Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการเรียนรู้ระบบหมุนเวียนเลือด

แผนการเรียนรู้ระบบหมุนเวียนเลือด

Published by sriprapa44, 2022-05-25 11:30:25

Description: แผนการเรียนรู้ระบบหมุนเวียนเลือด

Search

Read the Text Version

วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 แผนการจัดการเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 กล่มุ สาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนษุ ย์และสัตว์ เวลา 2 ชั่วโมง วิชา วิทยาศาสตร์ (ว 22102) ************************************************************************************* ผู้จัดทา นางมทั นี เสยี งเสนาะ โรงเรียนวดั หว้ ยจรเขว้ ิทยาคม จ.นครปฐม E-mail : [email protected] และ นางอารียา แสงคา โรงเรียน ภ.ป.ร.ราชวทิ ยาลัย ในพระบรมราชูปถมั ภ์ จ.นครปฐม E-mail : [email protected] ************************************************************************************* มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัดหรือผลการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจหน่วยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของโครงสร้าง และหน้าที่ของ ระบบต่างๆ ของสิ่งมีชีวิตท่ีทางานสัมพันธ์กัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ ส่ือสารสิ่งที่เรียนรู้และนา ความร้ไู ปใช้ในการดารงชีวิตของตนเองและดแู ลสิง่ มชี วี ติ ตัวช้ีวัด ม.2/1 อธิบายโครงสร้างและการทางานของระบบย่อยอาหาร ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบ หายใจ ระบบขับถ่าย ระบบสบื พันธ์ขุ องมนุษยแ์ ละสตั ว์ รวมทงั้ ระบบประสาทของมนุษย์ ตวั ชวี้ ดั ม.2/2 อธบิ ายความสัมพนั ธ์ของระบบต่างๆ ของ มนษุ ย์และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ มาตรฐาน ว 8. 1 ใชก้ ระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวทิ ยาศาสตรใ์ นการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบท่ีแน่นอนสามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเคร่ืองมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆเข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมคี วามเกี่ยวขอ้ งสมั พันธก์ ัน ตัวช้ีวัด ม.2/1 ตั้งคาถามที่กาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สาคัญในการสารวจตรวจสอบ หรือศึกษา คน้ ควา้ เรื่องท่สี นใจไดอ้ ยา่ งครอบคลมุ และเชอื่ ถือได้ ตัวช้ีวดั ม.2/2 สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบไดแ้ ละวางแผนการสารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ตัวช้ีวัด ม.2/3 เลือกเทคนิควิธีการสารวจตรวจสอบท้ังเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีได้ผลเท่ียงตรง และปลอดภยั โดยใช้วสั ดแุ ละเคร่ืองมือทเ่ี หมาะสม ตัวชวี้ ดั ม.2/4 รวบรวมข้อมูล จดั กระทาขอ้ มูลเชิงปรมิ าณและคณุ ภาพ

วิทยาศาสตร์ ม. 2 ตัวชี้วัด ม.2/5 วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งท่ีสนับสนุน หรือขดั แยง้ กบั สมมตฐิ าน และความผิดปกติของขอ้ มูลจากการสารวจตรวจสอบ ตัวช้วี ดั ม.2/6 สรา้ งแบบจาลอง หรือรปู แบบ ทอ่ี ธิบายผลหรอื แสดงผลของการสารวจตรวจสอบ ตวั ชว้ี ัด ม.2/7 สรา้ งคาถามท่ีนาไปสกู่ ารสารวจตรวจสอบ ในเร่ืองที่เก่ยี วข้อง และนาความรู้ที่ได้ไป ใช้ในสถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อ่ืน เขา้ ใจ ตัวชี้วัด ม.2/8 บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลท่ีเช่อื ถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ท่ีค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์ พยานใหม่เพ่มิ ขนึ้ หรือโต้แยง้ จากเดิม ตัวช้ีวัด ม.2/9 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกบั แนวคดิ กระบวนการ และผล ของโครงงานหรอื ชน้ิ งานให้ผู้อื่นเข้าใจ แนวความคดิ หลกั หรือสาระสาคญั ระบบหมุนเวยี นเลือดเป็นระบบอวัยวะซ่ึงให้เลือดไหลเวียนและขนสง่ สารอาหาร (เชน่ กรดอะมิโน และอิเล็กโทรไลต์) ออกซิเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ฮอร์โมน และเม็ดเลือดเข้าและออกเซลล์ในร่างกายเพอ่ื หล่อเลี้ยงและช่วยต่อสู้โรค รักษาอุณหภูมิและ pH ของร่างกาย และรักษาภาวะธารงดุล โดยการไหลเวียน เลือดเกิดข้ึนได้จากแรงท่ีหัวใจบีบตัวส่งเลือด ตามหลอดเลือดไปยังปอด เพื่อการแลกเปลี่ยนออกซิเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์ แล้วกลับมาเข้าหัวใจเพ่ือส่งไปเล้ียงส่วนต่างๆ ของร่างกาย สุดท้ายจะไหลเวียนมาเข้า หัวใจอกี เชน่ นีเ้ ร่ือยไป จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ 1. อธบิ ายโครงสรา้ งและการทางานของหัวใจมนษุ ย์และตระหนกั ถงึ ความสาคัญของหัวใจ 2. อธบิ ายส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบหมนุ เวียนเลือดในร่างกายมนษุ ย์ 3. อธบิ ายลกั ษณะของหลอดเลอื ดชนดิ ต่าง ๆ และส่วนประกอบของเลอื ด 4. อธิบายทิศทางการหมุนเวยี นเลือดของมนษุ ย์

วิทยาศาสตร์ ม. 2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ สบื คน้ ข้อมลู คน้ คว้า รวบรวมข้อมูล เกย่ี วกับระบบหมุนเวยี นเลือด จากสื่อต่าง ๆ เชน่ ใบความรู้ หนังสือเรยี น อินเตอร์เน็ต ทดลอง จัดกระทาข้อมลู นา รวบรวมและบันทกึ ผลการสบื คน้ นาเสนอขอ้ มลู ใน ชน้ั เรียน ด้านคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ จิตวทิ ยาศาสตร์ สนใจใฝ่รู้ มุ่งมน่ั อดทน รอบคอบ รับผิดชอบ ซ่ือสตั ย์ ประหยัด รว่ มแสดงความคิดเห็นและยอมรับ ความคดิ เห็นของผู้อื่น มีเหตุผล ทางานร่วมกบั ผูอ้ ื่นอย่างสร้างสรรค์ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ ความซอ่ื สัตยส์ ุจริต มีวินยั ใฝ่เรียนรู้ มงุ่ มัน่ ในการทางาน มีจิตสาธารณะ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน ความสามารถในการสือ่ สาร ความสามารถในการการคิด ความสามารถในการแก้ปญั หา ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ และความสามารถในการด้านเทคโนโลยี สาระการเรียนร/ู้ เนอื้ หา ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดในมนุษย์ 1. หวั ใจ (Heart ) หัวใจ (Heart) เป็นอวัยวะท่ีรับผิดชอบหน้าที่สูบฉีดเลือดให้ไหลเวียนไปยังอวัยวะอื่น ๆ ในร่างกาย อย่างต่อเน่ืองและทั่วถึง หัวใจของมนุษย์จะอยู่บริเวณช่องอกค่อนไปทางซ้าย แบ่งออกเป็น 4 ห้อง ได้แก่ ดา้ นบน 2 ห้อง และดา้ นล่างอีก 2 หอ้ ง ทาหน้าท่ี สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยทาให้เกิดความดันเลือดในหลอดเลือดแดง เพื่อให้เลือดเคลือ่ นท่ีไปยงั อวยั วะสว่ นต่างๆ ของรา่ งกายได้ทวั่ ถึง ส่วนหวั ใจแต่ละหอ้ งมหี น้าที่ ดงั น้ี หัวใจหอ้ งบนขวา ทาหน้าที่รบั เลือดจากหลอดเลอื ดดาทีส่ ่งเลือดมาจากรา่ งกายชว่ งบนและช่วงลา่ ง หัวใจห้องล่างขวา ตาแหน่งของหัวใจห้องน้ีจะอยู่ด้านหน้าสุดของหัวใจ ทาหน้าท่ีรับเลือดต่อจาก หัวใจหอ้ งบนขวา และส่งเลอื ดไปยังปอดผ่านลน้ิ หัวใจและหลอดเลอื ดแดง

วิทยาศาสตร์ ม. 2 หัวใจห้องบนซ้าย ตาแหน่งของห้องหัวใจบนซ้าย จะอยู่ด้านหลังสุด และเป็นห้องหัวใจท่ีมีขนาด เล็กท่ีสุดด้วย เมื่อเทียบกับห้องหัวใจอ่ืน ๆ หัวใจห้องบนซ้ายจะคอยรับเลือดท่ีมีออกซเิ จนจากปอด ซึ่งส่งมา ทางทางหลอดเลอื ดแดง หัวใจหอ้ งลา่ งซ้าย หอ้ งหัวใจท่ีมผี นงั หวั ใจหนาทส่ี ุดและมีขนาดใหญ่ท่ีสุดด้วย ทาหน้าท่สี บู ฉดี เลือด ทม่ี อี อกซิเจนซง่ึ ได้รับมาจากหวั ใจห้องบนซ้ายไปยังส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย 2. หลอดเลือด (Artery) หลอดเลือดแดง ( Artery ) หมายถึง หลอดเลือดท่ีนาเลือดออกจากหัวใจ ซ่ึงจะเป็นเลือดท่ีมีปริมาณ ออกซิเจนสูงเป็นเลือดท่ีมีสีแดงสด ไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย ( ยกเว้นหลอดเลือดที่ไปสู่ปอดช่ือ pulmonary artery ซ่ึงจะนาเลือดดาจากหัวใจที่มคี าร์บอนไดออกไซดส์ ูงไปฟอกท่ีปอด ) หลอดเลือดดา ( Vein ) หมายถึง หลอดเลือดท่ีนาเลือดท่ีมีของเสีย และคาร์บอนไดออกไซด์ ( เลือด ดา ) ที่ร่างกายใช้แล้วจากส่วนต่างๆ ของร่างกายกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา ( Right atrium ) เพื่อนากลับไป ฟอกที่ปอด ( ยกเว้นหลอดเลือดดาปอดที่ช่ือ pulmonary vein ซ่ึงจะนาเลือดแดงที่ผ่านการฟอกจากปอดแล้ว นากลบั เขา้ สู่หัวใจหอ้ งบนซ้าย ) หลอดเลือดฝอย ( Capillary ) หมายถึง หลอดเลือดที่เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงขนาดเล็ก ไป ยังหลอดเลือดดาขนาดเล็ก โดยจะแทรกอยู่ในเนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกาย เช่น ผิวหนัง กล้ามเน้ือ สมอง และ อวยั วะอ่ืนๆ ยกเว้นเส้นผม และเลบ็ จะไม่มหี ลอดเลอื ดฝอย ท่มี า http://www.sci.nu.ac.th/biology/elearning/animal_biology/animalbiology/text/modulefour/images/four_tw ofilethree_clip_image002_0000.jpg สบื ค้นเม่ือ 26 เมษายน 2560

วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 3. ทศิ ทางการไหลเวยี นของเลือด เรมิ่ จากหัวใจห้องบนขวารับเลือดจากส่วนหวั และแขนทาง ซูพเี รียเวนาคาวา (Superior venacava ) ส่วนเลอื ดจากลาตัวและขาเข้าทาง อนิ ฟิเรียเวนาคาวา ( Inferior venacava ) เขา้ สูห่ ัวใจห้องบนขวาเช่นกัน เมื่อ หวั ใจห้องบนขวาบีบตัวเลือดไหลลงสู่หอ้ งลา่ งขวา โดยผา่ นลิ้นสามแฉกหรือลิน้ ไตรคัสปิด (Tricuspid valve) เมื่อหวั ใจห้องล่างขวาบีบตัวเลือดจะเข้าสูพ่ ัลโมนารี อารเ์ ตอรี (Pulmonary artery ) โดยผ่านลิน้ เซมลิ ูนาร์ (senilunar valve ) หลอดเลือดน้ีนาเลือดไปแลกเปล่ยี นแกส๊ โดยการปล่อยคารบ์ อนไดออกไซด์ให้กับปอด แล้วรับออกซเิ จนจากปอดทาให้เลือดที่มีออกซเิ จนสูงไหลกลับเข้าสู่หัวใจทางพลั โมนารีเวน (Pulmonary vein) สง่ ไปสหู่ ้องบนซ้าย เมื่อห้องบนซา้ ยบบี ตวั เลือดจะไหลผ่านล้นิ ไบคัสปดิ หรือลนิ้ ไมตรลั (Bicuspid vale หรอื Mitral valve ) ลงสู่หอ้ งล่างซา้ ย เม่อื ห้องลา่ งซา้ ยบีบตวั เลือดจะไหลออกทางเอออร์ตาไปสู่สว่ นต่าง ๆ ของร่างกาย และในเอออร์ตามีล้ินเซมิลูนาร์เป็นตวั กั้นมใิ ห้เลือดไหลย้อนกลับเขา้ สหู่ วั ใจห้องลา่ งซา้ ยอีกครงั้ ทมี่ า : http://webs.ashlandctc.org/mflath/HEART%20LAB%20PPT%20SP10_files/slide0010_image051.jpg สบื คน้ เมื่อ 26 เมษายน 2560

วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 กระบวนการจดั การเรียนรู้ ข้นั ที่ 1 ขัน้ เรา้ ความสนใจ (Engagement) 1.1 ครูให้นกั เรยี นชมคลบิ วิดีโอ ท่ี https://www.youtube.com/watch?v=3lC3Irq6jQs 1.2 นกั เรียนรวมกันอภิปรายเกย่ี วกบั ตัวละครของเรื่องราวในคลิบท่ชี ม 1.3 ครูประเมินระดับความรู้เดิม เรือ่ ง ระบบหมนุ เวยี นเลือดของนกั เรยี นจากการร่วมอภปิ ราย ข้างต้น 1.4 นกั เรียนและครรู ่วมกนั คาถามต่อว่า นักเรียนคิดว่าหัวใจคืออะไร มคี วามสาคัญอยา่ งไร มี โครงสร้างและหน้าท่กี ารทางานอยา่ งไร หากระบบไหลเวียนโลหติ ทางานผดิ ปกติจะส่งผล อย่างไรต่อรา่ งกายของสิง่ มีชีวิตหรือไม่ ขั้นท่ี 2 ขนั้ สารวจค้นหา (Exploration) 2.1 แบง่ กลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 3-4 คน โดยคละเพศและความสามารถ แจง้ ให้นักเรียนทราบก่อนการ ปฏิบัตกิ จิ กรรม 2.2.ครสู ่งเสริมให้นักเรยี นทางานร่วมกันเพ่อื ให้นักเรยี นได้รับทราบถงึ สิ่งที่ต้องการจะศกึ ษาและ แบ่งหนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ 2.3 ให้นกั เรยี นร่วมกนั ทากจิ กรรมที่ 1 แบบจาลองการทางานของหัวใจ พร้อมท้งั บนั ทกึ ผลการ ปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยมีครูเปน็ ผ้ใู หค้ าปรึกษา 2.4 ครใู หเ้ วลานกั เรียนในการ คน้ หาศกึ ษาขอ้ มลู จาก ใบความรู้ หนังสือเรียนวิทยาศาสตรร์ ะดับ มธั ยมศึกษาตอนต้น เลม่ 4 รวมถึงสอ่ื อื่น ๆ ทนี่ กั เรยี นสามารถเขา้ ถึงได้ ขั้นที่ 3 ขั้นอธิบาย (Explanation) 3.1 ครูส่งเสรมิ ใหน้ ักเรยี นอธบิ ายความคดิ รวบยอดและนาข้อมลู ท่ไี ด้ มาวิเคราะหแ์ ละสรุปผล ขอ้ มลู 3.2 ตวั แทนนักเรยี นแตล่ ะกลุ่มนาเสนอข้อสรุปหน้าหอ้ งเรยี น 3.3 สมาชกิ ภายในห้องเรียนร่วมกันอภิปรายผลการทากิจกรรมของแตล่ ะกลุม่ พร้อมท้งั แสดงความ คดิ เห็นถึงประเด็นที่นาเสนอวา่ ถูกต้องหรือไม่ อยา่ งไร จากน้ันให้นกั เรยี นชมคลิบวีดิโอ เพม่ิ เตมิ จาก https://www.youtube.com/watch?v=-s5iCoCaofc เพอื่ เปน็ การทบทวนและ เพมิ่ เติมความเข้าใจรวมถงึ เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นได้ซกั ถามสิง่ ทีน่ ักเรียนยังสงสัยด้วย 3.4 ร่วมกนั อภิปรายเพ่อื หาข้อสรุป เร่ือง ความสาคญั โครงสรา้ ง หนา้ ที่ การทางาน ของระบบ หมุนเวยี นเลอื ด

วิทยาศาสตร์ ม. 2 ขนั้ ท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ใหน้ ักเรยี นเชอื่ มโยงความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งความรู้ท่ีได้รับ ประสบการณ์ และความรเู้ ดิม ให้ สมั พันธก์ ันอยา่ งมเี หตุผล ถูกตอ้ ง 4.2 ครูและนักเรยี นร่วมกันอภิปรายเกย่ี วกับการทางานของหวั ใจในการสบู ฉีดเลอื ด การเต้นของ หวั ใจ รวมถงึ ปัจจัยทสี่ ่งผลต่ออัตราการเต้นของหัวใจ 4.3 ครแู นะนาให้นักเรียนศกึ ษาจากแหลง่ เรยี นร้อู อนไลน์ของ สสวท. ที่ http://fieldtrip.ipst.ac.th/#/content/49/detail/579 เกี่ยวกับการทางานของกล้ามเนือ้ หัวใจ การ เต้นของหวั ใจท่ีเหมาะสม และศกึ ษาการทดสอบสมรรถภาพของกล้ามเน้อื และการไหลเวยี น ของโลหิตจาก https://www.youtube.com/watch?v=Xria84o7wO4 ข้ันท่ี 5 ขน้ั ประเมนิ ผล (Evaluation) 5.1 ครใู ห้คาถามนักเรยี นเพอ่ื ตรวจสอบความถูกต้องอกี คร้งั และเพื่อใหน้ กั เรยี นสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจาวันได้ เช่น นกั เรียนสามารถนาความรู้เร่อื ง ระบบหมุนเวยี นเลือด ไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวนั ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง อาจสุ่มถามนกั เรียนเปน็ รายบคุ คล เพือ่ ประเมนิ ความเข้าใจ 5.2 นกั เรียนทากิจกรรมเรื่องแบบจาลองการทางานของหัวใจมคี วามถูกตอ้ ง สง่ งานตาม กาหนดเวลา สอ่ื วัสดุ อุปกรณ์/แหลง่ เรยี นรู้ 1. ใบความรูเ้ รือ่ ง ระบบหมุนเวียนเลอื ด 2. ใบกจิ กรรมท่ี 1 เร่ือง แบบจาลองการทางานของหวั ใจ 3. หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตรร์ ะดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น เลม่ 4 4. แหลง่ เรยี นรู้ออนไลน์ http://fieldtrip.ipst.ac.th/#/content/49/detail/579 หลักฐานหรือร่องรอยของการเรียนรู้เพื่อการวัดและประเมนิ ผล วธิ วี ดั และประเมนิ ผล เครือ่ งมอื วดั และประเมนิ ผล เกณฑ์การประเมิน ไดค้ ะแนนไม่น้อยกว่า 75 % 1. ตรวจแบบบนั ทึกกิจกรรม 1. แบบบันทึกกิจกรรม ไดค้ ะแนนไม่น้อยกวา่ 75 % 2. สังเกตพฤตกิ รรมการเรยี นรู้ 2. แบบประเมนิ การสงั เกตพฤติกรรม ได้คะแนนไม่น้อยกว่า 75 % การเรียนรู้ 3. สังเกตทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ 3. แบบประเมินทกั ษะทางวิทยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 ใบกจิ กรรมท่ี 1 การทดลอง เรอ่ื ง แบบจาลองการทางานของหัวใจ คาช้แี จง 1. นักเรยี นแบง่ กลุ่มแบบคละกล่มุ ละ 5 คน ศกึ ษาใบกจิ กรรมที่ 1 เรื่องแบบจาลองการทางานของหวั ใจ 2. ตวั แทนกล่มุ จัดเตรยี มอุปกรณ์การทดลองล่วงหนา้ ก่อนคาบเรยี น 3. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ร่วมกันออกแบบ วางแผน แบ่งหน้าที่ และปฏิบัตกิ ารทดลอง 4. บันทึกผลการทดลอง และ ตอบคาถามหลังทากจิ กรรมที่ 1 5. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ วิเคราะหผ์ ล สรปุ ผล อภปิ รายผลการทากจิ กรรม 6. ใหต้ วั แทนนักเรียนนกั เรยี นแต่ละกลุม่ ออกมานาเสนอผลการทากจิ กรรมหนา้ ชน้ั เรียน จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ค์การเรยี นรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ทดลอง และอธิบายหลักการทางานของระบบการทางานของหวั ใจ วสั ดุอปุ กรณ์และสารเคมี 2 ใบ 1. เหยอื กน้า 2,000 ลกู บาศก์เซนติเมตร 2. นา้ สีแดงปริมาตร 2 ชุด 3. ทอ่ ปัม๊ นา้ วิธีการทดลอง 1. นาน้าสแี ดงใสล่ งในเหยือกประมาณคร่งึ เหยือกท้ัง 2 ใบ 2. ใส่ท่อป๊มั น้าลงในเหยือกดังรปู 3. บีบลกู บบี พร้อมกันทั้ง 2 ข้างในการบบี แตล่ ะครงั้ ตอ้ งให้ ปรมิ าตรน้าในแตล่ ะภาชนะมรี ะดบั เทา่ เดิมอยู่ตลอดเวลา 4. สงั เกตแรงดันในท่อทัง้ สองของปั๊มในแต่ละข้างโดยการจับทอ่ ใหต้ รง 5. สงั เกตและเขยี นทิศทางการไหลของนา้ สใี นแบบจาลอง ในใบบนั ทึกผลการจัดกิจกรรม แบบจาลองการทางานของหัวใจ

วิทยาศาสตร์ ม. 2 บันทกึ ผลการกิจกรรม .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ตอบคาถามตอ่ ไปน้ี 1. ส่งิ ใดที่ทาให้นา้ สีเริ่มไหลผา่ นทอ่ ได้ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 2. นา้ ไหลเข้าสู่ทอ่ ปัม๊ นา้ เส้นใด ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 3. เมื่อคลายมอื จากลูกบบี สงิ่ ใดที่ทาให้นา้ ในทอ่ ไม่ไหลกลับไปตามทอ่ เดมิ ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... 4. นกั เรยี นคิดวา่ เสยี งทไ่ี ด้ยินขณะบบี ลกู บบี เกิดจากส่ิงใด ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................

วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 5. นกั เรยี นจะอธิบายการทางานของแบบจาลองการทางานของหัวใจไดว้ ่าอย่างไร ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 6. เม่อื นักเรียนสงั เกตแรงดันในทอ่ ทั้งสองของป๊ัมในแตล่ ะขา้ ง ทอ่ ไหนมแี รงดนั มากกวา่ กนั เพราะเหตใุ ด ท่อท่ีมีแรงดนั มากกว่าเปรียบเทียบได้กบั หลอดเลือดใด ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ สรุปผลการทดลอง ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 ใบความรู้ เรื่อง ระบบหมุนเวยี นเลือด (circulatory system) ระบบหมนุ เวยี นเลือด เปน็ ระบบทีท่ ำหนำ้ ทห่ี มุนเวยี นเลือดไปตำมสว่ นต่ำงๆ ของรำ่ งกำยเพือ่ ลำเลียง แกส๊ ออกซเิ จน และสำรอำหำรไปหล่อเลย้ี งเซลลข์ องร่ำงกำย พรอ้ มกับนำแกส๊ คำรบ์ อนไดออกไซดแ์ ละของเสยี ไปยังบรเิ วณทีร่ ำ่ งกำยขับออก ระบบหมนุ เวยี นเลือด แบง่ เปน็ 2 ระบบ ดงั นี้ 1. ระบบหมนุ เวยี นเลอื ดวงจรเปิด (open circulatory system) พบไดใ้ นสัตว์ พวกแมลง กงุ้ หอย และดำว ทะเล เป็นระบบทีเ่ ลอื ดไม่ได้อยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลำ โดยมหี ัวใจหรือหัวใจเทยี ม(เปน็ หลอดเลอื ดที่โป่ง พองออก) ทำหนำ้ ทสี่ ูบฉีดเลือดไปตำมหลอดเลือด เข้ำสชู่ อ่ งวำ่ งภำยในลำตวั เรยี กว่ำ ฮโี มซีล (hemocoel) เลือดจะออกจำกหลอดเลือดสมั ผสั กับเซลลห์ รือเนื้อเยื่อโดยตรงเพือ่ แลกเปลีย่ นแก๊สและสำรอำหำร 2. ระบบหมนุ เวยี นเลือดวงจรปดิ (closed circulatory system) พบในสัตว์พวกหมึก ไสเ้ ดือนดนิ และสัตว์มี กระดูกสันหลงั เป็นระบบท่ีเลือดอยู่ในหลอดเลือดตลอดเวลำ เลอื ดจะไม่สัมผสั กบั เซลลห์ รือเนอื้ เยื่อโดยตรง และมกี ำรแลกเปล่ยี นสำรบรเิ วณหลอดเลือดฝอย ภำพ 1 ระบบหมนุ เวยี นเลือดวงจรเปิดและปิดของสตั ว์ ที่มำ : Pearson Education. สบื ค้นเมอ่ื 26 เมษำยน 2560, จำก http://www.scimath.org/images/uploads/upload2/picture41333414649361.jpg

วิทยาศาสตร์ ม. 2 อวยั วะท่สี าคัญในระบบหมุนเวยี นเลือดของมนษุ ย์ คอื หวั ใจ หลอดเลอื ด และเลอื ด 1. หัวใจ (heart) หวั ใจอย่ภู ำยในชอ่ งอก ระหวำ่ งปอดท้ัง 2 ขำ้ ง ค่อนไปทำงซ้ำยเล็กน้อย เป็นอวยั วะท่ีมสี ่วนประกอบ ส่วนใหญเ่ ป็นกลำ้ มเน้ือ มขี นำดประมำณใหญ่กวำ่ กำป้ันมือของเจ้ำของเล็กน้อย มีเยอื่ บุเป็นถุงหุ้มรอบ เรยี กวำ่ เย่อื หุ้มหัวใจ (pericardium) หวั ใจทำหนำ้ ทส่ี ูบฉดี เลือดไปเลย้ี งสว่ นตำ่ งๆ ของรำ่ งกำย ภำพ 2 สว่ นประกอบของหวั ใจ ทีม่ ำ : Pearson school. สืบค้นเม่อื 26 เมษำยน 2560, จำก http://www.pearsonschool.com/index.cfm?locator=PS12Y9 หวั ใจของมนษุ ยป์ ระกอบดว้ ยกลำ้ มเนอื้ ทแ่ี ขง็ แรง มี 4 หอ้ ง ดงั นี้ 1. หวั ใจห้องบนขวำ (right atrium) มหี นำ้ ท่ีรับเลือดท่ีใช้แล้ว หรือเลอื ดทีม่ ีแก๊สคำร์บอนไดออกไซดส์ ูงจำก ศีรษะและแขน ซ่ึงลำเลยี งมำกบั หลอดเลอื ดซูพีเรยี เวนำคำวำ (superior vena cava) กับรับเลอื ดจำก อวยั วะภำยในและขำ ท่ีลำเลียงมำกับหลอดเลือดอนิ ฟเี รีย เวนำคำวำ (inferior vena cava) แล้วลำเลียง ไปยังหวั ใจหอ้ งลำ่ งขวำ ระหว่ำงหัวใจหอ้ งบนขวำ และห้องลำ่ งขวำมี ล้นิ ไตรคสั ปดิ (tricuspid valve) ทำ หน้ำทปี่ ้องกนั ไมใ่ ห้เลือดในหัวใจห้องล่ำงขวำไหลย้อนกลบั สหู่ วั ใจห้องบนขวำ 2. หวั ใจหอ้ งลำ่ งขวำ (right ventricle) มหี นำ้ ทีร่ บั เลือดจำกหัวใจหอ้ งบนขวำ แล้วสง่ ไปฟอกท่ปี อดโดยหลอด เลือดพลั โมนำรี อำรเ์ ทอรี (pulmonary artery)ซง่ึ จะพบลนิ้ พลั โมนำรี เซมิลนู ำร์(pulmonary semilunar valve) ทำหน้ำท่ีป้องกนั ไมใ่ ห้เลือดไหลย้อนกลับสหู่ วั ใจหอ้ งล่ำงขวำ 3. หวั ใจห้องบนซ้ำย (left atrium) มีหน้ำทีร่ ับเลือดที่ฟอกแล้วจำกปอด ที่ลำเลยี งมำกับหลอดเลอื ดพัลโมนำรี เวน (pulmonary vein) ระหวำ่ งหัวใจห้องบนซ้ำยและลำ่ งซ้ำย มีลน้ิ ไบคสั ปดิ (bicuspid valve หรอื mitral valve) ทำหนำ้ ทีป่ ้องกนั ไมใ่ หเ้ ลือดในหวั ใจห้องล่ำงซำ้ ยไหลยอ้ นกลบั สหู่ วั ใจห้องบนซ้ำย

วิทยาศาสตร์ ม. 2 4. หวั ใจห้องลำ่ งซ้ำย (left ventricle) มผี นงั กล้ำมเนอื้ หนำที่สุด เพรำะทำหน้ำทร่ี ับเลือดจำกหัวใจห้องบนซ้ำย แล้วสูบฉีดเลอื ดไปเล้ียงส่วนต่ำงๆ ของรำ่ งกำย โดยสง่ ออกไปทำงหลอดเลือดเอออร์ตำ (aorta)ซ่ึงจะพบล้ิน เอออร์ติค เซมลิ ูนำร์ (aortic semilunar valve) ทำหน้ำทีป่ อ้ งกนั ไม่ใหเ้ ลือดไหลยอ้ นกลบั สหู่ ัวใจหอ้ งล่ำง ซำ้ ย ภำพ 3 ทศิ ทำงกำรไหลเวยี นเลอื ด ท่มี ำ : มหำวิทยำลัยมหิดล. สืบค้นเมือ่ 26 เมษำยน 2560, จำก http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/respiration/res2.jpg เซอร์ วิลเลียม ฮาร์วี (Sir William Harvey) เป็นชาวองั กฤษคนแรกท่ีศกึ ษาค้นคว้า เก่ียวกบั การหมนุ เวยี นของเลือดและพบวา่ เลอื ดของมนษุ ย์ไหลไปทางเดียว ไมม่ ี การไหลสวนทางกนั มาร์เซลโล มัลพกิ ิ (Marcello Malpighi) เป็นผ้พู บหลอดเลือดฝอยเป็นคนแรก

วทิ ยาศาสตร์ ม. 2 2. หลอดเลือด (blood vessel) หลอดเลอื ดมีอยทู่ วั่ รำ่ งกำย ทำหน้ำท่ลี ำเลยี งเลอื ดออกจำกหวั ใจ นำสำรอำหำรและแก๊สออกซิเจน ไปเลี้ยงสว่ นตำ่ งๆ ท่ัวร่ำงกำย และเป็นเส้นทำงใหเ้ ลอื ดจำกอวัยวะตำ่ งๆ นำของเสยี และแก๊ส คำร์บอนไดออกไซด์กลบั เขำ้ สู่หัวใจ ภำพ 4 หลอดเลือดทไี่ ปเลี้ยงอวยั วะตำ่ งๆ ท่ัวรำ่ งกำย ทม่ี ำ : มหำวทิ ยำลยั เชียงใหม่. สืบคน้ เมื่อ 26 เมษำยน 2560, จำก http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson2.php หลอดเลือดในรำ่ งกำยมนษุ ยม์ ี 3 ชนดิ ได้แก่ 1. หลอดเลอื ดอาร์เทอรี (arterial blood vessel) เปน็ หลอดเลือดท่นี ำเลอื ดออกจำกหัวใจไปส่เู ซลล์ต่ำงๆ ของรำ่ งกำย มผี นังหนำและแขง็ แรง จึงยดื หยนุ่ ได้ดี สำมำรถขยำยตวั เพ่ือรบั แรงดนั เลือดได้ ไม่มีลิ้นกัน้ ภำยในหลอดเลือด เลอื ดที่อยูใ่ นหลอดเลือดอำรเ์ ทอรีเป็นเลอื ดทมี่ ปี ริมำณแกส๊ ออกซิเจนสูง มสี แี ดงจงึ มัก เรยี กวำ่ เลือดแดง ยกเว้น หลอดเลือดอำรเ์ ทอรที น่ี ำเลือดออกจำกหวั ใจห้องลำ่ งขวำไปยงั ปอดท่ี เรยี กว่ำ พลั โมนำรี อำรเ์ ทอรี เป็นเลือดทม่ี ปี ริมำณแก๊สออกซเิ จนตำ่ มีสคี ลำ้ เรียกว่ำ เลอื ดดำ หลอดเลือดอำร์เทอรี ที่ใหญ่ท่สี ุดคือ หลอดเลือดเอออร์ตำ 2. หลอดเลอื ดเวน (venous blood vessel) เปน็ หลอดเลอื ดที่นำเลือดจำกสว่ นตำ่ งๆ ของรำ่ งกำยกลบั สู่ หวั ใจ เนอื่ งจำกแรงดนั ภำยในหลอดเลือดต่ำมำก จงึ ต้องอำศยั กำรหดตัวของกล้ำมเนื้อเพื่อเพ่ิมแรงดัน ภำยในหลอดเลือด และมีลนิ้ กน้ั ภำยในเพ่ือปอ้ งกนั เลือดไหลยอ้ นกลับ ภำยในหลอดเลือดจะเป็นเลือดท่ีมี ปริมำณแก๊สออกซเิ จนต่ำ มสี ีคล้ำยกเว้น หลอดเลือดที่นำเลอื ดจำกปอดเขำ้ ส่หู วั ใจห้องบนซำ้ ยท่ี เรยี กวำ่ พัลโมนำรี เวน จะเปน็ เลอื ดที่มปี ริมำณแก๊สออกซิเจนสูง มีสแี ดง

วิทยาศาสตร์ ม. 2 ล้ินเปิด ลนิ้ ปิด ภำพ 5 ล้ินภำยในหลอดเลอื ดเวน ทม่ี ำ : The Merck Manual. สบื คน้ เม่อื 27 เมษำยน 2560, จำก http://www.merckmanuals.com/media/home/figures/CVS_one_way_valves_veins.gif ภำพ 6 กำรหดตัวของกล้ำมเนอ้ื เพื่อเพ่ิมแรงดนั ภำยในหลอดเลือดเวน ทีม่ ำ : Class connection. สืบค้นเม่ือ 27 เมษำยน 2560, จำก http://www.classconnection.s3. amazonaws.com/38/flashcards/1293038/png/veins1336067960916.png 3. หลอดเลือดฝอย (capillary) เปน็ หลอดเลือดท่ีเชื่อมต่อระหวำ่ งหลอดเลือดอำร์เทอรีและหลอดเลือดเวน สำนเป็นร่ำงแหแทรกอยู่ตำมเนอ้ื เย่ือต่ำงๆ ของรำ่ งกำย มีขนำดเลก็ ผนงั บำงมำก ผนงั ของหลอดเลอื ดฝอย เปน็ บริเวณที่มกี ำรแลกเปลีย่ นแกส๊ และสำรตำ่ งๆ ระหว่ำงเลือดกับเซลล์โดยกำรแพร่ (simple diffusion)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook