Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ข้อสอบทฤษฎีช่างรถเล็ก

ข้อสอบทฤษฎีช่างรถเล็ก

Published by ดําริห์ วรรัตน์, 2019-06-05 04:47:21

Description: ข้อสอบทฤษฎีช่างรถเล็ก

Search

Read the Text Version

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 1. ข้อใดกลา่ วถงึ เงื่อนไขการทางานของระบบควบคมุ ความเร็วขณะลงทางลาดชนั (Hill Descent Control) ของรถยนต์อีซูซุ มิว-เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ได้ถกู ต้อง ก. ขณะท่ีระบบควบคมุ ความเร็วขณะลงทางลาดชนั (HDC) ทางาน จะไมส่ ามารถเพ่มิ ความเร็วของรถได้ ข. ขณะใช้ระบบควบคมุ ความเร็วขณะลงทางลาดชนั (HDC) ระบบจะไมท่ างานขณะท่ีรถยนต์วิ่งอยใู่ นตาแหน่ง ของเกียร์ตา่ ที่ความเร็วไมเ่ กิน 30 กิโลเมตร/ชว่ั โมง ค. ขณะขบั ขี่รถยนต์และใช้ระบบควบคมุ ความเร็วขณะลงทางลาดชนั (HDC) ระบบจะถกู ยกเลกิ เมื่อเกิดความ ผดิ ปกติเก่ียวกบั ระบบเบรก ง. ขณะขบั ข่ีรถยนต์และใช้ระบบควบคมุ ความเร็วขณะลงทางลาดชนั (HDC) ไฟเตือนการทางานของระบบ HDC จะตดิ ค้างพร้อมกบั ไฟเบรก จ. ขณะขบั ข่รี ถยนต์และใช้ระบบควบคมุ ความเร็วขณะลงทางลาดชนั (HDC) จะไม่สามารถแตะเบรกหรือคนั เร่ง เพ่ือลดหรือเพ่มิ ความเร็วของรถยนต์ได้ 2. ข้อใดเรียงลาดบั ถึงวิธีเข้าเมนูการตรวจเช็คสญั ญาณดาวเทียมของวิทยุ Panasonic ท่ีติดตงั้ กบั รถยนต์อีซูซุมิว-เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ได้ถกู ต้อง ก. Navi เมนหู ลกั ( ) ข้อมลู ท่ีมปี ระโยชน์ ข้อมลู GPS ข. Navi เมนหู ลกั ( ) จราจร ข้อมลู GPS ค. Navi สรุปการเดินทาง เส้นทางใหม่ ข้อมลู GPS ง. Navi การตงั้ คา่ จราจร ข้อมลู GPS จ. Navi เมนหู ลกั ( ) การตงั้ คา่ ข้อมลู GPS 3. ในการปรับตงั้ เส้นระยะของกล้องมองหลงั ในวิทยุ Panasonic รุ่น CN-DE27AOTT ท่ีใช้ในรถยนต์อีซูซุมิว-เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ เราจะสามารถปรับตงั้ คา่ ได้หรือไมแ่ ละถ้าสามารถปรับตงั้ เส้นระยะมองหลงั ได้จะต้องเข้าไปปรับตงั้ ทเี่ มนใู ด ก. สามารถปรับตงั้ ได้โดยการเลอื กเข้าไปปรับตงั้ ทเ่ี มนู ข้อมลู ที่มปี ระโยชน์ ข. สามารถปรับตงั้ ได้โดยการเลอื กเข้าไปปรับตงั้ ท่ีเมนู ของสญั ญาณสถานะรถ ค. สามารถปรับตงั้ ได้โดยการเลอื กเข้าไปปรับตงั้ ท่ีเมนู เส้นบอกระยะของกล้องหลงั ง. สามารถปรับตงั้ ได้โดยการเลอื กเข้าไปปรับตงั้ ทเ่ี มนู HDMI จ. ไมส่ ามารถทาการปรับตงั้ ได้ 4. จากเง่ือนไขการใช้ระบบควบคมุ ความเร็วคงทอี่ ตั โนมตั ิ (Cruise Control) ของรถยนต์อซี ซู ุมวิ -เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ เมื่อระบบ ถกู ยกเลกิ ด้วยวธิ ีการเหยียบเบรก เราจะสามารถกลบั มาใช้ระบบควบคมุ ความเร็วคงท่ี (Cruise Control) ทคี่ วามเร็วเดิมที่ ได้ตงั้ เอาไว้ก่อนหน้าด้วยวธิ ีใด ก. กดสวติ ซ์ยกเลกิ (Cancel) ข. กดสวติ ซ์ Set / - ค. กดสวิตซ์ On / Off ง. กดสวิตซ์ Resume / + จ. ไมม่ ีข้อใดตอบได้ถกู ต้องเพราะจะต้องทาการปรับตงั้ คา่ ความเร็วใหม่ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 1

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 5. ข้อใดกลา่ วถงึ ชนดิ ของระบบปรับไฟหน้าสงู – ต่าอตั โนมตั ทิ ใ่ี ช้กบั รถยนต์อีซซู มุ ิว-เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ได้ถกู ต้อง ก. เป็ นแบบ Aero Dynamic และมีรายละเอียดของการควบคุม คือ แกนแสงจะปรับอัตโนมัติได้ทงั้ ในขณะ เคลอ่ื นท่ีและหยดุ น่งิ ข. เป็ นแบบ Dynamic และมีรายละเอยี ดของการควบคมุ คือ แกนแสงจะปรับอตั โนมตั ิได้ทงั้ ในขณะเคลื่อนท่ีและ หยดุ นงิ่ ค. เป็ นแบบ Dynamic และมีรายละเอียดของการควบคุม คือ แกนแสงจะปรับอตั โนมตั ิได้เฉพาะขณะเคลื่อนที่ เทา่ นนั้ ง. เป็ นแบบ Static และมรี ายละเอียดของการควบคมุ คอื แกนแสงจะปรับอตั โนมตั ไิ ด้ทงั้ ในขณะเคลอ่ื นท่ีและหยดุ นง่ิ จ. เป็ นแบบ Static และมีรายละเอียดของการควบคมุ คอื แกนแสงจะปรับอตั โนมตั ิได้เฉพาะขณะหยดุ น่ิงเทา่ นนั้ 6. ระบบปรับไฟหน้าสงู -ต่าอตั โนมตั ขิ องรถยนต์อีซูซมุ วิ -เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์จะไมน่ าคา่ ใดมาใช้อ้างอิงในการทางานของระบบ ก. นา้ หนกั รวมของตวั รถยนต์ ข. ตาแหนง่ ของเซนเซอร์ ทใ่ี ช้อ้างองิ จะต้องอยทู่ ี่จดุ เร่ิมต้น ค. ระยะ Pitch Angle ของรถยนต์จะต้องมคี า่ เทา่ กบั 0 องศา ง. นา้ หนกั ของตวั ผ้ขู บั ข่ี จ. ตาแหนง่ ของ Actuator จะต้องอยทู่ ่จี ดุ เริ่มต้น 7. ระบบความปลอดภยั ตา่ งๆท่ีถูกติดตงั้ เข้ากบั รถยนต์อีซูซุมิว-เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ ระบบใด เม่ือถกู ยกเลกิ การทางานของ ระบบแล้วจะมีผลทาให้ระบบชว่ ยออกตวั บนทางลาดชนั HSA (Hill Start Assist) ไมท่ างาน ก. ระบบป้ องกนั การลน่ื ไถลของล้อ (TCS) ข. ระบบควบคมุ การทรงตวั ของรถยนต์ (ESC) ค. ระบบเบรก ABS ง. ระบบเสริมแรงดนั ของนา้ มนั เบรก (BA) จ. ถกู ทกุ ข้อ 8. เกียร์อตั โนมตั ิ รุ่น AWR6B45 ที่ด้านซ้ายมือหรือด้านเหลก็ วดั นา้ มนั เกียร์จะมี NAME PLATE โดยมี Serial No. ตอกไว้ท่ี เสอื ้ เกียร์ ข้อใดไมเ่ กี่ยวข้องกบั ข้อมลู ท่อี ยใู่ น NAME PLATE ก. หมายเลขการผลติ ข. รหสั สายการผลติ ค. รหสั รุ่นเกียร์ ง. เดือนทผ่ี ลติ จ. ปี ท่ีผลติ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 2

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 9. มาตรฐานยโู ร (European Emission Standards) ของเคร่ืองยนต์ดีเซลขนาดเล็ก คือมาตรฐานควบคมุ การปลอ่ ยมลพิษ ชนิดใดของรถยนต์ ก. ไฮโดรคาร์บอน (HC), ซลั เฟอร์ไดออกไซด์(SO2), สารมลพษิ อนภุ าค (Pm), ไนโตรเจนไดออกไซด์(NOx) ข. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2), ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2), ไนโตรเจนไดออกไซด์(NOx), กรดซลั ฟิวริก(H2SO4) ค. คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO), ไฮโดรคาร์บอน (HC), ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx),สารมลพิษอนภุ าค (Pm) ง. ไฮโดรคาร์บอน (HC), ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx), ซลั เฟอร์ไดออกไซด์ (SO2), ฝ่ นุ เขมา่ (Pm), ไฮโดรเจนซลั ไฟด์ (H2S) จ. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2), ไฮโดรคาร์บอน (HC), ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx), คาร์บอนมอนอกไซด์(CO) 10. ข้อใดบรรยายเกี่ยวกบั VIN (Vehicle Identification Number - หมายเลขตวั ถงั รถ) ทแ่ี สดงด้านลา่ งนไี ้ ด้ถกู ต้อง “ M P 1 T F R 8 7 J G T 000018” ก. รถยนต์ทีผ่ ลติ ในประเทศญ่ีป่ นุ มเี ครื่องยนต์ 4JJ1 และรุ่นปี 2016 ข. รถยนต์ท่ีผลติ ในประเทศไทย มเี คร่ืองยนต์ 4JJ1 และรุ่นปี 2017 และ ผลติ ที่โรงงานสาโรง ค. รถยนต์ท่ีผลติ ในประเทศไทย มีเคร่ืองยนต์ RZ4E และรุ่นปี 2016 และ ผลติ ทโี่ รงงานเกทเวย์ซติ ี ้ ง. รถยนต์ทผี่ ลติ ในประเทศไทย มีเครื่องยนต์ RZ4E และรุ่นปี 2016 และ ผลติ ทโี่ รงงานสาโรง จ. รถยนต์ทีผ่ ลติ ในประเทศไทย มเี ครื่องยนต์ 4JJ1 และรุ่นปี 2017 และผลติ ที่โรงงานเกทเวย์ซิตี ้ 11. ข้อใดไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกบั วิธีการจดั การนา้ มนั เบรก ก. การจดั เก็บนา้ มนั เบรกจะต้องเก็บไว้ในภาชนะทมี่ ีฝาปิ ดมดิ ชิด ข. เนื่องจากนา้ มนั เบรกจะดดู ความชืน้ และเสอื่ มสภาพเมือ่ ใช้ไปเป็ นเวลานาน จึงต้องเปลี่ยนนา้ มนั เบรกตามรอบ ระยะเวลาที่กาหนด ค. นา้ มนั เบรกจะต้องมีการจดั การด้วยความระมดั ระวงั เน่ืองจากนา้ มันเบรกจะสามารถซึมผ่านผิวทาสีใดๆก็ ตามทสี่ มั ผสั ง. ต้องใช้ความระมดั ระวงั ทีจ่ ะไมใ่ ห้มนี า้ มาปะปนกบั นา้ มนั เบรก เพราะถ้าหากมีนา้ เจือปนอยใู่ นนา้ มนั เบรกจะทา ให้จดุ เดอื ดของนา้ มนั เบรกลดลงและเกิดอาการเบรกจมได้งา่ ยขนึ ้ จ. การจดั เก็บนา้ มนั เบรกที่เหลอื อย่จู ะไม่สามารถนามาจดั เก็บรวมกบั นา้ มนั เบรกท่ีต่าง DOT กนั ได้ เพราะจะทา ให้คณุ สมบตั ขิ องนา้ มนั เบรกลดลง 12. สว่ นประกอบของนา้ มนั เกียร์และนา้ มนั เฟื องท้าย คือ นา้ มนั พืน้ ฐานและสารเพ่ิมคณุ ภาพ ข้อใดไม่ใช่สารเพ่ิมคณุ ภาพท่ี เพิม่ เติมให้กบั นา้ มนั พนื ้ ฐานของนา้ มนั เกียร์และนา้ มนั เฟืองท้ายสารเพิ่มดชั นคี วามหนดื ก. สารป้ องกนั การสกึ หรอ ข. สารเพม่ิ ดชั นคี วามหนดื ค. สารเพ่มิ การรวมตวั ของออกซเิ จนในอากาศกบั นา้ มนั ง. สารป้ องกนั การรวมตวั กบั นา้ จ. สารป้ องกนั การกดั กร่อนและการเกิดสนิม ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 3

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 13. ในสว่ นผสมของนา้ มนั หลอ่ ลน่ื จะมีสว่ นผสมของสารเพ่ิมคณุ ภาพ ซง่ึ หน่ึงในนนั้ ก็คือสารป้ องกนั การเกิดอ๊อกซิเดชนั่ และ สนมิ (Rust and Oxidation) ข้อใดกลา่ วถึงคณุ สมบตั ขิ องสารตวั นีไ้ ด้ถกู ต้อง ก. มีฤทธิ์เป็ นดา่ ง (Alkaline) ข. ป้ องกนั การรวมตวั กบั นา้ (Demulsibility) ค. ป้ องกนั การขีดขว่ น (Anti Scuff) ง. เป็ นสารที่ชว่ ยให้นา้ มนั หลอ่ ลน่ื สามารถรับแรงกดได้ดี (Extreme Pressure Additive) จ. เป็ นสารป้ องกนั การเกิดฟอง (Anti Foam Additive) 14. จากดัชนีของนา้ มันหล่อลื่นท่ีชีบ้ อกถึงค่าความหนืดของนา้ มันจะมีขอบเขตท่ีกาหนดไว้ เช่น SAE 10W-30 คอื นา้ มนั หลอ่ ลนื่ ทเี่ ป็ นเกรดรวม จากตวั เลขท่แี สดงหมายเลข 10 มีความหมายวา่ อยา่ งไร ก. หมายถึงอณุ หภมู ิทตี่ า่ ทีส่ ดุ ท่ที าให้นา้ มนั จบั ตวั กนั ข. หมายถึงอณุ หภมู ิท่สี งู ทสี่ ดุ ทท่ี าให้นา้ มนั จางลง ค. หมายถงึ คา่ ความหนืดของนา้ มนั นจี ้ ะไปใช้ทอ่ี ณุ หภมู ิต่าสดุ เทา่ ไร ง. หมายถงึ อณุ หภมู ิทต่ี ่าท่ีสดุ ที่ทาให้นา้ มนั จางลง จ. หมายถึงอณุ หภมู ทิ ตี่ า่ ที่สดุ ของนา้ มนั ทท่ี าให้คา่ ความหนืดของนา้ มนั คงอยู่ 15. ข้อใดกลา่ วถงึ คณุ สมบตั ขิ องนา้ มนั หลอ่ ลนื่ ท่มี ีดชั นีคา่ ความหนืดสงู ก. ความหนดื ไมเ่ ปลยี่ นแปลงในอณุ หภมู ิติดลบ ข. ความหนดื จะไมเ่ ปลย่ี นแปลงจนกวา่ อณุ หภมู จิ ะถึงคา่ ที่กาหนด ค. ความหนืดจะเปลย่ี นแปลงน้อยเม่ืออณุ หภมู เิ ปลย่ี นแปลง ง. ความหนดื จะเปลยี่ นแปลงมากเมอ่ื อณุ หภมู ิเปลย่ี นแปลง จ. ความหนดื จะไมเ่ ปลยี่ นแปลงเมอื่ อณุ หภมู ิเปลย่ี นแปลง 16. ข้อใดคอื ความหมายของคาวา่ “จดุ หยด (Drop Point) ” ของจารบี ก. อณุ หภมู ิทีจ่ ารบเี ป็ นไข ข. อณุ หภมู ิที่จารบีระเหยตวั ค. อณุ หภมู ทิ ีจ่ ารบแี ขง็ ตวั ง. อณุ หภมู ทิ จ่ี ารบถี ึงจดุ เดือด จ. อณุ หภมู ิทีจ่ ารบีหมดความคงตวั ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 4

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 17. ค่าซีเทน (Cetane Number) หมายถึง ตวั เลขที่แสดงคณุ สมบตั ิใดของนา้ มนั ดีเซล และถ้านา้ มนั ดีเซลมีค่าซีเทนต่าจะมี ผลเสยี ตอ่ เคร่ืองยนต์อยา่ งไร ก. คา่ ซเี ทน (Cetane Number) คือ ตวั เลขทีแ่ สดงถึงคณุ สมบตั ิของการอดั ตวั ของนา้ มนั ดีเซล แตถ่ ้านา้ มนั ดีเซลมี คา่ ซเี ทนต่าจะทาให้เคร่ืองยนต์สตาร์ทตดิ ยาก ข. คา่ ซเี ทน (Cetane Number) คือ ตวั เลขทแ่ี สดงถึงสว่ นผสมของไฮโดรคาร์บอน และถ้านา้ มนั ดีเซลมีค่าซีเทนต่า จะทาให้เคร่ืองยนต์เผาไหม้ไมส่ มบรู ณ์ ค. คา่ ซีเทน (Cetane Number) คอื ตวั เลขที่แสดงคา่ ความหนืดที่เหมาะสมของนา้ มนั ดีเซล ถ้าหากนา้ มนั ดีเซลมี คา่ ซีเทนตา่ จะทาให้เครื่องยนต์สตาร์ทติดยาก ง. คา่ ซเี ทน (Cetane Number) คอื ตวั เลขทแ่ี สดงถึงอณุ หภมู ิของนา้ มนั ดีเซลขณะจุดติดไฟ ถ้าหากนา้ มนั ดีเซลมี คา่ ซีเทนตา่ จะทาให้เครื่องยนต์เกิดเสยี งน็อก (เขก) จ. คา่ ซีเทน (Cetane Number) คอื ตวั เลขทแี่ สดงถงึ คณุ สมบตั กิ ารจดุ ติดไฟได้ด้วยตวั เองของนา้ มนั ดีเซล ถ้าหาก นา้ มนั ดีเซลมีคา่ ซีเทนตา่ จะทาให้เครื่องยนต์สตาร์ทตดิ ยากและเผาไหม้ไมส่ มบรู ณ์ 18. ก๊าซหงุ ต้มในครัวเรือนขณะถกู บรรจใุ นถงั จะอยใู่ นสถานะใด ก. สถานะของเหลว เพราะขณะบรรจเุ ข้าถงั มกี ารเพ่ิมความดนั ข. สถานะของเหลว เพราะขณะบรรจเุ ข้าถงั มีการลดความดนั ค. สถานะของเหลว เพราะขณะบรรจเุ ข้าถงั มีการเพิม่ อณุ หภมู ิ ง. สถานะของก๊าซ เพราะขณะบรรจเุ ข้าถงั อณุ หภมู ิของแก๊สจะสงู จ. สถานะของเหลว เพราะขณะบรรจเุ ข้าถงั มีการลดอณุ หภมู ิ 19. ข้อใดไมใ่ ช่ข้อได้เปรียบของนา้ มนั ไบโอดีเซลเม่อื เปรียบเทียบกบั ดีเซลจากปิ โตเลยี ม ก. เป็ นสารไมไ่ วไฟและไมร่ ะเบดิ ข. เครื่องยนต์จะมกี าลงั มากขนึ ้ ค. มคี า่ ซเี ทนสงู กวา่ นา้ มนั ดีเซลจากปิ โตรเลยี ม ง. หลอ่ ลน่ื แทนกามะถนั และลดฝ่ นุ ละอองหรือควนั ดาให้ต่าลง จ. เป็ นเชือ้ เพลงิ สะอาดและชว่ ยทาให้ประสทิ ธิภาพของการเผาไหม้ของเคร่ืองยนต์ดขี นึ ้ 20. ข้อใดคอื สาเหตสุ าคญั ท่ีต้องเตมิ สารป้ องกนั การรวมตวั กบั ออกซิเจน (Anti-Oxidation) ลงในนา้ มนั หลอ่ ลน่ื ก. เพอื่ ป้ องกนั การเกิดฟองถาวรเม่ือนา้ มนั หลอ่ ลน่ื ถกู หมนุ เวียนใช้ในระบบ ข. เพือ่ ป้ องกนั การเปลยี่ นแปลงคา่ ความหนืดตามอณุ หภมู ขิ องนา้ มนั ค. เพ่ือลดการเกิดตะกอนของนา้ มนั และชว่ ยยดื อายกุ ารใช้งานของนา้ มนั หลอ่ ลนื่ ง. เพอ่ื ใช้ลดจดุ แข็งตวั ของนา้ มนั หลอ่ ลน่ื ซง่ึ เกิดขนึ ้ ได้โดยไขในนา้ มนั แยกตวั เป็ นผลกึ จ. เพื่อเพ่มิ ความแข็งแรงของฟิล์มนา้ มนั ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 5

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 21. ในการวดั ค่าความคดของเพลาลกู เบีย้ วโดยใช้ไดแอลเกจ โดยเข็มของไดแอลเกจขยบั เล่อื นไปอย่ใู นช่วงที่แสดงในภาพ ด้านลา่ ง ให้เลอื กคา่ ของการวดั ท่ีถกู ต้องโดยสมมตุ ิวา่ ได้ทาการปรับเทียบตาแหนง่ (เซ็ท) ศนู ย์ของไดแอลเกจแล้วก่อนทา การวดั ก. 0.040 มลิ ลเิ มตร ข. 0.200 มลิ ลเิ มตร ค. 0.350 มิลลเิ มตร ง. 0.305 มิลลเิ มตร จ. 0.400 มิลลเิ มตร 22. ข้อใดถกู ต้องเกี่ยวกบั ความหมายของน็อตแบบหกเหลยี่ มท่รี ะบรุ ายละเอียดวา่ “M16 x 1.5” ก. เส้นผา่ ศนู ย์กลางของร่องเกลยี วในของน็อตเทา่ กบั 16 มิลลเิ มตร ข. การขนั เข้าและคลายออกควรใช้ประแจขนาด 16 มิลลเิ มตร ค. แรงบดิ ในการขนั ทอร์คมาตรฐานคอื 1.5 นวิ ตนั – เมตร ง. ระยะหา่ งระหวา่ งเกลยี วของนอ็ ตเทา่ กบั 1.5 มิลลเิ มตร จ. ขนาดความโตของหวั น็อตเทา่ กบั 16 มลิ ลเิ มตร และมีความยาวของเกลยี วน็อตเทา่ กบั 1.5 มลิ ลเิ มตร 23. จากภาพ ข้อใดถกู ต้องสาหรับคา่ ที่วดั ด้วยไมโครมเิ ตอร์กบั เวอร์เนียร์คาลปิ เปอร์ เวอร์เนยี ร์คาลปิ เปอร์ ไมโครมิเตอร์ ก. 11.35 มลิ ลเิ มตร 12.70 มลิ ลเิ มตร ข. 13.35 มลิ ลเิ มตร 12.20 มลิ ลเิ มตร ค. 13.35 มลิ ลเิ มตร 12.70 มิลลเิ มตร ง. 11.35 มิลลเิ มตร 12.20 มลิ ลเิ มตร จ. 11.35 มลิ ลเิ มตร 12.70 มิลลเิ มตร ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 6

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 24. ถ้าเราเซตซิลินเดอร์เกจท่ีค่า 90 มิลลิเมตร เพื่อวดั ความโตภายในกระบอกสบู เมื่อทาการวดั ปรากฏเข็มยาวชีไ้ ปตามทิศ ทางการหมนุ ของเข็มนาฬกิ าอยทู่ ีข่ ดี 35 จะอา่ นคา่ ได้เทา่ ใด ก. 89.650 มิลลเิ มตร ข. 90.035 มิลลเิ มตร ค. 90.350 มิลลเิ มตร ง. 89.065 มิลลเิ มตร จ. 93.050 มลิ ลเิ มตร 25. จากภาพ เป็ นการใช้เกจวดั กระบอกสบู (Bore Gauge) วดั เส้นผา่ นศนู ย์กลางกระบอกสบู โดยจุดที่ 1 คือตาแหน่งท่ีได้ทา การเซ็ท 0 ไว้ที่ 95 มลิ ลเิ มตร เมอ่ื ทาการตดิ ตงั้ เกจวดั กระบอกสบู เข้ากบั กระบอกสบู แล้วทาการโยกเกจวดั ปรากฎว่าเข็ม ของเกจวดั ขยบั ไปมาระหวา่ งจดุ ที่ 2 กบั จดุ ท่ี 3 ตามภาพ จากข้อมลู ดงั กลา่ วข้อใดกลา่ วถกู ต้องท่สี ดุ ก. กระบอกสบู นมี ้ ีเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 95.18 มลิ ลเิ มตร โดยอา่ นคา่ ท่ี จดุ ท่ี 3 คอื จดุ ท่ีกว้างที่สดุ ข. กระบอกสบู นมี ้ ีเส้นผา่ นศนู ย์กลาง 95.82 มิลลเิ มตร โดยอา่ นคา่ ที่ จดุ ท่ี 3 คอื จดุ ที่กว้างท่สี ดุ ค. กระบอกสบู นมี ้ เี ส้นผา่ นศนู ย์กลาง 95.07 มลิ ลเิ มตร โดยอา่ นคา่ ที่ จดุ ที่ 2 คอื จดุ ท่แี คบที่สดุ ง. กระบอกสบู นมี ้ เี ส้นผา่ นศนู ย์กลาง 95.93 มิลลเิ มตร โดยอา่ นคา่ ท่ี จดุ ท่ี 3 คือจดุ ทแี่ คบที่สดุ จ. กระบอกสบู นมี ้ เี ส้นผา่ นศนู ย์กลาง 95.00 มลิ ลเิ มตร โดยอา่ นคา่ ที่ จดุ ท่ี 1 คือจดุ ทีแ่ คบทีส่ ดุ 26. จากภาพ เป็ นสเกลไมโครมเิ ตอร์แบบวดั ใน (Inside Micrometer) ขนาด 25 – 50 มลิ ลเิ มตร ความละเอยี ด 0.01 มลิ ลเิ มตร อา่ นคา่ ได้เทา่ ใด ก. 44.05 มลิ ลเิ มตร ข. 44.45 มิลลเิ มตร ค. 44.55 มลิ ลเิ มตร ง. 45.55 มิลลเิ มตร จ. 46.05 มลิ ลเิ มตร ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 7

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 27. ไมโครมิเตอร์วดั นอกขนาด 0 – 25 มิลลเิ มตร มีความละเอียดเท่ากบั 1/100 (0.01 mm.) ถ้าหมนุ ปลอกหมนุ ไปจนครบ 25 รอบ จะได้คา่ ของการวดั เทา่ กบั เทา่ ไร ก. 0.25 มิลลเิ มตร ข. 12.50 มิลลเิ มตร ค. 15.00 มิลลเิ มตร ง. 15.25 มลิ ลเิ มตร จ. 25.00 มิลลเิ มตร 28. จากภาพ เป็ นข้อมลู Snapshot ที่บนั ทกึ เก็บไว้ อยากทราบว่าถ้าต้องการนาข้อมลู ดงั กลา่ วไปวิเคราะห์ ในคอมพิวเตอร์ เครื่องอนื่ ๆ ท่ีไมม่ ีโปรแกรม G-IDSS จะสามารถทาได้หรือไม่ และถ้าทาได้ต้องเลอื กเมนใู ด ก. ทาได้ โดยเลอื กเมนู OPEN ข. ทาได้ โดยเลอื กเมนู นาเข้า ค. ทาได้ โดยเลอื กเมนู สง่ ออก ง. ทาได้ โดยเลอื กเมนู สง่ ออกไปยงั CSV จ. ไมส่ ามารถใช้กบั คอมพวิ เตอร์ทไี่ มม่ โี ปรแกรม G-IDSS ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 8

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 29. หากต้องการทราบข้อมลู เกี่ยวกบั ขวั้ กลอ่ ง ECM ของรถยนต์อีซูซุมิว-เอก็ ซ์ วา่ แตล่ ะขวั้ ใช้งานอะไร จากภาพด้านลา่ งอยาก ทราบวา่ จะเข้าถงึ ข้อมลู ดงั กลา่ วได้อยา่ งไรจากเคร่ืองมือ G-IDSS ก. เลอื กข้อมลู การบริการ – คาอธิบายเคร่ืองยนต์ 4JJ1 (ข้อกาหนดEURO 4) – ข้อมลู การบารุงรักษา – ฟังก์ชนั , โครงสร้าง, การทางานของเคร่ืองยนต์ ข. เลอื กข้อมลู การบริการ – เครื่องยนต์ 4JJ1 (ข้อกาหนด EURO 4) – ระบบไฟฟ้ า – ECM การตงั้ คา่ ค. เลอื กข้อมลู การบริการ – การควบคมุ เครื่องยนต์ 4JJ1 (ข้อกาหนด EURO 4) – การควบคมุ เครื่องยนต์ ง. เลอื กข้อมลู การบริการ – ETM ทกุ รุ่น – เคร่ืองยนต์ จ. เลอื กข้อมลู การบริการ – ข้อมลู คาอธิบายทกุ รุ่น – ข้อมลู รถยนต์ 30. การคลกิ ตรงคาวา่ Enhance Diagnostics ที่แถบหน้าตา่ งคมู่ อื การซอ่ ม การทาเช่นนเี ้พอ่ื วตั ถปุ ระสงค์ใด ก. เพือ่ การเชื่อมตอ่ คมู่ ือการซอ่ มกบั การวินิจฉยั ข. เพอ่ื เช่ือมตอ่ รหสั ปัญหาเข้ากบั คมู่ อื การซอ่ ม ค. เพ่อื การเช่ือมตอ่ คมู่ อื การซอ่ มกบั ผงั วงจรไฟฟ้ า ง. เพอื่ การเช่ือมตอ่ คมู่ อื การซอ่ มกบั ข้อมลู สแนปช๊อต จ. เพ่อื การเชื่อมตอ่ คมู่ อื การซอ่ มกบั ข้อมลู (Data) ท่ีอ้างอิงในโปรแกรม G-IDSS ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 9

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 31. เลอื กข้อความที่ถกู ต้องเพ่อื เตมิ ลงในประโยคเพ่อื อธิบายเกี่ยวกบั การเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดเี ซล “ในการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ดเี ซล 4 จงั หวะจะม.ี ..(A)…สงู กวา่ เคร่ืองยนต์เบนซิน...(A)…ก็จะมีคา่ สงู สดุ เม่ือเครื่องยนต์ ...(B)…เน่ืองจาก...(C)…ของแก๊สไอเสียมีคา่ สงู ในสว่ นหน่ึงของช่วงการรับนา้ หนกั ,...(D)... ซงึ่ จะสามารถฟอกไอเสยี ได้ อย่างมีประสิทธิภาพในเครื่องยนต์เบนซินจึงไม่สามารถใช้ได้กับเครื่องยนต์ดีเซล ดงั นนั้ ในกรณีของเคร่ืองยนต์ดีเซล ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx) จะลดลงจากการใช้ระบบตา่ งๆ เช่นระบบการหมนุ เวียนแก๊สไอเสยี (EGR)” A BC D ก. อตั ราสว่ นอากาศเกิน มโี หลดเตม็ กาลงั ปริมาณซลั เฟอร์ เคร่ืองฟอกไอเสยี แบบใช้ตวั เร่ง ปฏิกริยาออกซเิ ดชน่ั ข. ประสทิ ธิภาพความร้อน อยทู่ รี่ อบเดินเบา ปริมาณซลั เฟอร์ เครื่องฟอกไอเสยี แบบใช้ตวั เร่ง ปฏกิ ริยาออกซเิ ดชนั่ ค. อตั ราสว่ นอากาศเกิน อยทู่ ่ีรอบเดนิ เบา ความหนาแนน่ ของ เครื่องฟอกไอเสยี แบบใช้ตวั เร่ง ออกซิเจน ปฏิกริยาสามทาง ง. ประสทิ ธิภาพความร้อน มโี หลดเต็มกาลงั ความหนาแนน่ ของ เครื่องฟอกไอเสยี แบบใช้ตวั เร่ง ออกซเิ จน ปฏกิ ริยาสามทาง จ. อตั ราสว่ นอากาศเกิน อยทู่ ่ีรอบเดนิ เบา ปริมาณซลั เฟอร์ เครื่องฟอกไอเสยี แบบใช้ตวั เร่ง ปฏิกริยาออกซิเดชน่ั 32. ข้อใดไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกบั ระบบควบคมุ ของเครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลอีซซู ุ ก. เซนเซอร์ตาแหนง่ เพลาข้อเหวี่ยง (CKP) และเซนเซอร์ตาแหนง่ เพลาลกู เบีย้ ว (CMP) ใช้เพื่อตรวจจบั ความเร็ว รอบของเคร่ืองยนต์ เม่ือสญั ญาณไมส่ อดคล้องกนั กลอ่ ง ECM จะทาให้ไฟตรวจสอบระบบเครื่องยนต์ติดเพ่ือ แสดงวา่ ความสมั พนั ธ์กนั ระหวา่ งตาแหนง่ เพลาข้อเหวยี่ งและตาแหนง่ เพลาลกู เบยี ้ วผดิ พลาด ข. เม่ือความเร็วรอบของเครื่องยนต์มคี า่ สงู แรงดนั ในการฉีดนา้ มนั เชือ้ เพลิงก็จะมีค่าสงู เช่นกนั และเม่ือความเร็ว รอบของเคร่ืองยนต์มีค่าต่า แรงดนั ในการฉีดนา้ มันเชือ้ เพลิงก็จะมีค่าต่าเช่นกัน อย่างไรก็ตามเคร่ืองยนต์ คอมมอนเรลสามารถทาให้แรงดนั ในการฉีดนา้ มนั เชือ้ เพลงิ เพ่ิมขนึ ้ ได้แม้ว่าความเร็วรอบของเครื่องยนต์จะอยู่ ในระดบั ตา่ ก็ตาม ค. สาหรับเคร่ืองยนต์คอมมอนเรลแม้ว่าสญั ญาณจากเซนเซอร์ตาแหน่งเพลาข้อเหว่ียง (CKP) จะหายไป กลอ่ ง ECM ก็จะระบสุ ถานะของกระบอกสบู แตล่ ะสบู เชน่ ไอดี, การอดั อากาศ, การเผาไหม้, และไอเสยี โดยใช้ เฉพาะสญั ญาณของเซนเซอร์ตาแหนง่ เพลาลกู เบยี ้ ว (CMP) เทา่ นนั้ ง. ในการชดเชยอณุ หภมู ไิ อดีของเคร่ืองยนต์คอมมอนเรล เมอื่ แรงเคล่อื นไฟฟ้ าเอาต์พทุ ของเซนเซอร์อณุ หภมู ิไอดี มีคา่ สงู ความหนาแนน่ ของไอดกี ็จะสงู ด้วยเช่นกนั ดงั นนั้ ปริมาณการฉีดนา้ มนั เชือ้ เพลงิ จะลดลง จ. เซนเซอร์ตาแหน่งเพลาข้อเหวี่ยง (CKP) และเซนเซอร์ตาแหน่งเพลาลกู เบีย้ ว (CMP) จะเป็ นเซนเซอร์ท่ีรับไฟ 5 โวลต์จากกลอ่ งควบคมุ เครื่องยนต์ (ECM) และลงกราวนด์ครบวงจรทก่ี ลอ่ งควบคมุ เครื่องยนต์ (ECM) ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 10

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 33. ข้อใดถกู ต้องเกี่ยวกบั วาล์วระบายความดนั นา้ มนั เครื่อง (Relief valve) ของปั๊มนา้ มนั เครื่อง ก. วาลว์ ระบายความดนั นา้ มนั เครื่องจะเปิ ดเมื่อตะแกรงกรองนา้ มนั เริ่มอดุ ตนั ข. วาล์วระบายความดนั นา้ มนั เคร่ืองจะเปิ ดเมอ่ื ความดนั นา้ มนั เครื่องในปั๊มนา้ มนั เคร่ืองเริ่มตา่ กวา่ คา่ ที่กาหนดไว้ ค. วาล์วระบายความดนั นา้ มนั เครื่องจะเปิ ดเมอ่ื ไส้กรองนา้ มนั เคร่ืองเริ่มอดุ ตนั ง. วาล์วระบายความดนั นา้ มนั เครื่องจะเปิ ดเมอ่ื ความดนั นา้ มนั เคร่ืองในปั๊มนา้ มนั เครื่องเริ่มสงู กวา่ คา่ ท่กี าหนดไว้ จ. วาล์วระบายความดนั นา้ มนั เครื่องจะเปิ ดเมอื่ ไส้ออยลค์ ลู เลอร์เริ่มอดุ ตนั 34. จากภาพ แสดงถึงภาพตัดขวางของแหวนลูกสบู ท่ีใช้ในเคร่ืองยนต์ 4JJ1 ข้อใดอธิบายส่วนประกอบของแหวนลูกสบู ได้ถกู ต้อง ก. (A) คอื แหวนอดั ตวั ท่ี 1 , (B) คือแหวนอดั ตวั ท่ี 2 , (C) คอื แหวนกวาดนา้ มนั ข. (B) คอื แหวนอดั ตวั ที่ 1 , (C) คือแหวนอดั ตวั ที่ 2 , (A) คือแหวนกวาดนา้ มนั ค. (C) คือแหวนอดั ตวั ท่ี 1 , (B) คือแหวนอดั ตวั ที่ 2 , (A) คือแหวนกวาดนา้ มนั ง. (C) คอื แหวนอดั ตวั ท่ี 1 , (A) คอื แหวนอดั ตวั ท่ี 2 , (B) คอื แหวนกวาดนา้ มนั จ. (A) คอื แหวนอดั ตวั ที่ 1 , (C) คือแหวนอดั ตวั ที่ 2 , (B) คือแหวนกวาดนา้ มนั 35. ในการพฒั นาเครื่องยนต์เพื่อลดมลพิษทางอากาศ วธิ ีหนง่ึ ทีถ่ กู นามาพฒั นาก็คอื การลดขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลางของรูหวั ฉีด ให้เลก็ ลง การพฒั นาดงั กลา่ วเพื่อวตั ถปุ ระสงค์ในการลดมลพิษตวั ใด ก. ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx) ข. ไฮโดรคาร์บอน (HC) ค. ฝ่ นุ เขมา่ (Pm) ง. คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จ. คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 11

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 36. ข้อใดถกู ต้องเกี่ยวกบั ไทม่งิ ของวาล์ว “เคร่ืองยนต์แบบแถวเรียง 4 สบู 4 จงั หวะมีลาดบั การจุดระเบิด 1-3-4-2 เม่ือสบู ท่ี 3 ของเคร่ืองยนต์อยใู่ นจงั หวะอดั ท่ี จดุ ศนู ย์ตายบน (TDC) โดยสบู ท่ีอยใู่ นจงั หวะโอเวอร์แลปคอื สบู (A) และสบู ท่ีเป็ นจงั หวะดดู ท่ีศนู ย์ตายลา่ ง (BDC) คือสบู (B)” AB ก. สบู ที่ 4 สบู ท่ี 2 ข. สบู ท่ี 3 สบู ที่ 1 ค. สบู ที่ 2 สบู ท่ี 4 ง. สบู ที่ 1 สบู ท่ี 3 (จงั หวะสง่ ขนึ ้ ) จ. สบู ท่ี 2 สบู ท่ี 4 (จงั หวะสง่ ขนึ ้ ) 37. ข้อใดถกู ต้องเก่ียวกบั การน็อกของเครื่องยนต์ดีเซล ก. การน็อกของเครื่องยนต์ดีเซลมีโอกาสเกิดขนึ ้ ได้มากเม่ือใช้นา้ มนั เชือ้ เพลงิ ทจ่ี ดุ ระเบดิ ได้งา่ ย ข. การน็อกของเครื่องยนต์ดีเซลสามารถลดลงได้โดยการลดกาลงั อดั และลดอณุ หภมู ใิ นกระบอกสบู ค. การนอ็ กของเครื่องยนต์ดเี ซลมีโอกาสเกิดขนึ ้ ได้มากเมอื่ จงั หวะการเผาไหม้เกิดเร็วไปหรือเมื่อกาลงั อดั ตา่ เกินไป ง. การน็อกของเคร่ืองยนต์ดเี ซลเกิดขนึ ้ เมอ่ื ระยะเวลาจากการฉีดนา้ มนั เชือ้ เพลงิ จนถึงการจดุ ระเบิดสนั้ ลง และการ เผาไหม้เกิดขนึ ้ ชว่ั คราวหลงั นา้ มนั เชือ้ เพลงิ จดุ ระเบดิ ซงึ่ เป็ นสาเหตใุ ห้ความดนั เพ่มิ ขนึ ้ อยา่ งรวดเร็ว จ. การน็อกของเครื่องยนต์ดีเซลเป็ นปรากฏการณ์ที่เป็ นปกติท่ีสามารถเกิดขึน้ ได้ทัง้ เครื่องยนต์เบนซินและ เครื่องยนต์ดเี ซล 38. จงนาคาตอบท่ีถกู ต้องมาเติมในช่องวา่ งเพอื่ ให้เกิดความสมบรู ณ์ในกระบวนการนาไอดเี ข้าสหู่ ้องเผาไหม้เครื่องยนต์ “ไอดีผา่ นเซนเซอร์ ...1... เมอ่ื ผา่ นเทอร์โบชาร์จเยอร์ทาให้มี ...2... กอ่ นที่ไอดจี ะเข้าเครื่องยนต์ต้องผ่านอินเตอร์คลู เลอร์ทา ให้ ...3... สง่ ผลทาให้...4... ทาให้เกิดการเผาไหม้ไอดที ่รี วดเร็วและสมบรู ณ์ยิง่ ขนึ ้ ” ก. แรงดนั อากาศ, แรงดนั เพมิ่ ขนึ ้ , แรงดนั ลดลง, ความหนาแนน่ เพม่ิ ขนึ ้ ข. อณุ หภมู ิอากาศ, อณุ หภมู ิเพ่ิมขนึ ้ , แรงดนั เพมิ่ ขนึ ้ , ความหนาแนน่ เพิ่มขนึ ้ ค. วดั การไหลของอากาศ, อณุ หภมู ิเพิ่มขนึ ้ , อณุ หภมู ิลดลง, ความหนาแนน่ เพ่มิ ขนึ ้ ง. วดั อณุ หภมู ิอากาศ, อณุ หภมู ิเพิ่มขนึ ้ , อณุ หภมู ิลดลง, ความหนาแนน่ เพิ่มขนึ ้ จ. วดั การไหลของอากาศ, อณุ หภมู ิเพิม่ ขนึ ้ , ความหนาแนน่ เพิม่ ขนึ ้ , อณุ หภมู ลิ ดลง ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 12

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 39. จากภาพ ข้อใดนา่ จะเป็ นสาเหตกุ ารเสยี หายของใบพดั ด้านไอดี (Compressor) ของเทอร์โบชาร์จเจอร์ ก. นา้ มนั เคร่ืองสกปรกเนอ่ื งจากไมไ่ ด้เปลยี่ นถ่ายนา้ มนั เครื่องตามระยะเวลา ข. ดับเครื่องยนต์ทันทีทันใดขณะท่ีเคร่ืองยนต์มีความเร็วรอบสูงอยู่ โดยไม่ได้ทาการลดรอบเครื่องยนต์ลง (Warm Down) กอ่ น ค. มสี ง่ิ แปลกปลอมท่ีเป็ นวตั ถอุ อ่ นหลดุ เข้าไปในระบบ ง. เกิดจากการกดั กร่อนท่มี ีสาเหตมุ าจากฝ่ นุ ผงหลดุ เข้าไปเนื่องจากสภาพของไส้กรองอากาศไมด่ ี จ. น็อตยดึ ใบพดั ด้านไอดี (Compressor) หรือเศษชิน้ สว่ นจากเทอร์โบชาร์จเจอร์ตวั เกา่ หลดุ เข้าไปในระบบ 40. จากค่มู ือการซ่อมเคร่ืองยนต์รุ่น 4JJ1-TC ที่ระบถุ ึงวิธีการตรวจสอบวาล์วนา้ (Thermostat) โดยวิธีการให้ความร้อนด้วย การต้มและต้องคนนา้ ในภาชนะตลอดเวลา การทาเช่นนเี ้พอื่ วตั ถปุ ระสงค์ใด ก. ให้อณุ หภมู ิของนา้ เพ่มิ ขนึ ้ อยา่ งช้าๆ เพ่ือป้ องกนั การเสยี หายของวาลว์ นา้ ข. เพอ่ื ให้อณุ หภมู ิของนา้ เพิม่ ขนึ ้ อยา่ งรวดเร็ว วาลว์ นา้ จะได้ไมเ่ กิดการเสยี หาย ค. ป้ องกนั ไมใ่ ห้อณุ หภมู ิของนา้ สงู เกินไป เพ่ือป้ องกนั การเสยี หายของวาล์วนา้ ง. เพื่อรักษาอณุ หภมู ขิ องนา้ ให้มอี ณุ หภมู ิสงู เอาไว้จะได้ง่ายตอ่ การวเิ คราะห์ถงึ ความเสยี หายของวาล์วนา้ จ. เพอื่ ให้อณุ หภมู ขิ องนา้ ในภาชนะเทา่ กนั ทกุ จดุ เพื่อความแมน่ ยาในการตรวจวดั อณุ หภมู ขิ องนา้ ในภาชนะ 41. ในระบบหลอ่ เยน็ ของเคร่ืองยนต์จะมีวาล์วนา้ (Thermostat) ซง่ึ เป็ นแบบแวกซ์เพลเล็ต พร้อมจิกเกิลวาล์วโดยการที่วาล์ว นา้ มีจิกเกิลวาลว์ เอาไว้นนั้ เพื่อจดุ ประสงค์ใด ก. เพอ่ื รักษาความดนั ของนา้ หลอ่ เยน็ ภายในเครื่องยนต์ ข. เพื่อลดความดนั ของนา้ หลอ่ เย็นภายในเครื่องยนต์ ค. เพอ่ื ระบายอากาศในระบบหลอ่ เยน็ ของเคร่ืองยนต์ ง. เพื่อควบคมุ ความดนั ของอากาศในนา้ หลอ่ เยน็ จ. เพื่อควบคมุ ความดนั ของนา้ หลอ่ เย็นภายในเคร่ืองยนต์ให้คงที่ 42. โดยปกติเครื่องยนต์สนั ดาปภายในจะทาหน้าที่เปล่ยี นพลงั งานความร้อนให้เป็ นพลงั งานกล โดยพลงั งานความร้อนท่ีถกู นามาใช้จะสามารถใช้ได้ประมาณ 1 ใน 3 สว่ นของพลงั งานทงั้ หมด อกี 2 สว่ นท่ีหายไปนนั้ จะสญู เสยี ไปกบั สว่ นใด ก. ระบบออยลค์ ลู เลอร์, ระบบไอเสยี ข. ระบบ EGR, ระบบไอดี ค. ระบบระบายความร้อน, ระบบไอเสยี ง. ระบบไอดี, ระบบไอเสยี จ. ระบบระบายความร้อน, ระบบออยลค์ ลู เลอร์ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 13

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 43. ข้อใดกลา่ วถงึ อาการท่ไี อเสยี ของเคร่ืองยนต์ดเี ซลมคี วนั ดาขณะตดิ เครื่องยนต์ครัง้ แรกได้ถกู ต้อง ก. เกิดจากการท่ีเหยยี บคนั เร่งน้อยเกินไป ข. เกิดจากไส้กรองอากาศสกปรก ค. เกิดจากเคร่ืองยนต์ร้อนจดั ง. เกิดจากเคร่ืองยนต์ยงั ร้อนไมพ่ อ จ. เกิดจากเคร่ืองยนต์มีอตั ราสว่ นผสมท่ไี มถ่ กู ต้อง 44. ในการติดตงั้ ตวั แปรสภาพไอเสยี (Catalytic converter) เข้ากบั เครื่องยนต์ดีเซลคอมมอนเรลอีซูซุ รุ่น 4JJ1-TCX เพ่ือแปร สภาพแก๊สไอเสยี ซง่ึ ในการปลอ่ ยแก๊สไอเสียของเคร่ืองยนต์นีจ้ ะมีแก๊สไอเสยี บางชนิดที่ไม่ได้แปรสภาพ แก๊สที่กลา่ วถึงนี ้ คอื แก๊สชนิดใด ก. ไฮโดรคาร์บอน (HC)และ ไนโตรเจนอ๊อกไซด์ (NOx) ข. ไนโตรเจนอ๊อกไซด์ (NOx) และ เขมา่ ควนั (Pm) ค. เขมา่ ควนั (Pm) และ ไฮโดรคาร์บอน (HC) ง. คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) และ ไฮโดรคาร์บอน (HC) จ. คาร์บอนไดอ๊อกไซด์ (CO2) และ ไนโตรเจนอ๊อกไซด์ (NOx) 45. ในการฉีดนามนั เชือ้ เพลิงของเคร่ืองยนต์ดีเซล จะมีการนาระบบการฉีดนา้ มันเชือ้ เพลิงท่ีเรียกว่าการฉีดแบบนาร่อง (PILOT INJECTION) มาใช้ ซงึ่ การฉีดแบบนาร่องทน่ี ามาใช้นมี ้ ปี ระโยชน์อยา่ งไร ก. ช่วยเพิ่มแรงดนั ของนา้ มนั เชือ้ เพลงิ ในจงั หวะเร่ิมฉีดของหวั ฉีด ข. ช่วยลดแรงดนั ของนา้ มนั เชือ้ เพลงิ ในจงั หวะเร่ิมฉีดของหวั ฉีด ค. ชว่ ยลดเสยี งทเ่ี กิดจากการจดุ ระเบิดทงั้ ในรอบต่าและสงู ง. ช่วยลดเสยี งทเ่ี กิดจากการจดุ ระเบิดในรอบตา่ จ. ช่วยลดเสยี งทเ่ี กิดจากการจดุ ระเบดิ ในรอบสงู ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 14

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 46. ข้อใดกลา่ วถึงวิธีการปิ ด – เปิ ดไฟเตือนการเปล่ยี นตาแหน่งเกียร์ (GSI) ของรถยนต์อีซูซุมิว-เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ ในรุ่นท่ีใช้ เกียร์ รุ่น MVL6N และไมม่ รี ะบบกญุ แจอจั ฉริยะ(Isuzu Genius Entry) ได้ถกู ต้อง ก. บิดสวิตซ์กุญแจไปยงั ตาแหนง่ ON ขณะที่กดสวิตซ์ MID ด้านซ้ายหรือด้านขวาค้างไว้ และเหยียบแป้ นเบรก ครบ 3 ครัง้ ภายในเวลา 7 วินาที หากไมต่ ้องการให้แสดงตาแหนง่ เกียร์ให้ทาตามขนั้ ตอนซา้ อกี ครัง้ ข. บิดสวิตซ์กุญแจไปยงั ตาแหน่ง ON ขณะที่กดสวิตซ์ MID ด้านซ้ายหรือด้านขวาค้างไว้ และเหยียบแป้ นคลตั ช์ ครบ 3 ครัง้ ภายในเวลา 7 วนิ าที หากไมต่ ้องการให้แสดงตาแหนง่ เกียร์ให้ทาตามขนั้ ตอนซา้ อกี ครัง้ ค. บดิ สวิตซ์กญุ แจไปยงั ตาแหนง่ ON และเสยี บ - ถอดแผ่นล็อกเข็มขดั นิรภยั ออกจากหวั เข็มขดั นิรภยั ด้านคนขบั 3 ครัง้ ภายในเวลา 7 วนิ าที หากไมต่ ้องการให้แสดงตาแหนง่ เกียร์ให้ทาตามขนั้ ตอนซา้ อีกครัง้ ง. บิดสวิตซ์กญุ แจไปยงั ตาแหนง่ ON ขณะที่กดสวติ ซ์ MID ด้านซ้ายหรือด้านขวาค้างไว้และเสยี บ - ถอดแผน่ ลอ็ ก เข็มขดั นริ ภยั ออกจากหวั เขม็ ขดั นิรภยั ด้านคนขบั 3 ครัง้ ภายในเวลา 7 วินาที หากไม่ต้องการให้แสดงตาแหนง่ เกียร์ให้ทาตามขนั้ ตอนซา้ อกี ครัง้ จ. บดิ สวิตซ์กญุ แจไปยงั ตาแหนง่ ON ขณะที่กดสวิตซ์ MID ด้านซ้ายหรือด้านขวาค้างไว้และเสยี บ - ถอดแผน่ ลอ็ ก เข็มขดั นิรภยั ออกจากหวั เข็มขดั นิรภยั ด้านผ้โู ดยสาร 3 ครัง้ ภายในเวลา 7 วินาที หากไม่ต้องการให้แสดง ตาแหนง่ เกียร์ให้ทาตามขนั้ ตอนซา้ อกี ครัง้ 47. ระบบเกียร์ธรรมดา การทางานของเฟื องเกียร์เพลารอง (เพลาราวลา่ ง) จะมีทิศทางการหมนุ เป็ นอยา่ งไร ขณะใช้งานใน ตาแหนง่ เกียร์ตา่ งๆ ก. เฟืองทกุ ตวั หมนุ ตามทิศทางการหมนุ ของเครื่องยนต์ ข. เฟืองทกุ ตวั หมนุ ทวนทิศทางการหมนุ ของเครื่องยนต์ ค. เฟืองเกียร์ 1-5 หมนุ ตามทศิ ทางการหมนุ ของเครื่องยนต์, เกียร์ถอยจะหมนุ ทวน ง. เกียร์ถอยจะหมนุ ตามทิศทางการหมนุ ของเครื่องยนต์ เฟืองเกียร์ 1-5 จะหมนุ ทวน จ. เฟืองทกุ ตวั จะหมนุ ตาม ยกเว้นเฟืองเกียร์ 4 จะหมนุ ทวน 48. เฟื องแบบเพลนเนททารี (Plannetary Gear) ถ้าหากเราต้องการให้ตวั ตามมีแรงบิดมากและมีทิศทางในการหมนุ ไป ในทิศทางเดยี วกนั เพราะฉะนนั้ ชิน้ สว่ นตา่ งๆจะทางานอยา่ งไร ก. ริงเกียร์ (Ring Gear) เป็ นตวั ขบั , แคร์ริเออร์ (Carrier) ยดึ อยกู่ บั ท่ี และซนั เกียร์ (Sun Gear) เป็ นตวั ตาม ข. แครร์ริเออร์ (Carrier) เป็ นตวั ขบั , ริงเกียร์ (Ring Gear) เป็ นตวั ตาม และซนั เกียร์ (Sun Gear) ยดึ อยกู่ บั ที่ ค. ริงเกียร์ (Ring Gear) เป็ นตวั ตาม, แคร์ริเออร์ (Carrier) ยดึ อยกู่ บั ที่ และซนั เกียร์ (Sun Gear) เป็ นตวั ขบั ง. ริงเกียร์ (Ring Gear) เป็ นตวั ขบั , ซนั เกียร์ (Sun Gear) ยดึ อยกู่ บั ท่ี และแคร์ริเออร์ (Carrier) เป็ นตวั ตาม จ. ริงเกียร์ (Ring Gear) เป็ นทงั้ ชดุ ขบั และชดุ ตาม และชดุ แคร์ริเออร์ (Carrier) ยดึ อยกู่ บั ที่ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 15

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 49. เพราะเหตใุ ดเกียร์ธรรมดา รุ่น MUX5S จงึ ต้องเลอื กขนาดของแหวนลอ็ คเพลาเอาท์พทุ ก. เพราะเพลาเอาท์พทุ ต้องรับแรงกดมาก ข. เพราะลกู ปื นปลายเพลาเอาท์พทุ เป็ นแบบลกู ปื นกลม (Ball Bearing) ค. เพราะลกู ปื นปลายเพลาเอาท์พทุ เป็ นแบบลกู ปื นเทเปอร์ (Taper Bearing) ง. เพราะลกู ปื นปลายเพลาเอาท์พทุ เป็ นแบบลกู ปื นเข็ม (Needle Bearing) จ. เพราะด้านหลงั ของเพลาเอาท์พทุ สนั้ 50. เพลาอินพทุ (Input) ของเกียร์อตั โนมตั จิ ะรับกาลงั จากอปุ กรณ์ชิน้ ใดในชดุ ทอร์คคอนเวอร์เตอร์ ก. ชดุ สเตเตอร์ (Stator) ข. ชดุ อมิ เพลเลอร์ (Impeller) ค. ชดุ เทอร์ไบน์ (Turbine) ง. ชดุ วนั เวย์คลตั ช์ (One Way Clutch) จ. ชดุ ลอ็ คอพั คลตั ช์ (Lock up Clutch) 51. ข้อใดกล่าวถึงความหมายตาแหน่งเกียร์โอเวอร์ไดรฟ์ (เกียร์ 6 ) ของเกียร์ รุ่น MVL6N ท่ีใช้กับรถยนต์อีซูซุดีแมคซ์ บลเู พาเวอร์ได้ถกู ต้อง ก. รอบหมนุ เพลาคลตั ช์มากกวา่ เพลากลาง ข. รอบหมนุ เพลาเมนน้อยกวา่ เพลารอง ค. รอบหมนุ เพลากลางมากกวา่ เพลาคลตั ช์ ง. รอบหมนุ เพลารองมากกวา่ เพลาเมน จ. รอบหมนุ เพลาคลตั ช์เทา่ กบั เพลาเมน 52. รถยนต์อีซูซุขับเคล่ือน 4 ล้อ ที่ใช้เฟื องท้ายแบบลิมิเต็ดสลิปหรือแบบที่แผ่นคลตั ช์ทางานร่วมกับชุดเฟื องดอกจอกมี วตั ถปุ ระสงค์หลกั ทีเ่ กี่ยวกบั การทางานอยา่ งไร ก. เพมิ่ แรงบิดขณะขบั เคลอ่ื น ข. ป้ องกนั การสกึ หรอของยาง ค. ป้ องกนั การหมนุ ฟรีของล้อ ง. เพื่อเปลยี่ นทิศทางการสง่ แรงจากเพลากลางสเู่ พลาข้าง จ. เพื่อให้รถยดึ เกาะถนนได้ดยี งิ่ ขนึ ้ 53. สเตเตอร์ (Stator) ในชดุ ทอร์คคอนเวอร์เตอร์ (Torque converter) จะเร่ิมทางานเมอื่ ใด ก. เมือ่ รถวง่ิ ที่ความเร็วสงู สดุ ข. เมื่อรถเริ่มออกตวั ค. เมอื่ มกี ารเหยยี บเบรก ง. เมอ่ื รถจอดตดิ เคร่ืองยนต์และตาแหนง่ เกียร์อยทู่ ่ตี าแหนง่ P จ. เมอ่ื ชดุ ลอ็ คอพั (Lock-up) ทางาน ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 16

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 54. ข้อใดคือจดุ ที่แตกตา่ งกนั ของเกียร์อตั โนมตั ิ รุ่น TB-50L กบั เกียร์อตั โนมตั ิ รุ่น AWR6B45 ที่ใช้ในรถยนต์อีซูซดุ แี มคซ์ ก. ชดุ เบรก (Brake) ข. ชดุ คลตั ช์ (Clutch) ค. ชดุ คลตั ช์ทางเดียว (Oneway Clutch) ง. ชดุ แพลนเนททารีเกียร์ด้านหน้า (Plannetary Gear) จ. โหมดลงทางลาดชนั ของเกียร์ (Grade Logic Control) 55. จากภาพ เป็ นชดุ เดือยหมขู องเฟืองท้ายทแ่ี สดงให้เห็นจะเหน็ วา่ มีหมายเลข +2 ทีด่ ้านบนของเฟืองเดอื ยหมู อยากทราบว่า หมายเลข +2 มคี วามหมายวา่ อยา่ งไร ก. เป็ นคา่ ท่ีแสดงวา่ ต้องมีการปรับตงั้ ระยะของเฟื องเดือยหมใู หมโ่ ดยการลดขนาดความหนาแผ่นชิมรองลกู ปื น เดือยหมู ข. เป็ นค่าท่ีแสดงว่าต้องมีการปรับตงั้ ระยะของเฟื องเดือยหมใู หม่ โดยการเพ่ิมขนาดความหนาของแผ่นชิมรอง ลกู ปื นเดอื ยหมู ค. เป็ นคา่ ที่แสดงวา่ ต้องมีการปรับตงั้ ระยะของเฟืองเดือยหมใู หมโ่ ดยการเพม่ิ จานวนแผน่ ชิมรองลกู ปื นเดือยหมู ง. เป็ นคา่ ท่แี สดงวา่ ต้องมกี ารปรับตงั้ ระยะของเฟืองเดอื ยหมใู หมโ่ ดยการลดจานวนแผน่ ชิมรองลกู ปื นเดือยหมู จ. เป็ นคา่ ทแ่ี สดงวา่ ต้องมกี ารปรับตงั้ เฟืองเดอื ยหมใู หม่ โดยการปรับคา่ พรีโหลด 56. หน้าท่ีหลกั ของสปริงในระบบรองรับนา้ หนกั คือการรับแรงสน่ั สะเทือนจากสภาพของพืน้ ผิวถนน แต่มีสปริงชนิดหน่ึงท่ี ทาหน้าท่ีรับแรงบดิ ในการขบั เคลอ่ื นและแรงเบรกในการหยดุ รถ ซง่ึ จากหน้าทีด่ งั กลา่ วสปริงชนิดใดทีจ่ ะทาหน้าท่รี ับแรงบดิ ก. สปริงถงุ ลม (Air Spring) ข. ทอร์ชนั่ บาร์ (Torsion Bar) ค. สปริงขด (Coil Spring) ง. แหนบแผน่ (Leaf Spring) จ. แหนบแผน่ (Leaf Spring) และ ทอร์ชนั่ บาร์ (Torsion Bar) 57. ข้อใดกลา่ วถกู ต้อง ก. คอยลส์ ปริงในระบบกนั สะเทือนจะสามารถดดู ซบั แรงสน่ั สะเทอื นด้านข้างได้ดี ข. หนวดก้งุ ทาหน้าทล่ี ดการเต้นเป็ นสปริงของระบบรองรับนา้ หนกั ค. เหลก็ กนั โคลงเป็ นอปุ กรณ์ทดี่ ดู ซบั การบิดตวั ของล้อด้านซ้ายและด้านขวาขณะเลยี ้ วโค้ง ง. แหนบแผน่ ไมส่ ามารถดดู ซบั แรงสน่ั สะเทอื นด้านข้างได้ จ. ถ้าโช้กอพั รั่วจะทาให้ระบบรองรับนา้ หนกั แข็งกระด้าง ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 17

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 58. ข้อใดกลา่ วถึงความหมายของมมุ แคมเบอร์ (Camber) รถยนต์ได้ถกู ต้อง ก. มมุ แคมเบอร์คอื มมุ ระหวา่ งเส้นผา่ ศนู ย์กลางสลกั คอม้าหรือลกู หมากปี กนกในแนวด่ิงกบั เส้นผ่าศนู ย์กลางของ ยาง เม่อื มองจากหน้ารถ ข. มมุ แคมเบอร์คอื มมุ เอยี งเข้าข้างในหรือมมุ เอียงเข้าหากนั ของปลายด้านบนของสลกั คอม้าหรือลกู หมากปี กนก เมอื่ มองจากหน้ารถ ค. มมุ แคมเบอร์คือมมุ สว่ นบนของล้อหน้าเอยี งทามมุ กบั แนวดง่ิ เม่ือมองจากหน้ารถ ง. มมุ แคมเบอร์คือมมุ ระหวา่ งเส้นผา่ ศนู ย์กลางสลกั คอม้าหรือลกู หมากปี กนกในแนวด่ิงกบั เส้นผ่าศนู ย์กลางของ ยาง เมื่อมองจากด้านข้างรถ จ. มมุ แคมเบอร์คือมมุ ระหวา่ งเส้นผา่ ศนู ย์กลางสลกั คอม้าหรือลกู หมากปี กนกในแนวดิ่งกบั เส้นผ่าศนู ย์กลางของ ยาง เมื่อมองจากด้านหน้ารถ 59. ข้อใดกลา่ วถึงการตงั้ ศนู ย์ล้อรถยนต์ได้ถกู ต้อง ก. เมอ่ื มมุ แคสเตอร์ (Caster Angle) เพม่ิ ขนึ ้ รัศมวี งเลยี ้ วของรถจะลดลง ข. มมุ เอียงคิงพิน (Kingpin Incline Angle) คือมมุ ระหวา่ งศนู ย์กลางของคิงพินกบั ศนู ย์กลางของยางรถเม่ือมอง จากด้านหน้ารถ ค. เนอื่ งจากมมุ แคมเบอร์ (camber angle) เข้าใกล้คา่ ศนู ย์ ดงั นนั้ คา่ ผลกั แคมเบอร์ (camber thrust) จะเพ่ิมขนึ ้ ง. เมอ่ื ใช้เพลาหน้าแบบแข็ง มมุ แคมเบอร์ (camber angle) จะไมม่ ีการเปลยี่ นแปลงมากนกั แม้วา่ ตวั ถงั รถจะเกิด การโคลงขณะหกั เลยี ้ ว และชดุ กนั สะเทอื นฝั่งด้านนอกโค้งจะจมลงก็ตาม จ. มุมแคมเบอร์ (camber) คือมุมระหว่างเส้นผ่าศูนย์กลางสลกั คอม้าหรือลูกหมากปี กนกในแนวดิ่งกับ เส้นผา่ ศนู ย์กลางของยางเมือ่ มองจากหน้ารถ 60. ข้อใดไมใ่ ชป่ ัญหาทจ่ี ะเกิดขนึ ้ ในกรณีปรับมมุ เอยี งสลกั คอม้า (King Pin) หรือมมุ เอียงลกู หมากปี กนกไมถ่ กู ต้อง ก. มมุ เอยี งสลกั คอม้า (King Pin) มากเกินไปจะมผี ลทาให้พวงมาลยั หนกั และเลยี ้ วยาก ข. มมุ เอยี งสลกั คอม้า (King Pin) ของล้อทงั้ สองข้างไมเ่ ทา่ กนั จะมีผลทาให้รถวงิ่ สา่ ย ค. มมุ เอียงสลกั คอม้า (King Pin) น้อยเกินไปไมส่ ง่ ผลจะทาให้แกนล้อหน้าคด ง. มมุ เอียงสลกั คอม้า (King Pin) มากเกินไปไมส่ ง่ ผลตอ่ แกนล้อหน้าคด จ. มมุ เอียงสลกั คอม้า (King Pin) มีมากหรือน้อยเกินไปจะทาให้ลกู ปื นล้อหน้าสกึ หรอและเสยี หายเร็ว 61. ข้อใดกลา่ วถึงอาการผิดปกติของรถยนต์ที่ใช้ระบบเบรก ABS ก. ระยะการเบรกจะยาวกวา่ ระบบเบรกธรรมดา ข. มีเสยี งดงั เกิดขนึ ้ ขณะท่ีเบรก ABS ทางาน ค. เบรกจะลอ็ กเม่ือเหยยี บเบรกอยา่ งแรง ง. เกิดการสนั่ ทแ่ี ป้ นเหยียบเบรกขณะเหยียบเบรก จ. ไมเ่ กิดการฝื ดขณะทเี่ หยียบเบรก ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 18

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 62. เบลนด์วาล์ว (Blend Valve) ท่ีติดตงั้ กบั รถยนต์อีซูซุดีแมคซ์ บลเู พาเวอร์ ในรุ่นที่ไม่มีระบบเบรก ABS เบลนด์วาล์วจะทา หน้าทอี่ ะไร ก. กระจายความดนั น้ามนั เบรกระหวา่ งล้อหน้ากบั ล้อหลงั ข. เสริมความดนั น้ามนั เบรกในกรณีเบรกฉกุ เฉิน ค. ลดแรงสนั่ สะเทอื นทเี่ กิดขนึ ้ ทแ่ี ป้ นเหยียบเบรกขณะเบรก ง. เพ่มิ ความดนั น้ามนั เบรกให้ล้อหน้าและล้อหลงั จ. ปรับความดนั น้ามนั เบรกล้อหลงั เพอ่ื ป้ องกนั ล้อหลงั ลอ็ ค 63. ระบบถงุ ลมจะทางานหรือไม่ ในกรณีทีผ่ ้ขู บั ขรี่ ถยนต์อีซูซุดแี มคซ์ไมไ่ ด้คาดเข็มขัดนิรภยั แล้วประสบอบุ ตั ิเหตุแบบประสาน งา ก. ระบบถงุ ลมนริ ภยั จะไมท่ างาน เพราะผ้ขู บั ขไ่ี มค่ าดเข็มขดั นิรภยั ข. ระบบถงุ ลมนิรภยั จะไมท่ างาน เพราะสวิตซ์ทเ่ี ขม็ ขดั นริ ภยั จะไมส่ ง่ สญั ญาณไปยงั กลอ่ ง SRS ค. ระบบถงุ ลมนริ ภยั จะไมท่ างาน เพราะสวิตซ์ท่เี ขม็ ขดั นิรภยั จะไมส่ ง่ สญั ญาณไปยงั กลอ่ ง ECM ง. ระบบถุงลมนิรภัยจะยังคงทางานอยู่ เพราะระบบถุงลมนิรภัยเป็ นอุปกรณ์เสริมที่จะช่วยลดการบาดเจ็บ โดยเข็มขดั นริ ภยั จะยงั คงเป็ นระบบหลกั ในการป้ องกนั อยู่ จ. ระบบถุงลมนิรภัยจะยงั คงทางานอยู่ เพราะระบบถุงลมนิรภัยเป็ นอุปกรณ์หลักที่จะช่วยลดการบาดเจ็บ โดยเข็มขดั นิรภยั จะยงั คงเป็ นระบบเสริมในการป้ องกนั อยู่ 64. เพราะเหตใุ ดการป้ องกนั ล้อลอ็ คจากการเบรกของรถยนต์อีซซู ดุ ีแมคซ์ บลเู พาเวอร์ จึงต้องมกี ารควบคมุ ความดนั ของนา้ มนั เบรกท่จี ะสง่ ไปยงั ล้อหลงั ก. เพราะขณะเบรกนา้ หนกั จะถา่ ยเทไปทางด้านหน้าทาให้ด้านท้ายยกตวั ขนึ ้ และทาให้ล้อหลงั เกิดการลอ็ คได้ ข. เพราะเบรกล้อหลงั เป็ นแบบดรัมเบรกจงึ ให้แรงเบรกมากกวา่ ล้อหน้าทาให้ล้อลอ็ คได้ง่าย ค. เพราะล้อหลงั มีพนื ้ ท่ีของหน้าสมั ผสั ของผ้าเบรกมากกวา่ เมื่อเทียบกบั ผ้าดสิ ก์เบรกหน้าทาให้ล้อลอ็ คได้งา่ ย ง. เพราะดรัมเบรกจะระบายความร้อนได้ยากกวา่ เมือ่ เปรียบเทยี บกบั ดิสก์เบรกหน้าทาให้ล้อลอ็ คได้ง่ายกวา่ จ. เพราะล้อหลงั เป็ นล้อขบั เคลอื่ นจงึ ต้องการแรงเบรกมากจงึ อาจเป็ นสาเหตทุ ีท่ าให้ล้อลอ็ คได้งา่ ยกวา่ 65. ข้อใดกล่าวถึงแก๊สที่ถูกบรรจุภายในระบบถงุ ลมนิรภยั (SRS) ด้านผ้ขู บั ขี่และด้านผู้โดยสารของรถยนต์อีซูซุมิว-เอ็กซ์ บลเู พาเวอร์ได้ถกู ต้อง ด้านผ้ขู บั ขี่ ด้านผ้โู ดยสาร ก. ไนโตรเจน (N) ไนโตรเจน (N) ข. ไนโตรเจน (N) อาร์กอน (Ar) ค. ไนโตรเจน (N) ไฮโดรเจน (H) ง. ไนโตรเจน (N) ฮีเลยี ม (He) จ. อาร์กอน (Ar) ฮีเลยี ม (He) ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 19

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 66. ข้อใดท่ีไมถ่ กู ต้องเก่ียวกบั เซนเซอร์ความเร็วรถ (Vehicle Speed Sensor) ที่ใช้แม่เหลก็ ถาวรในระบบป้ องกนั ล้อล็อกขณะ เบรก (ABS) ก. ความถ่ีของแรงเคลอ่ื นไฟฟ้ าท่ีขดลวดสร้างขนึ ้ จะเป็ นสดั สว่ นกบั ความเร็วรอบหมนุ ของล้อ ข. แรงเคลอื่ นไฟฟ้ าทีข่ ดลวดสร้างขนึ ้ มีรูปแบบเป็ นเส้นโค้งไซน์ (Sine) ค. เซนเซอร์ความเร็วรถจะถกู ยดึ ตดิ อยกู่ บั ดมุ ล้อแตล่ ะล้อ และหมนุ ด้วยความเร็วเทา่ กบั ดมุ ล้อ ง. เซนเซอร์ความเร็วรถประกอบด้วยส่วนประกอบต่างๆ เช่น ขดลวดและอิเล็กโทรด เป็ นต้น นอกเหนือจาก แมเ่ หลก็ ถาวร จ. ไมม่ ีข้อใดกลา่ วได้ถกู ต้อง 67. รถยนต์อีซูซุดีแมคซ์ บลเู พาเวอร์ ในรุ่นท่ีมีระบบควบคุมการทรงตวั ของรถ (ESC) และระบบป้ องกนั การลื่นไถล (TCS) ถ้าฟิวสไ์ ฟเบรกขาดวงจรจะสง่ ผลทาให้ระบบใดท่เี ก่ียวกบั ระบบเบรกไมท่ างาน ก. ระบบเบรกชว่ ยการออกตวั บนทางลาดชนั (HSA) ไมท่ างาน ข. ระบบกระจายแรงดนั นา้ มนั เบรกแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ (EBD) ไมท่ างาน ค. ระบบป้ องกนั การลนื่ ไถล (TCS) ไมท่ างาน ง. ระบบควบคมุ การทรงตวั ของรถ (ESC) ไมท่ างาน จ. ระบบป้ องกนั การลนื่ ไถล (TCS) และระบบควบคมุ การทรงตวั ของรถ (ESC) ไมท่ างาน 68. ปรากฏการณ์ที่เรียกวา่ การเลอื นหายของเบรก (Brake Fade) คืออะไร ก. การใช้เบรกขณะที่รถวิ่งด้วยความเร็วสงู บนถนนท่ีมีนา้ ท่วมขงั ก่อให้เกิดชนั้ นา้ แทรกระหวา่ งยางรถกบั ผิวถนน สง่ ผลทาให้สญู เสยี แรงยดึ เกาะถนนของยางและรถลนื่ ไถล ข. การใช้เบรกถ่ีเกินไปจะทาให้เบรกเกิดความร้อน ความร้อนนนั้ อาจทาให้นา้ มนั เบรกเดือดเป็ นฟองอากาศการ เหยียบเบรกเป็ นเพยี งการบบี อดั ฟองอากาศ แตค่ วามดนั ไมถ่ กู ถ่ายเทไปยงั ระบอกเบรกท่ลี ้อทาให้ประสิทธิภาพ การเบรกลดลง ค. ระบบเบรกมีแนวโน้มที่จะทางานมากขนึ ้ เม่ือมีการใช้เบรกในระหว่างเข้าโค้งหรือขบั รถข้ามเนิน เนื่องจากล้อ ด้านใน หรือล้อทีข่ ้ามเนนิ ชะลอความเร็วมโี อกาสทจี่ ะลอ็ กได้ ง. การใช้เบรกบอ่ ยครัง้ อาจเป็ นสาเหตทุ าให้เบรกร้อนจดั จนทาให้แรงเสียดทานพืน้ ผิวฝื ดลดลงและประสิทธิภาพ ในการเบรกลดลงน้อยกวา่ ปกติ จ. การใช้กาลงั จากการเบรกด้วยเครื่องยนต์ในขณะขบั รถบนถนนทีม่ ีสภาพพนื ้ ผวิ ลน่ื มาก 69. จากค่มู ือการใช้รถยนต์อีซูซุดีแมคซ์ รุ่นใหม่ ได้กลา่ วถึงข้อควรระวงั ในการใช้เบรก โดยระบถุ ึงปรากฏการณ์เวเปอร์ลอ็ ค (Vapor Lock) ซงึ่ มีความหมายวา่ อยา่ งไร ก. การใช้งานเบรกบอ่ ยๆจนเกิดฟองอากาศในระบบเบรกเนือ่ งจากนา้ มนั เบรกเดือด ข. การใช้เกียร์ต่าลงทางลาดชนั เพ่ือใช้การเบรกด้วยเครื่องยนต์ ค. การใช้เบรกบอ่ ยๆจนเบรกร้อนจดั จนทาให้แรงเสยี ดทานทผี่ ้าเบรกลดลงและเบรกไมค่ อ่ ยอยู่ ง. เกิดการรั่วไหลของนา้ มนั เบรกทาให้เบรกไมอ่ ยู่ จ. การเหยยี บเบรกอยา่ งรุนแรงจนทาให้ผ้าเบรกเกิดการร้าว ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 20

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 70. ข้อใดกลา่ วไม่ถกู ต้องเก่ียวกบั ดรัมเบรกแบบลีดดิง้ – เทรลล่งิ (Leading – Trailing) หรือ แบบก้ามนา - ก้ามตาม ท่ีใช้ใน รถยนต์อซี ูซุดแี มคซ์ บลเู พาเวอร์ ก. ให้แรงเบรกดเี ทา่ กนั ทงั้ ในขณะขบั เดินหน้าและถอยหลงั ข. ขณะขบั เดนิ หน้า ผ้าเบรกก้ามหน้าจะเป็ นก้ามนา และก้ามหลงั เป็ นก้ามตาม ค. ขณะขบั ถอยหลงั ผ้าเบรกก้ามหน้าจะเป็ นก้ามนา และก้ามหลงั เป็ นก้ามตาม ง. ก้ามนาจะมีการเสริมแรงเบรกตามทศิ ทางการหมนุ ของกระทะเบรก จ. รถยนต์ถกู ขบั เดนิ หน้าและใช้ความเร็วมากกวา่ ขบั ถอยหลงั ดงั นนั้ ผ้าเบรกก้ามหน้าจงึ มกั หมดก่อนก้ามหลงั 71. ซลิ คิ อนไดโอด (Silicon Diode) ทตี่ ดิ ตงั้ อยภู่ ายในออลเตอร์เนเตอร์ทาหน้าที่อะไร ก. ควบคมุ การไหลของกระแสไฟฟ้ า ข. ควบคมุ การไหลของแรงเคลอื่ นไฟฟ้ า ค. วดั การไหลของกระแสและแรงเคลอื่ นไฟฟ้ า ง. แปลงกระแสไฟฟ้ ากระแสสลบั ให้เป็ นกระแสตรง จ. แปลงกระแสไฟฟ้ ากระแสตรงให้เป็ นกระแสสลบั 72. จากภาพ แสดงถึงการพว่ งตอ่ ของแบตเตอรี่ระหวา่ งรถทแ่ี บตเตอรี่หมดกบั รถที่ให้ความช่วยเหลอื ข้อใดคือลาดบั ท่ีถกู ต้อง สาหรับการตอ่ สายพว่ ง ก. A > B > C > D ข. A > B > D > C ค. B > A > C > D ง. B > A > D > C จ. ไมม่ คี าตอบที่ถกู ต้อง ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 21

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 73. ทรานซิสเตอร์ (Transistor) มอี ยู่ 2 แบบ คือ PNP และ NPN จะประกอบไปด้วยสารก่ึงตวั นาชนิด N และถกู ประกอบด้วย สารกึ่งตวั นาชนิด P สว่ นทรานซิสเตอร์แบบ NPN จะประกอบไปด้วยสารกึ่งตวั นาชนิด P และถกู ประกอบไปด้วยสารก่ึง ตัวนาชนิด N และสารกึ่งตวั นาที่นามาต่อกันเป็ นทรานซิสเตอร์ก็จะมีขวั้ ต่อออกมาและมีชื่อเฉพาะขวั้ จากรูปเป็ น ทรานซิสเตอร์ชนิดใด ก. ทรานซสิ เตอร์แบบ NPN ข. ทรานซิสเตอร์แบบ PNP ค. ทรานซิสเตอร์แบบ PPN ง. ทรานซิสเตอร์แบบ NNP จ. ไมม่ คี าตอบที่ถกู ต้อง 74. จากภาพ เป็ นการแสดงการตรวจสอบมอเตอร์สตาร์ท อยากทราบการวดั ดงั กลา่ วเป็ นการวดั อปุ กรณ์ใด แล้วถ้าผลของการ วดั ทาให้เข็มของมเิ ตอร์ตีขนึ ้ แสดงวา่ มคี วามหมายวา่ อยา่ งไร ก. เป็ นการวดั การตอ่ ของสะพานไฟ ผลการตรวจคือตอ่ ทางไฟ ข. เป็ นการวดั การลดั วงจรของขดลวดดงึ ผลการตรวจคือลดั วงจร ค. เป็ นการวดั การขาดของขดลวดดงึ ผลการตรวจคือขดลวดไมข่ าด ง. เป็ นการวดั การขาดของขดลวดยดึ ผลการตรวจคอื ขดลวดไมข่ าด จ. เป็ นการวดั การลดั วงจรของขดลวดยดึ ผลการตรวจคอื ลดั วงจร 75. ข้อใดถกู ต้องเกี่ยวกบั คา่ ความต้านทานในกรณีท่ีเกิดการชารุดของสายไฟในวงจรไฟฟ้ า, ขวั้ ไมแ่ นน่ (หลวม) หรือสกปรก ก. ค่าความต้านทานก็จะลดลงและกระแสท่ีไหลผ่านในวงจรก็จะลดลง จะเป็ นผลให้หลอดไฟหรี่ลงและถ้าเป็ น มอเตอร์ก็จะหมนุ ช้าลง ข. ค่าความต้านทานจะเพิ่มขึน้ และกระแสไฟที่ไหลในวงจรก็จะเพ่ิมขนึ ้ จะเป็ นผลให้หลอดไฟหร่ีลง และถ้าเป็ น มอเตอร์ก็จะหมนุ ช้าลง ค. คา่ ความต้านจะเพ่ิมขนึ ้ และกระแสไฟทไี่ หลในวงจรก็จะลดลง จะเป็ นผลให้หลอดไฟหร่ีลงและถ้าเป็ นมอเตอร์ก็ จะหมนุ ช้าลง ง. คา่ ความต้านทานจะเพิ่มขนึ ้ และกระแสไฟท่ีไหลในวงจรก็จะลดลง จะเป็ นผลให้หลอดไฟสว่างขนึ ้ และถ้าเป็ น มอเตอร์ก็จะหมนุ เร็วขนึ ้ จ. ค่าความต้านทานจะเพ่ิมขึน้ และกระแสไฟท่ีไหลในวงจรก็จะเพ่ิมขึน้ จะเป็ นผลให้หลอดไฟสวา่ งขึน้ และเป็ น สาเหตใุ ห้ไส้หลอดไฟขาด และถ้าเป็ นมอเตอร์ก็จะหมนุ เร็วขนึ ้ เป็ นสาเหตใุ ห้มอเตอร์ไหม้ได้ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 22

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ จากภาพของวงจรระบบไฟส่องสว่างท่กี าหนดให้ ตอบคาถามข้อ 76 – 78 76. จากภาพของวงจรสายไฟในขวั้ ใดของกลอ่ ง BCM ทเ่ี ม่อื เกิดการลดั วงจรลงกราวนด์แล้วทาให้ไฟสอ่ งสวา่ งในเกง๋ ไมด่ บั ก. ปลก๊ั A ขวั้ 12 ข. ปลกั๊ B ขวั้ 16 ค. ปลก๊ั C ขวั้ 6 ง. ถกู ทงั้ ข้อ ก. และ ข้อ ข. จ. ถกู ทงั้ ข้อ ข. และ ข้อ ค. 77. ถ้าสายไฟ B / W จากแผงหน้าปัด (Instrument Panel Cluster) ไปที่สวติ ซ์ (SW) เกิดการขาดวงจรจะทาให้เกิดปัญหาใด ก. ไฟในเกง๋ ไมต่ ิด ข. ไฟในเก๋งตดิ ตลอด ค. รีโมทไมท่ างาน ง. ไฟเตอื นประตู ทีห่ น้าปัดไมต่ ดิ จ. ระบบ MID ทางานผดิ ปกติ 78. จากวงจร * 2 คือรถยนต์อซี ูซทุ ม่ี ีห้องโดยสารเป็ นแบบใด ก. Standard ข. Space cab ค. Cab Chassis ง. Cab 4 จ. Flat Deck ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 23

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 79. ข้อใดไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกบั ระบบการควบคมุ เครือขา่ ย (CAN = Control Area Net Work) ก. การเชื่อมตอ่ หนว่ ยควบคมุ ตา่ งๆหลายระบบด้วยระบบ CAN จะสามารถช่วยลดจานวนชดุ มดั สายไฟได้ ข. CAN คอื การสง่ ข้อมลู ติดตอ่ กนั ระหวา่ งกลอ่ ง ECM กบั กลอ่ งควบคมุ อื่นๆ ในรถยนต์ ค. สญั ญาณ CAN คือสญั ญาณการสอ่ื สารทีเ่ ป็ นมาตรฐานสากลทีไ่ ด้รับการรับรองโดย ISO ง. เมื่อถอดตวั ต้านทานบริเวณปลายด้านหน่ึงจะทาให้ความเร็วในการสอ่ื สารของระบบช้าลงและรหสั ปัญหาท่ี แสดงถึงปัญหาของการเช่ือมตอ่ จะแสดงขนึ ้ จ. CAN Bus (controller area network) คือ \"โปรโตคอล\" ท่ีใช้ในการติดต่อส่ือสาร ระหว่างอปุ กรณ์ควบคุม ไมโครคอนโทรลเลอร์ หรือ ไมโครคอมพวิ เตอร์ของวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสต์ า่ งๆ 80. ในระบบปรับไฟหน้าอตั โนมตั ิของรถยนต์อีซูซุมิว-เอ็กซ์บลเู พาเวอร์ สญั ญาณในข้อใดที่ไม่ใช่สญั ญาณที่ถกู สง่ ไปยงั ชุด ควบคมุ การปรับระดบั ไฟหน้าอตั โนมตั ิ ก. สญั ญาณของสวติ ซ์กญุ แจในตาแหนง่ ON ข. สญั ญาณของความเร็วรถ ค. สญั ญาณของสวิตซ์ไฟหน้า ง. สญั ญาณของแอคทเู อเตอร์ (Actuator) ปรับระดบั ไฟหน้า จ. สญั ญาณของเซนเซอร์การปรับระดบั ไฟหน้า จากภาพ ตอบคาถามข้อ 81 ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 24

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 81. ข้อใดกลา่ วถกู ต้องเก่ียวกบั การวิเคราะห์ปัญหาแตรไมด่ งั สถานะ แรงเคลอ่ื น (V1) แรงเคลอ่ื น (V2) แรงเคลอื่ น (V3) แรงเคลอ่ื น (V4) แรงเคลอื่ น (V5) ไมไ่ ด้กดสวิตช์แตร 12 V 12 V 12 V 0V 0V กดสวิตช์แตร 12 V 12 V 0V 12 V 12 V ก. สวิตซ์แตรขาดวงจร ข. รีเลย์แตรขาดวงจร ค. สายกราวนด์ของแตรเสยี งสงู ขาดวงจรและแตรเสยี งต่าขาดวงจร (เสยี ) ง. แตรเสยี งสงู ปลกั๊ หลดุ และแตรเสยี งต่าขาดวงจร จ. แตรเสยี งสงู และแตรเสยี งต่าขาดวงจร 82. ข้อใดกลา่ วไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกบั ระบบไฟฟ้ า ก. ฟิวสเ์ ป็ นอปุ กรณ์สาหรับป้ องกนั วงจรไฟฟ้ า ข. กระแสไฟฟ้ า (Ampe Rage) คือจานวนของอิเลก็ ตรอนทเี่ คลอ่ื นที่ในวงจร ค. แรงเคลอ่ื น (Voltage) คือแรงดนั ทท่ี าให้อิเลก็ ตรอนวงิ่ ผา่ นไปได้ในตวั นาไฟฟ้ า ง. ถ้าความต้านทาน(Ohms)ในวงจรไฟฟ้ าลดลง กระแสทไ่ี หล (Amps)จะลดลง ทาให้แสงสวา่ งของระบบไฟหรี่ลง จ. ถ้าความต้านทาน(Ohms)ในวงจรไฟฟ้ าสงู ขนึ ้ กระแสท่ีไหล (Amps)จะลดลง ทาให้แสงสวา่ งของระบบไฟหร่ีลง 83. ข้อใดไมถ่ กู ต้องเกี่ยวกบั การรวมแรงเคล่อื นไฟฟ้ า V1 ถึง V3 ของขวั้ กลอ่ งควบคมุ เครื่องยนต์ (ECM) สาหรับแตล่ ะปัญหา ในเซนเซอร์ตาแหนง่ ของอจี ีอาร์ (EGR) วาล์วแบบมอเตอร์กระแสตรง (DC) ทม่ี ีวงจรดงั ตอ่ ไปนี ้โดยสมมตุ ิวา่ กลอ่ งควบคมุ เคร่ืองยนต์ (ECM) ทางานปกติและไมม่ คี วามต้านทานในสายไฟและแรงเคลอื่ นไฟฟ้ าทีข่ วั้ กลอ่ งควบคมุ เครื่องยนต์ (ECM) ถกู วดั คา่ เม่อื เปิ ดสวิตซ์กญุ แจ (ON) และแตล่ ะขวั้ เชื่อมตอ่ กนั แรงเคลอ่ื นไฟฟ้ า การแก้ปัญหา V1 V2 V3 ก. การขาดของวงจรทีจ่ ดุ Aในเซนเซอร์ตาแหนง่ EGR 5 โวลต์ 0 โวลต์ 0 โวลต์ 5 โวลต์ 5 โวลต์ ข. การลดั ของวงจรระหวา่ งจดุ A และจดุ B ในเซนเซอร์ตาแหนง่ EGR 5 โวลต์ 0 โวลต์ 0 โวลต์ ค. การขาดของวงจรในสายไฟสญั ญาณเซนเซอร์ตาแหนง่ EGR 5 โวลต์ ง. การขาดของวงจรที่จดุ B ในเซนเซอร์ตาแหนง่ EGR 5 โวลต์ 0 โวลต์ 0 โวลต์ จ. การขาดของวงจรไฟ 5 โวลต์ 0 โวลต์ 0 โวลต์ 0 โวลต์ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 25

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 84. ในการวดั ค่าความต้านทานระหว่างขดลวดของขดลวดสเตเตอร์ (Stator Coil) ถ้าอ่านค่าได้เท่ากับ ∞ โอห์มแสดงว่า ขดลวดสเตเตอร์มสี ภาพอยา่ งไร ก. ขดลวดสเตเตอร์ไหม้ ข. ขดลวดสเตเตอร์ขาดวงจร ค. ขดลวดสเตเตอร์ลดั วงจรลงกราวนด์ ง. ขดลวดสเตเตอร์ปกติ จ. ขดลวดสเตเตอร์เกิดการลดั วงจรระหวา่ งขดลวด 85. ข้อใดถกู ต้องเกี่ยวกบั วงจรไฟชาร์จของไดชาร์จ (Allternator) ทแ่ี สดงในภาพ “เม่อื ความเร็วในการหมนุ ของไดชาร์จเพ่ิมขนึ ้ แรงเคลอื่ นไฟฟ้ าทข่ี วั้ L ของเร็กกเู รเตอร์ควบคมุ แรงเคลอ่ื นไฟฟ้ าจะสงู ขนึ ้ และ กระแสไฟฟ้ าไหลไปท่ี ZD (ซีเนอร์ไดโอด) และ Tr 3 เปิ ด (on) หากแรงเคลอื่ นไฟฟ้ าท่ีขวั้ ของ ZD เกินคา่ แรงเคล่ือนไฟฟ้ า ปรับแตง่ (แรงเคลอื่ นไฟฟ้ าซีเนอร์) ตอนนเี ้น่ืองจาก Tr1 และ Tr2(a), กระแสไฟฟ้ าไปท่ี (b) , (c),และแรงเคลอื่ นไฟฟ้ า (d)” (a) (b) (c) (d) ก. เปิ ด (on) ขดลวดโรเตอร์ ไหล เพิ่มขนึ ้ ข. ปิ ด (off) ขดลวดสเตเตอร์ ไหล เพมิ่ ขนึ ้ ค. ปิ ด (off) ขดลวดโรเตอร์ หยดุ ลดลง ง. ปิ ด (off) ขดลวดสเตเตอร์ หยดุ ลดลง จ. เปิ ด (on) ขดลวดโรเตอร์ หยดุ เพมิ่ ขนึ ้ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 26

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 86. รถยนต์คนั หนงึ่ กินนา้ มนั เชือ้ เพลิง 16 ลติ ร ขณะขบั รถยนต์ไปกลบั ระหว่างสถานท่ี ท่ีหา่ งออกไป 60 กิโลเมตร ให้เลือก อตั ราการกินนา้ มนั เชือ้ เพลิงเฉพาะที่ถูกต้องสาหรับขากลบั เมื่ออตั ราการกินนา้ มนั เชือ้ เพลิงสาหรับการเดินทางไปยัง จดุ หมายเทา่ กบั 6 กิโลเมตร / ลติ ร ก. 6 กิโลเมตร / ลติ ร ข. 8 กิโลเมตร / ลติ ร ค. 10 กิโลเมตร / ลติ ร ง. 12 กิโลเมตร / ลติ ร จ. 15 กิโลเมตร / ลติ ร 87. เลอื กอตั ราสว่ นการอดั ท่ีถกู ต้องของเครื่องยนต์ดีเซลท่ีมีปริมาตรของห้องเผาไหม้เท่ากบั 136.6 cm3 และมีปริมาตรระยะ ชกั ของลกู สบู เทา่ กบั 2,362.4 cm3 ก. 16.3 : 1 ข. 17.3 : 1 ค. 18.3 : 1 ง. 19.0 : 1 จ. 19.3 : 1 88. จากภาพของวงจร คานวณหาคา่ แรงเคล่ือนไฟฟ้ าอินพทุ ท่ีเข้ากลอ่ งควบคมุ โดยกาหนดให้เซนเซอร์อณุ หภมู ิมีลกั ษณะที่ แสดงในภาพ (1) และอณุ หภมู ิของวงจรในภาพ (2) ทวี่ ดั โดยอณุ หภมู เิ ซนเซอร์เทา่ กบั 100 องศาเซลเซียส (ºC) โดยสมมตุ ิ วา่ ไมม่ ีความต้านทานในสายไฟ ก. ประมาณ 0.12 โวลต์ (V) ข. ประมาณ 0.29 โวลต์ (V) ค. ประมาณ 0.59 โวลต์ (V) ง. ประมาณ 1.25 โวลต์ (V) จ. ประมาณ 5.0 โวลต์ (V) ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 27

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอีซูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 89. คานวณเลอื กหาคา่ ความต้านทานรวมภายในของแบตเตอรี่จากข้อความตอ่ ไปนี ้ “เมอ่ื มอเตอร์สตาร์ทหมนุ โดยใช้แบตเตอรี่ขนาด 12 โวลต์ (V) สองลกู ต่อพ่วงกนั แบบอนกุ รมจะมีกระแสไฟ 250 แอมแปร์ (A) และแรงดนั ไฟเทา่ กบั 19.2 โวลต์ (V)” ก. 0.0096 โอห์ม (Ω) ข. 0.0192 โอห์ม (Ω ค. 0.0768 โอห์ม (Ω) ง. 0.0960 โอห์ม (Ω) จ. 13.15 โอห์ม (Ω) 90. จากรูป มีรอกสายพานอยู่ 2 ขนาด ขนาดเลก็ 10 mm. ขนาดใหญ่ 40 mm. เม่ือรอกตวั เล็กด้านซ้ายหมนุ 1,600 rpm. อยากทราบวา่ รอกตวั ใหญ่ขวามือตวั สดุ ท้ายหมนุ ก่ีรอบ ก. 100 รอบ/นาที ข. 150 รอบ/นาที ค. 160 รอบ/นาที ง. 200 รอบ/นาที จ. 250 รอบ/นาที 91. ข้อใดถกู ต้องเก่ียวกบั กาลงั ไฟฟ้ าของวงจรนแี ้ ละคา่ ที่ระบดุ ้วยแอมป์ มิเตอร์ โดยกาหนดให้เป็ นหลอดไฟขนาด 24 โวลต์ (V) 24 วตั ต์ (W) เชื่อมตอ่ กบั วงจรไฟฟ้ าดงั แสดงในภาพ กาลงั ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า ก. 24 วตั ต์ (W) 1 แอมป์ แปร์ (A) ข. 24 วตั ต์ (W) 2 แอมป์ แปร์ (A) ค. 48 วตั ต์ (W) 1 แอมป์ แปร์ (A) ง. 48 วตั ต์ (W) 2 แอมป์ แปร์ (A) จ. 1 วตั ต์ (W) 1 แอมป์ แปร์ (A) ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 28

การแข่งขนั ทักษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 92. จากรูป รถยนต์ขบั เคลอ่ื นล้อหลงั มีแรงบิดท่ีเพลาข้างซ้าย-ขวา 6,888 Nm.ล้อทงั้ สองมีขนาดเส้นผา่ ศนู ย์กลาง 1,200 mm อยากทราบวา่ รถยนต์คนั นจี ้ ะมีแรงในการขบั เคลอ่ื นทีล่ ้อหลงั เทา่ ใด ก. 5,740 นวิ ตนั ข. 5,740 นวิ ตนั – เมตร ค. 8,256.6 นวิ ตนั ง. 8,256.6 นิวตนั – เมตร จ. 5.74 นิวตนั 93. ข้อใดคอื ความเร็วที่ถกู ต้องของเครื่องยนต์ดีเซล 4 จงั หวะ ระบบคอมมอนเรล “เม่ือเพลาข้อเหว่ียงใช้เวลาเทา่ กบั 10 ms (millisecond) ในการหมนุ ให้ได้ 90 องศา ก. 500 รอบ / นาที ข. 750 รอบ / นาที ค. 1,500 รอบ / นาที ง. 2,500 รอบ / นาที จ. 3,000 รอบ / นาที 94. เกี่ยวกบั จงั หวะการเปิ ด-ปิ ดวาลว์ ของเครื่องยนต์ 4JJ1-TC ข้อใดคือมมุ การหมนุ ของเพลาข้อเหว่ยี งท่ีเมื่อทงั้ วาล์วไอดีและ วาล์วไอเสยี ของกระบอกสบู # 1 ปิ ดสนทิ ในระหวา่ งหนงึ่ วฏั จกั รการทางานของเครื่องยนต์ ก. 248 องศา ข. 267 องศา ค. 286 องศา ง. 341 องศา จ. 360 องศา ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 29

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 95. เมื่อใช้แรงเคลอ่ื นไฟฟ้ าทีร่ ะบไุ ว้กบั หลอดไฟขนาด 12 โวลต์ กระแสไฟขนาด 3 แอมป์ แปร์ เร่ิมต้นการไหล เลอื กจานวนของ การกินกาลงั ไฟฟ้ าที่ถกู ต้อง ขณะรักษาสภาวะนเี ้ป็ นเวลา 5 ชวั่ โมง ก. 120 วตั ต์-ชว่ั โมง ข. 180 วตั ต์-ชวั่ โมง ค. 240 วตั ต์-ชว่ั โมง ง. 360 วตั ต์-ชวั่ โมง จ. 480 วตั ต์-ชวั่ โมง 96. จากภาพของวงจร คานวณหากระแสไฟฟ้ าท่ีไหลผา่ นจดุ C ควรมคี า่ เทา่ ไร 1 Ohms 3 Ohms 12 Volts C 3 Ohms 9 Ohms ก. 1 แอมป์ แปร์ ข. 2 แอมป์ แปร์ ค. 3 แอมป์ แปร์ ง. 4 แอมป์ แปร์ จ. 5 แอมป์ แปร์ 97. จงเลอื กคา่ ท่ีถกู ต้องท่ีระบโุ ดยโวลต์มิเตอร์ (Volt Meter) ในวงจรไฟฟ้ าท่ีแสดงในภาพ โดยสมมตุ ิว่าไม่มีคา่ ความต้านทาน ในแบตเตอรี่ ก. 3.2 โวลต์ ข. 4.8 โวลต์ ค. 6.4 โวลต์ ง. 11.2 โวลต์ จ. 12.0 โวลต์ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 30

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ูซุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 98. จากภาพกลไกวาลว์ ข้อใดคือแรงท่ีกระทาด้านบนลกู เบีย้ ว (F1) หากแรงสปริง (ภาระ) ของสปริงเท่ากบั 250 นิวตนั (F2) เม่อื วาลว์ เปิ ดสดุ ก. 178 นวิ ตนั ข. 350 นวิ ตนั ค. 625 นวิ ตนั ง. 700 นวิ ตนั จ. 825 นวิ ตนั 99. รถยนต์คนั หน่ึงมีอตั ราทดเกียร์ 1 เท่ากับ 4 : 1 อตั ราทดเฟื องท้าย 4.5 : 1 อยากทราบว่าถ้าเพลาข้างหมนุ 1 รอบ เครื่องยนต์จะหมนุ กี่รอ ก. 16 รอบ ข. 18 รอบ ค. 20 รอบ ง. 25 รอบ จ. 30 รอบ ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 31

การแข่งขนั ทกั ษะด้านการบริการ : พนักงานช่างอซี ซู ุ ประเภทรถปิ กอพั และรถยนต์น่ังอเนกประสงค์ 100.เลือกชดุ ท่ีไม่ถกู ต้องของเกียร์และอตั ราทดเฟื องในระบบเกียร์ 5 จงั หวะ สองประเภทต่อไปนี ้ค่าที่อย่ใู น ( ) หมายถึง จานวนฟันของเฟืองเกียร์ ในภาพประกอบสองภาพด้านลา่ ง ภาพซ้ายคือด้านเครื่องยนต์และภาพขวาคือด้านเฟืองท้าย ระบบเกียร์ A ระบบเกียร์ B ก. เกียร์ 1 มีอตั ราทดเฟือง = 5.315 เกียร์ 1 มีอตั ราทดเฟือง = 5.979 ข. เกียร์ 2 มีอตั ราทดเฟือง = 3.053 เกียร์ 2 มีอตั ราทดเฟือง = 3.434 ค. เกียร์ 3 มอี ตั ราทดเฟือง = 1.655 เกียร์ 3 มีอตั ราทดเฟือง = 1.862 ง. เกียร์ 4 มอี ตั ราทดเฟือง = 1.000 เกียร์ 4 มอี ตั ราทดเฟือง = 1.000 จ. เกียร์ 5 มีอตั ราทดเฟือง = 0.721 เกียร์ 5 มีอตั ราทดเฟือง = 1.000 ส ถ า บั น ฝึ ก อ บ ร ม ต รี เ พ ช ร อี ซู ซุ | 32


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook