Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สอนจิตเวชการสัมภาษณ์และการตรวจสภาพจิต for e learning ปี3 รุ่น23 (1)

สอนจิตเวชการสัมภาษณ์และการตรวจสภาพจิต for e learning ปี3 รุ่น23 (1)

Description: สอนจิตเวชการสัมภาษณ์และการตรวจสภาพจิต for e learning ปี3 รุ่น23 (1)

Keywords: mental status exam

Search

Read the Text Version

แนวคดิ และทฤษฎีท่ีเกย่ี วขอ้ งกบั การพยาบาลสขุ ภาพจติ ดร. อจั ฉรา คามะทิตย์ (PhD., MMHN, MNS, RN) วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนอี ดุ รธานี

สาระการเรยี นรู้องคป์ ระกอบผมู้ ีสุขภาพจติ ดี และผมู้ คี วามผดิ ปกตทิ างจติพลวตั รการเกดิ ปัญหาทางจติปัจจยั ทม่ี ผี ลกระทบตอ่ ภาวะสุขภาพจติหลกั การสมั ภาษณป์ ระวตั ทิ างจติ เวชวธิ ีการตรวจและประเมนิ สภาพจติ เบ้อื งตน้เครอื่ งมือและการใชเ้ ครอ่ื งมือคดั กรองปัญหาสุขภาพจติเกณฑก์ ารจาแนกโรคทางจติ เวช

ความหมายของสุขภาพจติความสามารถของบุคคลในการดาเนินชวี ิตทเ่ี ปน็ สุขสามารถปรบั ตัวเขา้ กับสภาพแวดลอ้ มท่ีเปลยี่ นแปลงไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและไมท่ าความเดอื ดร้อนให้ตนเอง ผอู้ ื่นและสังคม มคี วามอดทนและมน่ั คงทางจิตใจ เขา้ ใจและพงึ พอใจในตนเอง มีสมรรถภาพในการทางาน มีความสัมพันธ์ทีด่ ีกบั บคุ คลอ่นื และสามารถทาประโยชนใ์ หก้ บั ตนเองและผู้อน่ื ได้

เปรยี บเทยี บกรณศี กึ ษา กรณศี กึ ษาผูพ้ กิ ารที่สชู้ วี ิต

องคป์ ระกอบของผมู้ สี ขุ ภาพจติ ดีดา้ นรา่ งกาย มรี ่างกายแข็งแรง ดแู ลสขุ ภาพตนเองได้อยา่ งเหมาะสมดา้ นอารมณ์ มอี ารมณ์ แจม่ ใส เบิกบาน มวี ฒุ ิภาวะทางอารมณ์ และแสดงอารมณ์ได้เหมาะสมด้านสติปญั ญาและการรู้คิด มีการรูค้ ิดท่สี ร้างสรรค์ การรับรู้ถกู ต้องตรงตามความเป็นจรงิ คิดสมเหตสุ มผล ตดัสนใจและแก้ปัญหาได้เหมาะสม

องคป์ ระกอบของผูม้ ีสขุ ภาพจติ ดีด้านสังคม มคี วามเคารพนับถอื ตนเอง มองตนในด้านบวก มีสมั พันธภาพทดี่ ีกับผอู้ ่นืด้านจิตวิญญาณ สามารถทาหนา้ ทข่ี องตนตามศักยภาพ มีเปา้ หมายที่ เปน็ ไปไดแ้ ละเหมาะสม เหน็คุณค่าในตนเอง

ผูม้ สี ขุ ภาพจติ ดีรกั และมีความสุขกบั ชวี ิตจดั การกบั ความขัดแยง้ ทางอารมณไ์ ด้ใช้ชวี ติ โดยปราศจากความกลัว รูส้ ึกผดิ กังวล มาก เกนิ ไปรบั ผดิ ชอบต่อการกระทาของตนเองควบคุมพฤตกิ รรมของตนเองได้มสี มั พนั ธภาพกบั ผอู้ ืน่

ผูม้ ีสขุ ภาพจติ ดีผ่านพัฒนาการในแต่ละช่วงวัยอย่างราบร่นืสามารถทางานและสร้างผลผลิตได้เหน็ คณุ ค่าในตนเองและมองตนเองในด้านดีประเมนิ ความจริงได้ถกู ตอ้ ง (Varcarolis and Halter, 2010)

พลวตั รการเกดิ ปัญหาทางจติปัจจยั พ้ืนฐาน ปัจจยั สง่ เสรมิ ปัจจยั กระตุน้กลไกทางจติ บุคคล รูปแบบการ เผชญิ ปัญหา การเจบ็ ป่ วยทางจติ (Dx, sign and symptom)

ปัจจยั ทมี่ ผี ลกระทบตอ่ ภาวะสุขภาพจติปัจจยั พ้ืนฐาน ปัจจยั ส่งเสรมิ ปัจจยั กระตนุ้ เพศ การเลยี้ งดู ส่ิงกระตุ้นทท่ี า อายุ อาชีพ ให้ผู้ป่ วยมี ลาดบั การเกดิ การศึกษา อาการทางจติ พนั ธุกรรม ในคร้ังนี้ เช่น ลกั ษณะนิสัย สัมพนั ธภาพ ขาดยาจิตเวช ครอบครัว เสพสารเสพ ตดิ อย่างหนัก เศรษฐกจิ

พลวตั รการเกดิ ปัญหาทางจติปัจจยั พ้ืนฐาน ปัจจยั สง่ เสรมิ ปัจจยั กระตุน้กลไกทางจติ บุคคล รูปแบบการ เผชญิ ปัญหา การเจบ็ ป่ วยทางจติ (Dx, sign and symptom)

การเผชญิ ปัญหา โดยใชก้ ลไกทางจติ Sigmund Freud

DEFENSE MECHANISMกลไกการป้ องกนั ตนเองทางจิตของมนุษย์ เป็นการหาทางออกใหก้ บั จิตใจ เม่ือมนุษยเ์ ผชิญสถานการณ์ที่เลวร้าย หรือเป็นขอ้ แกต้ วั ใหต้ นเองเพ่ือแกไ้ ขความสบั สนในจิตใจ หรือการต่อตา้ นความเจบ็ ปวดของตนเอง

Defense mechanism (Freud)ต่อสปู้ ัญหา หนปี ัญหา Retionalization Regression Sublimation Introjection Projection Displacement Isolation Somatization Compensation Conversion Undoing Reaction Denial formation Fantasy

ต่อสปู้ ัญหา• Rationalization คือ การหาเหตุผลเขา้ ขา้ งตนเองเมื่อทาพฤติกรรมหรือมีความคิดอยา่ งใดอยา่ งหน่ึงที่ไม่เหมาะสม• Sublimation คือ การทดแทนเปลี่ยนแรงผลกั ดนั ภายในจิตใจไปสู่การกระทาท่ีสังคมยอมรับ• Projection คือ การโยนความรู้สึก ความคิด ความปรารถนาของตนที่ไม่เป็นที่ยอมรับใหก้ บั ผอู้ ื่นหรือส่ิงอ่ืนๆ• Displacement คือ การแทนท่ีโดยเม่ือมีความรู้สึก นึกคิดที่ไม่เหมาะสม egoจะเปล่ียนใหไ้ ปยงั ส่ิงอื่นๆแทน•Compensation คือการทดแทนความไม่สมบูรณ์ในตนเองโดยการชดเชยดว้ ยสิ่งอ่ืนๆ•Undoing เป็นการกระทาท่ีตรงขา้ มกบั แรงขบั ท่ีไม่ดีเพ่ือลบลา้ งสิ่งเหลา่ น้นั•Reaction formation คือ การแสดงปฏิกิริยาตรงขา้ มกบั ความปรารถนาท่ีแทจ้ ริงโดยเกบ็ กดไวใ้ นจิตไร้สานึก

หนีปัญหา• Regression คือ การถดถอยไปสู่ระดบั ของบุคลิกภาพซ่ึงมีพฤติกรรมแบบเดก็ ๆเกิดเม่ือมีความขดั แยง้ ในจิตใจ• Introjection คือ การนาเขา้ มาสู่ตนเอง เป็นการลงโทษตวั เอง• Isolation คือ การแยกอารมณ์ออกจากความคิดและความปรารถนา• Somatrization คือการเปลี่ยนความขดั แยง้ ในจิตใจเกิดเป็นอาการทางกายเช่น ปวดหลงั ปวดทอ้ ง เพ่ือดึงความสนใจของจิตสานึกไปสู่อาการทางร่างกายแทน• Conversion คือการเปล่ียนความขดั แยง้ ในจิตใจเกิดเป็นอาการทางกายซ่ึงอาการเจบ็ ป่ วยตา่ งๆ ตรวจไม่พบพยาธิสภาพ• Denial คือการปฏิเสธความเป็นจริงที่ไม่สามารถยอมรับไดโ้ ดยง่าย• Fantasy เป็นการสร้างเรื่องราวท่ีไม่เป็นจริงข้ึนมาในใจเพื่อใหส้ มปรารถนาเป็ นการหลบหนีจากโลกความเป็ นจริ งท่ีไม่น่าอยู่



พลวตั รการเกดิ ปัญหาทางจติปัจจยั พ้ืนฐาน ปัจจยั สง่ เสรมิ ปัจจยั กระตุน้กลไกทางจติ บุคคล รูปแบบการ เผชญิ ปัญหา การเจบ็ ป่ วยทางจติ (Dx, sign and symptom)

รปู แบบการเผชิญปัญหา• Moving away การถอยหนี• Moving against การปะทะกบั ปัญหา• Moving toward การถอยมาต้ังหลักแล้ว วางแผนแก้ไขปญั หา

พลวตั รการเกดิ ปัญหาทางจติปัจจยั พ้ืนฐาน ปัจจยั สง่ เสรมิ ปัจจยั กระตุน้กลไกทางจติ บุคคล รูปแบบการ เผชญิ ปัญหา การเจบ็ ป่ วยทางจติ (Dx, sign and symptom)

ความรนุ แรงของปัญหาทางสขุ ภาพจติ

หลักการสัมภาษณป์ ระวัติทางจติ เวชการสมั ภาษณ์  ใหผ้ ู้ปว่ ยมโี อกาสพดู ถึงปญั หาจาก มุมมองของตนเองการสงั เกตอาการ  สงั เกตอาการแสดงอื่นๆ ขณะท่ี พดู คยุ กบั ผู้ปว่ ยการซักถามประวัติ  ซักถามการเจบ็ ป่วย โดยถาม จากญาตเิ พิ่มเติมเพือ่ ให้ได้ขอ้ มลู ทค่ี รบถ้วน

แนวทางการซกั ประวตั ิเริ่มตน้ โดยใหผ้ ู้ป่วยเลา่ ถึงปญั หาท่ีมารับการรกั ษาฟังอย่างตงั้ ใจ พรอ้ มทัง้ สงั เกตท่าทางทแ่ี สดงออกหลีกเลยี่ งการใช้คาถามปลายปดิ เพราะเป็นการปดิ กั้น การเร่มิ เลา่ เรื่องปญั หาต่างๆของผูป้ ว่ ยเจาะลึกปญั หาหรอื รายละเอยี ดตา่ งๆ หลังจากทราบ ภาพรวมตา่ งๆของขอ้ มลู

ประเดน็ สาคญั ของการซกั ประวตั ิ • ขอ้ มลู พื้นฐาน • อาการสาคัญ • ประวัตกิ ารเจบ็ ปว่ ยปจั จบุ นั • ประวัติการเจบ็ ป่วยในอดีต • ประวตั สิ ว่ นตัว • ประวัติครอบครวั

ประวตั กิ ารเจ็บป่ วยปัจจบุ นัคือ ปญั หาหรอื อาการทเ่ี กิดขนึ้ ในชว่ งใกล้ๆท่ที าให้มารับการ รกั ษา อาจหมายถงึ อาการเจ็บปว่ ยตั้งแต่เร่ิมต้นในกรณีทีพ่ ่งึ เจ็บป่วย แตถ่ ้าเปน็ การเจบ็ ปว่ ยระยะยาว จะเป็นประวตั ิการ เจบ็ ป่วยใน episode สดุ ท้ายระยะเวลาและลกั ษณะของการเร่ิมมีอาการรายละเอยี ดเกีย่ วกับอาการเจบ็ ป่วยการรกั ษาทเ่ี คยไดร้ ับเหตกุ ารณท์ ่สี มั พันธ์กบั การเจ็บป่วยผลกระทบเหตุจูงใจทม่ี ารับการรกั ษา

ประวตั กิ ารเจ็บป่ วยในอดตีคอื ปญั หาหรืออาการท่ีเกดิ ข้นึ ในอดีตท่ีผา่ นมา แบง่ เป็น ทางดา้ นรา่ งกายและดา้ นจิตเวช1. ด้านรา่ งกายโรคประจาตวั การเจบ็ ป่วยรนุ แรงทีร่ บั การรักษาใน รพ. วินิจฉัยโรค และประวัตกิ ารรักษา ประวัตสิ ารเสพตดิ ควรเน้นซกั ถามประวตั ิโรคทางกายทีเ่ กีย่ วกบั ปัญหาทาง จติ เวช เชน่ ชัก head injury ปวดศีรษะ กล้ามเนอ้ื ออ่ น แรง พูดไมช่ ัด การมองเหน็ ผดิ ปกติ

ประวตั กิ ารเจ็บป่ วยในอดตีคอื ปญั หาหรืออาการทเี่ กดิ ขึน้ ในอดีตท่ีผ่านมา แบง่ เปน็ ทางดา้ นรา่ งกายและด้านจติ เวช1. การเจ็บปว่ ยทางจิตเวชการเจบ็ ป่วยแต่ละ episode ก่อนหนา้ น้ี อาการท่เี กดิ การ รักษา การ admit ระยะเวลา admit , re-admit, ประวัติ ECT, suicide, และควรถามอาการจิตเวชอน่ื ๆ แมไ้ มไ่ ดร้ ับการรักษา เชน่ ตดิ สรุ า ยาเสพติด นอนไม่ หลับ ซึมเศรา้

วธิ กี ารตรวจและประเมนิ สภาพจติ

การตรวจวินิจฉยั ในเบ้อื งตน้ สาคญั อยา่ งไร? การตรวจวินิจฉยั ในเบ้อื งตน้ ทาไดอ้ ยา่ งไร? (Mental stกaารtตuรวsจสeภาxพaจติ mination)

การตรวจสภาพจติ (MENTAL STATUS EXAMINATION)เป็นวธิ กี ารตรวจอยา่ งหน่ึงเทยี บเคยี งกบั การตรวจรา่ งกายในการคน้ หาความ ผิดปกตทิ างกาย วธิ สี งั เกตและการสมั ภาษณ์ โดยการประเมนิ สภาพจติ ผปู้ ่ วยในดา้ นตา่ งๆ ผปู้ ่ วยจะตอบสนองดว้ ยวาจา ความนึกคดิ อารมณแ์ ละพฤตกิ รรม ผูต้ รวจจะนามาวเิ คราะหแ์ ละตดั สนิ วา่ การตอบสนองทงั้ หมดนนั้ แสดงถึงการ ปรบั ตวั อยูใ่ นเกณฑป์ กติของสงั คมและวฒั นธรรมของเขาหรอื ไม่ ตรวจสภาพจติ ยงั ถือเป็นสว่ นหน่ึงของการตรวจทางระบบประสาท (nervous system)

การตรวจสภาพจติ(MENTAL STATUS EXAMINATION)1 ประเมินสภาพทวั่ ไป (Appearance and behaviour)2 สภาพอารมณ์ (Mood and affect)3 การพดู (Speech)4 กระบวนการคิด (Thought process)5 การรับรู้ (Perception)6 ความรู้ทวั่ ไป (general knowledge)

การตรวจสภาพจติ (MENTAL STATUS EXAMINATION)7 ประชาน (Sensorium and cognition)การรับรู้เวลา สถานท่ี บคุ คล (Orientation)ความต้งั ใจและสมาธิ (Attention and Concentration)ความจา (Memory)ความคิดเชิงนามธรรม (Abstract thinking)8 การพิจารณาตดั สินใจ (Judgement)9 การหยงั่ รู้สภาพการเจบ็ ป่ วย (Insight)

1 ประเมินสภาพทว่ั ไป (Appearance and behaviour) เป็นการสงั เกตสภาพทว่ั ไปของผปู้ ่ วย การแต่งกาย ความสะอาด ทว่ั ไปการแสดงออก ท่าทางการนง่ั การเคลื่อนไหว ระดบั การรู้ สติ (Level of consciousness) อาการผดิ ปกตทิ ่ีพบ • Overdressed • Disheveled •Psychomotor agitation กระสบั กระส่าย ระแวดระวงั • Psychomotor retardation เซ่ืองซึม การแสดงออกลดลง • Stereotype การแสดงออกซ้าๆ • Waxy ตวั แขง็ คลา้ ยข้ีผ้งึ

2 สภาพอารมณ์ (Mood and affect) Mood  อารมณ์พ้นื ฐาน อารมณ์โดยรวมในช่วงที่ผา่ นมา ได้ จากการถามวา่ ส่วนใหญ่ผปู้ ่ วยมีอารมณ์อยา่ งไร (subjective) เช่น ซึมเศร้า กงั วล หงุดหงิด คร้ืนเครง Affect  สภาพอารมณ์ที่ผปู้ ่ วยแสดงออกในขณะตรวจสภาพ จิต (objective) แต่ไม่ไดบ้ อกใหท้ ราบประเมินไดจ้ ากการแสดงสีหนา้ แววตา น้าเสียงในการ พดู คุยซ่ึงผปู้ ระเมินตอ้ งดูวา่ มีความสมั พนั ธ์กนั หรือไม่ อยา่ งไร

2 สภาพอารมณ์ (Mood and affect)อาการวิทยา  Irritable mood หงุดหงิด  Depressed mood  Inappropriate affect  Shallow affect อารมณ์ต้ืนๆ ผวิ ๆ  Blunted affect ไม่แสดงอารมณ์ ทื่อๆ อารมณ์ลดลง อยา่ งเห็นไดช้ ดั

3 การพดู (Speech) กระแสคาพดู เป็นส่ิงท่ีช่วยตรวจสอบความคิด การ ตอบสนองทางอารมณ์ของผปู้ ่ วย ผปู้ ระเมินตอ้ ง สงั เกต ลกั ษณะการพดู ความชา้ เร็วของการพดู น้าเสียงค่อยหรือดงั เกินไป พดู สบั สน วกวนหรือไม่ ถามตอบตรงคาถามหรือไม่ ระบบการพดู เป็น อยา่ งไร สอดคลอ้ งหรือไม่

4 กระบวนการคิด (Thought process)กระบวนการคิด เพื่อที่จะดูวา่ ลกั ษณะการคิดของผปู้ ่ วย ต่อเนื่องหรือไม่ คิดชา้ คิดนาน คิดฟ้ ุงซ่านและเปล่ียน เรื่องราวการคิดตลอดเวลา มีความคิดหลากหลาย เร่ืองราวในการสนทนาแต่ไม่มีความเช่ือมโยงกนั - กระบวนการคิด หรือ กระแสความคิด (Thought process /formal thought disorder) - เน้ือหาความคิด (Thought content)

อาการผิดปกติ กระบวนการคดิ (Thought process) Loosening of association ความคดิ ไมต่ อ่ เน่ือง ไม่ ประติดประตอ่ Circumstantial คดิ ออ้ มคอ้ ม Rambling พดู เรอ่ื ยเปื่อย Flight of idea ความคดิ โลดแลน่ เปลย่ี นเรอื่ งเร็ว คดิ หลายๆอยา่ ง เปล่ียนเรอื่ งเรว็ พูดเร็ว พดู ไมจ่ บก็เปล่ยี นเรอื่ ง ตาเรอ่ื งราวมีสว่ นตอ่ เนื่องและ เขา้ ใจได้

อาการผดิ ปกตเิ น้อื หาการคิด (Thought content) Obsession คดิ ซา้ ซากอยกู่ บั เรอ่ื งใดเรอื่ งหน่ึง รบกวนผูป้ ่ วย ผูป้ ่ วยรูว้ า่ เหลวไหล พยายามไมค่ ดิ แตห่ า้ มตวั เองไมไ่ ด้ ผูป้ ่ วยมกั จะมภี าวะ compulsion ทเ่ี รยี กวา่ อาการยา้ ทาเป็นการกระทาซา้ ๆเพ่ือแกแ้ ละป้ องกนั ความคดิ ทต่ี นเองรบั ไมไ่ ด้  Preoccupation คดิ หมกมุน่ อยูก่ บั เรอื่ งใดเรอ่ื งหน่ึง เชน่ กงั วลเรอื่ งงาน เรอ่ื ง ครอบครวั เรอ่ื งความลม้ เหลวในอดตี Hypochondriacal thought คดิ หมกมุน่ เรอ่ื งความเจบ็ ป่ วยของตนเอง กงั วลวา่ อาจเป็นโรคทางกายตา่ งๆ Delusion ความคดิ หลงผดิ

ประเภทของภาวะหลงผดิ1. Erotomanic type หลงผดิ วา่ บุคคลอนื่ มาหลงรกั ตนเองโดยบุคคลนน้ั มกั เป็นผทู้ มี่ ีความสาคญั หรอื มชี อ่ื เสยี ง2. Grandiose type เชอ่ื วา่ ตนเองมีความสามารถเหนือกวา่ ผอู้ นื่มคี วามหยงั่ รูพ้ ิเศษ หรอื หลงผดิ วา่ ตนเองเกี่ยวขอ้ งใกลช้ ดิ กบั บุคคลสาคญั3. Jealous type หลงผดิ วา่ คคู่ รองของตนนอกใจ4. Persecutory type ระแวงวา่ ตนเองถกู กลนั่ แกลง้ สะกดรอยหรอื วางยาพิษ เป็นชนิดทพ่ี บบ่อยทสี่ ุด5. Somatic type หลงผดิ เก่ียวกบั รา่ งกายของตนเอง เชน่หลงผดิ วา่ บางสว่ นของรา่ งกายผดิ รูปรา่ ง น่าเกลยี ด หรืออวยั วะบางอวยั วะไมท่ างาน

5 การรบั รู้ (Perception) เป็นการประเมินการรับรู้ของประสาทสมั ผสั ท้งั 5 วา่ มีความผดิ ปกติหรือไม่อยา่ งไร การผดิ ปกติของ การรับรู้มี 2 ประเภทคือ  Hallucination  illusion

HALLUCINATION ประสาทหลอน• เป็นความผดิ ปกติทางการรับรู้ต่อส่ิงเร้าภายนอก โดย ปราศจากส่ิงกระตุน้• การรับรู้น้นั เก่ียวขอ้ งกบั ประสาทสมั ผสั ท้งั 5 คือ ทาง ตา ทางหู ทางจมกู ทางลิ้น ทางกาย

ประเภทของภาวะประสาทหลอน  Visual hallucination ภาพหลอน  Auditory hallucination หแู วว่  Olfactory hallucination ประสาทหลอนทางจมูก  Gustatory hallucination ประสาทหลอนทางการรบั รส  Tactile hallucination ประสาทหลอนทางผิวสมั ผสั

ILLUSION ประสาทลวงIllusion: เป็นการแปลความ ความจรงิ หรอื ความผดิ พลาด โดยมสี งิ่ กระตนุ้ จากภายนอก ประสาทลวงเป็นสง่ิ ทเ่ี กดิ ไดใ้ นความจรงิ ซงึ่ เกิดไดจ้ ากการตคี วามขอ้ มูลดา้ นประสาทรบั ความรูส้ กึ

6 ความรทู้ วั่ ไป (General knowledge)การถามข้อมลู ท่ัวไป  สัปดาหห์ นึง่ มกี ่ีวัน พระอาทติ ย์ตกทางทศิ ใด บอกจังหวดั ทางภาคอสี านมา ห้าจังหวดั นายกรฐั มนตรีคือใครคาศพั ท์  ยอ้ มสี เพชร กลอ้ งจลุ ทรรศน์ ถดถอย พหูพจน์ (ผูต้ รวจตอ้ งคานึงถึงระดบั สตปิ ัญญา พ้นื ฐาน ขนบธรรมเนยี มประเพณี ระดบั การศึกษา)

7 ประชาน (Sensorium and cognition) 7.1 การรับรู้เวลา สถานที่ บุคคล (Orientation) 7.2 ความต้งั ใจและสมาธิ (Attention andConcentration) 7.3 ความจา (Memory) 7.4 ความคิดเชงิ นามธรรม (Abstract thinking)

7.1 การรบั ร้เู วลา สถานที่ บคุ คล (Orientation)เวลา  ขณะน้ีเป็นเดือนอะไร?สถานที่  ท่ีนี่ที่ไหน? บา้ นอยทู่ ่ีไหน?บุคคล  ใครเป็นคนพามาโรงพยาบาล?

7.2 ความต้งั ใจและสมาธิ (Attention and Concentration) โดยให้ผูป้ ว่ ยลองลบเลข 100-7= ? -7 =? -7 = ? 20-3 = ? -3 = ? -3 = ? ถ้าทาไมไ่ ดอ้ าจใหท้ วนสัปดาห์หรือเดอื นย้อนหลังเชน่ อาทติ ย์ เสาร์ ศกุ ร์……. ธันวาคม พฤศจกิ ายน ......

7.3 ความจา (Memory) เป็นการตรวจสอบความจา Recall memory  ทวนสิง่ ของ โดยให้จาของ 3 ส่ิง ก่อน การทดสอบความตัง้ ใจและสมาธิ (ใช้เวลาประมาณ 5 นาท)ี แลว้ ใหผ้ ู้ปว่ ยบอกวา่ ส่งิ ทใี่ หจ้ าคอื อะไร Recent memory  ความจา 1-2 วันกอ่ นหน้าน้ี โดย ถามเก่ียวกับเหตุการณท์ พ่ี ึ่งเกิดข้ึน Remote memory  ความจาในอดีต เชน่ เรยี นจบจากท่ี ไหน

7.4 ความคดิ เชงิ นามธรรม (Abstract thinking)บอกความหมายของคาสภุ าษิต น้าขน้ึ ใหร้ ีบตัก เข็นครกข้นึ ภเู ขา ตาน้าพริกละลาย แม่น้าบอกความแตกตา่ ง/ ความเหมือน ของสองสิ่ง กลว้ ยกบั ส้ม แมวกับหนู กีตาร์กบั ขลยุ่