู 3 คะแนน ดว้ ยเส้นทห่ี า่ งจากห่วงประตู 6.25 เมตร, NBA 7.24 เมตร ) เป็นการเปิดโอกาสใหส้ าหรบั ผูเ้ ลน่ ที่รูปร่างเลก็ สามารถทาคะแนนได้ – ขนาดสนามเปล่ียนเป็น 15 เมตร * 28 เมตร – ฟาล์วทีมรวมลดลงเหลอื 7 คร้งั บทลงโทษ 1+1 (ผเู้ ล่นโยนโทษครงั้ แรกพลาดให้ การแขง่ ขันดาเนนิ ต่อไปทันที) – ยกเลกิ การโยนโทษสาหรับผู้เล่นขณะกาลังยงิ ประตูโทษสาหรบั ผเู้ ลน่ ขณะกาลัง ยิงประตู 2 ใน 3 ใหใ้ ช้บทลงโทษของการพยายามยิงประตูตามพน้ื ที่ (หากพยายาม ยิงประตู 2 คะแนนไม่เปน็ ผล ให้โยนโทษ 2 คร้งั หากพยายามยงิ ประตู 3 คะแนนไม่ เป็นผลใหโ้ ยนโทษ 3 คร้งั ) – บทลงโทษการฟาลว์ เทคนคิ ผฝู้ ึกสอน เปล่ยี นเปน็ โยนโทษ 2 ครัง้ และได้ ครอบครองบอล  พ.ศ. 2529 FIBA World Congress ได้กาหนดการเปลย่ี นแปลงกตกิ าดังนี้ – ใหม้ กี ารฟาล์วเจตนาและฟาลว์ เสียสทิ ธ์ติ ่อผู้เลน่ ใหโ้ ยนโทษ 2 หรอื 3 ครั้ง และ เพิ่มการครอบครองบอล จดุ ประสงคเ์ พอื่ เพ่มิ ชนดิ ของการฟาล์วซง่ึ เกิดขนึ้ บอ่ ยครงั้ ในการแขง่ ขัน  พ.ศ. 2533 ได้มีการเปลี่ยนแปลงกติกาดงั น้ี – ยกเลิกสทิ ธใ์ิ นการเลอื กสาหรับการสง่ บอลเข้าเล่นและชว่ งการเลน่ (Play Phase) ยกเลิกขอ้ จากดั ของการโยนโทษทเ่ี กดิ ขนึ้ ไมม่ ีขอ้ ยุง่ ยากสาหรับทกุ คน – กาหนดเขตท่นี ั่งทีม – หากผ้ฝู ึกสอนหรือผู้ตดิ ตามทีมลกุ ออกจากทีน่ งั่ ทมี อย่างไรจึงถกู ขานฟาล์ว เทคนิคผู้ฝึกสอน และลุกออกจากที่นัง่ ทีมขณะเกดิ การชกตอ่ ย ใหข้ านฟาล์วเสีย สทิ ธ์ิทันที – ใหก้ รรมการผู้ตัดสนิ ยื่นสง่ บอลใหแ้ กผ่ ูเ้ ล่นทกุ จดุ ท่มี กี ารส่งบอลเข้าเลน่ – หา้ มผู้เล่นทีส่ ง่ บอลเขา้ เล่นก้าวเทา้ เกินกว่า 1 เมตร ในทิศทางเดียวกันก่อนการ ปล่อยบอลจากการส่ง – ผู้เลน่ ท่ยี นื ชอ่ งโยนโทษเขา้ แยง่ บอลจากการโยนโทษครั้งสดุ ทา้ ยหรอื คร้ังเดียวเมอื่ ลกู บอลหลุดจากมือของผโู้ ยนโทษ – ผตู้ ดั สนิ สามารถแก้ไขความผดิ ผลาดทเ่ี กี่ยวกบั การโยนโทษและคะแนน สงวนลขิ สทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดีศร สทิ ธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพ่ือใช้ในการทาช้นิ งานวชิ าพละศึกษา

ประวัติกฬี าบาสเกตบอล ความเป็นมา Basketball  พ.ศ. 2535 FIBA เปิดโอกาสให้ผ้เู ลน่ อาขีพสามารถลงแข่งขนั กฬี าโอลมิ ปกิ ณ กรุง บาร์เซโลนา (Barcelona) ซงึ่ เรียกวา่ ‘Dream Team’ ได้รบั การสนใจจาก บุคคลท่ัวโลก  พ.ศ. 2537 FIBA ได้ปรับปรงุ กติการ ดงั น้ี – กาหนดระบบการแขง่ ขนั 2 x 20 นาที หรอื 4×12 นาที – การสง่ บอลเข้าเบ่นใหส้ ง่ ใกลจ้ ุดเกดิ เหตุ รวมถึงเสน้ หลงั – ผู้เลน่ กาลงั ยิงประตู ให้นับรวมถึงกรณผี ู้เล่นการลอยตัวในอากาศจากการยงิ ประตูจนกวา่ เท้าสัมผสั พน้ื ท้ังสองข้าง – สามารถกระโดดยัดห่วง (Alley-oop) จากการส่งบอลและลูกบอลนน้ั ย้อยลงมา เหน็จหว่ งได้ – เปล่ยี น ‘ฟาลว์ เจตนา’ เป็น ‘ฟาลว์ ขาดน้าใจนักกฬี า’ – ยกเลิกบทลงโทษ ‘1+1′ ให้ใช้บทลงโทษการโยนโทษ 2 ครั้ง แทน – หากผู้เลน่ ,ผู้ฝึกสอนหรือผ้ตู ิดตามทมี ถูกขานฟาล์วเสยี สิทธิ์ ต้องออกจาก สนามแขง่ ขนั กลบั ไปยงั หอ้ งพกั หรอื ออกจากอาคารการแข่งขัน – จากสถานการณก์ ารโยนโทษ ใหม้ ีผ้เู ลน่ ท้ังสองทมี ทาการแยง่ ลกู บอลในชอ่ งยืน โยนโทษ ไมเ่ กิน 6 คน (รวมผ้โู ยนโทษดว้ ย ทมี ละ 3 คน)  พ.ศ. 2541 FIBA ไดม้ ีการเปล่ยี นแปลงกตกิ า ดงั นี้ – ยกเลิก ‘บอลเข้าสู่การเลน่ (Ball in Play)’ – เปลย่ี นแปลง ‘บอลดี’ ขณะสง่ บอลเข้าเลน่ และการเลน่ ลกู กระโดด – ขอเวลานอกเพมิ่ เป็น 3 ครั้ง – 2 นาทีสดุ ทา้ ยของครึง่ เวลาหลังหรือชว่ งตอ่ เงลาเพมิ่ พเิ ศษ เม่อื เกิดการยงิ ประตู ธรรมดาเป็นผล นาฬิกาแขง่ ขันจะหยุด – ผเู้ ลน่ ผา่ ยรกุ และฝา่ ยป้องกนั หา้ มสัมผัสลกู บอลเหนอื หว่ งประตแู ละขณะลูกบอล การะทบกระดานหลังจากการยงิ ประตู – บทลงโทษของการฟาลว์ คู่ ทมี ทีค่ รอบครองบอลแลว้ เกิดกระทาฟาลว์ คู่ ยงั คงได้ ส่งบอลเขา้ เล่นแทนการเลน่ ลูกกระโดด – ใช้ ‘ ฟาล์วเทคนิคขาดน้าใจนกั กฬี า ‘ ใหโ้ ยนโทษ 2 ครั้งและครอบครองบอล สงวนลิขสทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดศี ร สทิ ธิคง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพื่อใช้ในการทาช้ินงานวชิ าพละศึกษา

ประวัตกิ ีฬาบาสเกตบอล ความเปน็ มา Basketball  พ.ศ. 2543 Central Broad of FIBA ไดเ้ ปล่ียนแปลงกตกิ าดงั นี้ – ระบบการแข่งขนั เป็น 4 period ๆ ละ 10 นาที (4X10 นาที) – ฟาลว์ ทีมรวมเหลอื 4 ครั้งตอ่ period คร้ังต่อไปใหโ้ ยนโทษ 2 ครงั้ – พกั การแขง่ ขัน period ที่ 1-2,3-4 หรือชว่ งต่อเวลาเพ่ิมพเิ ศษ 2 นาที พกั การ แขง่ ขัน period ท่ี 2-3 เปน็ เวลา15 นาที – ขอเวลานอก period ท่ี 1,2,3หรอื ชว่ งตอ่ เวลาเพมิ่ พเิ ศษได้ 1 ครงั้ ขอเวลานอก period ท่ี 4 ได้ 2 คร้ัง – ให้เวลานอก 1 นาทเี ตม็ ถึงแม้ทีมท่ีขอเวลานอกพรอ้ มแขง่ ขนั – เปล่ียนกตกิ าวา่ ดว้ ย 30 วินาที และนาฬิกา 24 วนิ าทเี รม่ิ ต้นนบั ใหม่เมอื่ ลูกบอล หลดุ จากมือจากการยงิ ประตูและสมั ผสั ห่วงประตู หากลกู บอลลอยในอากาศจาก การยงิ ประตูแล้วเสียงสัญญาณ 24 วนิ าทีดงั ขึน้ นาฬิกาแข่งขนั หยุดทนั ที หากบอล เข้าห่วงประตู ให้นับคะแนน หากไมล่ งถอื เปน็ ผิดระเบยี บ ใหฝ้ า่ ยตรงข้ามได้ส่งบอล เข้าเล่น – ทมี ครองครองบอลตอ้ งพาบอลส่แู ดนหนา้ ลดเหลอื 8 วินาที – ช่วง 2 นาทสี ุดท้ายของ period ท่ี 4 หรอื ชว่ งต่อเวลาเพมิ่ พเิ ศษ เม่ือเกิดการยงิ ประตเู ปน็ ผล นาฬิกาแข่งขันจะหยุด ทีมทมี่ ีสทิ ธส์ิ ่งบอลเขา้ เลน่ จากการเสยี ประตู ขอเปลีย่ นตัวได้ และฝา่ ยตรงขา้ มขอเปล่ียนตัวตามได้ – FIBA จะใช้ระบบการตัดสนิ 3 คน สาหรบั การแขง่ ขนั กีฬาโอลิมปกิ และการแขง่ ขนั ชงิ ชนะเลศิ แห่งโลก – สาหรับระบบการตดั สนิ ใจ 3 คน หากฝ่ายจัดการแข่งขนั พิจารณาแลัวและมี ความเห็นใหใ้ ชก้ ็สามารถกระทาได้ – บทลงโทษการฟาลว์ เทคนคิ ผเู้ ลน่ ให้โยนโทษ 1 ครัง้ และครอบครองบอล  พ.ศ. 2543 FIBA Technical Commission ได้เผยแพร่เอกสารการวินิจฉยั และตคี วามอธิบายรายละเอียดของกตกิ าและเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ให้ชดั เจนขึ้น  พ.ศ. 2544 FIBA Technical Commission ไดเ้ ผยแพรเ่ อกสารเนน้ จดุ สาคัญ ของการปฏบิ ัติ เชน่ การลงโทษ,การพจิ ารณาการเลน่ ทไ่ี ด้เปรยี บ/เสียเปรียบ – ไดเ้ ผยแพร่เอกสารเน้นการแขง่ ขันอย่างรวดเร็ว,การเคล่อื นท่ีของผูต้ ดั สินในสนาม , ระบบการตัดสินทช่ี ัดเจน และการวนิ ิจฉัยตคี วามเพอ่ื แนวทางในม่ือเกิดเหตกุ ารณ์ ในสนาม  เม่ือสนิ้ ทศวรรตที่ 20 (พ.ศ.2543) ประมาณกันว่ามีผู้นยิ มกีฬาบาสเกตบอลกว่า 250 ลา้ นคน และมปี ระเทศทีเ่ ปน็ สมาชกิ สหพนั ธบ์ าสเกตบอลนานาชาติ (F.I.B.A.) 208 ประเทศ สงวนลขิ สิทธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดศี ร สิทธคิ ง โรงเรยี นบางสะพานวทิ ยา เพือ่ ใชใ้ นการทาช้นิ งานวชิ าพละศกึ ษา

กติกาบาสเกตบอล 13 ขอ้  สามารถโยนลูกบอลด้วยมือขา้ งเดยี วหรอื สองมอื  สามารถตลี ูกบอลด้วยมือข้างเดยี วหรอื สองมอื แต่ตอ้ งไมใ่ ชก้ าปนั้  ห้ามถอื ลูกบอลวิง่ ต้องโยนลกู บอลจากจุดท่ีถือลูกบอล ผู้เลน่ สามารถวงิ่ เพื่อคว้าบอล  ต้องถอื ลูกบอลด้วยมอื แขนหรอื ลาตัว ห้ามดงึ ลกู บอล  หา้ มใช้ไหล่ดนั ผลกั ดงึ ตบหรือตี ฝา่ ยตรงขา้ ม หากเกดิ การละเมิดให้ถอื เปน็ ฟาล์ว หาก กระทาซ้าอีก ถือเป็น ฟาล์วเสยี สิทธิ์ จนกวา่ จะเกิดการยิงประตูเป็นผลในคราว ตอ่ ไป หรือเกิดผ้เู ลน่ บาดเจ็บของผเู้ ล่นตลอดการแข่งขัน หา้ มเปลย่ี นตวั ผู้เล่น  การฟาลว์ เปน็ การกระแทกลูกบอลด้วยกาปน้ั และการผิดระเบยี บของกตกิ าขอ้ 3,4 และ ตาม รายละเอียดตามกติกาข้อ 5  หากผู้เล่นฝา่ ยเดยี วกนั กระทาฟาลว์ ตดิ ต่อกนั 3 ครงั้ ใหน้ บั คะแนน (การฟาล์ว ตดิ ต่อกนั หมายถงึ เป็นการฟาล์วทีไ่ ม่มกี ารฟาลว์ ของฝา่ ยตรงขา้ มคั่นระหว่างการ ฟาล์วตดิ ตอ่ นั้น)  เมื่อลกู บอลถูกตี หรือโยนจากพืน้ เขา้ ประตู ใหน้ บั คะแนน หากลกู บอลคา้ งกา้ นหว่ งโดย ผู้ เล่นฝา่ ยป้องกันสมั ผสั หรือกระทบประตู ให้นับคะแนน  เมือ่ ลูกบอลออกนอกสนามใหส้ ่งบอลเขา้ เลน่ ท่สี ัมผสั ลกู บอลครงั้ แรกในกรณี ทม่ี ีผู้ คัดคา้ น กรรมการผรู้ ว่ มตดั สิน (Umpire) จะโยนบอลเขา้ ไปในสนาม ผเู้ ลน่ ทส่ี ่งบอล สามารถใช้เวลาได้ 5 วินาที หากเกินกวา่ นัน้ ฝ่ายตรงข้ามได้สง่ บอลแทน หากมีการ คัดคา้ นและทาใหก้ ารแขง่ ขนั ลา่ ชา้ กรรมการผรู้ ว่ มตัดสนิ (Umpire) สามารถขาน ฟาลว์ เทคนิค  กรรมการผูร้ ว่ มตัดสนิ (Umpire) มีหนา้ ทต่ี ดั สินและจดบนั ทดึ การฟาลว์ เกดิ ฟาล์ว ต่อกนั ครบ 3 ครั้ง ใหแ้ จ้งต่อผตู้ ัดสิน (Referee) และสามารถให้ฟาลว์ เสียสิทธ์ิ ตามกตกิ าข้อ 5  ผู้ตดั สิน (Referee) มหี นา้ ทีต่ ดั สนิ ช้ีขาด เม่อื ลกู บอลเข้าสู่การเล่นในพืน้ ท่ขี องเขาและ เปน็ ผู้ จับเวลา ,ใหค้ ะแนนเม่อื เกดิ การยิงประตูเปน็ ผล ,จดบนั ทกึ คะแนนและรับผิดชอง ตามพนื้ ท่ี  เวลาการแข่งขัน แบ่งเป็น 2 คร่ึง ๆละ 15 นาที พกั 5 นาที  เมื่อหมดเวลาการแข่งขนั ฝา่ ยทีท่ าคะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ กรณมี คี ะแนนเท่ากันให้ หัวหนา้ ทมี ตกลงกนั เพอ่ื แข่งขนั ตอ่ จนกวา่ มฝี ่ายใดทาคะแนนได้ สงวนลิขสิทธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดศี ร สทิ ธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพ่ือใชใ้ นการทาช้นิ งานวชิ าพละศึกษา

บาสเกตบอล เอน็ บเี อ (NBA – National Basketball Association)  ประวัติบาสเกตบอล NBA | ในปี พ.ศ. 2489 ถอื กาเนดิ ลีกเอน็ บีเอ (National Basketball Association, NBA) ก่อตงั้ โดยรวบรวมทมี อาชีพชั้นนา และทาใหก้ ฬี าบาสเกตบอลระดับอาชพี ไดร้ บั ความนิยมสงู ขึ้น ปี พ.ศ. 2510 มีการจดั ตงั้ ลีกเอบีเอ (American Basketball Association, ABA) ขนึ้ อีกลกี มาเปน็ คู่แขง่ อยู่พกั หน่งึ ลกี ท้งั สองกค็ วบ รวมกันในปี พ.ศ. 2519  ในเอ็นบเี อมีผูเ้ ลน่ มีช่ือเสยี งหลายคน เช่น จอร์จ มคิ าน (George Mikan) ผเู้ ลน่ ร่างใหญท่ ีโ่ ดดเดน่ คนแรก บอบ คอสี (Bob Cousy) ผมู้ ีทักษะการ ครองบอล บลิ รัสเซล (Bill Russell) ผู้ที่เก่งด้านการตั้งรบั วิลท์ แชม เบอร์เลน (Wilt Chamberlain) รวมถงึ ออสการ์ รอเบิร์ตสัน (Oscar Robertson) และ เจอรร์ ี เวสต์ (Jerry West) ผู้ทเี่ ก่งในรอบดา้ น คารมี อับดุล-จับบาร์ (Kareem Abdul-Jabbar) และ บลิ วอลตนั (Bill Walton) ผเู้ ล่นรา่ งยกั ษใ์ นยคุ หลงั จอห์น สตอ็ กตนั (John Stockton) ผทู้ ี่มีทักษะการคมุ เกม ตลอดจนผเู้ ลน่ สามคนทีท่ าใหเ้ อน็ บีเอได้รบั ความนิยม จนถงึ ขีดสุด คอื แลร์รี เบริ ์ด (Larry Bird) แมจิก จอห์นสนั (Magic Johnson) และ ไมเคลิ จอรแ์ ดน (Michael Jordan)  ลกี ดบั เบิล้ ยเู อ็นบเี อ (Women’s National Basketball Association, WNBA) สาหรบั บาสเกตบอลหญิงเรม่ิ เลน่ ในปี พ.ศ. 2540 ถงึ แม้วา่ ในฤดูกาลแรกจะไมค่ อ่ ยม่นั คงนัก นกั กีฬามชี อื่ หลายคน เชน่ เชอรลิ สวปู ส์ (Sheryl Swoopes), ลซิ า เลสลี (Lisa Leslie) และ ซู เบิร์ด (Sue Bird) ชว่ ยเพิม่ ความนิยมและระดับการแขง่ ขนั ของลกี ลีก บาสเกตบอลหญิงอื่น ๆ ล้มไปเนอื่ งจากความสาเรจ็ ของดบั เบิ้ลยเู อน็ บเี อ สงวนลขิ สทิ ธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดศี ร สทิ ธิคง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพ่อื ใชใ้ นการทาชิ้นงานวชิ าพละศกึ ษา

บาสเกตบอล เอ็นบเี อ (NBA – National Basketball Association)  กฎและกตกิ าของ NBA  กฎเกีย่ วกบั ขนาดและเวลาท่ใี ชแ้ ขง่ อาจแตกต่างกันข้นึ กับทัวรน์ าเมนต์หรอื องค์กรทจ่ี ัดการแข่งขนั รายละเอยี ดในส่วนนี้จะใช้ของสากลและเอน็ บีเอเป็น หลัก  จดุ มุง่ หมายของเกมคือ การทาคะแนนให้ไดม้ ากกว่าคู่แข่งโดยการโยนลูกเข้า ห่วงของค่ตู อ่ สจู้ ากด้านบน ในขณะทีป่ อ้ งกันไมใ่ หค้ ูต่ ่อสูโ่ ยนลกู ลงหว่ งของ ฝา่ ยตน การโยนลูกในลักษณะนี้เรยี กว่าการชตู้ (หรือช็อต shot) การชูต้ ที่ เขา้ ห่วงจะไดส้ องคะแนน แตถ่ า้ ผชู้ ู้ตอยู่เลยเส้นสามคะแนนออกไปในขณะชู้ต ลูกก็จะไดส้ ามคะแนน เส้นสามคะแนนจะอยหู่ ่างจากหว่ งเป็นระยะ 6.25 เมตร (20 ฟตุ 5 นิ้ว) ในกติกาสากล และ 23 ฟุต 9 นวิ้ (7.24 เมตร) ในกตกิ าเอน็ บเี อ การชตู้ ลกู โทษหรอื ท่ีเรยี กว่า ฟรโี ทรว์ (free throw) เมือ่ ฟาลว์ มคี ่า หนึง่ คะแนน  เกมจะแบง่ การเล่นเป็น 4 ควาเตอร์ (quarter) แตล่ ะควาเตอร์มี 10 นาที (สากล) หรือ 12 นาที (เอ็นบีเอ) ช่วงพกั ครง่ึ นาน 15 นาที สว่ นพักอ่ืนๆ ยาว 2 นาที ช่วงต่อเวลา (overtime) ยาว 5 นาที ทีมจะสลบั ด้านสนามเมือ่ เร่ิม ครง่ึ หลงั เวลาจะเดินเฉพาะระหวา่ งทเี่ ลน่ และนาฬกิ าจะหยดุ เดนิ เมื่อเกมหยุด เชน่ เม่อื เกิดการฟาลว์ หรอื ระหวา่ งการชู้ตลูกโทษ เปน็ ต้น ดังน้นั เวลา ทัง้ หมดท่ีใช้แข่งมกั ยาวกวา่ นม้ี าก (ประมาณสองช่ัวโมง)  ในขณะใดขณะหนึง่ จะมผี เู้ ล่นในสนามฝ่ายละห้าคน และจะมีผูเ้ ลน่ สารอง สงู สุดทีมละเจด็ คน สามารถเปล่ียนตวั ได้ไมจ่ ากัดและเปลย่ี นไดเ้ ฉพาะเมอ่ื เกม หยดุ ทมี ยังมีโคช้ ท่ีดูแลทีมและวางกลยทุ ธใ์ นการเล่น รวมถงึ ผู้ช่วยโค้ช ผจู้ ดั การทีม นกั สถิติ แพทย์ และเทรนเนอร์ สงวนลขิ สิทธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดีศร สิทธิคง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพ่ือใชใ้ นการทาชน้ิ งานวิชาพละศกึ ษา

บาสเกตบอล เอ็นบีเอ (NBA – National Basketball Association)  กฎและกตกิ าของ NBA  เคร่อื งแบบนกั กีฬาสาหรับทมี ชายและหญิงตามมาตรฐานไดแ้ ก่ กางเกงขา สั้นและเสอื้ กลา้ มท่ีมีหมายเลขผเู้ ลน่ ชัดเจนพมิ พท์ ง้ั ด้านหน้าและด้านหลงั รองเท้าเป็นรองเท้ากีฬาหุ้มข้อเท้า อาจมีชอื่ ทมี ช่ือนกั กีฬา และสปอนเซอร์ ปรากฏบนชุดดว้ ยก็ได้  แต่ละทีมจะได้เวลานอกจานวนหน่งึ สาหรบั ใหโ้ คช้ และผเู้ ลน่ ปรกึ ษากัน มกั ยาว ไม่เกนิ หนง่ึ นาที ยกเว้นเมอื่ ต้องการโฆษณาระหวา่ งการถา่ ยทอดสด  เกมควบคมุ โดยกรรมการและหวั หน้ากรรมการผ้ตู ดั สนิ ในสนาม และ กรรมการโตะ๊ กรรมการโตะ๊ มีหน้าท่ีบนั ทึกคะแนน ควบคุมเวลา บนั ทึกจานวน ฟาล์วผเู้ ลน่ และฟาลว์ ทมี ดูเร่ืองการเปลีย่ นตวั โพเซสซนั แอร์โรว์ และช็อตคล็อก สงวนลิขสทิ ธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดศี ร สิทธิคง โรงเรยี นบางสะพานวทิ ยา เพือ่ ใช้ในการทาชิน้ งานวิชาพละศกึ ษา

บาสเกตบอล เอ็นบเี อ (NBA – National Basketball Association)  เทคนคิ พนื้ ฐานบาสเกตบอล  ตาแหนง่ ผเู้ ลน่ และโครงสรา้ ง  ถึงแมว้ า่ ในกฎจะไม่กาหนดตาแหนง่ ใด ๆ ของผู้เลน่ แตเ่ รอ่ื งน้ีมีววิ ัฒนาการ จนเป็นส่วนหนึ่งของบาสเกตบอล ในชว่ งห้าสิบปแี รกของเกม จะใช้ การ์ด สองคน ฟอร์เวิร์ดสองคน และเซน็ เตอรห์ นง่ึ คนในการเล่น ตั้งแตค่ ริสต์ ทศวรรษ 1980 เปน็ ต้นมา มกี ารแบง่ ชดั เจนข้นึ เป็น พอยทก์ าร์ด (หรือการ์ด จา่ ย) ชูต้ ตงิ้ การด์ สมอลฟอร์เวิรด์ เพาเวอรฟ์ อร์เวิร์ด และ เซน็ เตอร์ ใน บางครั้งทมี อาจเลอื กใช้ การ์ดสามคน แทนฟอร์เวริ ด์ หรอื เซต็ เตอร์คนหน่งึ ซึง่ เรยี กว่า three guard offense  การเล่นตั้งรับ มหี ลกั การแตกตา่ งกนั สองรปู แบบ คือ ตั้งรบั แบบโซน (zone defense) และ แบบแมน-ท-ู แมน (man-to-man defense) การต้งั รับแบบโซน ผู้เล่นจะยนื คมุ ผเู้ ลน่ ฝา่ ยบุกที่อยูใ่ นโซนท่ีตวั เอง รับผิดชอบ สว่ นแบบ แมน-ท-ู แมน นนั้ ผู้เลน่ ฝา่ ยรับแตล่ ะคนจะยืนคมุ และ ป้องกนั ผูเ้ ลน่ ฝา่ ยตรงข้ามทีโ่ ค้ชวางแผนการเลน่ เอาไว้  ส่วนการเลน่ บุกทาคะแนนมหี ลากหลายกว่า เก่ียวข้องกบั แผนการสง่ ลกู และ การเคลอ่ื นไหวของผ้เู ล่นทไี่ มถ่ อื ลูก การคัท (cut) หรอื วงิ่ ตดั คือการทผี่ เู้ ลน่ ท่ไี มม่ ลี กู ว่ิงอยา่ งรวดเรว็ ไปยงั ตาแหน่งทีไ่ ดเ้ ปรยี บ การสกรนี (screen) หรอื พิก (pick) คือการทีผ่ ูเ้ ลน่ ฝ่ายบกุ ยนื ขวางทางผเู้ ล่นฝา่ ยรับท่ีประกบ เพือ่ นรว่ มทีมในขณะที่เพอื่ นร่วมทมี น้นั วง่ิ ตัดข้าง ๆ เขา การเล่นสองแบบนี้ สามารถรวมเขา้ เปน็ พิกแอนด์โรล (pick and roll) โดยท่ผี ูเ้ ล่นคนแรกทา พกิ จากน้ันกห็ มนุ ตัววงิ่ เข้าหาห่วง (ซง่ึ เรียกว่าโรล) สกรีน และ คทั เปน็ สว่ น สาคญั ของการเล่น ทาใหส้ ่งลกู และทาคะแนนได้สาเร็จ ทมี มักมีแผนการเลน่ ที่ หลากหลายเพอ่ื ใหอ้ กี ฝ่ายไม่สามารถคาดเดาการเล่นได้ ในสนามผูเ้ ล่น ตาแหน่งพอยทก์ าร์ดมกั มีหน้าท่บี อกแผนการเล่นทจี่ ะใชใ้ หก้ ับเพอ่ื นร่วมทีม  โครงสร้างของการต้งั รับ การบุก และตาแหน่งการเล่น ถกู เนน้ ในการเล่น บาสเกตบอลระดบั สูง และเปน็ สิง่ ทโ่ี คช้ จะขอเวลานอกเพ่อื คยุ กบั ลกู ทีม สงวนลขิ สิทธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดีศร สทิ ธคิ ง โรงเรยี นบางสะพานวทิ ยา เพ่อื ใชใ้ นการทาชนิ้ งานวชิ าพละศกึ ษา

บาสเกตบอล เอน็ บีเอ (NBA – National Basketball Association)  การชตู้  การชู้ตเพือ่ ทาคะแนนน้ัน วิธกี ารจะแตกต่างกันไปขึ้นกบั ผเู้ ล่นและ สถานการณ์ ที่จะอธบิ ายตอ่ ไปนเี้ ป็นเทคนิกพน้ื ฐานทใ่ี ชม้ ากทีส่ ุด  ผเู้ ล่นเอาลูกไปพักบนปลายน้วิ มอื ขา้ งทีถ่ นดั ให้อยสู่ งู กวา่ ศีรษะเล็กน้อย สว่ น มืออกี ขา้ งประคองด้านข้างลูก จากนั้นกย็ ดื แขนข้างที่พักลกู ใหเ้ หยียดตรงให้ ลกู ลอยออกจากปลายนิ้วในขณะทบี่ ดิ ขอ้ มือลง ปกตมิ ืออีกข้างประคองลกู เพ่ือควบคุมทศิ การชตู้ เทา่ นนั้ ไมม่ ีสว่ นในการใหแ้ รงสง่  ผเู้ ล่นมกั ชตู้ ลูกให้ลูกหมนุ แบบแบค็ สปนิ (backspin) กลา่ วคอื หมุนย้อนไป ขา้ งหลงั ขณะท่ีลกู เคลอื่ นทไ่ี ปยังห่วง ซงึ่ จะชว่ ยปอ้ งกนั ไม่ใหล้ กู กระดอนออก จากหว่ งหลงั จากการกระทบ ผู้เล่นสว่ นมากชตู้ ไปยงั หว่ งตรง ๆ แต่ใน บางครัง้ ผชู้ ูต้ อาจต้องชตู้ ใหก้ ระดอนกบั แป้นแทน  วธิ กี ารชู้ตทใ่ี ช้บอ่ ยสุด ไดแ้ ก่ เซต็ ชอ็ ต (set shot) และ จมั พ์ชอ็ ต (jump shot) เซต็ ช็อตคอื การชตู้ ขณะทท่ี ้งั สองเท้ายังอยู่ติดพน้ื ใช้ในการชู้ตฟรี โทรว์ สว่ นจมั พ์ช็อต คือการชูต้ ขณะทก่ี าลงั กระโดดโดยปล่อยลกู ขณะทต่ี ัวอยู่ ตาแหนง่ ลอยตวั สงู สดุ การชตู้ วธิ นี ใี้ ห้กาลงั มากกว่าและชตู้ ไดไ้ กล อกี ทงั้ สามารถกระโดดลอยตวั เหนือผู้เลน่ ทยี่ ืนตง้ั รบั ได้ด้วย  ผู้เล่นทชี่ ู้ตเก่งนอกจากจะมีสมั ผัส การทรงตวั ความกล้า และการฝึกฝนที่ดี แลว้ ยังต้องรูจ้ ักเลอื กโอกาสการชตู้ อีกด้วย ผูเ้ ลน่ ระดับแนวหนา้ มกั ช้ตู ไม่ พลาดเมือ่ ไม่มีผเู้ ลน่ อืน่ มาประกบ  สงวนลขิ สทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดีศร สิทธคิ ง โรงเรียนบางสะพานวทิ ยา เพอ่ื ใช้ในการทาชนิ้ งานวิชาพละศกึ ษา

บาสเกตบอล เอน็ บีเอ (NBA – National Basketball Association)  การส่งบอล  ในการส่งบอล (pass) ระหวา่ งผู้เลน่ ผสู้ ่งมกั สง่ ในจงั หวะทีก่ ้าวไปข้างหนา้ เพอ่ื เพิม่ กาลังสง่ และอาศัยมอื ประคองในจังหวะท่ปี ลอ่ ยลูกเพือ่ ชว่ ยเรอื่ ง ความแม่นยา  การสง่ พน้ื ฐานสุดแบบหนง่ึ คือการส่งระดบั อก (chest pass) โดยส่ง โดยตรงจากอกของผ้สู ง่ ลูกไปยังผู้รบั ลูก เปน็ การส่งทรี่ วดเร็วทสี่ ุด  การส่งอกี แบบคือแบบ bounce pass ผ้สู ่งจะส่งจากระดับอก ให้ลกู บอล กระเดง้ กับพื้นทร่ี ะยะประมาณสองในสามจากผสู้ ง่ ซึง่ ลูกจะกระเดง้ เขา้ ระดับ อกของผ้รู บั พอดี มปี ระโยชน์เวลาท่มี ผี เู้ ลน่ ฝา่ ยตรงขา้ มยนื อยูใ่ นจดุ ซ่งึ อาจ แยง่ ลกู ไดห้ ากสง่ ลูกธรรมดา  การส่งแบบขา้ มหัว (overhead pass) สาหรับส่งขา้ มผ้เู ลน่ ฝา่ ยตรงขา้ ม โดยจะส่งขา้ มศีรษะของผู้สง่ เลง็ ไปที่ระดบั คางของผู้รับ  การสง่ ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งใชก้ รณีทีผ่ เู้ ลน่ อยู่ไกลกนั แต่อาจจะเป็นการยน่ื ลูกใหผ้ ู้ เลน่ คนทอ่ี ย่ขู ้าง ๆ ซงึ่ กาลังเคลอื่ นทเ่ี ขา้ ไปยงั หว่ งเพือ่ ทาคะแนน เป็นต้น  จดุ สาคัญของการส่งลกู ก็คอื จะต้องไม่ให้อีกฝ่ายแยง่ หรือขโมยลูกไปได้ ดว้ ย เหตุนก้ี ารสง่ ขา้ มสนามไกล ๆ ทเี่ รยี กว่าการสง่ สกิป (skip pass) ถึงใช้กับ แคบ่ างสถานการณ์เท่านัน้  สงวนลขิ สทิ ธ์ จัดทาโดย ด.ช.บดีศร สิทธิคง โรงเรยี นบางสะพานวิทยา เพ่ือใช้ในการทาช้นิ งานวิชาพละศึกษา

บาสเกตบอล เอน็ บเี อ (NBA – National Basketball Association)  การเลย้ี งลูก  การเลยี้ งลูกเป็นบงั คบั ให้ลูกกระเด้งกับพ้นื ตลอดเวลา ผ้เู ลน่ ไม่ใชม้ ือตบลกู แต่ จะใช้มอื ดนั ลกู ไปหาพื้นแทนเน่อื งจากควบคุมลกู ได้ดกี ว่า  เมือ่ ตอ้ งเล้ยี งลูกผ่านคู่ตอ่ สู้ ผู้เลยี้ งลูกควรเล้ยี งใหล้ กู อยหู่ ่างจากผู้เลน่ ฝ่าย ตรงขา้ มมากสดุ ดังนัน้ ผเู้ ล่นจาเป็นต้องเลีย้ งลูกได้ทั้งสองมอื ดว้ ยการสลบั มอื เลยี้ งลกู ผู้เลน่ ฝา่ ยตรงขา้ มกเ็ อ้อื มมอื ถึงลกู ไดย้ ากขึ้น และระหวา่ งที่สลบั มอื จะต้องเลย้ี งลูกให้ต่าลงปอ้ งกันการขโมยลกู ผู้เล่นอาจเปลีย่ นมือโดยเล้ยี ง ลกู ลอดระหวา่ งขาหรอื ไขวห้ ลงั ก็ได้  ผเู้ ลน่ ทีช่ านาญสามารถเลย้ี งลกู ได้โดยไม่ต้องมองลกู ซง่ึ ช่วยใหม้ องหาเพื่อน รว่ มทมี หรือโอกาสการทาแตม้ และปอ้ งกันการขโมยลกู จากผูเ้ ล่นทีย่ นื อยู่รอบ ๆ ได้  การเล่นรปู แบบอ่ืน ๆ  บาสเกตบอลยงั มีการดัดแปลงการเล่นเป็นรูปแบบอื่น ๆ โดยยังคงใชท้ ักษะ ทางบาสเกตบอล ตลอดจนอุปกรณ์การเลน่ (มักไดแ้ กล่ ูกบาสเกตบอล และ ห่วง) การเลน่ บางรูปแบบกเ็ ปน็ การเพียงเปลี่ยนกฎอยา่ งผวิ เผิน แต่ บางอย่างก็ถือเป็นเกมคนละชนิดไปเลย ซึ่งเกมเหล่านีม้ ักเปน็ การเล่นไมเ่ ป็น ทางการ โดยไมม่ กี รรมการ และกฎขอ้ บังคบั ทเี่ ขม้ งวด  เกมท่นี ่าจะพบบ่อยสุด คือการเลน่ แบบ ฮาล์ฟคอร์ต (half court game) โดยใช้สนามเพียงคร่ึงเดยี ว เมอื่ มกี ารเปลี่ยนการครองบอล จะตอ้ งเคลยี รล์ ูก คือส่งลูกออกไปยงั เสน้ ครึ่งสนามหรือนอกเสน้ ชูต้ สามคะแนนกอ่ นถงึ จะเลน่ ตอ่ ได้ การเลน่ แบบนใ้ี ช้พละกาลงั และความแกร่งนอ้ ยกว่าเพราะไม่ตอ้ งว่ิง ตลอดความยาวสนาม การเล่นแบบนี้ยงั เป็นการใช้สนามอย่างคมุ้ ค่าขึน้ เนอื่ งจากสนามบาสสนามหนึ่งสามารถเล่นพรอ้ มกันสองเกม เมอ่ื มีคนมา เล่นในสนามเป็นจานวนมาก เจ้าของสนามอาจบังคับว่าตอ้ งเล่นในลักษณะ ฮาล์ฟคอร์ต  สงวนลขิ สทิ ธ์ จดั ทาโดย ด.ช.บดศี ร สิทธคิ ง โรงเรยี นบางสะพานวทิ ยา เพือ่ ใชใ้ นการทาช้นิ งานวชิ าพละศกึ ษา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook